The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ-กศน.ตำบลภผม.65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by d.k.s.n_poy, 2022-04-21 07:40:29

ผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ-กศน.ตำบลภผม.65

ผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ-กศน.ตำบลภผม.65

ผลการปฏิบัติงานท่ีเปน็ เลิศ (Best Practice) กระบวนการตดิ ตามผู้เรียนเพื่อเพิ่มจำนวนผู้เขา้ รับการทดสอบ
ทางการศึกษาระดบั ชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

1. ความสำคญั และความเป็นมา
การจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งเน้น

การจัดการเรยี นรู้ตามปรัชญา “คดิ เป็น” และยดึ หลกั วา่ ผเู้ รียนทุกคนสามารถเรียนรแู้ ละพฒั นาตนเองได้ ผ้เู รียนแต่
ละคนมีธรรมชาติที่แตกต่างกัน ทั้งด้านวัย วุฒิภาวะ ความถนัด ความสนใจ วิธีการเรียนรู้ ตลอดจนมีการดำเนิน
ชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน ซึ่งส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ดังนั้นการจัดการเรียนรู้จึงต้องยึดผู้เรียนเป็น
สำคญั เพือ่ สง่ เสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถของตนเอง ตามธรรมชาติ เตม็ ตามศักยภาพท่ีมีอยู่ และเรียนรู้
อย่างมีความสุข ประกอบกับนโยบายสำนักงาน กศน.จังหวัดศรีสะเกษ ต้องการที่จะยกระดับจำนวนผูเ้ ข้ารับการ
ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวน
นักศึกษาทั้งหมด แต่ด้วยสภาพปัญหาในปัจจุบันนักศึกษาใน กศน.ตำบล ส่วนใหญ่ค่อยไม่ใส่ใจในการเข้าร่วม
กิจกรรมการเรียนการสอน ส่งผลให้จำนวนผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ
โรงเรยี น (N-NET) ลดลงและมผี ลต่อการจบการศึกษาตามโครงสรา้ งหลักสตู รของตัวนกั ศึกษาเอง

ปัญหาดังกล่าวได้ถูกนำมาพิจารณา และดำเนินการเพื่อออกแบบกระบวนการติดตามผู้เรียนเพื่อเพิ่ม
จำนวนผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) เพื่อที่จะใช้เป็น
เครื่องมือในการติดตามนักศึกษา เพื่อเพิ่มจำนวนผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอก
ระบบโรงเรยี น (N-NET) เกดิ ความสอดคล้องกับนโยบายยกระดับจำนวนผู้เข้ารับการทดสอบของ สำนักงาน กศน.
จังหวัดศรีสะเกษ จึงได้จัดทำกระบวนการติดตามผู้เรียนเพื่อเพิ่มจำนวนผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาตดิ ้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

2. จดุ ประสงค์
๑) เพื่อติดตามให้นักศึกษาเข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน

(N-NET)
๒) เพื่อเพิ่มจำนวนนักศึกษาในการเข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ

โรงเรียน (N-NET)

3. หลกั การและแนวคิดกระบวนการผลิตงานหรือข้นั ตอนการดำเนินงาน (วธิ ปี ฏบิ ตั ิท่เี ป็นเลศิ )
SWOT Analysis (วิเคราะหข์ อ้ มูลเพ่ือนำไปส่กู ารจดั ทำแผนปฏบิ ตั ิการ)
SWOT Analysis เปน็ การวเิ คราะหส์ ภาพองคก์ รหรือหนว่ ยงานในปัจจุบันเพื่อค้นหา จดุ แขง็ จุดเด่น จุด

ดอ้ ยหรือสิ่งท่ีอาจเป็นปัญหาสำคญั ในการดำเนินงานสสู่ ภาพท่ตี ้องการในอนาคต

หลกั การสำคญั ในการวิเคราะห์ SWOT
การวเิ คราะห์จากสภาพการณ์ (Situation Analysis) ซ่ึงเปน็ การวิเคราะห์จุดแข็ง (S) จดุ ออ่ น (W) เพื่อให้

รู้ตนเอง รู้จักสภาพแวดลอ้ ม ชัดเจนและวิเคราะห์โอกาส (O) อุปสรรค (T) การวิเคราะห์ปจั จัยต่าง ๆ ทั้งภายนอก
และภายในองค์กร ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหารขององค์กรทราบถึงการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายนอกองค์กร ท้ัง

ผลการปฏบิ ัตงิ านที่เป็นเลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผูเ้ รยี นเพื่อเพ่ิมจำนวนผู้เขา้ รบั การทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดบั ชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

สิ่งทไ่ี ด้เกดิ ข้ึนแล้วและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ซึ่งเปน็ ประโยชนอ์ ย่างมากต่อการกำหนดวสิ ยั ทศั น์ การ
กำหนดกลยุทธ์และการดำเนนิ ตามกลยุทธ์ขององคก์ รระดบั องคก์ รต่อไป

ปัจจยั ภายในองคก์ ร จดุ แข็ง (S) และจุดอ่อน (W)
วเิ คราะหภ์ ายในองค์กร ดว้ ยเครือ่ งมือ McKinney 7’s Framework ท้งั 7 องคป์ ระกอบ

ปจั จัยภายนอกองคก์ ร โอกาส (O) และอปุ สรรค (T)
วิเคราะหป์ ัจจยั ภายนอกองคก์ ร โดยคำนึงถงึ ท่ีมีผลต่อการเปลีย่ นแปลงดา้ นตา่ ง ๆ ตาม

องคป์ ระกอบของ PESTEL ได้แก่
1. การเมอื ง
2. เศรษฐกิจ
3. สงั คม
4. เทคโนโลยี
5. สภาพแวดล้อม
6. กฎหมาย

ผลการปฏิบตั ิงานทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) กระบวนการตดิ ตามผู้เรยี นเพ่ือเพิ่มจำนวนผเู้ ขา้ รับการทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

กระบวนการผลติ งานหรอื ขั้นตอนการดำเนินงาน (วิธีปฏิบตั ทิ เ่ี ปน็ เลิศ)
จากดำเนินการจัดทำระบบการตดิ ตามนกั ศึกษา มีการวางแผนการดำเนนิ งาน และตดิ ตามงานอยา่ งเป็น

ระบบเพื่อให้ได้ข้อมลู ถูกต้องและแมน่ ยำ โดยใช้วงจรคุณภาพ (Deming Cycle) หรือ PDCA
• การวางแผน (Plan)
จากขอ้ มลู การเข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นการสอน จำนวนผ้เู ขา้ รบั การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน

การศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ในปีทีผ่ ่านมาพบว่า จำนวนผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนการสอนและการเข้า
สอบยงั ไม่เปน็ ทนี่ ่าพอใจ จึงไดก้ ำหนดแผนในการดำเนนิ งาน ระบบการตดิ ตามและประสานนกั ศกึ ษาไว้ดงั นี้

12 3 4

ชแี้ จงแนวทางการ ออกแบบการ รวบรวมขอ้ มลู และ ดำเนนิ การตดิ ตาม
ดำเนนิ งานใหก้ ับ จดั เกบ็ ข้อมูลใน ดำเนินการจัดทำ นกั ศกึ ษาโดยใช้
ผบู้ รหิ ารและคณะ การติดตามและ คู่มอื ติดตามและ คู่มือติดตามและ
ประสานนกั ศึกษา ประสานนักศึกษา ประสานนกั ศึกษา
ครทู ราบ

• การปฏบิ ตั ิตามแผน (Do) ปฏิบตั งิ านตามแผนท่วี างไว้ โดยดำเนนิ การตามข้ันตอนดังต่อไปน้ี
1. ประชุมชีแ้ จงกับนักศกึ ษาเพอ่ื กรอกแบบสำรวจข้อมลู
2. บันทกึ ขอ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากใบสมคั รและแบบข้อมูลเพ่ือการติดตามนักศกึ ษา
3. ดงึ นกั ศึกษาเข้ากลุ่ม Line กศน.ตำบลภผู าหมอก
4. เพ่ิมนักศึกษาเปน็ เพอ่ื นใน Facebook
5. ดำเนินการติดต่อประสานนกั ศกึ ษาเพ่ือเข้ารว่ มกิจกรรมทท่ี าง กศน.จดั ขึ้น ผ่านทางโทรศัพท์
ส่งข้อความในกลุ่ม Line กศน.ตำบลภูผาหมอก และ Line ส่วนตวั ของนกั ศึกษา Facebook
Messenger
6. ประชาสัมพันธก์ ารจดั กิจกรรมท่ี กศน.จะดำเนินการผ่านทาง Facebook สว่ นตวั ของครู
และ Facebook กศน.ตำบลภผู าหมอก
7. แจง้ วนั เวลาและสถานท่สี อบ N-NET ให้นกั ศึกษาทราบลว่ งหนา้ อยา่ งน้อย 30 วนั โดยการ
โทรประสาน แจ้งไปใน Line กศน.ตำบลภูผาหมอก และ Line ส่วนตวั ของนักศึกษา
Facebook Messenger

ผลการปฏิบตั ิงานทเ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผ้เู รียนเพื่อเพิ่มจำนวนผู้เขา้ รับการทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

ตารางแผนการดำเนนิ งานกระบวนการติดตามผู้เรียน

เพอ่ื เพ่มิ จำนวนผูเ้ ขา้ รบั การทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตดิ ้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

กศน.ตำบลภูผาหมอก

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอกันทรลักษ์

ท่ี รายการท่ดี ำเนนิ การ ช่วงเวลาทด่ี ำเนินการ สถานท่ดี ำเนนิ การ หมายเหตุ

ช่วงเตรยี มการ

๑ ประชุมชีแ้ จงกับนักศึกษาเพอื่ กรอก ในวนั พบกลุ่มวนั แรก กศน.ตำบลภูผาหมอก
แบบสำรวจข้อมูล

๒ บนั ทกึ และจดั ทำแบบข้อมลู เพือ่ ภายหลงั จากการเก็บ กศน.
การติดตามนักศึกษา ข้อมูลแบบสำรวจ อำเภอกันทรลักษ์

๓ ดงึ นักศึกษาเขา้ กล่มุ Line กศน. ภายหลังจากการเก็บ กศน.
ตำบลภูผาหมอก เพิ่มนักศกึ ษาเปน็ ข้อมูลแบบสำรวจ อำเภอกนั ทรลักษ์
เพอ่ื นใน Facebook

ชว่ งระหว่างภาคเรยี น กิจกรรมการเรยี นการสอน/กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ

1 แจ้งกจิ กรรมผา่ นกลมุ่ Line กศน. ก่อนมีการดำเนิน ทกุ ๆ ทผ่ี า่ น

ตำบลภผู าหมอกและ Line สว่ นตัว กิจกรรม 1-2 วัน Smartphone

นกั ศึกษา

2 แจง้ กิจกรรมผ่าน Facebook ก่อนมีการดำเนิน ทุกๆ ทผี่ า่ น

กศน.ตำบลภผู าหมอก กจิ กรรม 1-2 วนั Smartphone

3 ลงพืน้ ทตี่ ิดตามนกั ศกึ ษา กอ่ นมีการดำเนิน ในพนื้ ที่

กจิ กรรม 1-2 วนั ตำบลภผู าหมอก

4 โทรแจ้งนักศึกษาเข้าร่วมกจิ กรรม กอ่ นมีการดำเนนิ ทุกๆ ท่ผี ่าน

กิจกรรม 1-2 วนั Smartphone

5 ประชาสัมพันธก์ จิ กรรมFacebook ภายในวนั ท่ดี ำเนิน ทุกๆ ที่ผา่ น

สว่ นตวั ของครแู ละ Facebook กจิ กรรม Smartphone

กศน.ตำบลภผู าหมอก

ท่ี รายการท่ีดำเนนิ การ ช่วงเวลาที่ดำเนนิ การ สถานท่ดี ำเนินการ หมายเหตุ

การดำเนนิ การประสานนกั ศกึ ษาเข้าสอบ N-NET

1 ตรวจสอบรายช่ือผู้มสี ิทธ์ิสอบ 6 สปั ดาห์ กศน.

กอ่ นมีการดำเนินการสอบ อำเภอกันทรลักษ์

2 แจง้ วนั เวลา สถานทส่ี อบ ผา่ นกลุ่ม 3-4 สปั ดาห์ ทกุ ๆ ทผ่ี ่าน
Line กศน.ตำบลภูผาหมอกและ ก่อนมีการดำเนนิ การสอบ Smartphone

Line สว่ นตัวนักศกึ ษา

ผลการปฏบิ ัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) กระบวนการตดิ ตามผู้เรยี นเพื่อเพิ่มจำนวนผเู้ ข้ารับการทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดับชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

แจง้ วนั เวลา สถานท่สี อบ ผ่าน 3-4 สปั ดาห์ ทกุ ๆ ท่ผี า่ น
3 Facebook และ Facebook กอ่ นมีการดำเนินการสอบ Smartphone

กศน.ตำบลภผู าหมอก 3-4 สปั ดาห์ กศน.
4 ส่งรายละเอยี ดการสอบ ก่อนมีการดำเนินการสอบ อำเภอกนั ทรลกั ษ์

5 ลงพน้ื ทต่ี ดิ ตามนกั ศกึ ษาเป็น 3-4 สปั ดาห์ ในพ้นื ที่
รายบคุ คล ก่อนมีการดำเนนิ การสอบ ตำบลภูผาหมอก

ภายหลังการเขา้ สอบ N-NET ภายในวันสอบ สนามสอบ
ตดิ ตามในพน้ื ท่ี
1 ตรวจสอบรายชอ่ื ผู้เขา้ สอบ 1-2 วัน ตำบลภูผาหมอก
ภายหลงั ดำเนินการสอบ และผา่ นทาง
2 ติดตามสอบถามนักศึกษาถงึ สาเหตุ Smartphone
ที่ไม่มาเข้าสอบ

• การตรวจสอบ (Check) แบง่ การตรวจสอบข้อมูลออกเป็น 3 ชว่ ง คือ
- ระหว่างภาคเรียน สังเกตการณ์เข้าร่วมกิจกรรมการพบกลุ่มของนักศึกษาในแต่ละสัปดาห์
โดยอ้างอิงจากบัญชีลงเวลาการพบกลุ่มนักศึกษา สังเกตการณ์เข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียนของนักศึกษาในแต่ละกิจกรรม/โครงการ โดยอ้างอิงจากบัญชีลงเวลา
ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม
- ระหว่างการสอบ N-NET ตรวจสอบจำนวนนกั ศกึ ษาทีเ่ ขา้ สอบ โดยการเช็คนักศกึ ษา
รายบคุ คลก่อนการเข้าสอบ
- ภายหลังการสอบ N-NET ตรวจสอบจากรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ดา้ นการศึกษานอกระบบ (N-NET)

• การปรบั ปรงุ การดำเนินงาน (Act)
จากการดำเนินการตามกระบวนการติดตามผู้เรียนเพื่อเพิ่มจำนวนผู้เข้ารับการทดสอบทาง

การศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ถือว่าระบบการติดตามดังกล่าวมี
ประสิทธิภาพอยู่พอสมควร โดยอ้างอิงจากจำนวนผู้เข้าสอบมีจำนวนเพิ่มขึ้น รายงานผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) ที่นักศึกษา กศน.ตำบลภูผาหมอก เข้ารับการ
ทดสอบ ร้อยละ 100 ของจำนวนนักศึกษาที่เข้ารับการทดสอบทั้งหมด ซึ่งเป็นจำนวนที่เพิ่มขึ้นจากภาค
เรียนท่ผี า่ นมา

อย่างไรก็ตามในบางกจิ กรรมที่ กศน.ได้ดำเนนิ การจดั ขน้ึ ยงั มีนักศกึ ษา กศน.ตำบลภผู าหมอก
เข้าร่วมกิจกรรมไม่เป็นไปตามจำนวนเป้าหมายที่กำหนดเอาไว้ จึงต้องมีการปรับปรุงระบบติดตามและ
ประสานนักศกึ ษา ให้มีประสิทธภิ าพท่ีดียง่ิ ขนึ้

ผลการปฏิบตั งิ านที่เปน็ เลิศ (Best Practice) กระบวนการติดตามผูเ้ รียนเพื่อเพ่ิมจำนวนผเู้ ขา้ รบั การทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดบั ชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

1. วิเคราะหข์ ้อมลู ของนักศึกษา
2. ทบทวนข้อมูลให้มีความครอบคลมุ
3. สรุปผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
4. รวบรวมขอ้ มูลเพือ่ ประกอบการจดั ทำระบบการติดตามนักศกึ ษาในคร้ังต่อไป
5. รายงานผลการดำเนนิ งานตอ่ ผู้บริหาร

4. ผลการดำเนินงาน ผลสัมฤทธิ์และประโยชน์ท่ไี ด้รับ

จากการจัดทำกระบวนการติดตามผ้เู รยี นเพ่ือเพ่ิมจำนวนผู้เข้ารับการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ

ดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) สามารถสรุปผลการดำเนนิ งานท่เี กีย่ วข้องท้ัง 3 ดา้ น ดังน้ี

4.1 หน่วยงาน/สถานศกึ ษา

กศน.ตำบลภูผาหมอก มีจำนวนนักศึกษาที่เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษา

นอกระบบ (N-NET)

ตารางเปรียบเทยี บ จำนวนนักศกึ ษาที่เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอก

ระบบ (N-NET)

ภาคเรียนที่ รอ้ ยละนกั ศกึ ษาท่เี ขา้ รบั การทดสอบทางการศกึ ษา หมายเหตุ
ระดบั ชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET)

1/2563 84.61%

2/2563 100%

1/2564 ๗๕.๕๘%

2/2564 100%

หมายเหตุ นโยบายสำนักงาน กศน.จงั หวัดศรสี ะเกษ ต้องการทจ่ี ะยกระดับจำนวนผูเ้ ขา้ รับการทดสอบ
ทางการศึกษาระดบั ชาติด้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนนักศึกษา
ทง้ั หมด

ผลการปฏิบตั งิ านทเ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการตดิ ตามผ้เู รยี นเพื่อเพ่ิมจำนวนผเู้ ข้ารบั การทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

กราฟเปรียบเทียบ จำนวนนักศึกษาทีเ่ ข้ารบั การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ดา้ นการศึกษานอกระบบ (N-NET) กศน.ตำบลภผู าหมอก

ยอดเข้าสอบนักศกึ ษา N-Net

120.00% 100% 100%
100.00% ปี 2/64
84.61% 75.58%
80.00% ปี 1/63
60.00%
40.00%
20.00%

0.00%

ปี 2/63 ปี 1/64
ปี 1/63 ปี 2/63 ปี 1/64 ปี 2/64

4.2 บคุ ลากร
ครู กศน.ตำบล มีกระบวนการติดตามและประสานนักศึกษาที่มีประสิทธิภาพ สะท้อนถึงการปฏบิ ัติงาน
ของครู กศน.ตำบล สามารถใชเ้ ป็นแนวทางในการประสานนักศกึ ษา ของ ครู กศน.ตำบล อื่นต่อไป
4.3 ผเู้ รยี น/ผรู้ บั บริการ
นักศึกษาหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เขา้ สอบ N-NET และ
ผ่านเกณฑ์การจบหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

5. ปจั จัยความสำเร็จ
5.1 การกำหนดกลยทุ ธใ์ นการดำเนินงานโดยใช้หลักการและแนวคดิ ในการวิเคราะห์ข้อมลู ได้แก่ กลยุทธ์

การพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน (Strategies to Improve School and Community
Relationships), SWOT Analysis

5.2 การมสี ่วนร่วมของนักศกึ ษาทุกคน ทำให้ได้ข้อมูล ท่ีอยู่ หมายเลขโทรศพั ท์ ชื่อ Facebook ID Line
เพ่ือใช้เป็นขอ้ มูลในการติดตอ่ ประสานงาน

5.3 เทคโนโลยใี นการตดิ ต่อสื่อสารท่ีทนั สมยั Smartphone, Facebook, Line
5.4 การสร้างปฏสิ มั พันธท์ ี่ดกี ับนกั ศึกษา สรา้ งความคุ้นเคย เป็นกนั เองไม่ถือตัวมีทัศนคติที่ดกี บั นกั ศกึ ษา
ทกุ คน มีความหวังดกี บั นักศึกษา

ผลการปฏิบตั งิ านที่เปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการตดิ ตามผเู้ รยี นเพื่อเพ่ิมจำนวนผูเ้ ขา้ รับการทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดับชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

6. บทเรยี นทไ่ี ด้รบั
6.1 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ต้องศึกษาหลักการ แนวคดิ และวิธกี ารที่หลากหลาย เพ่ือใหส้ ามารถนำไป

ประยุกต์ได้อย่างเหมาะสมกับตามสภาพของหนว่ ยงาน
6.2 การวางแผน เป็นกระบวนการสำคัญท่จี ะช่วยใหม้ ีแนวทางในการปฏบิ ตั ิงานชัดเจน ถกู ต้อง
6.3 ความสำเร็จของงาน เกิดจากการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในองค์การ ดังนัน้ ควรใหโ้ อกาสในการ

ปฏบิ ัตงิ าน เสนอแนะความคิดเหน็ รวมถึงสรา้ งขวัญกำลังใจแก่บุคลากรอย่างต่อเนื่อง
6.4 การมีช่องทางการตดิ ต่อกบั นกั ศึกษาท่หี ลากหลาย เป็นสงิ่ ท่จี ำเป็นอย่างยิง่ ในการติดต่อและประสาน

นักศึกษาในการเขา้ ร่วมกจิ กรรม

ผลการปฏิบตั งิ านท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) กระบวนการตดิ ตามผู้เรียนเพ่ือเพิ่มจำนวนผู้เข้ารับการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

ผลการปฏิบัติงานท่ีเปน็ เลิศ (Best Practice) กระบวนการตดิ ตามผู้เรียนเพื่อเพิ่มจำนวนผู้เขา้ รับการทดสอบ
ทางการศึกษาระดบั ชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

การเผยแผรผ่ ลการปฏบิ ัติงานทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice)

ดำเนนิ การเผยแพร่ผลงาน ผลการปฏบิ ตั ิงานทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) กระบวนการตดิ ตามผูเ้ รียนเพอ่ื เพ่ิม
จำนวนผ้เู ขา้ รับการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)
ผา่ น Line และ Facebook กศน.ตำบลภผู าหมอก

ผลการปฏิบตั งิ านทเี่ ปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผู้เรยี นเพื่อเพิ่มจำนวนผเู้ ข้ารับการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

ช่องทางในการตดิ ต่อประสานงานกับนกั ศกึ ษาผา่ นช่องทาง FaceBook กศน.ตำบลภผู าหมอก
และช่องทางไลนก์ ล่มุ กศน.ตำบลภผู าหมอก

ผลการปฏิบตั งิ านท่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) กระบวนการติดตามผู้เรียนเพ่ือเพิ่มจำนวนผ้เู ข้ารับการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

การประชาสัมพันธ์ กจิ กรรมการเรยี นการสอนและการรว่ มกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น
ผ่านทาง Facebook กศน.ตำบลภผู าหมอก และห้อง Line กศน.ตำบลภผู าหมอก
เพื่อกระตุน้ ให้นักศกึ ษาเข้าร่วมกจิ กรรมในครั้งต่อไป

ผลการปฏบิ ัตงิ านท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) กระบวนการติดตามผูเ้ รยี นเพื่อเพิ่มจำนวนผู้เขา้ รับการทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดับชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

การติดตอ่ นกั ศึกษาผา่ นทาง ไลน์ตำบล และ Facebook Messenger



คำนำ

ผลการปฏิบัติงานท่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รียนเพ่ือเพ่ิมจำนวนผู้เข้ารบั การทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)


รายงานการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practices) เรื่องกระบวนการติดตามผู้เรียนเพื่อเพิ่มจำนวน
ผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) โดยนางลภัสรดา
ประนามะโส ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลภูผาหมอก ซึ่งจัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ผลงานกระบวนการแนวทางการ
ติดตามผู้เรียนในการเข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)
ให้เกดิ ประสทิ ธิภาพมากยงิ่ ขึน้
ขอขอบคุณผ้ทู ม่ี ีสว่ นเกยี่ วข้องในการให้คำแนะนำท่เี ป็นประโยชน์ และหวงั เป็นอย่างยงิ่ ว่า วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ
งานทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practices) ฉบับนี้จะเปน็ ประโยชนส์ ำหรบั ผทู้ ่ีสนใจนำไปปรบั ใชใ้ นงานของตนเองตอ่ ไป

นางลภสั รดา ประนามะโส
ครู กศน.ตำบลภูผาหมอก

ผลการปฏิบัติงานท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) กระบวนการติดตามผ้เู รียนเพื่อเพ่ิมจำนวนผูเ้ ขา้ รบั การทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)



คำรบั รองวา่ รายงานการปฏิบตั ิท่ีเป็นเลศิ (Best Practices)

คำรับรองว่า รายงานการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practices) เรื่อง กระบวนการติดตามผู้เรียนเพื่อ

เพิ่มจำนวนผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)
เพื่อเป็นการติดตามและเพิ่มจำนวนนักศึกษา กศน.ตำบลภูผาหมอก ในการเข้ารับการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) เพื่อใช้เป็นทางทางในการปฏิบัติงานในหน้าท่ี

ครู กศน.ตำบล และมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธผ์ ลการปฎิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practices) ผ่านช่องทางส่อื

ออนไลนข์ อง กศน.ตำบลภผู าหมอก และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอกนั ทรลักษ์

นางลภสั รดา ประนามะโส
ครู กศน.ตำบลภผู าหมอก

(นายชนะชาติ เต็งศิริ)
ผอู้ ำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกนั ทรลกั ษ์

ผลการปฏบิ ัตงิ านที่เป็นเลิศ (Best Practice) กระบวนการติดตามผูเ้ รียนเพ่ือเพิ่มจำนวนผ้เู ขา้ รบั การทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดบั ชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)



สารบญั

เรื่อง หน้า

รายงานการปฏบิ ัตงิ านทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practices) เรื่องกระบวนการติดตามผเู้ รียนเพ่ือเพิ่ม

จำนวนผเู้ ข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

1. ความสำคญั และความเป็นมา 1

2. วตั ถุประสงค์ 1

3. หลักการและแนวคิดกระบวนการผลติ งานหรอื ขั้นตอนการดำเนินงาน (วิธปี ฏิบตั ิท่เี ปน็ เลิศ) 1

4. ผลการดำเนนิ งาน ผลสมั ฤทธ์ิ และประโยชน์ท่ีได้รับ 6

5. ปจั จัยความสำเร็จ ๗

6. บทเรยี นท่ไี ดร้ บั 8

7. ภาคผนวก 9

- การเผยแผรผ่ ลการปฏิบัติงานทเี่ ปน็ เลศิ (Best Practice) ๑๐

- ภาพกจิ กรรม 11

- แบบตดิ ตามข้อมลู นกั ศึกษา กศน.ตำบลภูผาหมอก

- เกียรติบตั ร

ผลการปฏบิ ัติงานท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) กระบวนการติดตามผู้เรียนเพ่ือเพิ่มจำนวนผู้เขา้ รับการทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

แบบตดิ ตามขอ้ มูลนกั ศึกษา
กศน.ตำบลภผู าหมอก

ผลการปฏิบัติงานท่ีเปน็ เลิศ (Best Practice) กระบวนการตดิ ตามผเู้ รยี นเพื่อเพ่ิมจำนวนผู้เขา้ รับการทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดับชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)


Click to View FlipBook Version