The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประมวลผลข้อมูล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ipppanatda, 2022-12-08 12:33:46

การประมวลผลข้อมูล

การประมวลผลข้อมูล

รายงานเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชาการงานและเทคโนโลยีลเพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องราวของการประมวลผล
ข้อมูล โดยได้ศึกษาผ่านแหล่งความรู้ต่าง ๆ อาทิเช่น ตำรา หนังสือ หนังสือพิมพ์

วารสาร ห้องสมุด และแหล่งความรู้จากเว็บไซต์ต่างๆ โดยรายงานเล่มนี้ต้องมีเนื้อหาเกี่ยวกับ เนื้อหาของการประ มวลผลข้อมูล



ผู้จัดทำคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดทำเอกสารฉบับนี้จะมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาวรรณกรรมไทย
เป็นอย่างดี


คำนำ ก
สารบัญ ข
เนื้อหา 1
เนื้อหา 2
การทำความเข้าใจกับวัตถุประสงค์ของการประมวลผลข้อมูล 3
4
การเก็บรวบรวมข้อมูล 6
การเตรียมข้อมูล 6
การประมวลผลข้อมูล
7
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
7
การทำข้อมูลให้เป็นภาพ
10
บรรณานุกรม


เนื้อหา การเก็บรวบรวมข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
การทำความเข้าใจกับวัตถุประสงค์ของการประมวล
ผลข้อมูล

การเตรียมข้อมูล


เนื้อหา การทำข้อมูลให้เป็นภาพ

การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ


การทำความเข้าใจกับวัตถุประสงค์ของการประมวลผลข้อมูล

การทำความเข้าใจกับวัตถุประสงค์ของการประมวลผลข้อมูล เนื่องจากผู้
วิเคราะห์จะต้องทำความเข้าใจวัตถุประสงค์อย่างถ่องแท้ เพื่อนำไปสู่การตั้ง

ปัญหาและการหา คำตอบได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

จากนั้นจึงนำไปสู่ขั้นตอนของการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูล ที่มี
ความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ผ่านการวิเคราะห์ โดยข้อมูลที่ได้จากแหล่ง
ข้อมูลปฐมภูมิและ แหล่งข้อมูลทุติยภูมิสามารถเป็นได้ทั้งข้อมูลที่มีโครงสร้าง

ข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้าง และข้อมูลกึ่งโครงสร้าง


การเก็บรวบรวมข้อมูล

การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการ ทางสถิติ ที่มีความสำคัญ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่ตอบสนอง
วัตถุประสงค์ และสอดคล้องกับกรอบแนวความคิด สมมุติฐาน เทคนิคการวัด และการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งหมายรวมทั้ง
การเก็บข้อมูล ( Data Collection) คือ การเก็บข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการรวบรวมข้อมูล ( Data Compilation) ซึ่งหมาย
ถึง การนำเอาข้อมูลต่างๆที่ผู้อื่นได้เก็บไว้แล้ว หรือรายงานไว้ในเอกสารต่างๆ มาทำการศึกษาวิเคราะห์ต่อ

ประเภทของข้อมูล
ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับตัวแปรที่สำรวจโดยใช้วิธีการวัดแบบใดแบบหนึ่ง โดยทั่วไปจำแนกตามลักษณะของข้อมูลได้เป็น 2

ประเภท คือ
1) ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) คือ ข้อมูลที่เป็นตัวเลขหรือนำมาให้รหัสเป็นตัวเลข ซึ่งสามารถนำไปใช้วิเคราะห์ทางสถิติได้
2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) คือ ข้อมูลที่ไม่ใช่ตัวเลข ไม่ได้มีการให้รหัสตัวเลขที่จะนำไปวิเคราะห์ทางสถิติ แต่เป็นข้อความ

หรือข้อสนเทศ


การเก็บรวบรวมข้อมูล

ข้อมูลปฐมภูมิ ( Primary Data) คือ ข้อมูลที่ผู้วิจัยเก็บขึ้นมาใหม่เพื่อ ตอบสนองวัตถุประสงค์การวิจัยในเรื่องนั้นๆ โดยเฉพาะ การเลือกใช้ข้อมูลแบบปฐมภูมิ
ผู้วิจัยจะสามารถเลือกเก็บข้อมูลได้ตรงตามความต้องการและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ตลอดจนเทคนิคการวิเคราะห์ แต่มีข้อเสียตรงที่สิ้นเปลืองเวลา ค่าใช้
จ่าย และอาจมีคุณภาพไม่ดีพอ หากเกิดความผิดพลาดในการเก็บข้อมูลภาคสนาม

ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่มีผู้เก็บหรือรวบรวมไว้ก่อนแล้ว เพียงแต่นักวิจัยนำข้อมูลเหล่านั้นมาศึกษาใหม่ เช่น ข้อมูลสำมะโน
ประชากร สถิติจากหน่วยงาน และเอกสารทุกประเภท ช่วยให้ผู้วิจัยประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องเสียเวลากับการเก็บข้อมูลใหม่ และสามารถศึกษาย้อนหลังได้
ทำให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ที่ศึกษา แต่จะมีข้อจำกัดในเรื่องความครบถ้วนสมบูรณ์ เนื่องจากบางครั้งข้อมูล
ที่มีอยู่แล้วไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ของเรื่องที่ผู้วิจัยศึกษา และปัญหาเรื่องความ น่าเชื่อถือของข้อมูล ก่อนจะนำไปใช้จึงต้องมีการปรับปรุงแก้ไขข้อมูล และ
เก็บข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งอื่นในบางส่วนที่ไม่สมบูรณ์


การเตรียมข้อมูล

การเตรียมข้อมูลเป็นกระบวนการจัดเตรียมข้อมูลดิบเพื่อให้เหมาะกับการประมวลผลและการวิเคราะห์เพิ่มเติม ขั้นตอนที่สำคัญ ได้แก่ การเก็บรวบรวม การ
ทำความสะอาด และการระบุประเภทข้อมูลสำหรับข้อมูลดิบในรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับอัลกอริทึมของแมชชีนเลิร์นนิ่ง (ML) แล้วจึงสำรวจและแสดงผล
ข้อมูลต่อไป การเตรียมข้อมูลอาจใช้เวลาถึง 80% ของเวลาที่ใช้ไปกับโปรเจกต์ ML การใช้เครื่องมือการจัดเตรียมข้อมูลเฉพาะทางมีความสำคัญต่อการ
ปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการนี้

การประมวลผลข้อมูล

การประมวลผล(Data Processing) เป็นการประมวลผลทางข้อมูลเป็นการนำข้อมูล ที่เก็บรวบรวมได้มา
ผ่านกระบวนการต่าง ๆ เพื่อแปรสภาพข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ต้องการ เรียกว่า ข้อมูลสนเทศหรือสารสนเทศ
(Information)information คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากข้อมูลที่ได้รวบรวมและนำเข้าสู่กระบวนการประมวลผล ซึ่ง

ผลลัพธ์ที่ได้นี้ สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการวิเคราะห์ทิศทาง หรือการตัดสินใจได้ทันที


การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ

สถิติเชิงวิเคราะห์เป็นวิธีการตรวจสอบสมมุติฐานของการวิจัย โดยมากแล้วจะเป็นการ
ทดสอบว่า ตัว แปรตั้งแต่สองตัวขึ้นไป มีความแตกต่าง สัมพันธ์กัน หรือเกี่ยวข้องกัน
หรือไม่กรณีที่มีตัวแปรตัวเดียวก็มักจะ เป็นการทดสอบว่า ค่าตัวแปรที่ได้จากการวิจัย
แตกต่างจากตัวเลขที่กาหนดไว้ก่อนหรือไม่

การทำข้อมูลให้เป็นภาพ

ข้อมูลที่รวบรวมได้นั้น ส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบของตารางที่ประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลข เป็นปริมาณมาก แม้ว่า
ข้อมูลนั้นสามารถตอบข้อสงสัย หรือนำเสนอสิ่งที่สนใจได้ แต่ยังยากต่อการทำความเข้าใจ หรือเป็นอุปสรรคในการ
สื่อสารให้เข้าใจตรงกัน


การทำข้อมูลให้เป็นภาพ

การนำเสนอข้อมูลด้วยภาพ (data visualization) สามารถช่วยตอบคำถาม หรือนำเสนอประเด็กต่างๆ ได้รวดเร็ว
และชัดเจนมากขึ้นการแสดงข้อมูลเป็นภาพหมายถึงเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับการแสดงข้อมูลแบบกราฟิก โดยใช้องค์
ประกอบภาพ เช่น แผนภูมิและกราฟเพื่อระบุแนวโน้ม รูปแบบ และค่าผิดปกติ เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกอย่างรวดเร็ว
และเพื่อช่วยในการตัดสินใจแบบเรียลไทม์ การทำความเข้าใจปริมาณข้อมูลที่ล้นหลามที่สร้างขึ้นโดยธุรกิจในแต่ละ
วันนั้นมีความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ ในโลกปัจจุบัน

การแสดงข้อมูลเป็นภาพที่ดีจะช่วยขจัดสิ่งรบกวนจากข้อมูล เน้นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ และบอกเล่าเรื่องราว
Edward R. Tufte ผู้บุกเบิกการแสดงข้อมูลเป็นภาพกล่าวว่า "ความเป็นเลิศด้านกราฟิกคือสิ่งที่ให้แนวคิดแก่ผู้ดูมาก
ที่สุดในเวลาอันสั้น โดยใช้หมึกน้อยที่สุดในพื้นที่ที่เล็กที่สุด"


การทำข้อมูลให้เป็นภาพ


https://www.zoho.com/th/analytics/what-is-data-visualization.html
http://www2.bwc.ac.th/com30281/content0301t.asp?
backMenu=index.asp

https://sites.google.com/site/computerinbusiess/data-processing
https://sites.google.com/site/napayaran/bth-thi7/khan-txn-kar-

pramwl-phl-khxmul


โรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์
55/104 the place ซ.พุทธบูชา32 แขวงบางมด เขตทุ่งครุ

10140 กทม


Click to View FlipBook Version