The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

08 52-01-0310 แผนฯ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ม 4-6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ใบงาน

08 52-01-0310 แผนฯ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ม 4-6

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวิตกบั สิ่งแวดลอ้ ม ม. 4–6 44

10. บนั ทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้
1. ความสาเร็จในการจดั การเรียนรู้ ………………………………………………………….…

แนวทางการพฒั นา …………………………………………………………………………
2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจดั การเรียนรู้ …………………………………………………….…

แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………..….
3. สิ่งท่ีไม่ไดป้ ฏิบตั ิตามแผน ………………………………………………………………..…

เหตุผล ………………………………………………………………………………...……
4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ …………………………………………………………

ลงชื่อ ....................................................... ผู้สอน
.........../....................../..........

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวิตกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ม. 4–6 45

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ระบบนิเวศบนบกและแหล่งน้า เวลา 2 ชั่วโมง
สาระที่ 2 ชีวติ กบั สิ่งแวดล้อม
ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 4–6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบนิเวศ

1. สาระสาคัญ

ระบบนิเวศธรรมชาติแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ระบบนิเวศบนบกซ่ึงแบ่งไดเ้ ป็นกลุ่มยอ่ ย
ตามลกั ษณะภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศ และระบบนิเวศแหล่งน้าซ่ึงแบ่งไดเ้ ป็นกลุ่มยอ่ ยตามระดบั
ความเคม็ ของแหลง่ น้า

2. ตวั ชี้วดั ช่วงช้ัน

อธิบายดุลยภาพของระบบนิเวศ (ว 2.1 ม. 4–6/1)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. บอกประเภทของระบบนิเวศบนบกและระบบนิเวศแหล่งน้าได้ (K)
2. อธิบายลกั ษณะและองคป์ ระกอบของระบบนิเวศบนบกและระบบนิเวศแหล่งน้าได้ (K)
3. วางแผน สารวจ และรวบรวมขอ้ มลู เกี่ยวกบั องคป์ ระกอบท่ีไม่มีชีวติ และองคป์ ระกอบท่ีมี

ชีวติ ของระบบนิเวศในทอ้ งถ่ินได้ (K)

4. มีความสนใจใฝ่ รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)

5. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเกี่ยวกบั วทิ ยาศาสตร์ (A)

6. ทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นอยา่ งสร้างสรรค์ (A)

7. สื่อสารและนาความรู้เรื่องระบบนิเวศบนบกและแหล่งน้าไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ (P)

4. การวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และจติ วทิ ยาศาสตร์ (A)

1. ซกั ถามความรู้เร่ือง 1. ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 1. ประเมินทกั ษะ/กระบวนการ

ระบบนิเวศบนบกและแหลง่ น้า เป็นรายบุคคล ทางวิทยาศาสตร์

2. ประเมินกิจกรรมฝึ กทกั ษะ 2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ 2. ประเมินทกั ษะการคิด

ระหวา่ งเรียน เป็ นรายบุคคล 3. ประเมินทกั ษะการแกป้ ัญหา

4. ประเมินพฤติกรรมในการ

ปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือ

รายกล่มุ

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชีวติ กบั ส่ิงแวดลอ้ ม ม. 4–6 46

5. สาระการเรียนรู้ เลา่ ประสบการณ์เกี่ยวกบั สถานที่ต่าง ๆ ที่เป็นระบบนิเวศบนบก
ระบบนิเวศธรรมชาติ และแหล่งน้า ตามที่นกั เรียนรู้จกั หรือไดป้ ระสบมา
– ระบบนิเวศบนบก อธิบายลกั ษณะภูมิประเทศของแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นภเู ขา ทุ่งหญา้
– ระบบนิเวศแหล่งน้า ป่ าไม้ และแหล่งน้า
อภปิ รายเกย่ี วกบั ระบบนิเวศขนาดใหญ่ในอาเซียน
6. แนวทางการบูรณาการ
ภาษาไทย ฟัง พดู อา่ น เขียนคาศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเก่ียวกบั ระบบนิเวศ
บนบกและแหล่งน้าท่ีเรียนรู้หรือท่ีนกั เรียนสนใจ
ภูมิศาสตร์

สังคมศึกษา ศาสนา
และวฒั นธรรม
ภาษาต่างประเทศ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้

ช่ัวโมงท่ี 3

ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน
1) ครูนารูปถา่ ยหรือวดี ิทศั นท์ ่ีเก่ียวกบั แหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติท่ีเป็นภูเขา ทุ่งหญา้ ป่ าไม้
และแหล่งน้าต่าง ๆ มาใหน้ กั เรียนดู และร่วมกนั อภิปรายถึงสภาพภมู ิประเทศ และลกั ษณะเฉพาะของ
สิ่งมีชีวิตที่อาศยั อยใู่ นระบบนิเวศน้นั ๆ โดยครูใชค้ าถามกระตุน้ ดงั น้ี
– นกั เรียนเคยสารวจสภาพแวดลอ้ มบนดินและแหล่งน้าเหลา่ น้ีหรือไม่
– นกั เรียนสงั เกตเห็นสภาพภูมิประเทศ และลกั ษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิตในแต่ละระบบนิเวศ
อะไรบา้ ง
– นกั เรียนคิดวา่ ระบบนิเวศแต่ละแห่งมีความหลากหลายของพืชและสตั วอ์ ะไรบา้ ง
2) นกั เรียนร่วมกนั ตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั คาตอบของคาถาม เพ่ือเชื่อมโยง
ไปสู่การเรียนรู้เร่ือง ระบบนิเวศบนบกและแหล่งน้า
ข้ันจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
จดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซ่ึงมีข้นั ตอนดงั น้ี
1) ข้นั สร้างความสนใจ
(1) ครูต้งั ประเดน็ คาถาม และสุ่มนกั เรียน 2–3 คน ใหน้ กั เรียนตอบคาถาม โดยครูใชค้ าถาม
กระตุน้ ดงั น้ี

– ในสภาพธรรมชาติเราจะพบระบบนิเวศอะไรบา้ ง
– ใหน้ กั เรียนยกตวั อยา่ งระบบนิเวศบนบกท่ีรู้จกั หรือที่เคยเห็นจากสื่อสิ่งพิมพต์ ่าง ๆ

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม ม. 4–6 47

– นกั เรียนเคยสารวจสภาพแวดลอ้ มของระบบนิเวศแหล่งน้าหรือไม่ ดว้ ยวธิ ีการใด
(2) นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายหาคาตอบเก่ียวกบั คาถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน
2) ข้นั สารวจและค้นหา
(1) ใหน้ กั เรียนศึกษาระบบนิเวศบนบกและระบบนิเวศแหล่งน้าจากใบความรู้หรือใน
หนงั สือเรียน โดยครูช่วยอธิบายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจวา่ ระบบนิเวศบนบกเป็นระบบนิเวศธรรมชาติท่ีมี
ส่วนประกอบและกระบวนการต่าง ๆ เกิดข้ึนบนพ้ืนดิน ระบบนิเวศบนบกแต่ละแห่งจะมีลกั ษณะ
แตกต่างกนั ไปตามสภาพแวดลอ้ ม ส่วนระบบนิเวศแหลง่ น้าเป็นระบบนิเวศที่ประกอบดว้ ยกระบวนการ
ทางานและส่วนต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในแหล่งน้าธรรมชาติ
(2) ครูให้ความรู้เพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั ระบบนิเวศขนาดใหญ่ในอาเซียน ตวั อย่างเช่น

– ทะเลสาบนา้ จดื ท่ีใหญ่ท่ีสุดในอาเซียน คอื โตนเลสาบ (Tonle Sap) หรือทะเลสาบเขมร
อยู่ในประเทศกมั พชู า เป็ นทะเลสาบนา้ จดื ขนาดใหญ่ทสี่ ุดในทวปี เอเชีย มขี นาดใหญ่กว่ากรุงเทพฯ 7 เท่า
ครอบคลมุ 5 จงั หวดั ในภาคกลางของประเทศกมั พูชา ได้แก่ กาปงธม กาปงชนงั โพธิสัตว์ พระตะบอง
และเสียมราฐ ทะเลสาบแห่งนเี้ กย่ี วข้องกบั แม่นา้ โขงอย่างใกล้ชิด เพราะได้รับนา้ จากแม่นา้ โขงกว่าร้อยละ
60 ในช่วงฤดูฝนของทุกปี เป็ นแหล่งระบบนิเวศท่ีมคี วามสมบูรณ์มาก มสี ัตว์นา้ กว่า 300 ชนิด และเป็ น
แหล่งประมงนา้ จดื ที่สาคัญของประเทศกมั พชู า

– ปะการังทส่ี มบูรณ์ทีส่ ุดในอาเซียน อยู่ทเ่ี กาะราชาอมั พทั ประเทศอนิ โดนีเซีย คาว่า
ราชาอมั พทั ในภาษาอินโดนเี ซีย หมายถงึ พระราชา 4 พระองค์ ประกอบด้วยเกาะบริวารเลก็ น้อยอกี กว่า
610 เกาะ มหี าดทรายบริสุทธ์ิยาวถงึ 750 กโิ ลเมตร ได้รับการยกย่องจากศูนย์วจิ ยั นานาชาตขิ อง
สหรัฐอเมริกาใน ศ.ศ. 2002 ว่า เป็ นโลกใต้ทะเลทีม่ คี วามอดุ มสมบูรณ์มากท่ีสุดในโลก เพราะ
ประกอบด้วยปลากว่า 1,400 ชนดิ และปะการังกว่า 600 ชนิด ในอดตี เกาะแห่งนีม้ มี นุษย์กนิ คนอาศัยอยู่
ทาให้เกาะไม่ถูกรบกวนมากนกั แต่ปัจจบุ ันเกาะราชาอมั พทั กาลงั ได้รับผลกระทบอนั เนอ่ื งมาจากการ
ท่องเท่ยี วอย่างหนกั

(3) แบ่งนกั เรียนกล่มุ ละ 5–6 คน ปฏิบตั ิกิจกรรม สารวจระบบนิเวศในท้องถ่ิน ตามข้นั ตอน
ทางวิทยาศาสตร์ โดยใชท้ กั ษะการสงั เกต ดงั น้ี

– แบ่งนกั เรียนเป็นกลุ่มใหแ้ ต่ละกล่มุ ร่วมกนั อภิปรายในประเดน็ ต่อไปน้ี
 ในทอ้ งถ่ินของเรามีระบบนิเวศอะไรบา้ ง
 ระบบนิเวศแต่ละระบบมีความสาคญั อยา่ งไร
 นกั เรียนสนใจท่ีจะศึกษาระบบนิเวศใด เพราะอะไร

– แต่ละกลุ่มเลือกสารวจและศึกษาระบบนิเวศธรรมชาติในทอ้ งถิ่นระบบใดระบบหน่ึง
เช่น ชายทะเล ป่ าชายเลน นาขา้ ว สระน้าจืด หรือชุมชนรอบ ๆ บริเวณท่ีสารวจ

– กาหนดบริเวณพ้ืนที่สารวจใหม้ ีขนาด 30 × 30 เมตร คาดคะเนจานวนร้อยละและ
จาแนกสิ่งปกคลุมดินหรือพืชเด่นท่ีพบในบริเวณท่ีสารวจ

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวิตกบั สิ่งแวดลอ้ ม ม. 4–6 48

– สารวจสภาพแวดลอ้ มทวั่ ๆ ไปรอบบริเวณน้นั รวบรวมขอ้ มลู เก่ียวกบั องคป์ ระกอบ
ทางกายภาพและองคป์ ระกอบทางชีวภาพ แลว้ อธิบายความสมั พนั ธข์ ององคป์ ระกอบต่าง ๆ ในระบบ
นิเวศ

 ระบบนิเวศแหล่งนา้
– สงั เกตสภาพแวดลอ้ มโดยทวั่ ไปของแหล่งน้า เช่น สีของน้า กลิ่น ความข่นุ ใส รวมท้งั
สภาพอื่นๆ เช่น ความเร็วของกระแสน้า ร่มเงา สภาพของแหล่งน้า และส่ิงปนเป้ื อนท่ีพบ แลว้ บนั ทึกผล
– วดั อุณหภมู ิของน้าทุกช่วงความลึก 1 เมตร โดยใชข้ วดเกบ็ ตวั อยา่ งน้าหยอ่ นลงไปให้
ถึงระดบั ท่ีตอ้ งการจะวดั อ่านอุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์ในขวดเกบ็ ตวั อยา่ งน้า บนั ทึกผล
– วดั ค่าความเป็นกรด–เบสของน้า (ค่า pH) ที่บริเวณผวิ น้า และท่ีระดบั น้าลึกจากผวิ น้า
20 เซนติเมตร โดยใชแ้ ท่งแกว้ จุ่มน้า แลว้ นามาแตะบนกระดาษยนู ิเวอร์ซลั อินดิเคเตอร์ อ่านค่าโดยเทียบสี
ของกระดาษกบั สีมาตรฐานท่ีขา้ งกล่อง แลว้ บนั ทึกผล
– วดั การส่องผา่ นของแสงลงสู่แหล่งน้า โดยใชเ้ ซคิดิสกผ์ กู ติดกบั เชือก ซ่ึงทา
เคร่ืองหมายบอกระยะความยาวไวแ้ ลว้ หยอ่ นลงในแหล่งน้าจนถึงจุดท่ีเริ่มมองไมเ่ ห็นเซคิดิสก์ อา่ นค่า
ความลึกจากเคร่ืองหมายบนเส้นเชือก แลว้ ปลอ่ ยเส้นเชือกลงไปอีกเลก็ นอ้ ย จากน้นั ยกข้ึนชา้ ๆ จนเริ่ม
มองเห็นแผน่ เซคิดิสก์ อา่ นค่าความลึกจากเครื่องหมายบนเสน้ เชือกอีกคร้ังหน่ึง นาค่าที่อา่ นไดท้ ้งั 2 คร้ัง
มาหาค่าเฉลี่ย ผลที่ไดเ้ ป็นค่าการส่องผา่ นของแสงในแหล่งน้าน้นั
– สารวจสิ่งมีชีวิตท่ีพบบริเวณผวิ น้าท้งั ชนิดลกั ษณะ จานวน และการกระจายของ
สิ่งมีชีวิต
– ตกั น้าบริเวณผิวน้าหลาย ๆ จุด และที่ระดบั ลึกจากผิวน้าประมาณ 20 เซนติเมตร เท
ลงในภาชนะใส สงั เกตลกั ษณะชนิด และจานวนของส่ิงมีชีวิตในน้าโดยใชแ้ วน่ ขยายสงั เกต แลว้ บนั ทึก
ผลท่ีสงั เกตได้
– ใชส้ วิงลากไปตามผิวน้า แลว้ นามาเทลงในภาชนะใส ศึกษาชนิดและลกั ษณะของ
สิ่งมีชีวติ ที่พบดว้ ยตาเปล่า ดว้ ยแวน่ ขยาย รวมท้งั กลอ้ งจุลทรรศน์ แลว้ บนั ทึกผลท่ีสงั เกตได้
 ระบบนเิ วศบนบก
– สงั เกตสี กลิ่น ความช้ืน และลกั ษณะเน้ือดินในบริเวณท่ีสารวจ
– วดั อณุ หภมู ิของดินโดยเสียบเทอร์มอมิเตอร์ลึกลงไปในดินประมาณ 5 เซนติเมตร
และท่ีระดบั ความลึก 20 เซนติเมตร โดยขดุ หลมุ กวา้ งประมาณ 20 เซนติเมตร ลึกประมาณ 25 เซนติเมตร
เสียบเทอร์มอมิเตอร์ลงไปในดินในแนวต้งั ฉากที่ระดบั ความลึก 20 เซนติเมตร อ่านค่าและบนั ทึกผล
– วดั ค่าความเป็นกรด–เบสของดิน (ค่า pH) โดยนาตวั อยา่ งดินช้นั บน (ท่ีระดบั ความลึก
0–25 เซนติเมตร) และดินช้นั ล่าง (ที่ระดบั ความลึก 25–30 เซนติเมตร) อยา่ งละ 50 กรัม ใส่ลงในภาชนะ
แต่ละใบ เติมน้า 50 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร ใชแ้ ท่งแกว้ คนใหเ้ ขา้ กนั ต้งั ทิ้งไวส้ กั ครู่ แลว้ ใชแ้ ท่งแกว้ จุ่มส่วน
ที่เป็นของเหลวมาแตะลงบนกระดาษยนู ิเวอร์ซลั อินดิเคเตอร์ เทียบสีกบั สีมาตรฐานท่ีขา้ งกล่อง แลว้
บนั ทึกผล

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวติ กบั ส่ิงแวดลอ้ ม ม. 4–6 49

– วดั ความช้ืนของดินช้นั บนและดินช้นั ลา่ ง โดยตกั ดินมาจานวนหน่ึง วดั มวลของดิน
และบนั ทึกไว้ แลว้ นาดินไปอบหรือตากจนแหง้ วดั มวลอีกคร้ังหน่ึง มวลท่ีหายไปของดินคือปริมาณน้า
หรือความช้ืนในดิน

– สงั เกตชนิดและลกั ษณะของส่ิงมีชีวติ ที่พบในบริเวณน้นั ท้งั พืชและสตั ว์ ระบุชนิด
ของสิ่งมีชีวติ เด่นที่พบในพ้ืนท่ี บนั ทึกผล

– วดั ความสูงของตน้ ไมใ้ หญ่ที่เป็นพืชเด่นท่ีพบในบริเวณที่สารวจ บนั ทึกผล
– วดั ความหนาแน่นของเรือนยอดไมใ้ นบริเวณที่สารวจ นาผลที่ไดม้ าคานวณหาค่า
ร้อยละของความหนาแน่นของเรือนยอด บนั ทึกผล
– หาความหนาแน่นของประชากรสิ่งมีชีวติ ท่ีพบ นบั จานวนประชากรสิ่งมีชีวติ ใน
พ้ืนที่ 1 ตารางเมตร จากน้นั คานวณหาพ้ืนที่ท้งั หมดของระบบนิเวศน้นั บนั ทึกผล

หมายเหตุ

วธิ ีการใช้ขวดเกบ็ ตวั อย่างนา้

การใชข้ วดเกบ็ ตวั อยา่ งน้าเพ่ือวดั อุณหภมู ิของน้า ทาไดโ้ ดยใส่เทอร์มอมิเตอร์ลงในขวดเกบ็
ตวั อยา่ งน้าขนาด 1 ลิตร ปิ ดฝาขวดดว้ ยจุกก๊อกท่ีผกู เชือกติดกบั เชือกท่ีผกู ท่ีคอขวด โดยมีเชือกอีกเส้นโยง
เพ่ือกระตุกเปิ ดจุกกอ๊ ก ถ่วงน้าหนกั ท่ีกน้ ขวดเกบ็ ตวั อยา่ งน้าเพื่อใหข้ วดจมน้า เม่ือหยอ่ นขวดถึงระดบั
ความลึกที่ตอ้ งการวดั อุณหภมู ิ กระตุกเชือกที่ผกู ติดจุกกอ๊ กใหเ้ ปิ ดออก เม่ือน้าเตม็ ขวดแลว้ ดึงข้ึนมาอ่าน
อุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์ในขวดเกบ็ ตวั อยา่ งน้า

วธิ ีการวดั ความสูงของต้นไม้ใหญ่

กระดาษแขง็ A

C B
ต้มุ นา้ หนกั

Y

ต้นไม้ ผ้สู ังเกต

การวดั ความสูงของตน้ ไมใ้ หญ่ที่เป็นพืชเด่นที่พบในบริเวณที่สารวจ ทาไดโ้ ดยวิธีการเทียบ
สดั ส่วนกบั ดา้ นของสามเหล่ียมมมุ ฉากที่กาง 45o–45o–90o ซ่ึงจะมีดา้ น 2 ดา้ นที่เท่ากนั โดยนากระดาษ
แขง็ ตดั เป็นรูปส่ีเหล่ียมจตั ุรัส ลากเสน้ ทแยงมุมและวาดเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากดงั รูป ติดเข็มหมุดที่มุม
A, B และ C แขวนตุม้ น้าหนกั ใหห้ อ้ ยลงมาจากจุด A และถือกระดาษโดยใหต้ ุม้ น้าหนกั สมั ผสั กบั จุด C
เดินไปยงั ตน้ ไมจ้ นกระทงั่ ยอดของตน้ ไมอ้ ยใู่ นแนวเส้นตรง AB วดั ระยะจากผสู้ งั เกตถึงตน้ ไม้ ซ่ึงจะ
เท่ากบั ความสูงของตน้ ไมจ้ าก X ถึง Y แลว้ บวกกบั ความสูงของผสู้ งั เกตที่ระดบั สายตา จะไดค้ วาม
สูงของตน้ ไมท้ ้งั หมด

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชีวิตกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ม. 4–6 50

วธิ ีการวดั ความหนาแน่นของเรือนยอดและการคานวณหาค่าร้อยละของความหนาแน่นของ
เรือนยอด

เทปกาว

เชือกท่ีผกู ไขว้ด้านบน
ท่อพีวีซี
เทปกาว

แหวนโลหะ

เดนซิโอมิเตอร์

การวดั ความหนาแน่นของเรือนยอดในบริเวณที่สารวจทาไดโ้ ดยหาจุดศนู ยก์ ลางและแนวเสน้
ทแยงมุมของรูปส่ีเหลี่ยมที่กาหนดไวเ้ ป็นขอบเขตของบริเวณท่ีจะสารวจ จากน้นั กา้ วเทา้ 1 กา้ ว จากจุด
ศูนยก์ ลางตามแนวเสน้ ทแยงมุม ไปยงั มุมหน่ึงของรูปส่ีเหลี่ยม ถือเดนซิโอมิเตอร์ไวเ้ หนือศีรษะใน
แนวดิ่ง จดั แหวนโลหะไวใ้ ตเ้ ดนซิโอมิเตอร์ โดยใหอ้ ยบู่ ริเวณกากบาทพอดี แลว้ มองผา่ นช่องวา่ งไปยงั
เรือนยอดของตน้ ไม้ สงั เกตและบนั ทึกผลวา่ พบส่วนท่ีเป็นสีเขียวหรือไม่ จากน้นั กา้ วเทา้ ต่อไปยงั มมุ ของ
พ้ืนท่ีที่สารวจและบนั ทึกผลในแต่ละกา้ วที่เดินจนครบท้งั 4 มุม นาผลท่ีไดม้ าคานวณหาค่าร้อยละของ
ความหนาแน่นของเรือนยอด จากสูตร

ร้อยละความหนาแน่นของเรือนยอด = จานวนจุดที่มองเห็นส่วนท่ีเป็นสีเขียว × 100
จานวนจุดสารวจท้งั หมด

วธิ ีการคานวณหาความหนาแน่นของประชากร
หาความหนาแน่นของประชากรสิ่งมีชีวิตที่พบ โดยสามารถหาจานวนประชากรสิ่งมีชีวติ
ท้งั หมดในพ้ืนท่ีท่ีสารวจได้ จากสูตร

ความหนาแน่นของประชากร = จานวนประชากรท้งั หมด
พ้ืนที่ท้งั หมดของระบบนิเวศ

(4) นกั เรียนและครูร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากกิจกรรม
(5) ครูคอยแนะนาช่วยเหลือนกั เรียนขณะปฏิบตั ิกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ หอ้ งเรียนและ
เปิ ดโอกาสใหน้ กั เรียนทุกคนซกั ถามเมื่อมีปัญหา

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชีวิตกบั สิ่งแวดลอ้ ม ม. 4–6 51

ช่ัวโมงท่ี 4

3) ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป
(1) นกั เรียนแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนกลุ่มนาเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหนา้ ช้นั เรียน
(2) นกั เรียนและครูร่วมกนั อภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยใชแ้ นว

คาถามต่อไปน้ี
– ในระบบนิเวศที่ศึกษาพบสิ่งมีชีวิตชนิดใดบา้ ง อาศยั อยทู่ ี่บริเวณใด (แนวคาตอบ

ส่ิงมีชีวิตที่พบขึน้ อย่กู ับระบบนิเวศท่ีศึกษา เช่น การสารวจระบบนิเวศแหล่งนา้ จะพบ จอก แหน และบัว
ลอยอย่ทู ่ีผิวนา้ พบลกู อ๊อดว่ายนา้ เป็นกล่มุ ๆ อย่ใู กล้กล่มุ จอก และพบปลาว่ายไปมาในนา้ )

– สภาพของดินและแสงในบริเวณท่ีมีเรือนยอดตน้ ไมแ้ น่นทึบ แตกต่างจากบริเวณท่ีมี
เรือนยอดตน้ ไมไ้ มแ่ น่นทึบในลกั ษณะใด (แนวคาตอบ บริเวณที่มีความหนาแน่นของเรือนยอดต้นไม้
มากจะมีปริมาณแสงน้อย ดินมีความชืน้ มาก ส่วนบริเวณที่มีเรือนยอดต้นไม้ไม่แน่นทึบจะมีปริมาณแสง
มาก ดินอาจแห้งเนื่องจากได้รับความร้อนจากแสงอาทิตย์โดยตรง)

– องคป์ ระกอบทางกายภาพและชีวภาพในระบบนิเวศท่ีศึกษามีความสมั พนั ธ์กนั ใน
ลกั ษณะใด (แนวคาตอบ ระบบนิเวศที่ศึกษา เช่น ระบบนิเวศแหล่งนา้ องค์ประกอบทางกายภาพมี
ความสัมพันธ์กับองค์ประกอบทางชีวภาพ เช่น บริเวณท่ีผิวนา้ มีแสงแดดส่องถึงจะพบจอกและแหน
เจริญเติบโตได้ดี เพราะจอกและแหนใช้แสงแดดในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง)

(3) นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปผลจากการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยใหไ้ ดข้ อ้ สรุปวา่ ในแต่
ละทอ้ งถ่ินจะมีระบบนิเวศท่ีหลากหลายท้งั ระบบนิเวศบนบกและระบบนิเวศแหล่งน้า โดยแต่ละระบบ
นิเวศจะประกอบไปดว้ ยองคป์ ระกอบที่มีชีวติ และองคป์ ระกอบท่ีไม่มีชีวิต ที่มีความเก่ียวขอ้ งสัมพนั ธ์กนั
อยภู่ ายในระบบนิเวศน้นั

4) ข้ันขยายความรู้
ครูอธิบายเพิ่มเติมวา่ ในแต่ละทอ้ งถ่ินจะมีระบบนิเวศท่ีหลากหลายท้งั ระบบนิเวศบนบกและ

แหลง่ น้า โดยแต่ละระบบนิเวศประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบที่มีชีวติ และองคป์ ระกอบที่ไม่มีชีวิตท่ีมีความ
เกี่ยวขอ้ งสมั พนั ธ์กนั อยภู่ ายในระบบนิเวศน้นั

5) ข้นั ประเมนิ
(1) ครูใหน้ กั เรียนแต่ละคนพิจารณาวา่ จากหวั ขอ้ ที่เรียนมาและการปฏิบตั ิกิจกรรม มีจุด

ใดบา้ งที่ยงั ไม่เขา้ ใจหรือยงั มีขอ้ สงสยั ถา้ มี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมใหน้ กั เรียนเขา้ ใจ
(2) นกั เรียนร่วมกนั ประเมินการปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่มวา่ มีปัญหาหรืออุปสรรคใด และไดม้ ี

การแกไ้ ขอยา่ งไรบา้ ง
(3) นกั เรียนและครูร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับจากการปฏิบตั ิ

กิจกรรม และการนาความรู้ที่ไดไ้ ปใชป้ ระโยชน์

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชีวิตกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ม. 4–6 52

(4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนโดยการใหต้ อบคาถาม เช่น
– อะไรเป็นสาเหตุใหร้ ะบบนิเวศแต่ละภูมิภาคของโลกมีองคป์ ระกอบที่แตกต่างกนั
– เพราะเหตุใดความหลากหลายของส่ิงมีชีวติ ท่ีพบในระบบนิเวศบนบกแต่ละประเภท

จึงมีความแตกต่างกนั
– สิ่งมีชีวิตในแต่ละแหลง่ ท่ีอยมู่ ีความสมั พนั ธ์กบั สภาพแวดลอ้ มในลกั ษณะใด

ข้ันสรุป
ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเก่ียวกบั ระบบนิเวศบนบกและแหลง่ น้า โดยร่วมกนั เขียนเป็นแผนที่
ความคิดหรือผงั มโนทศั น์

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
นกั เรียนคน้ ควา้ บทความหรือคาศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเก่ียวกบั ระบบนิเวศบนบกและแหล่ง

น้าในธรรมชาติจากหนงั สือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนาเสนอใหเ้ พื่อนในหอ้ งฟัง
พร้อมท้งั รวบรวมคาศพั ทแ์ ละคาแปลลงสมดุ ส่งครู
9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้

1. รูปถา่ ยหรือวีดิทศั นท์ ี่เกี่ยวกบั แหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติที่เป็นภูเขา ทุ่งหญา้ ป่ าไม้ และ
แหล่งน้าต่าง ๆ

2. ใบกิจกรรมที่ 2 สารวจระบบนิเวศในทอ้ งถ่ิน
3. ค่มู ือการสอน ชีวติ กบั ส่ิงแวดลอ้ ม ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4–6 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช
จากดั
4. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม ช้นั มธั ยมศึกษา
ปี ท่ี 4–6 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั
5. แบบฝึ กทกั ษะ รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4–6
บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั
6. หนงั สือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชีวิตกบั สิ่งแวดลอ้ ม ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4–6
บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั

10. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้
1. ความสาเร็จในการจดั การเรียนรู้ ………………………………………………………….…

แนวทางการพฒั นา …………………………………………………………………………
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจดั การเรียนรู้ …………………………………………………….…

แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………..….
3. สิ่งท่ีไม่ไดป้ ฏิบตั ิตามแผน ………………………………………………………………..…

เหตุผล ………………………………………………………………………………...……
4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ …………………………………………………………

ลงช่ือ ....................................................... ผ้สู อน
.........../....................../..........

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม ม. 4–6 53

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ระบบนิเวศทม่ี นุษย์สร้างขึน้ เวลา 2 ช่ัวโมง
สาระท่ี 2 ชีวติ กบั สิ่งแวดล้อม
ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 4–6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบนิเวศ

1. สาระสาคญั
ระบบนิเวศท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึนเกิดจากมนุษยเ์ ขา้ ไปมีส่วนร่วมในการเกิดระบบนิเวศน้ัน ๆ ซ่ึง

แบ่งเป็น 2 ระบบยอ่ ย คือ ระบบนิเวศก่ึงธรรมชาติและระบบนิเวศเมืองหรืออตุ สาหกรรม

2. ตัวชี้วดั ช่วงช้ัน
อธิบายดุลยภาพของระบบนิเวศ (ว 2.1 ม. 4–6/1)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกประเภทของระบบนิเวศท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึนได้ (K)
2. สืบคน้ ขอ้ มลู อธิบายองคป์ ระกอบทางกายภาพและองคป์ ระกอบทางชีวภาพของระบบนิเวศที่

มนุษยส์ ร้างข้ึนได้ (K)
3. อธิบายความสมั พนั ธข์ ององคป์ ระกอบของระบบนิเวศที่มนุษยส์ ร้างข้ึนได้ (K)
4. มีความสนใจใฝ่ รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)
5. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเก่ียวกบั วิทยาศาสตร์ (A)
6. ทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืนอยา่ งสร้างสรรค์ (A)
7. ส่ือสารและนาความรู้เร่ืองระบบนิเวศที่มนุษยส์ ร้างข้ึนไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ (P)

4. การวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และจติ วทิ ยาศาสตร์ (A)

1. ซกั ถามความรู้เรื่อง 1. ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 1. ประเมินทกั ษะ/กระบวนการ

ระบบนิเวศท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน เป็นรายบุคคล ทางวทิ ยาศาสตร์

2. ประเมินกิจกรรมฝึ กทกั ษะ 2. ประเมินเจตคติต่อวทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมินทกั ษะการคิด

ระหวา่ งเรียน เป็ นรายบุคคล 3. ประเมินทกั ษะการแกป้ ัญหา

4. ประเมินพฤติกรรมในการ

ปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือ

รายกลมุ่

5. สาระการเรียนรู้
ระบบนิเวศที่มนุษยส์ ร้างข้ึน

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวิตกบั สิ่งแวดลอ้ ม ม. 4–6 54

6. แนวทางการบูรณาการ

ภาษาไทย เขียนบรรยายและเลา่ ประสบการณ์เกี่ยวกบั ระบบนิเวศธรรมชาติ

ตามที่นกั เรียนไดป้ ระสบมา

ภาษาต่างประเทศ ฟัง พดู อา่ น เขียนคาศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเก่ียวกบั ระบบนิเวศ

ที่มนุษยส์ ร้างข้ึนท่ีเรียนรู้หรือที่นกั เรียนสนใจ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้

ชั่วโมงท่ี 5

ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน

1) ครูทบทวนความรู้เดิมเก่ียวกบั ระบบนิเวศธรรมชาติ ท้งั ระบบนิเวศบนบกและแหล่งน้าที่ได้

เรียนรู้มาแลว้ โดยนาภาพระบบนิเวศธรรมชาติมาใหน้ กั เรียนดู จากน้นั ครูต้งั ประเดน็ คาถามดงั น้ี

– ระบบนิเวศบนบกแตกต่างจากระบบนิเวศแหล่งน้าในลกั ษณะใดบา้ ง (แนวคาตอบ ระบบ

นิเวศบนบก เป็นระบบนิเวศธรรมชาติท่ีมีส่วนประกอบและกระบวนการต่าง ๆ เกิดขึน้ บนพืน้ ดิน ส่วน

ระบบนิเวศแหล่งนา้ เป็นระบบนิเวศท่ีประกอบด้วยกระบวนการทางานและส่วนต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ ใน

แหล่งนา้ )

2) นกั เรียนร่วมกนั ตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั คาตอบของคาถาม เพ่ือเชื่อมโยง

ไปสู่การเรียนรู้เร่ือง ระบบนิเวศท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน

ข้ันจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

จดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซ่ึงมีข้นั ตอนดงั น้ี

1) ข้นั สร้างความสนใจ

(1) ครูนาภาพที่แสดงถึงสภาพแวดลอ้ มในชุมชนเมือง และภาพท่ีแสดงถึงสภาพแวดลอ้ มใน

ชุมชนชนบทมาใหน้ กั เรียนดู แลว้ ร่วมกนั อภิปรายถึงลกั ษณะของสภาพแวดลอ้ มแต่ละชุมชน โดยครูใช้

คาถามกระตุน้ ดงั น้ี

– การดารงชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในชุมชนส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ

หรือไม่ ลกั ษณะใด

– ความหนาแน่นขององคป์ ระกอบของระบบนิเวศชุมชนเมืองมากหรือนอ้ ยกวา่ ชุมชน

ชนบท

(2) นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายหาคาตอบเกี่ยวกบั คาถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน

2) ข้นั สารวจและค้นหา

(1) ใหน้ กั เรียนศึกษาระบบนิเวศที่มนุษยส์ ร้างข้ึนจากใบความรู้หรือในหนงั สือเรียน โดยครู

ช่วยอธิบายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจวา่ ระบบนิเวศท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึนเป็นระบบนิเวศที่มนุษยเ์ ขา้ ไปมีส่วนร่วมใน

กระบวนการต่าง ๆ โดยระบบนิเวศท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ระบบนิเวศก่ึงธรรมชาติ

หรือระบบนิเวศชนบท–เกษตรกรรม และระบบนิเวศเมืองและอุตสาหกรรม

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชีวติ กบั ส่ิงแวดลอ้ ม ม. 4–6 55

(2) แบ่งนกั เรียนกลุ่มละ 5–6 คน ปฏิบตั ิกิจกรรม สืบค้นข้อมลู ระบบนิเวศชุมชนเมือง ตาม
ข้นั ตอนทางวิทยาศาสตร์ โดยใชท้ กั ษะการสงั เกต ดงั น้ี

– ศึกษาสภาพทางกายภาพของชุมชนเมือง เช่น ความหนาแน่นของอาคารบา้ นเรือน

พ้ืนที่ที่เป็นสวนสาธารณะ การจราจร การประกอบอาชีพ สาธารณูปโภค การจดั การมลพิษและของเสีย

ในชุมชน

– คาดคะเนจานวนประชากรในชุมชน สารวจชนิดของพืชและสตั วใ์ นชุมชนน้นั
– รวบรวมขอ้ มูลเก่ียวกบั การเปล่ียนแปลงของสภาพนิเวศธรรมชาติในทอ้ งถิ่น เช่น การ

เปลี่ยนแปลงสภาพแหล่งน้า เสน้ ทางของลาน้า หรือการเปล่ียนสภาพแวดลอ้ มของชุมชนเมืองจากอดีต

จนถึงปัจจุบนั

– บนั ทึกขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการสารวจระบบนิเวศ นาเสนอขอ้ มลู แลว้ อภิปรายในประเดน็
ต่าง ๆ ดงั น้ี

 สภาพทว่ั ไปของระบบนิเวศที่ศึกษามีลกั ษณะเป็นแบบใด
 พบส่ิงมีชีวติ ใดบา้ ง อาศยั อย่ทู ี่บริเวณใด ในแต่ละบริเวณมีส่ิงมีชีวิตแตกต่าง
หลากหลายหรือไม่ อะไรบา้ ง
 ส่ิงมีชีวิตชนิดใดบา้ งท่ีพบเหมือนกนั ทุกกลมุ่ สิ่งมีชีวติ ชนิดใดบา้ งท่ีพบเฉพาะบาง
บริเวณเท่าน้นั เพราะเหตุใด
 จากขอ้ มลู เก่ียวกบั ลกั ษณะของสิ่งมีชีวติ แต่ละชนิดในแต่ละแหลง่ ที่อยทู่ ี่
นกั เรียนสารวจได้ จะอธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวิตน้นั กบั แหล่งที่อยไู่ ดอ้ ยา่ งไร
 ชุมชนท่ีนกั เรียนอาศยั อยใู่ ชป้ ระโยชนจ์ ากระบบนิเวศในทอ้ งถิ่นในเรื่องใดบา้ ง
และในขณะเดียวกนั การดารงชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในชุมชน ส่งผลต่อระบบนิเวศน้นั บา้ ง
หรือไม่ เพราะอะไร
 ในระบบนิเวศท่ีสารวจ พบอะไรบา้ งที่เป็นปัญหา นกั เรียนมีแนวคิดที่จะแกป้ ัญหา
น้นั อยา่ งไร
– สืบคน้ ขอ้ มลู เก่ียวกบั ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสิ่งมีชีวติ กบั สิ่งมีชีวิต และความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งสิ่งมีชีวติ กบั แหล่งท่ีอยทู่ ่ีพบและไมพ่ บในบริเวณที่สารวจ
– สรุปและนาเสนอผลการศึกษาระบบนิเวศที่ไดจ้ ากการสารวจและสืบคน้ ขอ้ มลู
(3) นกั เรียนและครูร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากกิจกรรม
(4) ครูคอยแนะนาช่วยเหลือนกั เรียนขณะปฏิบตั ิกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ หอ้ งเรียนและ
เปิ ดโอกาสใหน้ กั เรียนทุกคนซกั ถามเมื่อมีปัญหา

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชีวิตกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ม. 4–6 56

ชั่วโมงท่ี 6

3) ข้นั อธิบายและลงข้อสรุป
(1) นกั เรียนแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนกลุ่มนาเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหนา้ ช้นั เรียน
(2) นกั เรียนและครูร่วมกนั อภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยใชแ้ นว

คาถามต่อไปน้ี
– ในระบบนิเวศที่ศึกษาพบสิ่งมีชีวติ ชนิดใดบา้ ง อาศยั อยทู่ ่ีบริเวณใด (แนวคาตอบ

สิ่งมีชีวิตที่พบขึน้ อย่กู ับระบบนิเวศท่ีศึกษา เช่น การสารวจระบบนิเวศบริเวณสวนสาธารณะ พบ
ต้นหูกวาง ต้นลั่นทม จอกและบัวลอยอย่บู นผิวนา้ พบนกพิราบ นกกระจอก นกกระจิบ และกระรอก
อย่บู นต้นไม้)

– องคป์ ระกอบภายในระบบนิเวศที่ศึกษามีความสมั พนั ธ์กนั ในลกั ษณะใด
(แนวคาตอบ องค์ประกอบทางกายภาพของระบบนิเวศชุมชนเมือง มีความสัมพันธ์กับองค์ประกอบทาง
ชีวภาพ เช่น จานวนตึกอาคาร บ้านเรือน และจานวนรถบนท้องถนนในชุมชนเมืองจะมีปริมาณมาก และ
อย่กู ันอย่างหนาแน่น เพราะมีประชากรอาศัยอย่จู านวนมาก)

(3) นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปผลจากการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยใหไ้ ดข้ อ้ สรุปวา่
องคป์ ระกอบภายในระบบนิเวศชุมชนเมือง เช่น อาคารบา้ นเรือน สวนสาธารณะ การจราจร และ
ประชากร ซ่ึงองคป์ ระกอบเหล่าน้ีจะมีความสมั พนั ธ์กนั และอยกู่ นั อยา่ งหนาแน่น ทาใหก้ ารทากิจกรรม
ต่าง ๆ ของคนในชุมชนเมืองท้งั การดารงชีวติ และการประกอบอาชีพจึงส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศท่ี
อาศยั อยู่ เช่น การปลอ่ ยน้าเสียลงสู่แหล่งน้า และการปล่อยควนั พิษจากการเผาไหมเ้ ช้ือเพลิงออกสู่
บรรยากาศ

4) ข้ันขยายความรู้
แบ่งนกั เรียนเป็นกลุ่ม สืบคน้ ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ระบบนิเวศท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึนจากหนงั สือ วารสาร

สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมท้งั นาขอ้ มลู ท่ีคน้ ควา้ ไดม้ า
จดั ทาเป็นรายงาน หรือจดั ป้ ายนิเทศใหเ้ พื่อน ๆ ไดท้ ราบเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้กนั

5) ข้นั ประเมนิ
(1) ครูใหน้ กั เรียนแต่ละคนพิจารณาวา่ จากหวั ขอ้ ที่เรียนมาและการปฏิบตั ิกิจกรรม มีจุด

ใดบา้ งท่ียงั ไม่เขา้ ใจหรือยงั มีขอ้ สงสยั ถา้ มี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมใหน้ กั เรียนเขา้ ใจ
(2) นกั เรียนร่วมกนั ประเมินการปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่มวา่ มีปัญหาหรืออปุ สรรคใด และไดม้ ี

การแกไ้ ขอยา่ งไรบา้ ง
(3) นกั เรียนและครูร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับจากการปฏิบตั ิ

กิจกรรม และการนาความรู้ที่ไดไ้ ปใชป้ ระโยชน์
(4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนโดยการใหต้ อบคาถาม เช่น
– ระบบนิเวศที่มนุษยส์ ร้างข้ึนมีผลกระทบต่อระบบนิเวศธรรมชาติหรือไม่ ลกั ษณะใด

– นกั เรียนอยากใหโ้ ลกของเรามีระบบนิเวศท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึนเป็นแบบใด เพราะเหตุใด

– ส่ิงมีชีวติ มีความสมั พนั ธก์ บั แหลง่ ที่อยใู่ นลกั ษณะใด

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวิตกบั สิ่งแวดลอ้ ม ม. 4–6 57

– การดารงชีวติ และการประกอบอาชีพของคนในชุมชนส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ
หรือไม่ ในลกั ษณะใด

ข้นั สรุป
ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเก่ียวกบั ระบบนิเวศท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน โดยร่วมกนั เขียนเป็นแผนที่
ความคิดหรือผงั มโนทศั น์
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
นกั เรียนคน้ ควา้ บทความหรือคาศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเก่ียวกบั ระบบนิเวศท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน
จากหนงั สือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนาเสนอใหเ้ พื่อนในหอ้ งฟัง พร้อมท้งั รวบรวม
คาศพั ทแ์ ละคาแปลลงสมดุ ส่งครู
9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้
1. ภาพท่ีแสดงถึงสภาพแวดลอ้ มในชุมชนเมืองและชุมชนชนบท
2. ใบกิจกรรมท่ี 3 สืบคน้ ขอ้ มลู ระบบนิเวศชุมชนเมือง
3. ค่มู ือการสอน ชีวิตกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4–6 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช
จากดั
4. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชีวติ กบั ส่ิงแวดลอ้ ม ช้นั มธั ยมศึกษา
ปี ท่ี 4–6 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั
5. แบบฝึ กทกั ษะ รายวชิ าพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชีวิตกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4–6
บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั
6. หนงั สือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชีวติ กบั ส่ิงแวดลอ้ ม ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4–6
บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั
10. บนั ทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้
1. ความสาเร็จในการจดั การเรียนรู้ ………………………………………………………….…
แนวทางการพฒั นา …………………………………………………………………………
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจดั การเรียนรู้ …………………………………………………….…
แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………..….
3. ส่ิงที่ไม่ไดป้ ฏิบตั ิตามแผน ………………………………………………………………..…
เหตุผล ………………………………………………………………………………...……
4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ …………………………………………………………

ลงชื่อ ....................................................... ผู้สอน
.........../....................../..........

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวิตกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ม. 4–6 58

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 องค์ประกอบของระบบนิเวศ เวลา 2 ชั่วโมง
สาระท่ี 2 ชีวติ กบั สิ่งแวดล้อม
ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 4–6
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ระบบนิเวศ

1. สาระสาคัญ
องคป์ ระกอบของระบบนิเวศมี 2 ส่วนที่สาคญั คือ องคป์ ระกอบทางชีวภาพ ซ่ึงแบ่งตามหนา้ ท่ี

ในระบบนิเวศได้เป็ น ผูผ้ ลิต ผูบ้ ริโภค และผูส้ ลายสารอินทรีย์ และองค์ประกอบทางกายภาพหรือ
องคป์ ระกอบท่ีไมม่ ีชีวติ เช่น อินทรียสาร อนินทรียสาร แสงสวา่ ง อณุ หภมู ิ และแก๊สชนิดต่าง ๆ

2. ตวั ชี้วดั ช่วงช้ัน
อธิบายดุลยภาพของระบบนิเวศ (ว 2.1 ม. 4–6/1)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายองคป์ ระกอบของระบบนิเวศได้ (K)
2. วางแผน ออกแบบ และสร้างระบบนิเวศจาลองได้ (K)
3. สงั เกต รวบรวมขอ้ มลู และอธิบายความสมั พนั ธ์ในระบบนิเวศจาลองได้ (K)
4. มีความสนใจใฝ่ รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)
5. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกบั วิทยาศาสตร์ (A)
6. ทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นอยา่ งสร้างสรรค์ (A)
7. สื่อสารและนาความรู้เรื่ององคป์ ระกอบของระบบนิเวศไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ (P)

4. การวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และจติ วทิ ยาศาสตร์ (A)

1. ซกั ถามความรู้เรื่อง 1. ประเมินเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ 1. ประเมินทกั ษะ/กระบวนการ

องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ เป็นรายบุคคล ทางวิทยาศาสตร์

2. ประเมินกิจกรรมฝึ กทกั ษะ 2. ประเมินเจตคติต่อวทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมินทกั ษะการคิด

ระหวา่ งเรียน เป็ นรายบุคคล 3. ประเมินทกั ษะการแกป้ ัญหา

4. ประเมินพฤติกรรมในการ

ปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือ

รายกลุ่ม

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชีวิตกบั สิ่งแวดลอ้ ม ม. 4–6 59

5. สาระการเรียนรู้

องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ

– องคป์ ระกอบทางชีวภาพ

– องคป์ ระกอบทางกายภาพ

6. แนวทางการบูรณาการ

ภาษาไทย เขียนบรรยายและเลา่ ประสบการณ์เก่ียวกบั การสารวจระบบนิเวศใน

ทอ้ งถิ่นตามท่ีนกั เรียนไดป้ ระสบมา

ภาษาต่างประเทศ ฟัง พดู อา่ น เขียนคาศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเกี่ยวกบั องคป์ ระกอบ

ของระบบนิเวศท่ีเรียนรู้หรือที่นกั เรียนสนใจ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้

ชั่วโมงที่ 7

ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน
1) ครูทบทวนความรู้เดิมเก่ียวกบั การสารวจระบบนิเวศในทอ้ งถ่ินท่ีไดเ้ รียนรู้มาแลว้ โดยครูต้งั
ประเดน็ คาถาม ดงั น้ี
– นกั เรียนสงั เกตเห็นอะไรบา้ งจากการสารวจระบบนิเวศในทอ้ งถ่ิน
– สภาพดิน น้า อากาศ อุณหภมู ิ และปริมาณแสงในระบบนิเวศแต่ละแห่งแตกต่างกนั หรือไม่
อยา่ งไร
– สิ่งมีชีวิตซ่ึงเป็นองคป์ ระกอบทางชีวภาพมีความสมั พนั ธ์กบั แสง ดิน น้า และอุณหภูมิซ่ึง
เป็นองคป์ ระกอบทางกายภาพในระบบนิเวศน้นั อยา่ งไร
2) นกั เรียนร่วมกนั ตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั คาตอบของคาถาม เพื่อเช่ือมโยง
ไปสู่การเรียนรู้เร่ือง องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ

ข้ันจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

จดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซ่ึงมีข้นั ตอนดงั น้ี

1) ข้นั สร้างความสนใจ

(1) ครูนารูปถ่ายหรือวีดิทศั นท์ ่ีเก่ียวกบั ระบบนิเวศแหลง่ น้ามาใหน้ กั เรียนดู และร่วมกนั
อภิปรายโดยครูใชค้ าถามกระตุน้ ดงั น้ี

– องคป์ ระกอบทางชีวภาพในระบบนิเวศแหลง่ น้าคืออะไร
– องคป์ ระกอบทางกายภาพในระบบนิเวศแหล่งน้าคืออะไร
– นกั เรียนสามารถจาลองระบบนิเวศแหล่งน้าเพ่ือเฝ้ าสงั เกตการเปล่ียนแปลงไดห้ รือไม่
ทาไดด้ ว้ ยวิธีการใด
(2) นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายหาคาตอบเกี่ยวกบั คาถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวิตกบั สิ่งแวดลอ้ ม ม. 4–6 60

2) ข้นั สารวจและค้นหา
(1) ใหน้ กั เรียนศึกษาองคป์ ระกอบของระบบนิเวศจากใบความรู้หรือในหนงั สือเรียน โดยครู
ช่วยอธิบายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจวา่ องคป์ ระกอบทางชีวภาพในระบบนิเวศ เป็นองคป์ ระกอบที่มีชีวติ ไดแ้ ก่
คน พืช สตั ว์ และสิ่งมีชีวติ ขนาดเลก็ ซ่ึงทาหนา้ ท่ีเป็นผผู้ ลิต ผบู้ ริโภค และผสู้ ลายสารอินทรียอ์ ยใู่ น
ระบบนิเวศ ส่วนองคป์ ระกอบทางกายภาพในระบบนิเวศ เป็นองคป์ ระกอบท่ีไม่มีชีวิต เช่น อินทรียสาร
อนินทรียสาร น้า และแก๊สชนิดต่าง ๆ ซ่ึงในระบบนิเวศองคป์ ระกอบทางชีวภาพจะมีความสมั พนั ธ์กบั
องคป์ ระกอบทางกายภาพเสมอ

(2) แบ่งนกั เรียนกลุ่มละ 5–6 คน ปฏิบตั ิกิจกรรม สร้างระบบนิเวศนา้ จาลอง ตามข้นั ตอนทาง
วทิ ยาศาสตร์ โดยใชท้ กั ษะ/กระบวนการสงั เกต ดงั น้ี

– แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มวางแผนออกแบบสร้างระบบนิเวศน้าจาลอง โดย
ใหแ้ ต่ละกล่มุ ร่วมกนั อภิปรายในประเดน็ ต่อไปน้ี

 จะสร้างระบบนิเวศน้าจาลองใหม้ ีขนาดเท่าไร ใชภ้ าชนะและวสั ดุหรือส่วนประกอบ

อะไรบา้ งแทนองคป์ ระกอบทางกายภาพ

 มีองคป์ ระกอบทางชีวภาพเป็นส่ิงมีชีวติ ชนิดใดบา้ ง และมีจานวนเท่าไร
 จะศึกษาความสมั พนั ธ์ใดบา้ งจากระบบนิเวศน้าจาลองน้นั และใชเ้ วลาศึกษานาน
เท่าไร
– แต่ละกลุ่มปฏิบตั ิตามแผนที่วางไว้ แลว้ บนั ทึกขอ้ มลู
หมายเหตุ
– ควรลา้ งวสั ดุต่าง ๆ ที่จะจดั ลงในระบบนิเวศน้าจาลอง เช่น กอ้ นหิน กอ้ นกรวด สาหร่ายให้
สะอาด ปราศจากฝ่ นุ ดิน และโคลน เพื่อไม่ใหน้ ้าในระบบนิเวศน้าจาลองข่นุ
– ถา้ น้าท่ีใชเ้ ป็นน้าประปา ควรนาน้าใส่ภาชนะต้งั ทิ้งไว้ 1–2 วนั เพ่ือใหค้ ลอรีนระเหย
– การนาส่ิงมีชีวติ ขนาดเลก็ เช่น ปลา หอย ลงในระบบนิเวศน้าจาลอง ตอ้ งระวงั อยา่ ใหม้ ีการ
เปล่ียนสภาพแวดลอ้ มอยา่ งรวดเร็วจะทาใหส้ ่ิงมีชีวติ ตายได้ และควรต้งั ระบบนิเวศน้าจาลองไวใ้ นที่ท่ีมี
แสงส่องถึง เพ่ือใหพ้ ืชในระบบนิเวศน้าจาลองสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงได้
(3) นกั เรียนและครูร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากกิจกรรม
(4) ครูคอยแนะนาช่วยเหลือนกั เรียนขณะปฏิบตั ิกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ หอ้ งเรียนและ
เปิ ดโอกาสใหน้ กั เรียนทุกคนซกั ถามเม่ือมีปัญหา

ช่ัวโมงที่ 8
3) ข้นั อธิบายและลงข้อสรุป

(1) นกั เรียนแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนกลุ่มนาเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหนา้ ช้นั เรียน
(2) นกั เรียนและครูร่วมกนั อภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยใชแ้ นว
คาถามต่อไปน้ี

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวติ กบั ส่ิงแวดลอ้ ม ม. 4–6 61

– ยกตวั อยา่ งองคป์ ระกอบทางกายภาพที่ส่งผลต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวติ ในระบบ
นิเวศน้าจาลอง (แนวคาตอบ แสงช่วยให้พืชเกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง พืชจึงใช้อาหารท่ีสร้ างขึน้ ในการ
ดารงชีวิต ส่วนหอยและปลาบางชนิดจะกินพืชเป็นอาหาร)

– ส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศน้าจาลองมีความสมั พนั ธ์กนั แบบใดบา้ ง (แนวคาตอบ
สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศจาลองมีความสัมพันธ์กนั หลายแบบ เช่น การเป็นอาหาร การได้ประโยชน์
ร่ วมกัน)

(3) นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปผลจากการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยใหไ้ ดข้ อ้ สรุปวา่
องคป์ ระกอบภายในระบบนิเวศน้าจาลองประกอบดว้ ย องคป์ ระกอบทางกายภาพ ไดแ้ ก่ กอ้ นหิน
กอ้ นกรวด และอณุ หภมู ิของน้า องคป์ ระกอบทางชีวภาพ ไดแ้ ก่ หอย ปลา และสาหร่าย โดยองคป์ ระกอบ
ทางกายภาพจะมีความสมั พนั ธ์กบั องคป์ ระกอบทางชีวภาพ เช่น อุณหภมู ิท่ีเหมาะสมของระบบนิเวศน้า
จาลอง จะทาใหป้ ลา และหอยดารงชีวิตอยไู่ ด้

4) ข้ันขยายความรู้
แบ่งนกั เรียนเป็นกลุ่ม สืบคน้ ขอ้ มลู เก่ียวกบั องคป์ ระกอบของระบบนิเวศแหล่งน้าจากหนงั สือ

วารสาร สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมท้งั นาขอ้ มลู ที่
คน้ ควา้ ไดม้ าจดั ทาเป็นรายงาน หรือจดั ป้ ายนิเทศใหเ้ พ่ือน ๆ ไดท้ ราบเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กนั

5) ข้นั ประเมนิ
(1) ครูใหน้ กั เรียนแต่ละคนพิจารณาวา่ จากหวั ขอ้ ที่เรียนมาและการปฏิบตั ิกิจกรรม มีจุด

ใดบา้ งที่ยงั ไม่เขา้ ใจหรือยงั มีขอ้ สงสยั ถา้ มี ครูช่วยอธิบายเพ่ิมเติมใหน้ กั เรียนเขา้ ใจ
(2) นกั เรียนร่วมกนั ประเมินการปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่มวา่ มีปัญหาหรืออปุ สรรคใด และไดม้ ี

การแกไ้ ขอยา่ งไรบา้ ง
(3) นกั เรียนและครูร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับจากการปฏิบตั ิ

กิจกรรม และการนาความรู้ที่ไดไ้ ปใชป้ ระโยชน์
(4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนโดยการใหต้ อบคาถาม เช่น
– ระบบนิเวศนาขา้ วจะมีองคป์ ระกอบทางชีวภาพและองคป์ ระกอบทางกายภาพ

อะไรบา้ ง
– สิ่งมีชีวิตมีความสัมพนั ธ์กบั องคป์ ระกอบของระบบนิเวศในลกั ษณะใด
– องคป์ ระกอบทางกายภาพในระบบนิเวศมีส่วนเกี่ยวขอ้ งกบั ความหลากหลายของ

ส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศหรือไม่ อยา่ งไร

ข้ันสรุป
ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเก่ียวกบั องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ โดยร่วมกนั เขียนเป็นแผนที่
ความคิดหรือผงั มโนทศั น์

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวิตกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ม. 4–6 62

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
นกั เรียนคน้ ควา้ บทความหรือคาศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเก่ียวกบั องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ

จากหนงั สือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนาเสนอใหเ้ พ่ือนในหอ้ งฟัง พร้อมท้งั รวบรวม
คาศพั ทแ์ ละคาแปลลงสมุดส่งครู

9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. รูปถา่ ยหรือวีดิทศั นท์ ่ีเกี่ยวกบั ระบบนิเวศแหลง่ น้า
2. ใบกิจกรรมที่ 4 สร้างระบบนิเวศน้าจาลอง
3. ค่มู ือการสอน ชีวิตกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4–6 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช

จากดั
4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม ช้นั มธั ยมศึกษาปี

ท่ี 4–6 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั
5. แบบฝึ กทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชีวิตกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4–6

บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั
6. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชีวิตกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4–6

บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั

10. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้
1. ความสาเร็จในการจดั การเรียนรู้ ………………………………………………………….…

แนวทางการพฒั นา …………………………………………………………………………
2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจดั การเรียนรู้ …………………………………………………….…

แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………..….
3. สิ่งที่ไมไ่ ดป้ ฏิบตั ิตามแผน ………………………………………………………………..…

เหตุผล ………………………………………………………………………………...……
4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ …………………………………………………………

ลงช่ือ ....................................................... ผู้สอน
.........../....................../..........

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวติ กบั ส่ิงแวดลอ้ ม ม. 4–6 63

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 ความสัมพนั ธ์ในระบบนิเวศ เวลา 1 ชั่วโมง
สาระท่ี 2 ชีวติ กบั ส่ิงแวดล้อม
ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 4–6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบนิเวศ

1. สาระสาคญั
สภาพแวดลอ้ มมีความสมั พนั ธ์กบั ส่ิงมีชีวิต โดยสภาพแวดลอ้ มท่ีมีความสาคญั จะเรียกว่า ปัจจยั

จากดั นอกจากน้ีสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศยงั มีความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกนั โดยแบ่งเป็นภาวะต่าง ๆ ตามเกณฑ์
การไดร้ ับประโยชนห์ รือเสียประโยชน์

ในระบบนิเวศจะมีการหมุนเวียนพลงั งานสารอาหาร และแร่ ตามกฎ 10 เปอร์เซ็นต์ ที่ส่ิงมีชีวติ ท่ี
เป็นผบู้ ริโภคจะไดพ้ ลงั งานโดยการกินสิ่งมีชีวติ ชนิดอื่น แลว้ มีพลงั งานเพียง 10 เปอร์เซ็นตท์ ี่ผบู้ ริโภค
เกบ็ สะสมไว้ ซ่ึงจะถา่ ยทอดไปเมื่อสิ่งมีชีวิตถกู กิน ส่วนพลงั งานอีก 90 เปอร์เซ็นตส์ ิ่งมีชีวติ จะใชไ้ ปใน
กระบวนการดารงชีวิต

2. ตัวชี้วดั ช่วงช้ัน
อธิบายดุลยภาพของระบบนิเวศ (ว 2.1 ม. 4–6/1)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความสมั พนั ธ์ของสิ่งมีชีวติ ท่ีอาศยั อยรู่ ่วมกนั ในระบบนิเวศได้ (K)
2. มีความสนใจใฝ่ รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกบั วทิ ยาศาสตร์ (A)
4. ทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นอยา่ งสร้างสรรค์ (A)
5. สื่อสารและนาความรู้เรื่องความสมั พนั ธ์ในระบบนิเวศไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ (P)

4. การวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
และจติ วทิ ยาศาสตร์ (A)

1. ซกั ถามความรู้เร่ือง 1. ประเมินเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ 1. ประเมินทกั ษะ/กระบวนการ

ความสมั พนั ธ์ในระบบนิเวศ เป็นรายบุคคล ทางวิทยาศาสตร์

2. ประเมินกิจกรรมฝึ กทกั ษะ 2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ 2. ประเมินทกั ษะการคิด

ระหวา่ งเรียน เป็ นรายบุคคล 3. ประเมินทกั ษะการแกป้ ัญหา

3. ทดสอบหลงั เรียน 4. ประเมินพฤติกรรมในการ

ปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือ

รายกล่มุ

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวิตกบั สิ่งแวดลอ้ ม ม. 4–6 64

5. สาระการเรียนรู้

ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสภาพแวดลอ้ มกบั สิ่งมีชีวิต

ความสมั พนั ธข์ องส่ิงมีชีวิตท่ีอาศยั อยรู่ ่วมกนั ในระบบนิเวศ

6. แนวทางการบูรณาการ

ภาษาไทย เล่าประสบการณ์เก่ียวกบั หนา้ ท่ีของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศที่

นกั เรียนรู้จกั หรือไดป้ ระสบมา

สังคมศึกษา ศาสนา อภิปรายเกย่ี วกบั บทบาทของมังกรโคโมโดในโซ่อาหาร

และวฒั นธรรม (มงั กรโคโมโดเป็ นสัตว์ประจาชาตขิ องอนิ โดนีเซีย)

ภาษาต่างประเทศ ฟัง พดู อ่าน เขียนคาศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเกี่ยวกบั ความสมั พนั ธ์

ในระบบนิเวศในธรรมชาติที่เรียนรู้หรือที่นกั เรียนสนใจ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้

ชั่วโมงท่ี 9

ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน
1) ครูนารูปถา่ ยหรือวดี ิทศั นท์ ่ีเก่ียวกบั ระบบนิเวศป่ าไม้ หรือระบบนิเวศทุ่งหญา้ ท่ีมีส่ิงมีชีวิต
หลายชนิดอาศยั อยรู่ ่วมกนั มาใหน้ กั เรียนดู และร่วมกนั อภิปรายโดยครูใชค้ าถามกระตุน้ ดงั น้ี
– นกั เรียนสงั เกตเห็นส่ิงมีชีวติ ชนิดใดบา้ งในระบบนิเวศ
– ส่ิงมีชีวติ ใดทาหนา้ ที่เป็นผผู้ ลิต ผบู้ ริโภคพืช ผบู้ ริโภคสตั ว์ และผูส้ ลายสารอินทรียใ์ นระบบ
นิเวศ
2) นกั เรียนร่วมกนั ตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั คาตอบของคาถาม เพ่ือเชื่อมโยง
ไปสู่การเรียนรู้เร่ือง ความสมั พนั ธ์ในระบบนิเวศ

ข้ันจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
จดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซ่ึงมีข้นั ตอนดงั น้ี
1) ข้นั สร้างความสนใจ

(1) ครูนารูปถา่ ยกลว้ ยไมท้ ี่เจริญเติบโตบนตน้ ไมใ้ หญ่ ดอกไมท้ ี่มีแมลงมาดดู น้าหวาน และ
การว่งิ ลา่ เหยอื่ ของสิงโตมาใหน้ กั เรียนดู แลว้ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั ตอบคาถามต่อไปน้ี

– ส่ิงมีชีวติ ในแต่ละรูปมีความสมั พนั ธ์กนั ในลกั ษณะใด
– นกั เรียนคิดวา่ ความสมั พนั ธ์ที่เกิดข้ึนในแต่ละรูปมีประโยชนห์ รือมีผลกระทบต่อ
ส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดในลกั ษณะใดบา้ ง
(2) นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายหาคาตอบเก่ียวกบั คาถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวิตกบั สิ่งแวดลอ้ ม ม. 4–6 65

2) ข้นั สารวจและค้นหา
(1) ใหน้ กั เรียนศึกษาความสมั พนั ธใ์ นระบบนิเวศจากใบความรู้หรือในหนงั สือเรียน โดยครู

ช่วยอธิบายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจวา่ สภาพแวดลอ้ มท่ีจาเป็นมาก เรียกวา่ ปัจจยั จากดั สิ่งมีชีวติ ท่ีอาศยั อยใู่ น
ระบบนิเวศมีความสัมพนั ธ์กนั 2 ลกั ษณะ คือ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งส่ิงมีชีวติ ชนิดเดียวกนั ท่ีอยรู่ ่วมกนั
เป็นกลมุ่ หรือฝงู ซ่ึงทาใหเ้ กิดผลดีและผลเสียต่อส่ิงมีชีวิตน้นั เช่น ช่วยลดอตั ราการล่าจากศตั รู และเพิ่ม
โอกาสในการขยายพนั ธุ์ แต่อาจเกิดการแยง่ อาหารกนั ได้ และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกนั
ท่ีอาศยั อยรู่ ่วมกนั ซ่ึงมีหลายลกั ษณะ เช่น ภาวะพ่ึงพากนั ของไลเคน ภาวะการไดป้ ระโยชนร์ ่วมกนั ของ
ดอกไมก้ บั แมลง ภาวะปรสิตของพยาธิในร่างกายคน และภาวะยอ่ ยสลายซากของแบคทีเรียและรา

(2) แบ่งนกั เรียนกล่มุ ละ 5–6 คน สืบคน้ ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ความสัมพนั ธใ์ นระบบนิเวศ โดย
ดาเนินการตามข้นั ตอน ดงั น้ี

– แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบคน้ ขอ้ มลู โดยแบ่งหวั ขอ้ ยอ่ ยใหเ้ พ่ือนสมาชิกช่วยกนั
สืบคน้ ตามท่ีสมาชิกกลุ่มช่วยกนั กาหนดหวั ขอ้ ยอ่ ย เช่น ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกนั ท่ี
อาศยั อยรู่ ่วมกนั ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกนั ท่ีอาศยั อยรู่ ่วมกนั และการถ่ายทอดพลงั งาน
หรือการหมุนเวยี นสารอาหารผา่ นทางโซ่อาหารและสายใยอาหารระหวา่ งสิ่งมีชีวิต

– สมาชิกกลุ่มแต่ละคนหรือกลุ่มยอ่ ยช่วยกนั สืบคน้ ขอ้ มลู ตามหวั ขอ้ ยอ่ ยที่ตนเอง
รับผิดชอบ โดยการสืบคน้ จากใบความรู้ที่ครูเตรียมมาให้ หรือจากหนงั สือ วารสารวิทยาศาสตร์
สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน และอินเทอร์เนต็

– สมาชิกกลุ่มนาขอ้ มลู ที่สืบคน้ ไดม้ ารายงานใหเ้ พ่ือน ๆ สมาชิกในกลมุ่ ฟัง รวมท้งั
ร่วมกนั อภิปรายซกั ถามจนคาดวา่ สมาชิกทุกคนมีความรู้ความเขา้ ใจท่ีตรงกนั

– สมาชิกกลุ่มช่วยกนั สรุปความรู้ท่ีไดท้ ้งั หมดเป็นผลงานของกลมุ่ และช่วยกนั จดั ทา
รายงานการศึกษาคน้ ควา้ เก่ียวกบั ระบบนิเวศบนบก

(3) นกั เรียนและครูร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากกิจกรรม
(4) ครูคอยแนะนาช่วยเหลือนกั เรียนขณะปฏิบตั ิกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ หอ้ งเรียนและ
เปิ ดโอกาสใหน้ กั เรียนทุกคนซกั ถามเมื่อมีปัญหา

3) ข้นั อธิบายและลงข้อสรุป
(1) นกั เรียนแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนกลุ่มนาเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหนา้ ช้นั เรียน
(2) นกั เรียนและครูร่วมกนั อภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยใชแ้ นว

คาถามต่อไปน้ี
– ภาวะการไดป้ ระโยชนร์ ่วมกนั ของสิ่งมีชีวิตแตกต่างจากภาวะพ่ึงพากนั ในลกั ษณะใด

(แนวคาตอบ ภาวะการได้ประโยชน์ร่วมกัน ส่ิงมีชีวิตท้ังสองฝ่ ายจะได้รับประโยชน์ แต่ไม่จาเป็นต้อง
อาศัยอย่รู ่วมกนั ตลอดไป ส่วนภาวะพึ่งพากนั ส่ิงมีชีวิตทั้งสองฝ่ ายจะได้รับประโยชน์ร่วมกนั และต้อง
อาศัยอย่รู ่วมกันตลอดไปจึงจะสามารถดารงชีวิตอย่ไู ด้)

– สายใยอาหารคืออะไร (แนวคาตอบ ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศหนึ่ง ๆ
ท่ีมีการถ่ายทอดพลังงานที่ ประกอบไปด้ วยหลายโซ่ อาหาร)

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวติ กบั ส่ิงแวดลอ้ ม ม. 4–6 66

– ถา้ โลกน้ีปราศจากพืช ส่ิงมีชีวติ บนโลกจะเป็นเช่นไร(แนวคาตอบ ไม่มีการ
หมนุ เวียนของสารอาหาร และไม่มีแก๊สออกซิเจน ทาให้สิ่งมีชีวิตไม่สามารถดารงชีวิตอย่ไู ด้)

(3) นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปผลจากการปฏิบตั ิกิจกรรม
4) ข้นั ขยายความรู้

(1) นกั เรียนคน้ ควา้ บทความหรือคาศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเกี่ยวกบั ความสมั พนั ธใ์ นระบบ
นิเวศจากหนงั สือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนาเสนอใหเ้ พ่ือนในหอ้ งฟัง พร้อมท้งั
รวบรวมคาศพั ทแ์ ละคาแปลลงสมุดส่งครู

(2) ครูเชื่อมโยงความรู้สู่อาเซียน โดยครูถามนกั เรียนว่า รู้จกั มงั กรโคโมโดหรือไม่ สัตว์ชนดิ
นมี้ บี ทบาทอย่างไรในโซ่อาหาร จากน้ันครูให้ความรู้เพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั มงั กรโคโมโด ดงั นี้

มงั กรโคโมโด เป็ นสัตว์ในตระกลู กงิ้ ก่าท่ตี วั ใหญ่ที่สุด
ในโลก เมอ่ื โตเตม็ ท่ลี าตวั จะยาวประมาณ 3 เมตร หนกั
ประมาณ 127 กโิ ลกรัม พบได้บนเกาะเลก็ ๆ ทาง
ตอนกลางของประเทศอนิ โดนเี ซีย มงั กรโคโมโดเป็ นสัตว์
ทกี่ นิ สัตว์อนื่ เป็ นอาหารหรือเป็ นผู้ล่าเหยอื่ มฟี ันท่ีแหลม
คมมาก มขี ากรรไกรทีแ่ ขง็ แรง นา้ ลายของสัตว์ชนิดนมี้ ี
แบคทีเรียท่ีเป็ นอนั ตรายเกอื บ 15 ชนิด สามารถล้มสัตว์ได้หลายชนดิ ท้ังควาย กวาง แพะ และกนิ กนั เอง
ด้วย แม้ว่ามงั กรโคโมโดจะเป็ นสัตว์ทดี่ ุร้ายแต่กเ็ ป็ นสัตว์ทีเ่ หลอื น้อยมาก เน่ืองจากถูกมนุษย์รบกวน
รัฐบาลอนิ โดนเี ซียจึงอนุรักษ์ไว้โดยประกาศให้เกาะ 3 เกาะเป็ นอทุ ยานแห่งชาติโคโมโด ได้แก่
เกาะโคโมโด เกาะริงกา และเกาะปาดาร์
5) ข้นั ประเมนิ
(1) ครูใหน้ กั เรียนแต่ละคนพิจารณาวา่ จากหวั ขอ้ ที่เรียนมาและการปฏิบตั ิกิจกรรม มีจุด
ใดบา้ งท่ียงั ไมเ่ ขา้ ใจหรือยงั มีขอ้ สงสยั ถา้ มี ครูช่วยอธิบายเพ่ิมเติมใหน้ กั เรียนเขา้ ใจ
(2) นกั เรียนร่วมกนั ประเมินการปฏิบตั ิกิจกรรมกลมุ่ วา่ มีปัญหาหรืออปุ สรรคใด และไดม้ ี
การแกไ้ ขอยา่ งไรบา้ ง
(3) นกั เรียนและครูร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับจากการปฏิบตั ิ
กิจกรรม และการนาความรู้ท่ีไดไ้ ปใชป้ ระโยชน์
(4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนโดยการใหต้ อบคาถาม เช่น
– การเปล่ียนแปลงอุณหภมู ิของอากาศส่งผลต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในระบบ
นิเวศหรือไม่ ลกั ษณะใด
– การถา่ ยทอดพลงั งานกบั การหมนุ เวยี นของสารในระบบนิเวศมีความแตกต่างกนั ใน
ลกั ษณะใด
– การถา่ ยทอดพลงั งานในโซ่อาหารเกี่ยวขอ้ งกบั พีระมิดพลงั งานของส่ิงมีชีวิตในเรื่องใด

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวติ กบั ส่ิงแวดลอ้ ม ม. 4–6 67

ข้ันสรุป
1) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเก่ียวกบั ความสมั พนั ธใ์ นระบบนิเวศ โดยร่วมกนั เขียนเป็นแผนที่
ความคิดหรือผงั มโนทศั น์
2) ครูดาเนินการทดสอบหลงั เรียน โดยใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียนเพื่อวดั
ความกา้ วหนา้ /ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ตอนที่ 1
3) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนือ้ หาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพอ่ื จดั การเรียนรู้
คร้ังต่อไป โดยให้นกั เรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อประชากรและการเปลยี่ นแปลงขนาดของ
ประชากร
4) ครูให้นักเรียนเตรียมประเดน็ คาถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คาถาม เพอ่ื นามาอภิปราย
ร่วมกนั ในช้ันเรียนคร้ังต่อไป

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
แบ่งนกั เรียนเป็นกลุ่ม สืบคน้ ขอ้ มลู เก่ียวกบั ความสัมพนั ธ์ในระบบนิเวศจากหนงั สือ วารสาร

สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมท้งั นาขอ้ มลู ที่คน้ ควา้ ไดม้ า
จดั ทาเป็นรายงาน หรือจดั ป้ ายนิเทศใหเ้ พื่อน ๆ ไดท้ ราบเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้กนั
9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้

1. รูปถ่ายหรือวดี ิทศั นท์ ี่เกี่ยวกบั ระบบนิเวศป่ าไม้ หรือระบบนิเวศทุ่งหญา้ ท่ีมีสิ่งมีชีวติ หลาย
ชนิดอาศยั อยรู่ ่วมกนั

2. รูปถ่ายกลว้ ยไมท้ ี่เจริญเติบโตบนตน้ ไมใ้ หญ่ ดอกไมท้ ี่มีแมลงมาดูดน้าหวาน และการว่งิ ล่า
เหยอ่ื ของสิงโต

3. ค่มู ือการสอน ชีวิตกบั สิ่งแวดลอ้ ม ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4–6 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช
จากดั

4. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint รายวชิ าพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม ช้นั มธั ยมศึกษา
ปี ที่ 4–6 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั

5. แบบฝึ กทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชีวิตกบั สิ่งแวดลอ้ ม ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4–6
บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั

6. หนงั สือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชีวติ กบั ส่ิงแวดลอ้ ม ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4–6
บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวิตกบั สิ่งแวดลอ้ ม ม. 4–6 68

10. บนั ทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้
1. ความสาเร็จในการจดั การเรียนรู้ ………………………………………………………….…

แนวทางการพฒั นา …………………………………………………………………………
2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจดั การเรียนรู้ …………………………………………………….…

แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………..….
3. สิ่งท่ีไม่ไดป้ ฏิบตั ิตามแผน ………………………………………………………………..…

เหตุผล ………………………………………………………………………………...……
4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ …………………………………………………………

ลงชื่อ ....................................................... ผู้สอน
.........../....................../..........

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชีวิตกบั สิ่งแวดลอ้ ม ม. 4–6 69

ตอนที่ 2 ประชากรและการเปลย่ี นแปลงในระบบนิเวศ เวลา 2 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 การเปลยี่ นแปลงในระบบนิเวศ เวลา 2 ช่ัวโมง
สาระที่ 2 ชีวติ กบั สิ่งแวดล้อม
ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 4–6
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ระบบนิเวศ

1. สาระสาคญั

ระบบนิเวศธรรมชาติมีการเปลี่ยนแปลงแทนท่ีของประชากรส่ิงมีชีวติ โดยอาจเกิดข้ึนในพ้ืนท่ีท่ี
ไมเ่ คยมีสิ่งมีชีวิตอาศยั อยมู่ าก่อน เรียกวา่ การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีข้นั ปฐมภูมิ และการเปล่ียนแปลงแทนที่
ท่ีเกิดข้ึนในพ้ืนที่ท่ีเคยมีการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิตอยู่ แลว้ เกิดการทาลายโดยมนุษยห์ รือโดยธรรมชาติ
เรียกวา่ การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีข้นั ทุติยภมู ิ

2. ตัวชี้วดั ช่วงช้ัน
อภิปรายกระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิต (ว 2.1 ม. 4–6/2)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายสาเหตุที่ทาใหป้ ระชากรในระบบนิเวศเกิดการเปล่ียนแปลงได้ (K)
2. สืบคน้ ขอ้ มลู และรวบรวมขอ้ มลู ประชากรมนุษยไ์ ด้ (K)
3. วิเคราะหแ์ นวโนม้ การเพ่ิมข้ึนของประชากรมนุษยเ์ ปรียบเทียบกบั การใชท้ รัพยากรธรรมชาติได้ (K)
4. อธิบายหลกั การของกระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนท่ีได้ (K)
5. วิเคราะหส์ าเหตุของการเปลี่ยนแปลงแทนที่ และยกตวั อยา่ งการเปลี่ยนแปลงแทนท่ีท่ีเกิดข้ึน

ในทอ้ งถ่ินได้ (K)
6. มีความสนใจใฝ่ รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)
7. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกบั วทิ ยาศาสตร์ (A)
8. ทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นอยา่ งสร้างสรรค์ (A)
9. สื่อสารและนาความรู้เร่ืองการเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ (P)

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม ม. 4–6 70

4. การวดั และการประเมินผลการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
และจติ วทิ ยาศาสตร์ (A)

1. ซกั ถามความรู้เรื่อง 1. ประเมินเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ 1. ประเมินทกั ษะ/กระบวนการ

การเปล่ียนแปลงในระบบนิเวศ เป็นรายบุคคล ทางวทิ ยาศาสตร์

2. ประเมินกิจกรรมฝึ กทกั ษะ 2. ประเมินเจตคติต่อวทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมินทกั ษะการคิด

ระหวา่ งเรียน เป็ นรายบุคคล 3. ประเมินทกั ษะการแกป้ ัญหา

3. ทดสอบก่อนเรียน 4. ประเมินพฤติกรรมในการ

4. ทดสอบหลงั เรียน ปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือ

รายกลุ่ม

5. สาระการเรียนรู้

ประชากรและการเปลี่ยนแปลงขนาดประชากร

กระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนท่ี

6. แนวทางการบูรณาการ

ภาษาไทย เลา่ ประสบการณ์เกี่ยวกบั ความสมั พนั ธข์ องส่ิงมีชีวติ และการ

เปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนในระบบนิเวศป่ าไมแ้ ละระบบนิเวศทุ่งหญา้

ตามที่นกั เรียนรู้จกั หรือไดป้ ระสบมา

สังคมศึกษา ศาสนา สืบค้นข้อมูลและอภปิ รายเกย่ี วกบั จานวนประชากรในอาเซียน

และวฒั นธรรม

ภาษาต่างประเทศ ฟัง พดู อา่ น เขียนคาศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเกี่ยวกบั การเปลี่ยนแปลง

ในระบบนิเวศระบบนิเวศเรียนรู้หรือท่ีนกั เรียนสนใจ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้

ช่ัวโมงที่ 10
ครูดาเนินการทดสอบก่อนเรียน โดยใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบความ
พร้อมและพ้ืนฐานของนกั เรียน
ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน
1) ครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกบั ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งองคป์ ระกอบทางชีวภาพกบั
องคป์ ระกอบทางกายภาพที่ไดเ้ รียนรู้มาแลว้ โดยครูต้งั ประเดน็ คาถามดงั น้ี
– การเปล่ียนแปลงองคป์ ระกอบทางกายภาพจะส่งผลกระทบต่อส่ิงมีชีวิตท่ีอาศยั อยใู่ นระบบ
นิเวศหรือไม่

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชีวิตกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ม. 4–6 71

– ส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศท่ีอาศยั ทรัพยากรเดียวกนั ในการดารงชีวิต เม่ือทรัพยากรน้นั มีจานวน
ลดลงจะส่งผลกระทบหรือไม่ ในลกั ษณะใด

2) นกั เรียนร่วมกนั ตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั คาตอบของคาถาม เพื่อเช่ือมโยง
ไปสู่การเรียนรู้เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศ

ข้นั จดั กจิ กรรมการเรียนรู้
จดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกบั แบบกลบั ดา้ นช้นั เรียน ซ่ึง
มีข้นั ตอนดงั น้ี
1) ข้นั สร้างความสนใจ

(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิ ดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนาเสนอข้อมูลเกีย่ วกบั ประชากร
และการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร ท่ีครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อน ๆ ในกลุ่มฟัง
จากน้นั ให้แต่ละกลุ่มส่งตวั แทนมานาเสนอข้อมูลหน้าห้องเรียน

(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทาภาระงานที่ได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจาก
การจดบันทกึ ของนักเรียน และถามคาถามเกย่ี วกบั ภาระงาน ดงั นี้

– การเปล่ียนแปลงจานวนประชากรเกิดจากสาเหตุใดบ้าง (แนวคาตอบ การเกิด การ
ตาย การอพยพเข้า และการอพยพออก)

– ในอดีตอัตราการเกิดและอัตราการตายสมดุลกันเพราะอะไร (แนวคาตอบ เพราะ
วิทยาศาสตร์และการแพทย์ยงั ไม่เจริญ)

(3) ครูเปิ ดโอกาสให้นักเรียนต้ังประเด็นคาถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทาภาระงานอย่าง
น้อยคนละ 1 คาถาม ซ่ึงครูให้นักเรียนเตรียมมาล่วงหน้า และให้นักเรียนช่วยกันตอบและแสดงความ
คิดเห็น

(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า
การเปล่ียนแปลงขนาดของประชากรแต่ละท้องถิ่นเกิดจากสาเหตุใหญ่ 4 ประการ คือ การเกดิ การตาย
การอพยพเข้า และการอพยพออก โดยแต่ละพนื้ ที่อาจมีอตั ราการเปลย่ี นแปลงขนาดประชากรที่แตกต่าง
กนั

2) ข้นั สารวจและค้นหา
(1) ใหน้ กั เรียนศึกษาการเปล่ียนแปลงขนาดประชากรจากใบความรู้หรือในหนงั สือเรียน

โดยครูช่วยอธิบายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจวา่ ประชากร คือ สิ่งมีชีวติ ชนิดเดียวกนั อาศยั อยใู่ นแหล่งท่ีอยู่
เดียวกนั ภายในช่วงระยะเวลาใดเวลาหน่ึง โดยปกติแลว้ จานวนประชากรจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลา เนื่องจากสาเหตุสาคญั คือ การเกิด การตาย การอพยพเขา้ และการอพยพออก ซ่ึงเกิดข้ึน
จากการเปล่ียนแปลงปัจจยั ทางกายภาพ และปัจจยั ทางชีวภาพในระบบนิเวศ

(2) แบ่งนกั เรียนกลุ่มละ 5–6 คน ปฏิบตั ิกิจกรรม สืบค้นข้อมลู แนวโน้มการเพ่ิมจานวน
ประชากรมนุษย์ ตามข้นั ตอนทางวทิ ยาศาสตร์ โดยใชท้ กั ษะการสงั เกต ดงั น้ี

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม ม. 4–6 72

ตอนท่ี 1
– สืบคน้ ขอ้ มลู เก่ียวกบั จานวนประชากรมนุษยข์ องโลกจากเครือข่ายขอ้ มลู เช่น
 http://www.overpopulation.org
 http://geography.about.com/od/populationgeography/Population_Geography.htm/
 http://www.census.gov หรือเอกสารอื่น ๆ
– วิเคราะห์แนวโนม้ การเพิ่มจานวนประชากรมนุษยข์ องโลกจากรูปต่อไปน้ี

แผนภูมิแสดงตวั อย่างการคาดคะเนแนวโน้มจานวนประชากรมนษุ ย์ของโลกในช่วง พ.ศ. 2493–2593

ท่มี า: สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย,ี กระทรวงศึกษาธิการ. ชีวติ กบั ส่ิงแวดล้อม สิ่งมชี ีวติ กบั กระบวนการ
ดารงชีวติ . (กรุงเทพมหานคร: ครุ ุสภาลาดพร้าว, 2547), หนา้ 27.

– นาขอ้ มลู ที่ไดม้ าอภิปรายร่วมกนั ในหวั ขอ้ จานวนประชากรมนุษยข์ องโลกมี
แนวโนม้ เป็นแบบใด และจะส่งผลต่อสภาพแวดลอ้ มและการดารงชีวิตของประชากรมนุษยใ์ นลกั ษณะ
ใดแลว้ นาเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรม

ตอนที่ 2

– ใหน้ าขอ้ มลู แสดงจานวนประชากรไทยท่ีกาหนดใหม้ าเขียนกราฟแสดงความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งจานวนประชากรไทยกบั พ.ศ.

ตารางแสดงจานวนประชากรไทยระหว่าง พ.ศ. 2545–2558

พ.ศ. จานวนประชากร พ.ศ. จานวนประชากร
(ล้านคน) (ล้านคน)

2545 62.80 2552 63.53

2546 63.19 2553 63.89

2547 61.98 2554 64.08

2548 62.42 2555 64.46

2549 62.83 2556 64.79

2550 63.09 2557 65.12

2551 63.39 2558 65.13

ทีม่ า: กรมการปกครอง, กระทรวงมหาดไทย. รายงานสถติ ิจานวนประชากรและบ้านท่วั ประเทศและรายจงั หวดั ณ เดอื น
ธันวาคม พ.ศ. 2558. {ออนไลน์}, 2559. แหล่งท่ีมา: http://www.dopa.go.th


































Click to View FlipBook Version