The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phurin Sriudomphong, 2022-06-07 02:16:27

ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลป่ามะคาบ

ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นป่ามะคาบ..

ฐานขอ้ มลู ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่

องค์การบรหิ ารส่วนตาบลปา่ มะคาบ
อาเภอเมือง จังหวัดพจิ ิตร

คานา

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราชการ 2560 มาตรา 57 รัฐต้อง (1) อนุรักษ์ ฟื้นฟู
และ สง่ เสริมภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ศลิ ปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นและ
ของชาติ และจัดให้มีพื้นท่ีสาธารณะสาหรับกิจกรรมที่เก่ียวข้อง รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน
ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ใช้สิทธิและมีส่วนร่วมในการดาเนินการด้วยภูมิปัญญาไทย
มคี วามสาคญั อย่างยิง่ ช่วยสรา้ งชาติให้เป็นปกึ แผ่นมัง่ คง สร้างความภาคภูมิใจและศักด์ิศรีเกียรติภูมิ แก่คนไทย
สามารถปรับประยุกต์หลักธรรมคาสอนทางศาสนาใช้กับชีวิตได้อย่างเหมาะสมสร้างความสมดุลระหว่าง
คนกบั สงั คม และธรรมชาตไิ ดอ้ ย่างยัง่ ยืน ช่วยเปลีย่ นแปลงปรบั ปรุงวถิ ชี ีวติ ของคนไทยให้เหมาะสมไดต้ ามยคุ

กองการศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลป่ามะคาบ ได้เล็งเห็นความสาคัญของ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น จึงได้สารวจบุคคลสาคัญของท้องถิ่นเพื่อจัดทาเป็นฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่ น
ปราชญ์ชาวบ้านของตาบลป่ามะคาบ เพื่อเป็นการสืบสานและอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีสาคัญและมี
ประโยชน์ไวไ้ ม่ให้สญู หายไปจาก ชมุ ชน และเพอ่ื การศึกษาค้นควา้ ข้อมลู ในภูมิปัญญาท้องถนิ่ ด้านตา่ งๆ ต่อไป

กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
งานวชิ าการวางแผนและการสง่ เสริมการท่องเทย่ี ว

องค์การบรหิ ารส่วนตาบลปา่ มะคาบ

สารบัญ

เร่อื ง หนา้

ความหมายฐานข้อมลู ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ 1
ด้านเกษตร ๙
ด้านหตั ถกรรม ๑๑
ด้านศิลปกรรม 15
ดา้ นแพทย์แผนไทย 16
ด้านอาหาร 17
ตารางฐานขอ้ มลู ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ 18

1

ฐานขอ้ มลู ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ

ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา
๕๗ (๑) อนุรักษฟ์ ้ืนฟแู ละสง่ เสริมภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินศิลปวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมและจารีตประเพณีอันดีงาม
ของทอ้ งถนิ่ และของชาตแิ ละจดั ให้มีพ้ืนที่สาธารณะสาหรับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องรวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้
ประชาชนชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ได้ใชส้ ิทธแิ ละมีสว่ นรว่ มในการดาเนินการด้วยภูมิปัญญาไทยมี
ความสาคัญอย่างย่ิงช่วยสร้างชาติให้เป็นปึกแผ่นม่ันคงสร้างความภาคภูมิใจและศักดิ์ศรีเกียรติภูมิแก่คนไทย
สามารถปรับประยกุ ต์หลักธรรมคาสอนทางศาสนาใช้กับชีวิตได้อย่างเหมาะสมสร้างความสมดุลระหว่างคนกับ
สงั คมและธรรมชาตไิ ด้อยา่ งย่งั ยนื ช่วยเปลย่ี นแปลงปรบั ปรงุ วิถชี วี ติ ของคนไทยให้เหมาะสมไดต้ ามยุค

กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตาบลป่ามะคาบ ได้เล็งเห็น
ความสาคญั ของภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ินจึงได้จัดทาโครงการสารวจฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นปราชญ์ชาวบ้านหรือ
ปราชญ์ท้องถิ่นเพื่อให้ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถ่ินปราชญ์ชาวบ้านหรือปราชญ์ท้องถ่ินเพื่อสืบสานอนุ รักษ์ภูมิ
ปัญญาท้องถ่ินที่สาคัญและมีประโยชน์ไว้ไม่ให้สูญหายไปจากชุมชนความหมายของภูมิปัญญาท้องถ่ินภูมิมี
ความหมายว่าพ้ืนช้ันพื้นเพปัญญาหมายความว่าความรอบรู้ความรู้ท่ัวความฉลาดเกิด แต่การเรียนและคิดว่ามี
ปัญญาหมายถึงพนื้ ความรู้ความสามารถภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ินหมายถึงความสามารถในการใช้พ้ืนความรู้สร้างสรรค์
งานเพื่อพัฒนาและดารงชีวิตของคนในท้องถ่ิน

ความหมายของภูมิปญั ญาท้องถิน่
ภูมิ หมายความวา่ พื้น ช้ัน พน้ื เพ
ปญั ญา หมายความวา่ ความรอบรู้ ความรู้ทัว่ ไป ความฉลาดเกิดแต่การเรยี นและคิด
ภูมิปัญญา หมายความว่า พ้นื ความรู้ความสามารถ
ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ หมายความวา่ ความสามารถในการใช้พื้นความรู้สร้างสรรค์งานเพื่อพัฒนา

และดารงชีวิตของคนในท้องถ่นิ
การถา่ ยทอดความหรอื การสอน หมายความวา่ บอกวชิ าความรูใ้ ห้แสดงเข้าใจโดยวิธีบอกหรือ

ทาใหเ้ หน็ เป็นตวั อย่างเพ่อื ให้รู้ดรี ชู้ ั่ว

จากการศึกษาความหมายที่ผู้เชี่ยวชาญนักวิชาการต่าง ๆ ซ่ึงครอบคลุมคาว่าภูมิปัญญา
ภมู ิปญั ญาพนื้ บ้าน ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ภูมิปัญญาไทย สามารถรวบรวมไดด้ งั น้ี

๑) ภูมิปัญญาคาว่าภูมิปัญญาตรงกับคาศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Wisdom ซึ่งมีความหมายว่า
ความร้คู วามสามารถความเชอื่ ความสามารถทางพฤติกรรมและความสามารถในการแก้ไขปญั หาของมนุษย์

สรุปได้ว่าภูมิปัญญาหมายถึงความรู้ความคิดความสามารถที่เป็นผลมาจากการใช้ความคิด
และสติปัญญาในการปรับตัวและดารงชีวิตให้สอดคล้องกับธรรมชาติสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนเป็น
กระบวนการทีเ่ กิดข้นึ เรยี นรู้และสะสมมาเป็นระยะเวลานานสามารถใช้หรือปรับเปล่ียนมาสร้างประโยชน์และ

2

แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตของคนในสังคมภูมิปัญญาอาจเกิดจากประสบการณ์ของกลุ่มชน
ในชมุ ชนจากภายนอกชมุ ชนและ / หรือผลติ ใหม่หรอื ผลิตข้นึ มากไ็ ด้

๒) ภูมิปัญญาชาวบ้าน (Popular Wisdom) สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนให้ความหมาย
ของภมู ปิ ัญญาชาวบา้ นวา่ เปน็ ความรขู้ องชาวบ้านที่สร้างขึ้นจากประสบการณ์และความเฉลียวฉลาดของแต่ละ
คนซึง่ ได้เรียนรจู้ ากพอ่ แมป่ ู่ย่าตายายญาตพิ ีน่ อ้ งและผทู้ มี่ คี วามรใู้ นชมุ ชนความร้เู หล่าน้ีเกี่ยวข้องการดาเนินชีวิต
เป็นแนวทางหลักเกณฑ์มีวิธีปฏิบัติที่เก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวความสัมพันธ์กับผู้
ล่วงลับไปแล้วกับสิ่งศักดิ์สิทธ์ิและกับธรรมชาติความรู้ท่ีสั่งสมมา แต่บรรพบุรุษสืบทอดจากคนรุ่นหน่ึงไปสู่คน
อีกรุ่นหน่ึงระหว่างการสืบทอดมีการปรับปรุงประยุกต์และเปล่ียนแปลงจนอาจเกิดเป็นความรู้ใหม่ตาม
สภาพการณท์ างวฒั นธรรมและสิ่งแวดล้อม

สรปุ ได้ว่าภมู ิปญั ญาชาวบา้ นหมายถึงรากฐานความรขู้ องชาวบ้านที่สร้างขึ้นจากประสบการณ์
และความรอบรู้รวมทั้งได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษและท่ีได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับ
สภาพการณ์ทางแวดล้อมและวัฒนธรรมท่ีมีการเปล่ียนแปลงเพื่อนามาใช้ประโยชน์ในการดารงชีวิตได้อย่าง
เหมาะสม

๓) ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local wisdom) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๔๖ ได้ให้
ความหมายของคาว่าภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้โดยแยกให้ความหมายของคาว่าภูมิปัญญาว่าหมายถึงพื้นความรู้
ความสามารถและคาว่าท้องถ่ินว่าหมายถึงท้องท่ีใดท้องที่หน่ึงโดยเฉพาะดังน้ันคาว่าภูมิปัญญาท้องถ่ินจึง
หมายถงึ พน้ื ความร้คู วามสามารถของทอ้ งทใี่ ดทอ้ งทห่ี นึง่

สานักคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติได้กล่าวไว้ว่าภูมิปัญญาท้องถ่ินสะสมขึ้นมาจาก
ประสบการณ์ของชีวิตสังคมและในสภาพส่ิงแวดล้อมท่ีแตกต่างกันและถ่ายทอดสืบทอดกันมาเป็นวัฒนธรรม
การดาเนินงานด้านวัฒนธรรมจึงต้องใช้ปัญญาค้นหาส่ิงที่มีอยู่แล้วฟ้ืนฟูประยุกต์เสริมสร้างส่ิงใหม่บนรากฐาน
ส่ิงเก่าท่ีค้นพบนั้นนักฟ้ืนฟูนักประยุกต์และนักประดิษฐ์คิดค้นทางวัฒนธรรมพื้นบ้านเหล่าน้ีมีชื่อเรียกในเวลา
ต่อมาว่า“ ปราชญ์ชาวบ้าน” หรือ“ ผู้รู้ชาวบ้านและสติปัญญาท่ีนามาใช้ในการสร้างสรรค์นี้เรียกว่า“
ภมู ปิ ัญญาชาวบา้ น” หรอื “ ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ศนู ยพ์ ฒั นาหลักสูตรกรมวิชาการกล่าวว่าภูมิปัญญาท้องถ่ินหรือภูมิปัญญาชาวบ้านคือความรู้
ท่เี กดิ จากประสบการณ์ในชีวิตของคนเราผ่านกระบวนการศึกษาสังเกตคิดวิเคราะห์จนเกิดปัญญาและตกผลึก
มาเป็นองค์ความรู้ท่ีประกอบกันขึ้นมาจากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เรื่องความรู้ดังกล่าวไม่ได้แยกย่อยออกมาให้
เห็นเป็นศาสตร์เฉพาะสาขาวิชาต่าง ๆ อาจกล่าวได้ว่าภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ท่ีมีอยู่ทั่วไปในสังคมชุมชน
และในตัวของผู้รู้เองหากมีการสืบค้นหาเพ่ือศึกษาและนามาใช้ก็จะเป็นที่รู้จักเกิดการย อมรับถ่ายทอดและ
พฒั นาไปสคู่ นรุ่นใหมต่ ามยุคตามสมัยได้

สรุปได้ว่าภูมิปัญญาท้องถ่ินหมายถึงองค์ความรู้ท่ีเกิดจากการส่ังสมความรู้และประสบการณ์
ของคนในชมุ ขนหรอื ท้องถน่ิ ท่ีมีการถา่ ยทอดกันมาจากรุ่นสูร่ ุ่นจนเปน็ วิถชี ีวิตมรดกทางวฒั นธรรมท่ีมีคุณค่าและ
มคี วามหมายเป็นอตั ลักษณข์ องแตล่ ะทอ้ งถ่ินที่นามาใชใ้ นการแกป้ ญั หาและพฒั นาชวี ติ ของคนในท้องถ่ิน

3

๔) ภูมิปัญญาไทย (Thai Wisdom) เป็นผลของประสบการณ์ส่ังสมของคนท่ีเรียนรู้จาก
ปฏิสมั พนั ธ์กับส่ิงแวดล้อมปฏสิ ัมพนั ธใ์ นกลมุ่ ชนเดียวกนั และระหว่างกลุ่มชุมชนหลาย ๆ ชาติพันธุ์รวมไปถึงโลก
ทัศน์ท่ีมีต่อสิ่งเหนือธรรมชาติภูมิปัญญาเหล่านี้เคยเอื้ออานวยให้คนไทยแก้ปัญหาได้ดารงอยู่และสร้างสรรค์
อารยธรรมของเราเองได้อย่างมีดุลยภาพกับส่ิงแวดล้อมโดยเฉพาะในระดับพื้นฐานหรือระดับชาวบ้านภูมิ
ปัญญาในแผ่นดินนี้มิได้เกิดขึ้นเป็นเอกเทศ แต่ส่วนแลกเปล่ียนเฟ้นและปรับให้ภูมิปัญญาจากอารยธรรมอ่ืน
ตลอดมา

สรุปไดว้ า่ ภูมิปญั ญาไทยหมายถงึ องคค์ วามรู้ความสามารถและทกั ษะของคนไทยในด้านต่าง ๆ
ท่ีเกิดจากการสะสมเลือกสรรและพัฒนาปรับปรุงอย่างมีระเบียบแบบแผนและมีรูปแบบที่เป็นที่ยอมรับและ
ไดร้ บั การถา่ ยทอดกนั มาในสังคมเพ่ือเออ้ื ประโยชน์ต่อการดารงชวี ิตและการอยู่รว่ มกนั

ตารางเปรยี บเทยี บภูมิปญั ญาท้องถ่นิ กับภมู ปิ ญั ญาไทย

ประเภทภมู ิปญั ญา ลกั ษณะทเ่ี หมือนกัน ลักษณะท่ีแตกตา่ งกัน
ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน
เป็นองค์ความรู้และความสามารถ
ภมู ิปญั ญาไทย
ในระดับบุคคลหรือระดับท้องถ่ินซ่ึง

เป็นองค์ความรู้และวิธีการที่นามาใช้ใน มีขอบเขต จากัด ในแต่ละท้องถ่ิน

การแก้ปญั หาและการตัดสินใจซึ่งได้สืบ เช่นภาษาอสี าน ผา้ ไหม แกงไตปลา

ทอดและเช่ือมโยงมาอย่างต่อเนื่อง หนังตะลุง เป็นภูมิปัญญาท้องถ่ิน

ตัง้ แตอ่ ดตี ถึงปจั จุบัน หรือภูมิปญั ญาชาวบ้าน ฯลฯ

เป็นองค์ความรู้และความสามารถ

โดยส่ว นรว มเป็นท่ียอมรับใน

ระดับชาติเช่นภาษาไทย มวยไทย

ตม้ ยากุง้ เปน็ ภูมปิ ัญญาไทย ฯลฯ

ดังนั้นจึงอาจสรุปได้ว่าภูมิปัญญาเป็นความรู้ความสามารถและวิธีการที่กลุ่มขนได้จากประสบการณ์
ทส่ี ่งั สมไว้ในการปรับตัวและดารงชพี ในระบบนเิ วศหรือสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมทางสังคม-
วัฒนธรรมท่ีได้มีการพัฒนาสืบสานกันมาภูมิปัญญาชาวบ้านจึงเป็นความรู้ความสามารถและวิธีการปฏิบัติของ
ชาวบ้านที่นามาใช้ในการแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตประจาวันซึ่งได้สืบทอดและเชื่อมโยงมาอย่างต่อเนื่อง
ตัง้ แต่อดตี จนถงึ ปัจจบุ ันหากวิธีการนัน้ เป็นท่ียอมรับของคนในท้องถิ่นและมีการนาไปปฏิบัติกันอย่างแพร่หลาย
ชุมชนก็จะเรียกว่า “ภูมิปัญญาท้องถ่ิน” แต่ถ้าได้รับการยอมรับในระดับชาติก็จะขยายกว้างเป็น
“ภมู ปิ ญั ญาไทย”

4

จากความหมายของภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้กล่าวมาข้างต้นสามารถสรุปลักษณ ะสาคัญของภูมิปัญญา

ทอ้ งถิน่ ได้ 6 ประการ

1. มคี วามเป็นทอ้ งถน่ิ ท่ีมีรากฐานอยใู่ นชมุ ชนใดชมุ ชนหนงึ่
2. เปน็ ความรทู้ ฝ่ี ังลึกอยูภ่ ายในบคุ คลทใ่ี ชค้ วามรนู้ น้ั
3. มีการถ่ายทอดผ่านการบอกเล่าและถ่ายทอดทางวัฒนธรรมไม่ค่อยมีการจดบันทึกไว้เป็นลาย
ลักษณอ์ ักษร
4. เป็นความรทู้ ี่มาจากการลงมือทาและประสบการณ์มากกว่าเปน็ ความร้จู ากทฤษฎี
5. มีรากฐานในโลกทศั น์ทางศาสนาความสาคัญดา้ นจติ วญิ ญาณและค่านยิ มของชุมชนในสังคม
6. เป็นความองคร์ วมความสมดลุ ของร่างกายและจติ วิญญาณและมีความสาคญั ในการดารงชวี ิต

ความสาคญั ของภูมิปัญญาไทย
สานักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ (ม.ป.ป.) ได้กล่าวถึงความสาคัญของภูมิปัญญาไทย

พอสรุปไดด้ ังน้ี
๑. ภูมิปัญญาไทยช่วยสร้างชาติให้เป็นปึกแผ่นพระมหากษัตริย์ไทยทรงใช้ภูมิปัญญาในการ

สรา้ งชาติสร้างความเป็นปึกแผ่นของประเทศมาโดยตลอดตั้งแต่สุโขทัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชพระองค์ทรง
ปกครองประชาชนด้วยพระเมตตาแบบพ่อปกครองลูกผู้ใดประสบความเดือดร้อนก็สามารถตีระฆังแจ้งความ
เดอื ดร้อนขอรับพระราชทานความช่วยเหลือทาให้ประชาชนมีความจงรักภักดีต่อพระองค์ต่อรุ่งเรืองให้เป็นปีก
แผ่นพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรรัชกาลที่ ๙ พระองค์
ทรงใช้ภูมิปัญญาสร้างคุณประโยชน์แก่ประเทศทางการเมืองภายในประเทศจนรอดพ้นภัยพิบัติ หลายครั้งด้าน
การเกษตรพระองค์ทรงพระราชทานทฤษฎีใหม่ให้แก่พสกนิกรด้านการเกษตรแบบสมดุลและยั่งยืนฟื้นฟู
สภาพแวดลอ้ ม ยังความสงบรม่ เยน็ คนื กลับมายังประชาชน

๒. สร้างความภูมิใจและศักดิ์ศรีเกียรติภูมิคนไทยในอดีตมีความสามารถเป็นที่ปรากฏใน
ประวัติศาสตร์จานวนมากเป็นที่ยอมรับของนานาอารยประเทศเช่น นายขนมต้มเป็นนักมวยที่มีฝีมือเก่งในการ
ใช้อวัยวะทุกส่วน แม่ไม้มวยไทยสามารถชกมวยไทยจนชนะพม่าได้ถึงเก้าคนสิบคนในคราวเดียวกันซ่ึงใน
ปัจจุบันมวยไทยถือเป็นภมู ิปญั ญาดา้ นศิลปะการปอ้ งกนั ตวั ช้ันเยี่ยม

นอกจากน้ียังมีภูมิปัญญาด้านอาหารอาหารไทยเป็นอาหารที่มีความหลากหลายในรสชาติทั้งอาหาร
คาวหวานปรงุ ง่ายรสอรอ่ ยถูกปากทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศพืชที่ใช้ปรุงอาหารส่วนใหญ่เป็นพืชสมุนไพร
ท่ีหาได้ง่ายในท้องถิ่นและราคาถูกพืชท่ีใช้เป็นส่วนประกอบท่ีเป็นพืชสมุนไพรเช่นตะไคร้ขิงข่ากระชายใบใบ
โหระพาใบกะเพราเป็นตน้

๓. ความสามารถปรับปรุงประยุกต์หลักคาสอนทางศาสนาใช้กับวิถีชีวิตได้อย่างเหมาะสมคน
ไทยยอมรับถือศาสนาพุทธเป็นส่วนใหญ่โดยนาหลักธรรมคาสอนทางศาสนามาปรับใช้ในวิถีชีวิตใต้อย่าง
เหมาะสมทาใหค้ นไทยเป็นผู้อ่อนน้อมถ่อมตนเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ประนีประนอมรักสงบใจเย็นมีความอดทนให้อภัย
สานกึ ผิดดารงชีวิตอย่างเรียบง่ายปกติสุขทาให้คนในชุมชนพ่ึงพากันได้ทั้งหมดนี้สืบเนื่องจากหลักธรรมคาสอน
พระพทุ ธศาสนาเป็นการใช้ภมู ปิ ญั ญาในการประยกุ ต์พระพทุ ธศาสนาวนั

๔. สร้างความสมดุลระหว่างคนกับสังคมและธรรมชาติได้อย่างย่ังยืนภูมิปัญญาไทยมีความ
เดน่ ชดั ในการยอมรับนับถือและให้ความสาคัญแก่คนสังคมและธรรมชาติอย่างยิ่งมีเครื่องมือท่ีช้ีให้เห็นได้อย่าง
ชัดเจนมากมายเช่นประเพณีสิบสองเดือนเป็นการแสดงความเคารพขอพรเป็นวันแห่งครอบครัวเครือญาติพี่

5

น้องได้พบปะกันด้วยความอบอุ่นส่วนประเพณีลอยกระทงคุณค่าอยู่การบูชาและเคารพบุญคุณของ น้าท่ีหล่อ
เล้ียงชีวิตของคนพืชสัตว์ซ่ึงใช้น้าท้ังการบริโภคและอุปโภคในรักษาป่าให้ต้นน้าล้าธารได้ประยุกต์ให้ประเพณี
การบวชป่าเคารพส่ิงศกั ด์สิ ทิ ธธ์ิ รรมชาตสิ ภาพแวดล้อมความอุดมสมบูรณ์แก่ต้นน้าลาธารพลิกฟื้นกลับคืนมาได้
อาชีพการเกษตรเปน็ อาชีพหลักของคนไทยที่คานงึ ความสมดุลของคนสังคมและธรรมชาติ แต่น้อยพออยู่พอกัน
เม่ือเหลอื กินกแ็ จกญาติพีน่ อ้ งเพอื่ นบ้านใกลเ้ คยี งนอกจากนยี้ งั นาไปแลกเปลี่ยนกับส่ิงของอย่างอื่นที่ตนไม่มีเมื่อ
เหลือใช้จริง ๆ จึงจะขายอาจกล่าวได้เป็นการเกษตรแบบ“ กิน-แจก-แลก-ขายทาให้คนในสังคมได้ช่วยเหลือ
เก้ือกูลแบ่งปันกันเคารพนับถือกันเป็นญาติกันทั้งหมู่บ้านจึงอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขมีสัมพันธ์กันแนบแน่น
ธรรมชาติไม่ถูกทาลายไปมากเน่ืองจากทาพอพอกินไม่โลภและทาลายมากเหมือนปัจจุบันถือเป็นภูมิปัญญาที่
สรา้ งความสมดุลระหว่างคนกบั สังคมและธรรมชาตใิ ห้อยรู่ ่วมกันได้อยา่ งย่ังยืน

๕. เปลย่ี นแปลงปรบั ปรงุ ได้ตามยคุ สมยั แม้กาลเวลาจะเปล่ียนไปอย่างไรความรู้สมัยใหม่จะหลังเข้ามา
มาก แต่ภูมิปัญญาไทยก็สามารถปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมกับยุคสมัยเช่นการรู้จักนาเครื่องยนต์มาติดตั้งกับเรือ
ใส่ใบพัดเป็นหางสามารถว่ิงได้เร็วข้ึนเรียกว่า“ เรือหางยาว” การรู้จักทาการเกษตรแบบผสมผสานพลิกฟ้ืน
ธรรมชาติให้อุดมสมบูรณ์คืนแทนสภาพป่าท่ีถูกตัดทาลายไปการรู้จักใช้ภูมิปัญญาออมเงินสะสมทุนตามแบบ
สมัยใหม่ให้สมาชิกกู้ยืมปลดหนี้สินและจัดสวัสดิการแก่สมาชิกจนชุมชนมีความมั่นคงเข้มแข็งสามารถช่วย
ตนเองได้หลายร้อยหมู่บ้านท่ัวประเทศและการสร้าง“ อูหญ้า” ข้ึนเป็นปะการังเทียมให้ปลาอาศัยวางไข่แพร่
พนั ธแ์ุ ละเจริญเติบโตขยายจานวนมากดังเดิมถอื เปน็ การใชภ้ ูมิปญั ญาปรับปรุงประยุกต์ใช้ได้ตามยคุ ตามสมัย

ประเภทของภูมิปัญญาท้องถ่ิน
เอกวทิ ย์ ณ ถลาง ได้แบ่งประเภทของภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ออกเป็น ๒ ประเภทคือ
1. ภมู ปิ ัญญาหรือความรู้สว่ นท่เี รยี กว่า“ ยาไส”้ ซงึ่ เปน็ ความรทู้ เ่ี กีย่ วข้องกับเศรษฐกิจเร่ืองของปาก
ท้องเปน็ สงิ่ ท่ีถกู นาไปแสวงหาผลประโยชน์หรือที่คณุ คาเป็นตวั เงนิ โดยงา่ ยจงึ จาเป็นต้องหวงแหนมกี ารจด
ลขิ สิทธส์ิ ทิ ธิบัตรทางปัญญา
2. ภูมปิ ัญญาหรอื ความร้สู ่วนทเ่ี รียกว่า "ยาใจ” ซ่ึงความรู้ท่ีไม่เป็นพิษเป็นภัยกับใครกลับช่วยให้สังคม
มคี วามเอ้อื อาทรเอ้อื เฟ้ือเผ่อื แผ่เพ่ือความผาสกุ ของคนในสงั คม
ประภากร แก้ววรรณา ไดส้ ังเคราะห์ประเภทของภูมิปัญญาท้องถนิ่ ออกเป็น ๒ ประเภทดังนี้
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพ่ือใช้ในการแก้ไขปัญหาภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้ท่ีเกิดจากสติปัญญา
ของชาวบ้านเป็นศักยภาพหรือความสามารถในการแก้ไขปัญหาการดาเนินชีวิตและการประกอบอาชีพของ
ชาวบ้านใหส้ อดคล้องเหมาะสมกับบริบทของชุมชนทอ้ งถ่ิน
2. ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาเป็นองค์ความรู้ความสามารถของชาวบ้านที่คิดค้นสั่งสมสืบทอด
ปรับปรุงพัฒนาเป็นศักยภาพหรือความสามารถในเชิงสร้างสรรค์เป็นการสร้างความรู้ใหม่สร้างปัญญา
ตอบสนองความจาเป็นความต้องการของชุมชนท้องถิ่นตามสภาพสังคมที่เปล่ียนเอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนา
ประเทศโดยรวมทาใหเ้ กดิ การพฒั นาท่ียั่งยืนและม่ันคง
การจาแนกตามแหล่งถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถ่ินได้จาแนกภูมิปัญญาท้องถิ่นตามแหล่งถ่ายทอด
ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นออกเป็น ๓ ประเภทดังน้ี
๑. ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ประเภทบุคคล คลุมบคุ คลหรือกลุ่มบุคคลที่มีความรู้ในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงบุคคลที่
ทาหน้าที่เป็นผู้นาในเรื่องพิธีกรรมสาคัญของท้องถ่ินบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติการประดิษฐ์
และการเกษตรกรรมโดยบุคคลท่ีเป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินอาจเป็นผู้ริเร่ิมหรือเป็นผู้สืบทอดภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น
เช่นครภู มู ิปญั ญาหรือปราชญ์ชาวบ้านพระภกิ ษุผู้นาชมุ ชนผู้ร้พู ่อเฒ่าแมเ่ ฒ่าฯลฯ

6

2. ภูมิปัญญาท้องถ่ินประเภทสถานท่ี ครอบคลุมสถานที่ท่ีมีความสาคัญกับท้องถ่ินในด้าน
ประวัติศาสตร์ศาสนาพิธีกรรมสถานที่ทางธรรมชาติสถานที่ท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมแหล่งเพาะปลูกตาม
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี งทง้ั ท่ีเป็นบคุ คลหน่วยราชการ และองค์กรเอกชน

๓. ภูมิปัญญาท้องถิ่นประเภทวัสดุอุปกรณ์ ครอบคลุมวัสดุอุปกรณ์ท่ีทาหน้าท่ีถ่ายทอดความรู้ใน
รูปแบบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่ือของจริงและของจาลองท่ีใช้นาเสนอความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นภูมิปัญญา
ทอ้ งถ่ินมมี ากมายหลายแขนง แต่มักจะถูกมองวา่ ล้าหลังคนบางกลุ่มจึงไม่ค่อยให้ความนิยมและสืบสานกันมาก
นักส่วนใหญ่แล้วภูมปิ ัญญาท้องถิน่ มกั สบื ทอดบอกลา่ วกนั เป็นการภายในเช่นสูตรทาอาหารหรือตารับตาราต่าง
ทาให้ไมเ่ ปน็ ท่รี ับรกู้ นั โดยทั่วไปอาจจาแนกภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ เป็น ๑๐ ลักษณะไดด้ งั นี้

๑. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เก่ียวกับความเช่ือและศาสนาภูมิปัญญา ประเภทนี้จะมีลักษณะแตกต่างกัน
ไปในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ เน่อื งจากมพี น้ื ฐานทางความเชื่อในศาสนาที่แตกต่างกันสาหรับภูมิปัญญาท้องถ่ินของไทยซ่ึง
เก่ียวกับความเชื่อในพระพุทธศาสนาเป็นหลักนั้นได้มีส่วนสร้างสรรค์สังคมโดยการผสมผสานกับความเช่ือ
ดงั้ เดมิ จนกลายเปน็ ลักษณะเฉพาะของแต่ละท้องถิ่น

๒. ภมู ิปญั ญาท้องถิ่นทเี่ ก่ยี วกับประเพณแี ละพธิ ีกรรม เนื่องจากประเพณีและพิธีกรรมเป็นสิ่งท่ีดีงาม
ที่คนไทยในทอ้ งถ่ินสร้างขนึ้ มาโดยเฉพาะเปน็ การเพมิ่ ขวญั กาลังใจในสงั คมภมู ปิ ัญญาประเภทน้ีจึงมีความสาคัญ
ต่อการดาเนนิ ชวี ติ ในสังคมเป็นอยา่ งมากดังจะเห็นได้จากประเพณีและพิธีกรรมท่ีสาคัญ ๆ ในประเทศไทยล้วน
เกยี่ วข้องกับการดาเนนิ ชวี ิตของคนในสังคมแทบทงั้ สิน้

๓. ภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีเกี่ยวกับศิลปะพ้ืนบ้าน เป็นการสร้างสรรค์งานศิลปะประเภทต่าง ๆ โดยการ
นาทรัพยากรทม่ี อี ยมู่ าประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวันหลังจากนั้นได้สืบทอดการพัฒนาอย่างไม่ขาดสายกลายเป็น
ศิลปะท่ีมีลกั ษณะท่มี ีคณุ ค่าเฉพาะถ่นิ

๔. ภูมิปัญญาท้องถ่ินที่เกี่ยวกับอาหารและผักพื้นบ้าน นอกจากมนุษย์จะนาอาหารมาบริโภคเพ่ือ
ความอยู่รอดแล้วมนุษย์ยังได้นาเทคนิคการถนอมอาหารและการปรุงอาหารมาใช้เพื่อให้อาหารท่ีมีมากเกิน
ความต้องการสามารถเก็บไว้บริโภคใต้เป็นเวลานานซ่ึงถือว่าเป็นภูมิปัญญาอีกประเภทหนึ่งท่ีสาคัญต่อการ
ดารงชวี ิตนอกจากนี้ยังน้าผกั พน้ื บ้านชนิดตา่ ง ๆ มาบริโภคไดอ้ ีกดว้ ย

๕. ภูมิปัญญาท้องถ่ินที่เกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้าน การละเล่นถือว่าเป็นการเวนคลายโดยเฉพาะใน
วัยเด็กซ่ึงชอบความสนุกสนานเพลิดเพลินภูมิปัญญาท้องถ่ินของไทยส่วนใหญ่จะใช้อุปกรณ์ในการละเล่นท่ี
ประดิษฐ์มาจากธรรมชาติซ่ึงแสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตที่ผูกพันกับธรรมชาติและรู้จักปรับตัวให้เข้ากับ
สภาพแวดล้อมอย่างกลมกลนื

6. ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นท่เี กยี่ วกบั ศลิ ปวฒั นธรรม ประเทศไทยมวี ัฒนธรรมทหี่ ลากหลายซึ่งเกิดจากการ
สร้างสรรค์ของแต่ละภาคเราสามารถพบหลักฐานจากร่องรอยของศิลปวัฒนธรรมท่ี ปรากฏกระจายตัวอยู่
กระจายตัวอยู่ทว่ั ไปเช่นสถาปัตยกรรมประติมากรรมจิตรกรรมเป็นต้นซ่ึงแสดงให้เห็นถึงเทคนิคความคิดความ
ของบรรพชนได้เป็นอยา่ งดี

7. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับเพลงพ้ืนบ้านภูมิปัญญา ประเภทน้ีส่วนมากจะแสดงออกถึงความ
สนุกสนานและยังเป็นคติสอนใจสาหรับคนในสังคมซ่ึงมีส่วนแตกต่างกันออกไปตามโลกทัศน์ของคนในภาค
ตา่ งๆ

8. ภูมิปัญญาท้องถ่ินที่เก่ียวกับสมุนไพรและตารายาพ้ืนบ้านภูมิปัญญา ประเภทนี้เกิดจากการสั่ง
สมประสบการณ์ของคนในอดตี และถา่ ยทอดใหก้ บั คนรุ่นหลังถือว่ามีความสาคัญเป็นอย่างมากเพราะถือว่าเป็น
ปัจจัยซ่ึงมีความจาเป็นสาหรับมนุษย์หากได้รับการพัฒนาและส่งเสริมการวิจัยประโยชน์ทางเศรษฐกิจและ
สังคมในอนาคตได้

7

9. ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ที่เกย่ี วกบั ประดิษฐ์กรรมและหัตถกรรมพ้นื บา้ น เทคโนโลยีและส่งิ ของเครื่องใช้
ตา่ ง ๆ ท่เี กิดจากภมู ิปัญญาของคนไทยในแต่ละภาคน้ันถือเปน็ ประดษิ ฐ์กรรมและหัตถกรรมช้ันเยี่ยมซ่ึงปัจจุบัน
ยังไม่ได้รับความสนใจในการพัฒนาและส่งเสริมภูมิปัญญาประเภทนี้เท่าที่ควรหากมีการเรียนรู้และสืบทอด
ความคดิ เกยี่ วกับการประดษิ ฐ์กรรมและหัตถกรรมให้แก่เยาวชนจะเป็นการรักษาภูมิปัญญาของบรรพชนได้อีก
ทางหนึง่

๑๐. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เก่ียวกับการดารงชีวิตตามสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ เน่ืองจากไทยมี
อาชีพที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรมโดยเฉพาะการทานาทาไร่จึงทาให้เกิดภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับความเชื่อและ
พิธีกรรมในการดารงชีวิตเพื่อแก้ปัญหาหรืออ้อนวอนให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ในการเพาะปลูกและเพื่อเพ่ิม
ผลิตผลทางการเกษตรดังจะเห็นได้จากพิธกี รรมเก่ียวกบั เกษตรกรรมทว่ั ทุกภูมิภาคของไทย

คณะกรรมการศกึ ษาแหง่ ชาติ (๒๕๔๑) ไดแ้ บ่งสาขาหรอื ประเภทของภูมิปัญญาท้องถ่ินไว้ ๑๓ สาขา
ดังนี้

๑. สาขาเกษตรกรรม หมายถึงความสามารถในการผสมผสานองค์ความรู้ทักษะและเทคนิคด้าน
การเกษตรกบั เทคโนโลยีโดยการพัฒนาบนพ้ืนฐานคุณค่าดั้งเดิมซึ่งคนสามารถพ่ึงพาตนเองในภาวการณ์ต่าง ๆ
ได้เช่นการทาเกษตรแบบผสมผสานการแก้ปัญหาด้านการตลาดการแก้ปัญหาด้านการผลิตการแก้ไขโรคและ
แมลงและการรูจ้ ักปรับใชเ้ ทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับการเกษตรเป็นต้น

2. สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม (ด้านการผลิตและการบริโภค) หมายถึงการรู้จักประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการแปรรูปผลผลิตเพ่ือชะลอการนาเข้าตลาดเพ่ือแก้ปัญหาด้านการบริโภคอย่าง
ปลอดภัยประหยัดและเป็นธรรมอันเป็นกระบวนการให้ชุมชนท้องถ่ินสามารถพ่ึงตนเองทางเศรษฐกิจได้ตลอด
ท้ังการผลติ และการจัดจาหน่ายผลผลิตทางหตั ถกรรมเช่นการรวมกลุ่มของกลุ่มโรงงานยางพารากลุ่มโรงสีกลุ่ม
หตั ถกรรมเปน็ ต้น

3. สาขาการแพทย์ไทย หมายถึงความสามารถในการจัดการป้องกันและรักษาสุขภาพของคนใน
ชุมชนโดยเน้นใหช้ มุ ชนสามารถพ่งึ พาตนเองทางด้านสุขภาพและอนามัยได้

4. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดล้อม หมายถึงความสามารถเก่ียวกับจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมทั้งอนุรักษ์การพัฒนาและใช้ประโยชน์จากคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งสมดลุ และยัง่ ยืน

5. สาขากองทนุ ธรุ กิจชุมชน หมายถึงการจัดการด้านสมทบและบรกิ ารกองทุนในการประกันคุณภาพ
ชวี ิตของคนให้เกดิ ความม่นั คงทางเศรษฐกจิ สงั คมและวฒั นธรรม

6. สาขาศิลปกรรม หมายถึงผ้ทู ม่ี คี วามรู้ความสามารถประสบการณม์ ีผลงานโดดเด่นเรอ่ื งต่อไปน้ี
6.1 ด้านจติ รกรรม คือการวาดภาพฝาผนังการเขยี นภาพลงผา้ หนา้ ผาการสกั ลายฯลฯ
๖.๒ ด้านประติมากรรมคือผู้มีความรู้ความสามารถมีประสบการณ์และมีฝีมือในการป้ันแกะสลักการ
หล่อเชน่ หล่อพระพทุ ธรปู ป้ันโอ่งสลกั ลวดลายประดับตน้ เทยี นส่ิงกอ่ สร้างฯลฯ
6.3 ด้านสถาปัตยกรรมคือผู้ที่มีความรู้ความสามารถประสบการณ์เร่ืองการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน
โบสถ์ศาลาศาลพระภมู ฯิ ลฯ
6.4 ดา้ นหตั ถกรรม (งานชา่ งฝมี อื ) คอื ผ้ทู ่มี ีความรคู้ วามสามารถมผี ลงานในสงิ่ ทามือเช่นเคร่ืองจักสาน
๖.๕ ด้านงานประดิษฐ์ คือผู้ที่มีความรู้ความสามารถมีประสบการณ์ด้านการจัดทาผลงานเลียนแบบ
ธรรมชาตเิ ช่นการประดษิ ฐด์ อกไม้บายศรกี ารแต่งลวดลายบนแผ่นผา้ ฯลฯ

8

6.6 ดา้ นดนตรีนาฏศิลปแ์ ละการเลน่ พ้ืนบ้าน คือผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ด้านการ
เลน่ ดนตรกี ารขับสาการฟ้อนราการคดิ วธิ กี ารเลน่ พนื้ บ้านหมอลา การเลน่ ลเิ ก

๗. สาขาการจัดการองค์กร หมายถึงความสามารถในการบริหารจัดการดาเนินงานขององค์กรชุมชน
ต่าง ๆ ให้สามารถพัฒนาและบริหารองค์กรของตนเองได้ตามบทบาทหน้าท่ีขององค์กรเช่นการจัดการองค์กร
ของกลมุ่ แม่บ้านเป็นต้น

8. สาขาภาษาและวรรณกรรมหมายถึงความสามารถในการผลิตผลงานเก่ียวกับภาษาทั้งภาษาถิ่น
ภาษาโบราณภาษาไทยและการใชภ้ าษาตลอดทั้งดา้ นวรรณกรรมทุกประเภท

9. สาขาศาสนาและประเพณีหมายถึงความสามารถในการประยุกต์และปรับใช้หลักธรรมคาสอนทาง
ศาสนาความเชื่อและประเพณดี ง้ั เดมิ ทเี่ หมาะสมตอ่ การประพฤติปฏิบัติให้บังเกิดผลดีต่อบุคคลและสิ่งแวดล้อม
เชน่ การถ่ายทอดหลักสรรมทางศาสนาการบวชป่าการประยกุ ตป์ ระเพณีบญุ ประทายข้าวเป็นตน้

10. สาขากองทุนและสวัสดิการหมายถึงการจัดการด้านสมทบและบริการกองทุนในการประกัน
คุณภาพชีวติ ของตนใหเ้ กดิ ความมัน่ คงทางเศรษฐกจิ สังคมและวฒั นธรรม

๑๑. สาขาการศึกษาหมายถึงความสามารถการถ่ายทอดการอบรมเลี้ยงดูการบ่มเพาะการส่ังสอนการ
สร้างสื่อและอุปกรณ์การวดั ความสาเร็จ

ด้านการเกษตรกรรม 9

ข้อมลู ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ของตาบลปา่ มะคาบ
นา้ หมกั ชีวภาพท้องถ่ิน

ชอื่ : นางสาวอริศา สว่างเมฆ
ทีอ่ ยู่ : 39 หม่ทู ี่ 5 ตาบลปา่ มะคาบ อาเภอเมือง จงั หวดั พจิ ิตร

“น้าหมักชีวภาพท้องถิ่น” ภูมิปัญญาปราชญ์ชาวบ้านที่น้อมนาศาสตร์พระราชาในหลวง รัชกาลที่ 9
เก่ียวกับการทาเกษตรทฤษฎีใหม่ เน้นใช้ทุกอย่างในพื้นท่ีให้เกิดประโยชน์มาพัฒนาเป็นสารชีวภาพ ไว้ทา
การเกษตรแบบไร้สารเคมีครบวงจร ช่วยแก้ปญั หาเบ็ดเสร็จ ท้ังทนแล้งลดต้นทุน ปลดหนี้ และสร้างสุขภาวะ เตรียม
พัฒนาเป็นพ้ืนท่ีเกษตรอินทรีย์ต้นแบบในตาบลป่ามะคาบให้ผู้ท่ีสนใจเข้ามาศึกษาเรียนรู้ นางสาวอริศา อธิบาย
เพิ่มเติมว่า การทาเกษตรแบบไร้สารเคมีของบ้านป่ามะคาบนั้นจะใช้สารชีวภาพท่ีผลิตขึ้นเองในพื้นที่ โดยร่วมกับ
ปราชญ์ชาวบา้ นทีเ่ ปน็ วิทยากรเกษตรทฤษฎีใหม่จนได้น้าชีวภาพ ใช้ทาการเกษตรแบบครบวงจรทาให้มีผลผลิตท่ีมี
คณุ ภาพ

ด้านเกษตรกรรม 10

ขอ้ มูลภูมิปัญญาท้องถิน่ ของตาบลปา่ มะคาบ

ข้าวปลอดสารพษิ “ข้าวชาวนา”

ช่ือ : นางสาวอรศิ า สวา่ งเมฆ
ท่ีอยู่ : 39 หมู่ท่ี 5 ตาบลปา่ มะคาบ อาเภอเมอื ง จงั หวัดพิจิตร

ข้าวชาวนา คือ เกิดจากการน้อมนาศาสตร์พระราชาในหลวง รัชกาลท่ี 9 สู่การพัฒนาอย่าง
ยั่งยืนด้านหลักเศรษฐกิจพอเพียง ข้าวท่ีได้จากการปลูกโดยไม่ใช้สารเคมีหรือสารสังเคราะห์อ่ืนใดท่ี
ไม่ใช่จากธรรมชาติ ทั้งยาฆ่าหญ้า ฆ่าแมลง ปุ๋ยเคมี รวมไปถึงสารเคมีท่ีใช้ระหว่างเก็บรักษาผลผลิต
เช่น ยากันเชอื้ ราเคลอื บฆา่ เช้ือตา่ งๆ โดยใหค้ วามสาคญั กับการปลูกท่ีไม่ทาลายส่ิงแวดล้อม เสริมสร้าง
ฟ้ืนฟรู ะบบนิเวศและกลไกของธรรมชาตไิ ปพร้อมกบั เร่อื งสุขภาพ

อีกทั้งข้าวชาวนายังได้รับการคัดสรรเป็นผลิตภัณฑ์ระดับส่ีดาว ประเภทอาหาร ตามโครงการ
คดั สรรสดุ ยอดหนึง่ ตาบลหนึง่ ผลติ ภัณฑไ์ ทยปี 2562 (OTOP Product Champion)

ปัจจุบันข้าวชาวนายังมีการผลิตและจาหน่าย ข้าวไรซ์เบอร์รี่ ข้าวกล้องหอมมะลิ
ขา้ วกลอ้ งหอมมะลิแดง

11

ด้านหัตถกรรม

ขอ้ มูลภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลป่ามะคาบ

การทาไม้กวาดดอกหญ้ากลุ่มดอกราชาวดี

ช่ือ : กลุ่มดอกราชาวดี
ทอ่ี ยู่ : บา้ นทา่ มะไฟ หมู่ท่ี 9 ตาบลปา่ มะคาบ อาเภอเมอื ง จังหวัดพิจิตร

กล่มุ ดอกราชาวดีเป็นกลุ่มชมรมผู้สูงอายุในพ้ืนที่ตาบลป่ามะคาบ โดยมี นางหทัยกาญจน์ พานเงิน
ประธานคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ขยายผลศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร เป็นผู้ท่ีนาเอาความรู้มา
ถ่ายทอด ผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาพ้ืนบ้านของชาวบ้านตาบลป่ามะคาบกับการผลิตไม้กวาดดอกหญ้า
ไม้กวาดเป็นอุปกรณ์ท่ียังจาเป็นต้องใช้ภายในครอบครัว แม้ปัจจุบัน บางบ้านได้นาเคร่ืองดูดฝุ่นเข้ามา
ใช้บ้างแล้ว แต่ก็ยังมีบ้านและสถานท่ีต่าง ๆ อีกจานวนไม่น้อย ท่ีต้องการใช้ไม้กวาด ดังน้ัน การทา
หตั ถกรรมไมก้ วาดจากดอกหญ้า ซ่ึงถือเป็นภูมิปัญญาของชุมชน ให้คนในชุมชนได้ประกอบอาชีพเสริม
ทาใหเ้ กดิ รายได้ในครัวเรอื น

12

ดา้ นหัตถกรรม

ขอ้ มลู ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ของตาบลป่ามะคาบ

การทาเปลญวนกลมุ่ ดอกราชาวดี

ชอ่ื : กลุ่มดอกราชาวดี
ท่อี ยู่ : บ้านทา่ มะไฟ หมู่ท่ี 9 ตาบลปา่ มะคาบ อาเภอเมอื ง จังหวัดพิจติ ร

กลุ่มดอกราชาวดีเป็นกลุ่มชมรมผู้สูงอายุในพื้นที่ตาบลป่ามะคาบ โดยมี นางหทัยกาญจน์ พานเงิน
ประธานคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ขยายผลศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร เป็นผู้ท่ีนาเอา
ความรู้มาถ่ายทอด ผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาพ้ืนบ้านของชาวบ้านตาบลป่ามะคาบกับการการทา
เปลญวนมีการจัดทาอุปกรณ์เพ่ือสะดวกกับการทาเปล เช่น มีไม้สาหรับใช้วัดตาเพ่ือให้เปล
มีรูปแบบเดียวกันและสวยงาม มีการต่อเชือกแบบซ่อนตาเพ่ือความแน่นหนาและสวยงามสิ่งดีๆ
ทเ่ี กดิ ขึ้นกบั ชุมชนนอกจากการท่ีคนในชมุ ชนได้มีรายได้เพิ่มขึ้นแล้วน้ัน การรวมกลุ่มรวมตัวกันใน
การสานถักเปลทาให้มีการพบปะ พูดคุยกันมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งกันและกันมีการแลก
เทคนคิ ทักษะในการผลิตเปลใหส้ วยงาม

ดา้ นหัตถกรรม 13

ขอ้ มูลภูมิปัญญาท้องถนิ่ ของตาบลป่ามะคาบ

การทาน้ายาล้างจานกล่มุ ดอกราชาวดี

ชอ่ื : กล่มุ ดอกราชาวดี
ที่อยู่ : บ้านทา่ มะไฟ หมู่ท่ี 9 ตาบลป่ามะคาบ อาเภอเมอื ง จงั หวดั พจิ ติ ร

กลุ่มดอกราชาวดีเป็นกลุ่มชมรมผู้สูงอายุในพ้ืนที่ตาบลป่ามะคาบ โดยมี นางหทัยกาญจน์ พานเงิน
ประธานคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ขยายผลศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร เป็นผู้ที่นาเอาความรู้
มาถ่ายทอด ผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาพ้ืนบ้านของชาวบ้านตาบลป่ามะคาบ น้ายาล้างจานหนึ่งใน
ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน โดยนามะกรูดมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เป็นน้ายาล้างจาน ซึ่งมีกระบวนการที่เกิด
จากการถ่ายทอดความรู้เหล่าน้ันจนกลายเป็นทักษะและความชานาญสามารถนาไปต่อยอดใช้ใน
ครวั เรือน ลดภาระคา่ ใชจ้ า่ ย ถอื วา่ เปน็ ทางเลอื กทดี่ ีในการประกอบอาชีพสรา้ งรายไดเ้ สริม

ดา้ นหัตถกรรม 14

ขอ้ มลู ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ ของตาบลปา่ มะคาบ

งานจักรสาน

ชอ่ื : นายเกียรตภิ ูมิ สว่างเมฆ
ทอี่ ยู่ : 65 หมทู่ ี่ 5 ตาบลป่ามะคาบ อาเภอเมือง จงั หวัดพจิ ิตร

เป็นผู้มีความสามารถในงานจักสาน เพราะเครื่องจักรสานไทย เป็นงานศิลปหัตถกรรมท่ีมี
คุณค่ายิ่งอย่างหนึ่งของไทย ที่ทาสืบทอดกันมาแต่โบราณคุณลักษณะ พิเศษของเคร่ืองจักสานมี
คุณค่าในตัวเองทาให้เครื่องจักสานมีอายุยืนยาวสืบต่อกันมานานนับพันปี แม้ในปัจจุบันการทา
เคร่ืองจักสานจะลดจานวนลงไปบ้าง ตามสภาพสังคมวัฒนธรรม ที่เปลี่ยนจากสังคมเกษตรกรรม
แต่เคร่ืองจักสานยังเป็นเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ ที่ยังไม่สามารถผลิตได้ด้วยเครื่องจักรกล เพราะการทา
เครอ่ื งจักสาน ต้องใชค้ วามชานาญ และความสามารถเฉพาะตัวของช่างพื้นบ้านแต่ละถิ่น ส่ิงเหล่านี้
เป็นคุณค่าพิเศษของเคร่ืองจักสานที่ต่างไปจากผลิตภัณฑ์อ่ืนท่ีผลิตด้วยเคร่ืองจักร เครื่องจักสาน
จึงเป็นงานศิลปหตั ถกรรมที่ควรค่าแกก่ ารอนุรกั ษ์ไว้

15

ด้านศิลปกรรม

ขอ้ มูลภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ ของตาบลปา่ มะคาบ

คณะลเิ กชัชวาลย์ ก้องฟา้

ชอ่ื : นายชชั วาลย์ ยมิ้ ศล
ท่ีอยู่ : ๑๐ / ๑ หมู่ที่ ๕ ตาบลป่ามะคาบ อาเภอเมือง จังหวดั พจิ ติ ร

คณะชัชวาลย์ ก้องฟ้า สมาชิกในคณะมีจานวน ๓๐ คน ผู้แสดง ๑๘ คน นักดนตรี ๘ คน และ
ผู้มหี น้าทอ่ี น่ื ๆ ไดแ้ ก่ เจ้าหน้าที่เวทลี อย และเครื่องเสียง 8 คน

การสืบเช้ือสายศิลปิน จากนายสุนทร ฉิมไทย มีศักดิ์เป็นอา เป็นศิลปินลิเก มีสมญานามว่า
ขวญั ทอง กอ้ งฟา้ เรมิ่ ฝึกหัดการแสดงเม่ืออายุ ๑๘ ปี ส่ิงท่ีกระตุ้นให้รักในงานการแสดงคือ มีการแข่งขัน
ในรูปแบบการแสดงท่ีไม่หยุดนิ่ง ท้าทาย ได้แสดงความสามารถ เป็นวัฒนธรรมของคนไทยท่ีต้องอยู่กับ
สงั คมไทยตลอดไป และสามารถสรา้ งรายได้ใหก้ บั ตนเอง ครอบครวั และใหค้ วามสขุ แก่ผูช้ มได้

16

ด้านการแพทย์ไทย

ข้อมลู ภมู ิปัญญาท้องถ่ินของตาบลป่ามะคาบ

การนวดไทย / การนวดประคบสมนุ ไพร

ชอ่ื : นางกอบลาบ ดิดจาด
ทอี่ ยู่ : 90 หมู่ 7 ตาบลปา่ มะคาบ อาเภอเมอื ง จงั หวดั พิจิตร

การนวดแผนไทยเป็นการดูแลสุขภาพแบบพ้ืนบ้านดั้งเดิมท่ีอยู่คู่กับประเทศไทยนวดแผนไทยน้ัน
มี ป ร ะ วั ติ ม า จ า ก ป ร ะ เ ท ศ อิ น เ ดี ย โ ด ย เ ช่ื อ ว่ า น่ า จ ะ มี ก า ร น า ก า ร น ว ด เ ข้ า ม า พ ร้ อ ม กั บ ก า ร เ ผ ย แ ผ่
พระพุทธศาสนา คุณกอบลาบกล่าวว่าการนวดแผนไทยเป็นศาสตร์และศิลปะที่มาแต่โบราณ เกิดจาก
สัญชาติญาณเบื้องต้นของการอยู่รอด เม่ือมีอาการปวดหรือเจ็บป่วยตนเองหรือผู้ท่ีอยู่ใกล้เคียงมักจะ
ลูบไล้บีบนวดบริเวณดังกล่าว ทาให้อาการปวดเม่ือยลดลง เริ่มแรกก็เป็นไปโดยไม่ได้ตั้งใจ ต่อมาเร่ิม
สังเกตเห็นผลของการบีบนวดในบางจุด หรือบางวิถีได้ผลจึงเก็บไว้เป็นประสบการณ์ และกลายเป็น
ความรู้สืบทอดต่อๆกนั มาจากรุน่ หน่งึ ไปสรู่ นุ่ หนง่ึ โดยจะเน้นในลักษณะการกด การคลึง การบีบ การดัด
การดึง และการอบประคบ คุณกอบลาบ กล่าวว่าแรกเริ่มจากเม่ือก่อนเคยไปอบรมท่ีศูนย์พัฒนา
กรมแรงงานภาค 9 พิษณุโลก จานวน 449 ชั่วโมง และไปศึกษาเพ่ิมเติมจนนามาทาเป็นอาชีพตลอด
ระยะเวลา 11 ปี

17

ด้านอาหารพื้นบ้าน

ขอ้ มูลภูมิปัญญาท้องถ่ินของตาบลปา่ มะคาบ

อาหารพ้ืนบ้าน หมยู อบ้านดง

ชอื่ : วิสาหกจิ ชุมชนกล่มุ สตรีเพอ่ื การแปรรูป
ทอี่ ยู่ : 141/2 หมู่ 8 ตาบลปา่ มะคาบ อาเภอเมือง จงั หวัดพจิ ติ ร

หมยู อ เปน็ อาหารทมี่ ถี ่ินกาเนิดมาจากประเทศเวียดนาม อดีตบริเวณพ้ืนท่ีตาบลป่ามะคาบเคยมี
ชาวเวยี ดนามท่ีอพยพเข้ามาอาศัยในช่วง พ.ศ.2471 ปัจจุบันได้มีการสืบทอดสูตรหมูยอเวียดนามเนื่อง
ด้วยเป็นอาหารทานง่าย สามารถนาไปเป็นส่วนประกอบได้หลากหลายเมนู ภูมิปัญญาที่จะเก็บรักษา
อาหารไวบ้ รโิ ภคนานๆ หมยู อก็เป็นอาหารอีกอย่างหน่ึงท่แี ปรรูปจากเนื้อหมู มีรสชาติอร่อย ถูกใจสาหรับ
หลายๆคนทีช่ อบ หมูยอสูตรเวียดนามแทป้ ัจจุบนั ไดม้ ีการนามาประยกุ ตเ์ ปน็ 3 รสชาติ พริกไทย พริกสด
เห็ดหอม

ตารางฐานข้อ
องค์การบริหารส่วนตาบลป

ชื่อภูมปิ ัญญา ดา้ น เจา้ ของ จุดเดน่ ของภมู ปิ ัญญา

ภูมปิ ัญญา จุดเด่นน้าหมักชีวภาพถูกคิดค้น
เ พ่ื อ ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ท า ง ก า ร เ ก
นา้ หมักชวี ภาพ เกษตรกรรม นางสาวอรศิ า โดยเฉพาะแต่ช่วงหลังก็มีการนาน
ชีวภาพมาประยุกต์ใช้ประโยชน์ใ
ทอ้ งถนิ่ สว่างเมฆ อื่นเช่น ด้านเกษตร ด้านสิ่งแว
ดา้ นประมง

ข้าวปลอดสารพิษ เกษตรกรรม นางสาวอรศิ า เมล็ดข้าวท่ีไม่ผ่านการขัดสี ข้า
รสชาติมันปานกลาง มีคุณค่าประ
“ขา้ วชาวนา” สว่างเมฆ จากสารอาหารต่างๆ มากกว่าข้า
ธรรมดา เพราะผ่านการกะเทาะเ
อ อ ก เ พี ย ง ค ร้ั ง เ ดี ย ว ท า ใ ห้ เ ย
เมล็ดข้าว (รา) ยังอยู่ซ่ึงเป็นส่วน
ไปด้วยแร่ธาตุ และวิตามินต่างๆ ร
กากใยอาหารทม่ี ีมากกวา่ ขา้ วขาว

18

อมูลภูมิปัญญาทอ้ งถิน่
ป่ามะคาบ อาเภอเมอื ง จังหวดั พจิ ติ ร

ข้อมูลภูมิปัญญา บรเิ วณทีพ่ บ หมาย
เหตุ

นข้ึนมา น้าหมักชีวภาพเป็นสารละลาย 39หมู่ที่ 5
ก ษ ต ร เข้มข้นท่ีได้จากการหมักเศษพืช ตาบลปา่ มะคาบ
น้าหมัก หรือสัตว์ กับสารที่ให้ความหวาน อาเภอเมืองจังหวัดพิจิตร
ในด้าน จนถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ ซ่ึง เบอร์โทร 090-328-2614
วดล้อม เมื่อผ่านกระบวนการแล้วจะได้

สารละลายเข้มข้น ประกอบไปด้วย
จุ ลิ น ท รี ย์ แ ล ะ ส า ร อิ น ท รี ย์
หลายชนิด

าวขาว ข้าวท่ีได้จากการปลูกโดยไม่ใช้ 39หมทู่ ่ี 5
ะโยชน์ สารเคมีหรือสารสังเคราะห์อื่นใดท่ี ตาบลป่ามะคาบ
าวขาว ไม่ใช่จากธรรมชาติ ท้ังยาฆ่าหญ้า อาเภอเมืองจังหวดั พิจิตร
เปลือก ฆ่าแมลง ปุ๋ยเคมี รวมไปถึงสารเคมี เบอร์โทร090-328-2614
ย่ื อ หุ้ ม ท่ีใช้ระหว่างเก็บรักษาผลผลิต เช่น
นที่อุดม ยากันเชื้อราเคลือบฆ่าเชื้อต่างๆ
รวมท้ัง โดยให้ความสาคัญกับการปลูกท่ีไม่

ทาลายสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างฟื้นฟู
ระบบนิเวศและกลไกของธรรมชาติ
ไปพร้อมกับเร่ืองสุขภาพและเป็น
สินค้า OTOP Product Champion
2562 ระดับสด่ี าว

ชื่อภมู ิปัญญา ดา้ น เจ้าของภมู ปิ ญั ญา จุดเดน่ ของภมู ปิ ัญญา

การทาไม้กวาด หตั ถกรรม กล่มุ ดอกราชาวดี จุดเด่นถือเป็นหน่ึงในภูมิปัญญาท

ดอกหญ้า ซึ่งมีกระบวนการที่เกิดจากการถ่า

ความรู้เหล่าน้ันจนกลายเป็นทักษ

ความชานาญสามารถนาไปต่อยอ

รายไดใ้ นครวั เรอื น

การทาเปลญวน หัตถกรรม กลุ่มดอกราชาวดี จุดเด่นถือเป็นหน่ึงในภูมิปัญญาท
ซ่ึงมีกระบวนการที่เกิดจากการถ่า
ความรู้เหล่านั้นจนกลายเป็นทักษ
ความชานาญสามารถนาไปต่อยอ
รายไดใ้ นครัวเรอื น

19

ขอ้ มูลภมู ิปัญญา บริเวณทพี่ บ หมาย
เหตุ

ท้องถิ่น ดอกหญ้าไม้กวาด หรือเรียกว่า บ้านทา่ มะไฟ หมู่ที่ 9
ายทอด “ดอกหญ้าก๋ง”สามารถ เก็บเกี่ยว ตาบลป่ามะคาบ
ษะและ เอาดอก กิ่งกา้ น มาทาเปน็ ไม้กวาด อาเภอเมืองจังหวดั พิจิตร
อดสร้าง ในชุมชนตาบลป่ามะคาบ มีการ

รวมกลุ่มจัดทาไม้กวาดดอกหญ้า
เพ่ือเป็นการหารายได้เสริม และ
เป็นการฝึกฝีมือและทาอาชีพของ
กลุ่ม โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีใน
ท้ อ ง ถิ่ น ข อ ง ตั ว เ อ ง ปั จ จุ บั น
ภูมิปัญญาชาวบ้านได้ก่อเกิดและ
สบื ทอดกนั มาในชุมชน

ท้องถ่ิน เริ่มต้นจากการถักหัวเปลตามด้วย บ้านทา่ มะไฟ หมู่ที่ 9
ายทอด สานตัวเปล 12 ขา ความยาว ตาบลปา่ มะคาบ
ษะและ 16 ตา หลังจากนั้นใส่หัวเปลอีก อาเภอเมืองจังหวัดพิจิตร
อดสร้าง ด้านช่วงท่ียากที่สุดจะเป็นช่วงของ

การประกอบตวั เปลตอนเสรจ็

ชือ่ ภูมิปัญญา ด้าน เจ้าของภมู ิปญั ญา จดุ เด่นของภมู ิปัญญา

การทาน้ายา หตั ถกรรม กล่มุ ดอก จุดเด่นถือเป็นหน่ึงในภูมิปัญญา
ท้องถ่ินซ่ึงมีกระบวนการท่ีเกิดจาก
ลา้ งจาน ราชาวดี การถ่ายทอดความรู้เหล่านั้นจน
กลายเป็นทักษะและความชานาญ
งานจักรสาน หัตถกรรม นายเกยี รตภิ ูมิ สามารถนาไปตอ่ ยอดสร้างรายได้ใน
สว่างเมฆ ครวั เรือน

คณะลิเก ศลิ ปกรรม นายชัชวาลย์ งานจักรสานเกิดจากภูมิปัญญาท่ีมี
ชชั วาลย์ ยิ้มศล การถ่ายทอดจากรุนสู่รุ่นในลักษณะ
กอ้ งฟา้ ของการทาเคร่ืองจักรสานต่างๆโดย
นาวัตถุดิบจากธรรมชาติใกล้ตัวมา
ทาใหเ้ กิดประโยชน์

ลิเกเปน็ ศลิ ปะประจาชาติไทยต้ังแต่
กรงุ ศรีอยธุ ยาหรอื ต้นรัตนโกสินทร์
เข้ามาในสมยั รัชกาล
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้า
นภาลัย ซง่ึ ชาวคณะลิเกทุกคนจะ
สบื ทอดนาฏศิลป์จนปจั จบุ นั เพ่ือให้
ลูกหลานไดส้ มั ผัสความเป็นไทย
สิง่ ทงี่ ดงามของไทยและมีนยั ยะ
แอบแฝง

20

ข้อมูลภูมปิ ัญญา บรเิ วณทพี่ บ หมาย
เหตุ

ผลิตภัณฑ์น้ายาล้างจานโดยนามะกรูดมา บ้านท่ามะไฟ หมู่ท่ี 9
แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เป็นน้ายาล้างจาน ใช้ใน ตาบลป่ามะคาบ
ครัวเรือน ลดภาระค่าใช้จ่าย ถือว่าเป็น อาเภอเมืองจังหวัดพจิ ิตร
ทางเลือกท่ีดีในการประกอบอาชีพสร้างรายได้
เสรมิ

คุณเกียรติภูมิเป็นผู้หน่ึงที่ใช้ไม่ไผ่สานเป็น 65หม่ทู ่ี 5
ตระกล้า กระบุง กระเป๋า การสานไม้ไผ่ส่ิงท่ี ตาบลป่ามะคาบ
ยากคือการข้ึนรูปต้องอาศัยความคิดและฝีมือ อาเภอเมืองจังหวดั พิจิตร
เป็นหลัก การสานลวดลายจะสานลายใดน้ัน เบอร์โทร082-773-1770
ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการใชส้ อย

คุณชัชวาลย์ ได้สืบทอดศิลปะการแสดงลิเกไว้ ๑๐ /๑ หมู่ที่ ๕
ได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาจากบิดา ญาติ ตาบลปา่ มะคาบ
และครเู ปน็ ส่วนใหญ่ วิธกี ารถ่ายทอดท่ีได้รับมา อาเภอเมืองจังหวดั พจิ ิตร
คือ ผู้สอนแนะนาวิธีการแสดงแล้วนามาฝึกหัด เบอรโ์ ทร083-571-6838
ด้วยตนเอง

ชื่อภูมปิ ัญญา ด้าน เจา้ ของภมู ปิ ัญญา จดุ เดน่ ของภูมิปัญญา

นวดแผนไทย แพทย์แผน นางกอบลาบ การนวดแผนไทยเป็นการดูแลส
หมูยอบ้านดง ไทย ดดิ จาด แบบพ้ืนบ้านด้ังเดิมที่อยู่คู่กับปร

อาหาร ไทยมาต้ังแต่ก่อนสมัยกรุงสุโขท
พ้ืนบ้าน ความหลากหลายและเป็นเอกลัก
แ ต ก ต่ า ง กั น ไ ป ต า ม แ ต่ ล ะ ส
วัฒนธรรมกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ

วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น หมูยอ เดิมทีแล้วเป็นอาหารเวีย
กลุ่มสตรีเพ่ือการ มีที่มาจากคนเวียดนามนาเข้ามาใ
แปรรูป ภูมิปัญญาท่ีจะเก็บรักษาอาห

บริโภคนานๆ หมูยอก็เป็นอาห
อ ย่ า ง ห นึ่ ง ท่ี แ ป ร รู ป จ า ก เ น
มีรสชาตอิ รอ่ ย ถูกใจ

21

ขอ้ มูลภูมปิ ัญญา บริเวณทพี่ บ หมาย
เหตุ

สุขภาพ คณุ กอบลาบกลา่ วว่าการเรียนรู้จาก 90หมู่ 7
ระเทศ ชีวิตในวัยเด็กจนกระทั่งได้รบการ ตาบลปา่ มะคาบ
ทัยซึ่งมิ ถ่ายทอดอบรม ได้เรียนจนมีความรู้ อาเภอเมืองจังหวดั พจิ ิตร
กษณ์ที่ มีความสามารถ มีความเชี่ยวชาญ เบอรโ์ ทร087-312-3567
สั ง ค ม ในงานท่ีทา หรอื ประกอบอาชพี

ยดนาม อดีตบริเวณพ้ืนท่ีตาบลป่ามะคาบ 141/2 หมู่ 8
ในไทย เคยมีชาวเวียดนามท่ีอพยพเข้ามา ตาบลป่ามะคาบ
หารไว้ อาศัยในช่วง พ.ศ.2471 ปัจจุบัน อาเภอเมืองจังหวัดพิจิตร
หารอีก ไ ด้ มี ก า ร สื บ ท อ ด สู ต ร ห มู ย อ เบอร์โทร 091-024-7124
นื้ อ ห มู เวียดนามเนื่องด้วยเป็นอาหาร

รับประทานง่าย สามารถนาไปเป็น
ส่วนประกอบหลากหลายเมนู และ
ยัง สามารถสร้างเป็นอาชีพมีรายได้
ในครัวเรอื น


Click to View FlipBook Version