การสอนแบบทันสมยั และเทคนิควิธีสอนแนวใหม่ ขัณธ์ชัย อธิเกยี รติ
ธนารักษ์ สารเถ่ือนแก้ว
การเรียนการสอนแนวใหม่
เป็นการนาแนวคิด วิธกี าร กระบวนการหรือส่ิงประดษิ ฐ์ใหมๆ่ มาใช้ในการจดั การเรยี นรู้ ในการแกป้ ญั หา
หรือพัฒนาการเรียนร้อู ย่างมีประสทิ ธิภาพตรงตามเปา้ หมายของหลักสูตร ซ่งึ จะช่วยใหก้ ารศกึ ษาและการเรยี น
การสอนมปี ระสทิ ธภิ าพดยี ่ิงขึน้ ผู้เรียนสามารถเกดิ การเรยี นรู้ได้อยา่ งรวดเร็วมีประสิทธผิ ลสูงกว่าเดิม เกดิ แรงจงู ใจ
ในการเรยี นด้วยนวตั กรรมเหล่าน้นั และประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย
กระบวนทัศนใ์ หม่ของการเรียนรู้
แนวคิดแบบใหม่ๆ เริม่ เข้ามามีอิทธิพลตอ่ การจดั การศึกษาโดยเฉพาะอย่างย่ิงกับการปฏิรูปการศึกษาใน
ปจั จบุ ัน ดว้ ยมมุ มองทว่ี ่า ผเู้ รยี นแตล่ ะคนมีความแตกตา่ งกันและต่างก็มเี อกลกั ษณข์ องตน ดงั น้ัน การจดั หลกั สูตร
และการจดั การเรียนรู้ยอ่ มตอ้ งมกี ารปรับเปล่ยี นใหค้ านึงถงึ ลักษณะดังกล่าว
การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วสร้างความวิตกกงั วลและความไม่มัน่ คงในหม่คู รู ซงึ่ ถอื เป็นความท้าทายที่
จะเรยี นรูก้ ลยทุ ธ์ใหม่ ในฐานะทเ่ี ปน็ ผู้นาการศกึ ษา ครูอาจารย์ต้องยอมรับท่ีจะเรียนรแู้ ละแกป้ ัญหาท่ีอาจจะเกิด
จากทฤษฎีใหมๆ่ ทเี่ ขา้ มาอยา่ งมสี ติ ครูต้องเปน็ ตวั อยา่ งของผ้ทู ่ีมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต การศึกษาจะต้องเรยี นรู้
วิธกี ารคิดนอกกรอบและพฒั นามากขึ้น งานของครไู มไ่ ด้เปน็ เพียงแค่ปรับแตง่ สภาพทีเ่ ป็นอยู่ ถ้าหากจะทาใหเ้ กดิ
การเปลี่ยนแปลงทย่ี ่ังยนื ในระบบโรงเรยี น เราควรจะแสวงหาความจริงจากหลายมติ ิ ในฐานะท่เี ป็นมนุษย์เรามี
ความซับซ้อนหลายแงม่ มุ ชวี ิตทีไ่ ม่สามารถจากดั อยเู่ พียงรูปแบบเดยี ว มนษุ ยช์ อบความจรงิ แตก่ ต็ อ้ งอาศยั อยบู่ น
หน้ากากของการเรยี นรู้จากความหลากหลายของแหลง่ ที่มา ขณะเดียวกนั ครูผู้สอนควรจะได้รบั การฝกึ อบรม
เก่ยี วกบั วิธกี ารจัดการเรยี นร้แู บบใหม่ๆ เพื่อรับมอื กบั การเปล่ยี นแปลง ความรู้เกยี่ วกบั การเปลี่ยนแปลงดังกลา่ ว
จะนาไปสกู่ ารพฒั นาทกั ษะของมนุษยข์ องพวกเขา อีกทง้ั ครูต้องเรียนรทู้ จ่ี ะทางานร่วมกบั ชุมชนท่หี ลากหลาย
มากข้ึน และเหน็ พ่อแมเ่ ปน็ แหลง่ ของการเรยี นรูแ้ ละการสนบั สนนุ มากกวา่ การแทรกแซง
การถา่ ยทอดความร้สู าหรบั ผเู้ รียนยุคใหม่
ครสู ามารถเรียนรสู้ ่งิ ต่างๆ ไดโ้ ดยการลงมอื ปฏบิ ตั เิ ชน่ เดยี วกับการเชิญชวนใหน้ ักเรียนรว่ มลงมือกับครูดว้ ย
ครจู ะอาศัยโอกาสดงั กลา่ วน้ีในการสังเกตการณก์ ารทางานและรว่ มแบ่งปนั ประสบการณท์ ่ีค้นพบด้วยกัน การ
เรยี นรูล้ กั ษณะนี้จะชว่ ยใหค้ รผู สู้ อนทจ่ี ะทาใหก้ า้ วกระโดดจากทฤษฎีไปสู่การปฏบิ ัติทปี่ ระสบความสาเร็จ เพราะ
การเรยี นการสอนในยุคใหม่ไม่เพียงแตส่ อนนกั เรียน แตย่ ังตอ้ งดูแลและสร้างความสัมพนั ธ์กบั พวกเขาดว้ ย
กระบวนการของการเรยี นรผู้ ่านการแก้ปญั หาเป็นข้นั ตอนสาคัญ ครจู ะกระตุ้นใหผ้ ้เู รียนตง้ั คาถามและตรวจสอบ
คาถามของพวกเขา วิธีการเช่นนี้จะทาใหห้ ลกั สตู รมคี วามหมายมากขนึ้ บทเรยี นไม่จาเปน็ ตอ้ งจบลงดว้ ยคาตอบท่ี
ถูก แตค่ วรจะเป็นคาตอบทสี่ ามารถขยายผลไปสกู่ ารต้งั คาถามของผู้เรียน ตอ่ ไป เพราะแนวคดิ สมยั ใหม่มองวา่
ความคดิ ของนกั เรยี นมีคุณค่า นกั เรียนจะใช้พฒั นาความหมายของตัวเองแทนการถ่ายโอนความรูจ้ ากครู โดยจะ
เน้นการคดิ เชิงวพิ ากษ์มากกวา่ ข้อมลู ท่ีเป็นข้อเทจ็ จริง
กจิ กรรมการเรยี นควรมคี วามหมายและนา่ สนใจให้กบั นกั เรยี น พวกเขาควรไดร้ ับอนุญาตในการสร้าง
พัฒนาและประยุกตใ์ ชค้ วามรหู้ รอื ทกั ษะเพ่ิมเติม พวกเขาควรจะมที างเลอื กและได้รบั โอกาสทีจ่ ะเป็นนักวางแผน
และผู้มอี านาจตัดสนิ ใจ กิจกรรมควรจะสรา้ งข้นึ ทช่ี ่วยใหเ้ ด็กทีจ่ ะใช้ประโยชนจ์ ากความรู้ในสถานการณใ์ หม่ เดก็
ควรจะเป็นการสนับสนุนในการหาคาตอบสาหรับคาถามของตัวเองโดยใช้การวเิ คราะห์
~๒~
แนวคดิ การจัดการเรยี นร้ทู ่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ
ปัจจัยสาคญั ท่ีมอี ทิ ธิพลอย่างมากตอ่ วธิ กี ารศกึ ษา ได้แก่แนวคิดพนื้ ฐานในการจดั กิจกรรมการเรียนร้ทู เ่ี น้น
ผเู้ รียนเป็นสาคัญ พอจะสรุปได้ ๔ ประการ คือ
๑. ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล (Individual Different)
การจดั การศึกษาของไทยได้ให้ความสาคญั ในเร่ืองความแตกตา่ งระหว่างบุคคลเอาไว้ อย่างชัดเจนซ่ึง
จะเหน็ ไดจ้ ากแผนการศึกษาของชาติ ใหม้ ุ่งจัดการศึกษาตามความถนดั ความสนใจ และความสามารถ ของแต่ละ
คนเปน็ เกณฑ์ ตวั อยา่ งท่เี ห็นไดช้ ัดเจนได้แก่ การจัดระบบห้องเรียนโดยใช้อายเุ ป็นเกณฑ์บา้ ง ใช้ความสามารถเป็น
เกณฑ์บ้าง นวตั กรรมทีเ่ กิดข้ึนเพือ่ สนองแนวความคิดพ้ืนฐานน้ี เช่น การเรียนแบบไม่แบ่งชั้น (Non-Graded
School) แบบเรียนสาเร็จรูป (Programmed Text Book) เคร่ืองสอน (Teaching Machine) การสอนเป็น
คณะ (Team Teaching) การจัดโรงเรียนในโรงเรยี น (School within School) เครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
(Computer Assisted Instruction)
๒. ความพรอ้ ม (Readiness)
เดมิ ทีเดยี วเชอื่ กันวา่ เด็กจะเร่มิ เรียนได้ก็ต้องมีความพร้อมซ่ึงเป็นพัฒนาการตามธรรมชาติ แต่ใน
ปัจจบุ ันการวจิ ัยทางดา้ นจิตวทิ ยาการเรียนรู้ ชี้ให้เห็นว่าความพร้อมในการเรียนเป็นส่ิงที่สร้างข้ึนได้ ถ้าหาก
สามารถจัดบทเรยี น ให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาท่ีเคยเชื่อกันว่ายาก และไม่
เหมาะสมสาหรบั เดก็ เลก็ ก็สามารถนามาให้ศึกษาได้ นวตั กรรมทต่ี อบสนองแนวความคิดพ้ืนฐานนี้ได้แก่ ศูนย์การ
เรียน การจดั โรงเรยี นในโรงเรยี น นวัตกรรมท่ีสนองแนวความคดิ พื้นฐานด้านนี้ เช่น ศูนย์การเรียน (Learning
Center) การจดั โรงเรยี นในโรงเรียน (School within School) การปรับปรุงการสอนสามชั้น (Instructional
Development in 3 Phases)
๓. การใชเ้ วลาเพอ่ื การศกึ ษา
แตเ่ ดมิ มาการจัดเวลาเพือ่ การสอน หรือตารางสอนมกั จะจัดโดยอาศยั ความสะดวกเป็นเกณฑ์ เชน่ ถอื
หน่วยเวลาเป็นชว่ั โมง เท่ากนั ทกุ วิชา ทุกวันนอกจากนน้ั กย็ ังจัดเวลาเรียนเอาไว้แน่นอนเปน็ ภาคเรียน เป็นปี ใน
ปจั จบุ ันได้มคี วามคิดในการจัดเป็นหนว่ ยเวลาสอนใหส้ ัมพันธก์ ับลกั ษณะของแต่ ละวิชาซง่ึ จะใช้เวลาไมเ่ ท่ากนั บาง
วิชาอาจใชช้ ่วงส้นั ๆ แต่สอนบ่อยคร้งั การเรยี นก็ไมจ่ ากดั อยู่แต่เฉพาะในโรงเรยี นเทา่ น้นั นวัตกรรมทสี่ นอง
แนวความคดิ พื้นฐานดา้ นนี้ เชน่ การจัดตารางสอนแบบยืดหยุน่ (Flexible Scheduling) มหาวิทยาลัยเปิด
(Open University) แบบเรียนสาเร็จรปู (Programmed Text Book) การเรียนทางไปรษณีย์
๔. ประสิทธภิ าพในการเรยี น
การขยายตัวทางวชิ าการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทาให้มสี ่ิงตา่ งๆ ที่คนจะต้องเรียนรู้เพ่ิมข้ึน
มาก แต่การจดั ระบบการศกึ ษาในปจั จบุ ันยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอจึงจาเป็นต้อง แสวง หาวิธีการใหม่ท่ีมี
ประสิทธภิ าพสงู ขนึ้ ทงั้ ในดา้ นปจั จัยเกย่ี วกับตวั ผู้เรยี น และปจั จัยภายนอก นวตั กรรมในด้านนี้ท่ีเกิดขึ้น เช่น การ
เรยี นทางโทรทศั น์ การเรยี นทางไปรษณยี ์ การเรียนการสอนทางไกล การเรียนทางเว็บไซต์ การเรียนผ่าน
เครอื ข่าย แบบเรียนสาเร็จรูป
~๓~
นวัตกรรมการสอนแบบใหมๆ่
การอา่ นและการเขยี น Weblog
บลอ็ ก (องั กฤษ: blog) เปน็ คารวมมาจากคาว่า เว็บล็อก (อังกฤษ: weblog) เป็นรปู แบบเว็บไซตป์ ระเภท
หนึ่ง ซ่งึ ถูกเขยี นข้ึนในลาดับทเี่ รียงตามเวลาในการเขียน ซึง่ จะแสดงขอ้ มลู ทีเ่ ขียนลา่ สดุ ไวแ้ รกสุด บล็อกโดยปกติ
จะประกอบด้วย ขอ้ ความ ภาพ ลิงก์ ซงึ่ บางคร้ังจะรวมสื่อต่างๆ ไม่ว่า เพลง หรอื วดิ ีโอในหลายรปู แบบได้ จุดที่
แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซตโ์ ดยปกติคือ บลอ็ กจะเปดิ ให้ผูเ้ ขา้ มาอ่านข้อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นตอ่ ท้าย
ข้อความท่ีเจ้าของบลอ็ กเปน็ คนเขยี น ซงึ่ ทาใหผ้ ูเ้ ขยี นสามารถไดผ้ ลตอบกลบั โดยทันที คาว่า "บลอ็ ก" ยงั ใช้เป็น
คากริยาได้ซงึ่ หมายถึง การเขยี นบล็อก และนอกจากนีผ้ ทู้ ่ีเขียนบล็อกเปน็ อาชพี ก็จะถูกเรียกวา่ "บลอ็ กเกอร"์
บล็อกเป็นเว็บไซต์ท่ีมีเน้ือหาหลากหลายขน้ึ อย่กู บั เจา้ ของบล็อก โดยสามารถใชเ้ ป็นเครื่องมือส่อื สาร การ
ประกาศขา่ วสาร การแสดงความคดิ เห็น การเผยแพรผ่ ลงาน ในหลายด้านไม่ว่า อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรือ
ข่าวปจั จบุ นั นอกจากนี้บล็อกท่ถี ูกเขยี นเฉพาะเรอ่ื งสว่ นตวั หรอื จะเรยี กว่าไดอารอี อนไลน์ ซ่งึ ไดอารีออนไลนน์ ี่เอง
เปน็ จดุ เร่มิ ตน้ ของการใช้บลอ็ กในปัจจบุ นั
ตัวอยา่ ง
OK Nation Blog http://www.oknation.net/blog/start_blog.php
GotoKnow https://www.gotoknow.org/home
Blognone https://www.blognone.com
เสิรช์ เอ็นจ้ิน (search engine) หรือ โปรแกรมคน้ หา
คอื โปรแกรมที่ชว่ ยในการสืบคน้ หาข้อมลู โดยเฉพาะขอ้ มลู บนอินเทอร์เน็ต โดยครอบคลุมท้ังข้อความ
รปู ภาพ ภาพเคล่อื นไหว เพลง ซอฟตแ์ วร์ แผนท่ี ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอ่ืน ๆ ซ่ึงแตกต่างกันไปแล้วแต่
โปรแกรมหรอื ผู้ใหบ้ รกิ ารแต่ละราย. เสิรช์ เอ็นจิ้นสว่ นใหญจ่ ะค้นหาขอ้ มูลจากคาสาคญั (คีย์เวิรด์ ) ทผี่ ้ใู ช้ป้อนเข้าไป
จากน้ันก็จะแสดงรายการผลลัพธท์ ่มี นั คิดว่าผใู้ ช้น่าจะต้องการขึ้นมา
ตัวอย่าง
Google https://www.google.co.th
Bing http://www.bing.com
Yahoo https://www.yahoo.com
Ask http://www.ask.com
ห้องเรียนออนไลน์
Quipper School https://school.quipper.com/th/index.html
ควิปเปอร์สคูล คือ ฟรี -แพลตฟอร์มออนไลน์ สาหรับคุณครูและ นักเรียน ควิปเปอร์สคูล
ประกอบด้วยสองส่วนด้วยกนั คือ สาหรบั ครผู สู้ อน และสาหรับนกั เรียน เป็นที่ที่ครูจัดการห้องเรียนออนไลน์
และยงั สามารถติดตาม ตรวจสอบผลการเรียนของนกั เรยี นได้ สามารถเลือกจากบทเรยี นและแบบฝึกหัดหลายพัน
หัวขอ้ ครอบคลุมหลักสูตรหลัก เพ่อื ส่งเป็นการบ้านให้นักเรียนทั้งช้ันหรือกลุ่มย่อยในชั้นเรียนได้ ครูสามารถ
สามารถแก้ไขจากบทเรยี นทมี่ ีอยู่หรอื สร้างเน้อื หาและแบบทดสอบข้ึนมาใหม่ท้ังหมดด้วยตัวเองได้ สามารถดูและ
ดาวนโ์ หลดผลวิเคราะหค์ ะแนนของนกั เรียน อตั ราการส่งการบ้าน การบา้ นทท่ี าเสร็จไปแล้ว จุดแข็งและจุดอ่อน
ของนกั เรียน ครูทางานกับชั้นเรียนของเขาหรอื สามารถทางานรว่ มกนั ระหวา่ งครู(สองคนหรือมากกว่านั้น)ในช้ัน
เรยี น หรือโรงเรยี นเดยี วกันได้
~๔~
Google Classroom https://classroom.google.com/
Classroom เปิดให้บริการสาหรับทุกคนที่ใช้ Google Apps for Education ซึ่งเป็นชุด
เคร่ืองมอื เพ่มิ ประสิทธิภาพการทางานท่ใี ห้บริการฟรี ประกอบดว้ ย Gmail, เอกสาร และไดรฟ์ Classroom ได้รับ
การออกแบบมาเพอื่ ชว่ ยให้ครสู ามารถสร้างและเก็บงา นได้โดยไม่ต้องส้ินเปลืองกระดาษ มีคุณลักษณะที่ช่วย
ประหยดั เวลา เช่น สามารถทาสาเนาของ Google เอกสารสาหรบั นักเรียนแตล่ ะคนไดโ้ ดยอัตโนมัติ โดยระบบจะ
สร้างโฟลเดอรข์ องไดรฟ์สาหรับแต่ละงานและนกั เรียนแตล่ ะคนเพ่ือช่วยจัดระเบียบให้ทุกคน นักเรียนสามารถ
ตดิ ตามวา่ มอี ะไรครบกาหนดบ้างในหนา้ งาน และเรมิ่ ทางานไดด้ ว้ ยการคลิกเพียงคร้ังเดียว ครูสามารถดูได้อย่าง
รวดเรว็ ว่าใครทางานเสร็จหรือไม่เสรจ็ บา้ ง ตลอดจนสามารถแสดงความคิดเห็นและให้คะแนนโดยตรงได้แบบ
เรียลไทมใ์ น Classroom
แหลง่ การเรียนรสู้ าหรับครู
โทรทัศน์ครู http://www.thaiteachers.tv
โครงการโทรทศั นค์ รู โดยสานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
TEACHERS as LEARNERS http://www.teachersaslearners.com
โครงการการพัฒนาชุมชนครผู ู้เรียนรู้ บนฐานนวัตกรรมสร้างสรรค์ทางการศึกษา นวัตกรรม
สร้างสรรค์ทางการศึกษาในรูปของสื่อ-ดิจิตอล (Digital Media) เพื่อส่งเสริมให้เกิดชุมชนครูผู้เรียนรู้ และการ
พัฒนาการศกึ ษาไทย ประกอบด้วยรายการสากล พรอ้ มคาอธิบายในการประยกุ ต์ และรายการไทย ซ่ึงทุกรายการ
มอี งคค์ วามรู้ทางการศกึ ษาและการปฏบิ ัติการสอนท่ดี ี
คลงั สมองของครูไทย http://www.thinkttt.com
โครงการยกระดับบุคลากรครูและนักเรียนด้านการนาเทคโนโลยีสารสนเทศสู่การปฏิรูป
กระบวนการเรยี นการสอน โดยสานักเทคโนโลยีเพ่อื การเรียนการสอน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
DLIT http://www.dlit.ac.th/index.php
โครงการพฒั นาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยสานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ประกอบดว้ ย
๑) DLIT Classroom หอ้ งเรียน DLIT การถา่ ยทอดการจดั การเรียนรู้หวั ขอ้ เร่ืองที่ยาก จากครู
ต้นแบบของโรงเรยี นชนั้ นาไปยงั ห้องเรยี นปลายทาง
๒) DLIT Resources คลงั ส่อื ประกอบการจัดการเรียนการสอนที่ตรงกับหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
๓) DLIT Digital Library ห้องสมุดดจิ ิทลั
๔) DLIT PLC (Professional Learning Community) เครื่องมอื ในการสร้างและพัฒนาชุมชน
แห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ครู พรอ้ มพ้ืนทแี่ ห่งการแบง่ ปนั และเรียนรูห้ รือ Share and Learn
๕) DLIT Assessment คลังขอ้ สอบ
ศูนยก์ ลางความร้แู หง่ ชาติ TKC http://www.tkc.go.th
ของกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร เป็นบรกิ ารเวบ็ ทา่ ท่ีรวบรวม ขอ้ มลู ข่าวสาร
ความรู้ตา่ ง ๆ เพือ่ ใหบ้ ริการแกป่ ระชาชนท่วั ไปทสี่ นใจคน้ ควา้ หาความรู้เพิม่ เติมบนระบบอินเทอรเ์ น็ต
สานักงานราชบัณฑติ ยสภา www.royin.go.th
มบี ริการออนไลน์ ได้แก่ พจนานกุ รม, ศัพท์บัญญัตวิ ิชาการ, อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทย, คลัง
ความรู้, สอื่ สง่ิ พมิ พ์, E-Book, กระดานสนทนา ฯลฯ
~๕~
Education World http://www.educationworld.com/
เวบ็ ไซต์ใหค้ วามรขู้ ่าวสารวงการศึกษา
วิชาการดอทคอม http://www.vcharkarn.com
เป็นเว็บไซต์ทีม่ ีจุดมงุ่ หมายส่งเสริมความรู้ และกระตุ้นความสนใจ โดยเป็นส่ือกลางความรู้ที่
น่าสนใจ และเปน็ สอื่ กลางในการกระจายความรู้ ผ่านไปยงั ภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศอย่างทั่วถึง หวังกระตุ้นใน
นักเรียน นักศึกษา อาจารยและผู้ทส่ี นใจ เกดิ การเรยี นรู้ด้วยตนเอง ประกอบด้วย บทความ, ข่าว, ทุนการศึกษา,
โครงงาน, มุมครู, ข้อสอบ, บทเรยี นออนไลน์, นวนิยาย, BLOG สมาชิก, Webboard, ค่าย, ประชาสัมพันธ์
สหวชิ าดอทคอม http://www.sahavicha.com
เปน็ แหล่งรวมเนื้อหาความรตู้ ่าง ๆ บอกเล่าประสบการณ์เก่ียวกับเน้ือหา และการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนจากครูทั่วประเทศ
ทรปู ลกู ปญั ญา http://www.trueplookpanya.com
เปน็ เว็บไซต์คลังความร้คู ่คู ณุ ธรรมที่ประกอบดว้ ยสาระความรู้ ทกุ วิชาทุกระดบั ชั้น นาเสนออย่าง
สร้างสรรค์ในรูปแบบมัลติมีเดีย สนุกกับการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ท้ังยังเปิดโอกาสให้ทุกคนสร้างคอนเทน ต์
แลกเปลย่ี นความรู้ แบ่งปัน ประสบการณร์ ว่ มกัน ประกอบด้วย คลงั ความรู้, คลังข้อสอบ, มุมคุณครู (ได้แก่ ครู
ตน้ แบบ, ขา่ วแวดวงคณุ ครู, บทความทางวชิ าการ/มาตรฐานการศึกษา, เทคนิคการสอน, แผนการสอน, ผลงาน
ทางวชิ าการและงานวจิ ยั , กฎหมายครู, เว็บบอรด์ มมุ คุณครู), ความรู้คูค่ ณุ ธรรม (รวบรวมแหล่งความรู้ทางพุทธ
ศาสนา ประกอบดว้ ยสื่อธรรมะท้งั ที่เปน็ วดี ีโอคลปิ , บทความธรรมะ, เสียงธรรมเทศนา, นิทานธรรมะ และการ
ปลูกฝงั คณุ ธรรมความดีแกเ่ ยาวชนบคุ คลทั่วไป), แนะแนว (ขอ้ มูลดา้ นการศึกษาต่อ), You Tube แปลไทย ฯลฯ
ถามครู http://taamkru.com
เปน็ ส่ือกลางในการให้ความรู้ ขา่ วสาร ข้อมูลอันเป็นประโยชน์แก่พ่อแม่ผู้ปกครอง ตลอดจน
ผ้เู กย่ี วขอ้ งในการพฒั นาเด็ก มีผเู้ ขียนบทความซึ่งเป็นครู อาจารย์จากมหาวิทยาลัยซึ่งมีความเช่ีย วชาญด้าน
การศึกษาและการพฒั นาเด็กที่ใหข้ ้อมลู ซ่ึงอ้างอิงได้ และเป็นกลาง มเี วบ็ บอรด์ พรอ้ มท่ีจะตอบคาถามหรือข้อสงสัย
ที่เก่ยี วข้องกบั การเรียนการสอนในโรงเรียน ท้ังระดับเด็กเล็ก อนุบาล และประถมต้น ตลอด ๒๔ ชั่วโมง มี
แบบฝกึ หัดและการทดสอบออนไลน์ เพอื่ วดั ความพรอ้ มของเด็กในแต่ละดา้ น โดยเก็บผลคะแนนของเด็กจากการ
ทาแบบฝึกหดั ดังกลา่ วไว้เปน็ สถิตเิ ฉพาะของเดก็ แตล่ ะคน และยังสามารถคน้ หาโรงเรยี นที่ต้ังอยู่ใกล้บ้าน หรือใกล้
ที่ทางานได้
TK park www.tkpark.or.th
สานกั งานอทุ ยานการเรียนรู้ หรอื Thailand Knowledge Park (TK park) เป็นหน่วยงานหน่ึงที่
กอ่ ต้ังขึน้ ภายใต้การกากับดแู ลของ "สานักงานบรหิ ารและพัฒนาองค์ความรู้" (องค์การมหาชน ) ในสังกัดสานัก
นายกรฐั มนตรี โดยมภี ารกจิ หลกั ด้านการรณรงคส์ ่งเสรมิ ให้เยาวชน และประชาชนมอี ุปนิสัยรักการอ่าน และการ
เรยี นรู้ เพ่อื สรา้ งสรรค์สงั คมไทยใหเ้ ป็นสังคมแหง่ การเรียนร้ใู นทส่ี ดุ ประกอบด้วย นานาสาระ, กจิ กรรม, ห้องสมุด
, สอ่ื วีดทิ ศั น์, เอกสารวชิ าการ, E-book Audio book และ Application
เด็กดีดอทคอม www.dek-d.com
เวบ็ สาหรับวัยร่นุ โดยเฉพาะ ติดอันดบั ๑ เวบ็ ไทยยอดนิยมสาหรับวัยรุ่นและมีขนาดใหญ่เป็น
อนั ดบั ๔ ในกลุ่มเว็บไทยท่ีรวมทุกกลุ่มเปา้ หมาย
UTQ http://www.utqplus.com
โครงการยกระดับคุณภาพครูท้งั ระบบ ด้วยระบบ e-Training (การอบรมออนไลน์) โดยคณะครุ
ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั
~๖~
แหลง่ เรียนรู้ทางด้านส่ือและนวัตกรรม
NECTEC http://www.nectec.or.th
ศูนย์เทคโน โลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ( National Electronics and
Computer Technology Center : NECTEC หรอื เนคเทค) ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์สังเคราะห์เสียงพูดภาษาไทย
วาจา (VAJA), LEXiTRON พจนานุกรมส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ไทย, PARTY: พาที ระบบรจู้ าเสียงพูดภาษาไทย
แหล่งใหบ้ รกิ ารเผยแพรค่ ลปิ วีดิทัศน์
Youtube https://www.youtube.com
TED-Ed http://ed.ted.com
Krutube http://krutube.thinkttt.com/index.php
ทวกิ (Twig) https://www.twig-aksorn.com
เวบ็ ไซต์ให้บริการสรา้ งสอ่ื การศกึ ษา
Prezi https://prezi.com สร้าง presentation
Barry Fun English http://www.barryfunenglish.com สร้างใบกิจกรรม
Twinkl http://www.twinkl.co.uk สรา้ งใบกจิ กรรม
Have Fun Teaching http://www.havefunteaching.com สร้างใบกิจกรรม
Puzzle Maker http://www.discoveryeducation.com/free-puzzlemaker
Popplet http://popplet.com สร้าง mind map
Spider scribe http://www.spiderscribe.net สรา้ ง mind map
Time Toast http://www.timetoast.com สร้าง timeline
Timeline http://www.readwritethink.org/files/resources/interactives/timeline_2
Rubistar http://rubistar.4teachers.org สร้างตาราง Rubrics
Face your manga http://www.faceyourmanga.com สรา้ งตัวการต์ ูน
เว็บไซต์ให้บรกิ ารการจดั การเรียนการสอน
Stormboard https://stormboard.com ประชมุ ออนไลน์
ถามตอบออนไลน์
kahoot https://kahoot.it โปรแกรมถามตอบ
Ping Pong http://gogopp.com
โปรแกรมประยกุ ต์
ราชบณั ฑติ ยฯ โมไบล์ : แอปพลเิ คชันพจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ราชบัณฑติ ยฯ โมไบล์ : แอปพลิเคชันอา่ นอยา่ งไรและเขียนอย่างไร ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน
Kint studio : สุภาษิต, คาไวพจน์, คาคมขงเบง้ , คาทบั ศัพท์, สานวนไทย, อกั ษรย่อ ฯลฯ
อื่นๆ : Undecided, สแกนเนริ ์ด, DoctorMe, EmojiNation, 4 Pics 1 word, ปริศนาฟ้าแลบ,
iKnowledge, รูร้ อบตอบได,้ ELN, นิทานอีสป, แชรค์ าคม, , ทายคาไทย, ใบ้คา, Kinraidee, Foursquare,
Localscope, TrueBook, Taamkru, AIS U Academy, Video dl pro, Line Tools, Thai Pray
~๗~
ตวั อยา่ งนวัตกรรมทางดา้ นการจดั การเรียนการสอน
รูปแบบการจดั การเรียนรู้แบบสรา้ งองค์ความรู้ (Constructivism)
แนวคดิ
กระบวนการสร้างความรู้ เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สร้างความรู้และ
ประสบการณต์ ่าง ๆ ท่ีมคี วามหมายตอ่ ตนเอง จากการปฏิสมั พนั ธ์กบั ส่งิ แวดล้อม โดยใช้กระบวนการคิดและการ
แสวงหาความรคู้ วบคู่ไปกับการปฏิบัตจิ ริง ใหผ้ ู้เรยี นค้นพบความรู้ และประสบการณ์ด้วยตนเองโดยมีครูผู้สอน
เป็นผู้จัดโอกาส บรรยากาศ สงิ่ แวดลอ้ ม และแหลง่ เรยี นรูท้ ่เี อ้อื ใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้
แนวทางการจัดการเรียนรู้
การจัดการเรยี นรูด้ ว้ ยกระบวนการสร้างความรู้ มขี น้ั ตอน/กระบวนการ ดังนี้
๑) ขั้นแนะนา
เปน็ ขั้นตอนที่ผูเ้ รียนจะรบั รูถ้ ึงจดุ ม่งุ หมายของบทเรยี น และเกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้
จากการสร้างของครูผู้สอน
๒) ขนั้ ทบทวนความรเู้ ดิม
เป็นขัน้ ทผ่ี เู้ รียนไดแ้ สดงออกถึงความรู้ ความเข้าใจเดิมท่มี ีอยู่ในเร่ืองที่กาลงั จะเรยี นรู้
๓) ข้นั ปรับเปลี่ยนความคดิ
เปน็ ข้นั ทีส่ าคัญของการจัดการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสร้างความรู้ตามกระบวนการ
สร้างความรูท้ ี่ประกอบดว้ ยขนั้ ตอนย่อยๆ ดังน้ี
๓.๑) สร้างความกระจ่างและการแลกเปลี่ยนเรยี นร้รู ะหวา่ งกนั และกัน
๓.๒) สรา้ งความคดิ ใหม่จากการอภิปรายร่วมกัน และสาธิตแสดงให้เห็นจนทาให้ผู้เรียน
สามารถกาหนดความคิด หรอื ความรใู้ หมข่ ้นึ ได้
๓.๓) การประเมินความคิดใหม่ โดยการทดลอง หรือใช้กระบวนการคิด คิดอย่างไตร่ตรอง
ลกึ ซึ้ง และประเมนิ คณุ คา่
๓.๔) การนาความคดิ ไปใช้ ผเู้ รยี นมโี อกาสได้ใช้ความคิด หรือความรู้ ความเข้าใจในการ
พฒั นาการเรยี นร้อู ย่างมีความหมาย
๔) ขน้ั ทบทวน
เป็นขัน้ ตอนสดุ ทา้ ยทีผ่ ู้เรียนจะไดท้ บทวนความคิด ความเข้าใจ โดยการเปรียบเทียบ
ระหว่างความคดิ เดิมกบั ความคดิ ใหม่
ผลทเี่ กิดกบั ผเู้ รียน
กระบวนการสร้างความรู้ เปน็ กระบวนการจัดการเรยี นรทู้ ี่คานึงถึงความรู้ และประสบการณ์
เดิมของผเู้ รยี นไดส้ งั เกตสงิ่ ทต่ี นเองสนใจ อยากเรยี นรู้ แล้วจึงศกึ ษาคน้ ควา้ แสวงหาความรเู้ พ่มิ เติม นาไปเช่ือมโยง
ตอ่ ยอดกับความรู้ และประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ เกิดเป็นความรู้ใหม่ ของผู้เรียนเอง อีกท้ังได้พัฒนาทักษะ
กระบวนการคิด
~๘~
การเรยี นรู้แบบรว่ มมือ (Cooperative Learning)
แนวคิด
การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื เป็นการจดั การเรยี นการสอนที่แบ่งผูเ้ รียนออกเป็นกลุ่มเล็กๆ สมาชิกใน
กลมุ่ มีความสามารถแตกต่างกันมีการแลกเปลีย่ นความคิดเห็น มีการช่วยเหลือสนับสนุนซึ่งกันและกัน มีความ
รบั ผดิ ชอบร่วมกนั ท้งั ในสว่ นตนและส่วนรวม มเี ป้าหมายร่วมกัน การติดตอ่ สัมพันธ์กนั แลกเปล่ียนความคิดเห็นซึ่ง
กันและกัน ความรบั ผิดชอบในการเรยี นร้ขู องสมาชิกแต่ละบคุ คลทกั ษะระหวา่ งบุคคล ทักษะการทางานกลุ่มย่อย
ใชก้ ระบวนการทางานทีม่ ขี ้ันตอนหรือวิธกี ารที่จะช่วยให้ การดาเนินงานกล่มุ เปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้
กลมุ่ ไดร้ บั ความสาเรจ็ ตามเป้าหมายท่ีกาหนด
รปู แบบการเรียนรู้แบบรว่ มมือ
รปู แบบการเรยี นรแู้ บบร่วมมอื ทใ่ี ชก้ นั ในปัจจุบัน มหี ลายรูปแบบ ตัวอย่างเชน่
๑. รูปแบบ Jigsaw
เป็นการสอนทอี่ าศยั แนวคดิ การต่อภาพ ผเู้ สนอวธิ กี ารนคี้ นแรก คือ Aronson et.al ต่อมามีการ
ปรับและเพม่ิ เตมิ ขน้ั ตอนให้มากขึ้น แต่วธิ กี ารหลกั ยังคงเดมิ การสอนแบบน้ีนักเรียนแต่ละคนจะได้ศึกษาเพียง
สว่ นหนึ่งหรอื หัวข้อย่อยของเน้ือหาท้ังหมด โดยการศึกษาเรอ่ื งนั้นๆ จากเอกสารหรือกจิ กรรมท่ีครูจัดให้ ในตอนที่
ศึกษาหัวข้อย่อยนั้น นกั เรยี นจะทางานเป็นกลุ่มกับเพ่ือนที่ได้รับมอบหมายให้ศึกษาหัวข้อย่อยเดียวกัน และ
เตรียมพร้อมทีจ่ ะกลบั ไปอธบิ ายหรอื สอนเพือ่ นสมาชิกในกลุ่มพ้นื ฐานของตนเอง
แนวการจดั การเรียนรู้ มดี งั น้ี
ข้นั ท่ี ๑ ครแู บ่งหัวข้อทีจ่ ะเรียนเป็นหัวขอ้ ย่อยเท่าจานวนสมาชกิ ของแต่ละกลุ่ม ถ้ากลุ่มขนาด ๓
คน ใหแ้ บง่ เนอ้ื หาออกเป็น 3 สว่ น
ขน้ั ท่ี ๒ จัดกล่มุ นักเรียนให้มีสมาชิกที่มีความสามารถคละกัน เป็นกลุ่มพ้ืนฐานหรือ Home
Groups จานวนสมาชิกในกลุม่ อาจเป็น ๓ หรือ ๔ คนกไ็ ด้ จากนน้ั แจกเอกสารหรืออปุ กรณ์การสอนให้กลุ่มละ ๑
ชดุ หรือใหค้ นละชดุ กไ็ ด้ กาหนดให้สมาชกิ แต่ละคนรบั ผดิ ชอบอ่านเอกสารเพยี ง ๑ ส่วนที่ได้รับมอบหมายเท่านั้น
หากแต่ละกลมุ่ ได้รับเอกสารเพยี งชุดเดียว ใหน้ กั เรียนแยกเอกสารออกเป็นสว่ นๆ ตามหวั ขอ้ ยอ่ ย คือ ในแต่ละกลุ่ม
นักเรียน คน ท่ี ๑ จะอ่า น เฉพา ะหัวข้อย่อยที่ ๑ นักเรียน คนที่ ๒ จ ะอ่า น เฉพา ะหัวข้อย่อยท่ี ๒
นกั เรยี นคนท่ี ๓ จะอ่านเฉพาะหัวขอ้ ยอ่ ยที่ ๓
ขัน้ ท่ี ๓ เปน็ การศึกษาในกลุ่มผู้เช่ียวชาญ (Expert Groups) นักเรียนจะแยกย้ายจากกลุ่ม
พน้ื ฐาน (Home Group) ไปจับกลมุ่ ใหมเ่ พ่ือทาการศกึ ษาเอกสารสว่ นทไี่ ด้รบั มอบหมาย โดยคน ทไี่ ด้รับมอบหมาย
ให้ศึกษาเอกสารหัวข้อย่อยเดยี วกัน จะไปนั่งเปน็ กลุ่มดว้ ยกนั กลมุ่ ละ ๓ หรือ ๔ คน แล้วแต่จานวนสมาชิกของ
กลมุ่ ที่ครูกาหนดในกลมุ่ ผ้เู ชี่ยวชาญ สมาชกิ จะอา่ นเอกสาร สรุปเนือ้ หาสาระ จัดลาดับขั้นตอนการนาเสนอ เพื่อ
เตรยี มทุกคนใหพ้ รอ้ มท่จี ะไปสอนหวั ข้อน้ัน ที่กลุ่มเดมิ ของตนเอง
ขั้นท่ี ๔ นกั เรียนแตล่ ะคนในกลุ่มผเู้ ชยี่ วชาญกลับกลุม่ เดิมของตน แล้วผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกัน
อธบิ ายใหเ้ พือ่ นในกลุม่ ฟังทลี ะหวั ขอ้ มีการซักถามข้อสงสยั ตอบปัญหา ทบทวนให้เขา้ ใจชดั เจน
ขน้ั ที่ ๕ นักเรียนแตล่ ะคนทาแบบทดสอบเกีย่ วกับเนื้อหาทั้งหมดทุกหัวข้อ แล้วนาคะแนนของ
สมาชิกแต่ละคนในกลมุ่ มารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม
ขั้นท่ี ๖ กลมุ่ ที่ไดค้ ะแนนสงู สดุ จะได้รบั รางวัล หรอื การชมเชย
การสอนแบบ Jigsaw เปน็ การสอนท่อี าจนาไปใช้ในการทบทวนเนือ้ หาที่มหี ลาย ๆ หัวข้อ หรือใช้
กบั บทเรยี นท่เี น้อื หาแบง่ แยกเป็นส่วนๆ ได้ และเป็นเน้อื หาทีน่ กั เรยี นศกึ ษาจากเอกสารและส่ือการสอนได้
~๙~
๒. รูปแบบ STAD (Student Teams-Achievement Division)
หลักการพื้นฐานของรปู แบบการเรยี นแบบเป็นทีม ของ Slavin ประกอบดว้ ย
- การให้รางวลั เป็นทมี (Team Rewards) ซงึ่ เป็นวธิ กี ารหนึ่งในการวางเงื่อนไขใหน้ กั เรยี นพงึ่ พากัน
จดั ว่าเป็น Positive Interdependence
- การจดั สภาพการณใ์ หเ้ กิดความรับผดิ ชอบในสว่ นบคุ คลท่จี ะเรียนรู้ (Individual Accountability)
ความสาเร็จของทีมหรอื กลุม่ อยทู่ ่กี ารเรยี นรูข้ องสมาชกิ แตล่ ะคนในทีม
- การจัดใหม้ โี อกาสเทา่ เทยี มกันที่จะประสบความสาเร็จ (Equal Opportunities For Success)
นักเรียนมีสว่ นชว่ ยให้ทมี ประสบความสาเร็จด้วยการพยายามทาผลงานให้ดีข้ึนกว่าเดิม ในรูปของคะแนน
ปรบั ปรงุ ดังนั้น แม้แต่คนท่เี รียนออ่ นกส็ ามารถมสี ่วนช่วยทีมได้ ดว้ ยการพยายาม ทาคะแนนให้ดีกว่าคร้ังก่อนๆ
นักเรียนทง้ั เกง่ ปานกลาง และอ่อนต่างไดร้ ับการสง่ เสริมใหต้ ัง้ ใจเรียนให้ดสี ดุ ผลงานของทุกคนในทีมมีค่าภายใต้
รปู แบบการจดั กิจกรรมการเรียนแบบน้ี
แนวการจัดการเรยี นรู้ เป็นดงั น้ี
ข้ันที่ ๑ ข้นั สอน
ครูดาเนินการสอนเน้ือหา ทกั ษะหรือวิธีการเกยี่ วกับบทเรยี นน้ัน ๆ อาจเป็นกิจกรรมท่ี
ครูบรรยาย สาธิต ใช้ส่อื ประกอบการสอน หรอื ใหน้ ักเรียนทากิจกรรมการทดลอง
ขัน้ ท่ี ๒ ขั้นทบทวนความรู้เปน็ กลุ่ม
แตล่ ะกลุ่มประกอบด้วยสมาชิก ๔-๕คน ทีม่ คี วามสามารถทางการเรียนต่างกัน สมาชิก
ในกลุ่มต้องมคี วามเขา้ ใจว่า สมาชิกทกุ คนจะตอ้ งทางานร่วมกนั เพ่อื ชว่ ยเหลอื กันและกันในการศึกษาเอกสารและ
ทบทวนความรูเ้ พอื่ เตรียมพร้อมสาหรับการสอบย่อยครูเน้นให้นักเรียนทา ดังน้ี
ก. ต้องให้แนใ่ จวา่ สมาชิกทุกคนในกลุ่มสามารถตอบคาถามไดถ้ กู ต้องทุกข้อ
ข. เม่อื มีข้อสงสัยหรอื ปัญหา ให้นักเรยี นชว่ ยเหลือกันภายในกลมุ่ กอ่ นที่จะถามครู หรือ
ถามเพือ่ นกลมุ่ อ่นื
ค. ใหส้ มาชกิ อธบิ ายเหตผุ ลของคาตอบของแตล่ ะคาถามให้ได้ โดยเฉพาะแบบฝึกหัด ท่ี
เป็นคาถามปรนัยแบบใหเ้ ลือกตอบ
ข้นั ท่ี ๓ ขัน้ ทดสอบยอ่ ย
ครูจัดใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบย่อย หลังจากนักเรียนเรียนและทบทวนเป็นกลุ่ม
เกยี่ วกบั เร่อื งทก่ี าหนด นกั เรยี นทาแบบทดสอบคนเดียวไมม่ ีการชว่ ยเหลือกนั
ข้นั ท่ี ๔ ข้นั หาคะแนนพัฒนาการ
คะแนนพฒั นาการเป็นคะแนนที่ได้จากการพิจารณาความแตกต่างระหว่างคะแนนท่ี
ต่าสุดการทดสอบคร้ังกอ่ นๆ กบั คะแนนท่ไี ดจ้ ากการทดสอบคร้งั ปจั จบุ นั เม่อื ได้คะแนนพัฒนาการของนักเรียนแต่
ละคนแล้ว จึงหาคะแนนพฒั นาการของกล่มุ ซ่งึ ไดจ้ ากการนาคะแนนพัฒนาการของสมาชิกแต่ละคนมารวมกัน
หรอื หาค่าเฉลยี่ ของคะแนนพฒั นาการของสมาชิกทุกคน
ข้นั ท่ี ๕ ข้นั ให้รางวลั กล่มุ
กลุ่มที่ได้คะแนนปรับปรงุ ตามเกณฑ์ที่กาหนดจะได้รับคาชมเชย หรือติดประกาศที่
บอร์ดในหอ้ งเรียน
~ ๑๐ ~
๓. รูปแบบ LT (Learning Together)
แบบน้มี กี ารกาหนดสถานการณแ์ ละเงอ่ื นไขใหน้ กั เรียนทาผลงานเปน็ กล่มุ ใหน้ กั เรยี นแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นและแบ่งปนั เอกสาร การแบง่ งานท่เี หมาะสม และการให้รางวัลกลุ่ม หลักการจัดกิจกรรมการเรียน
แบบร่วมมือ
แนวการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
๑) สรา้ งความรู้สึกพึง่ พากัน (Positive Interdependence) ใหเ้ กดิ ขนึ้ ในกลมุ่ นกั เรยี น
ซง่ึ อาจทาไดห้ ลายวธิ ี คือ
๑.๑) กาหนดเปา้ หมายร่วมของกล่มุ (Mutual Goals) ใหท้ กุ คนตอ้ งเรียนรู้เหมือนกัน
๑.๒) การใหร้ างวัลรวม เช่น ถ้าสมาชิกทกุ คนของกลุ่มได้คะแนนคิดเป็นร้อยละ ๙๐ ขึ้นไปของ
คะแนนเตม็ (Joint Rewards) สมาชกิ ในกลุ่มนนั้ จะได้คะแนนพเิ ศษอกี คนละ ๕ คะแนน
๑.๓) ให้ใช้เอกสารหรอื แหล่งขอ้ มูล (Share Resources) ครูอาจแจกเอกสารที่ต้องใช้เพียง ๑
ชุด สมาชิกแตล่ ะคนจะตอ้ งช่วยกันอา่ นโดยแบ่งเอกสารออกเป็นส่วน ๆ เพ่ือทางานทไี่ ด้รับมอบหมายใหส้ าเรจ็
๑.๔) กาหนดบทบาทของสมาชิกในการทางานกลุ่ม (Assigned Roles) งานท่ีมอบหมายแต่ละ
งานอาจกาหนดบทบาทการทางานของสมาชิกในกลุ่มแตกต่างกัน หากเป็นงานเก่ียวกับการตอบคาถามใน
แบบฝกึ หดั ทีก่ าหนด ครูอาจกาหนดบทบาทของสมาชกิ ในกลุ่มเป็นผอู้ ่านคาถาม ผู้ตรวจสอบ ผู้กระตุ้นให้สมาชิก
ช่วยกนั คดิ หาคาตอบและผจู้ ดบันทกึ คาตอบ
๒) จดั ให้มปี ฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งนักเรียน (Face-To-Face Interaction)
ให้นักเรียนทางานด้วยกันภายใตบ้ รรยากาศของความช่วยเหลอื และสง่ เสริมกนั
๓) จัดใหม้ คี วามรับผดิ ชอบในส่วนบุคคลทจ่ี ะเรยี นรู้ (Individual Accountability)
เปน็ การทาให้นักเรียนแต่ละคนต้ังใจเรียนและช่วยกันทางาน ไม่กินแรงเพ่ือน ครูอาจจัด
สภาพการณ์ได้ด้วยการประเมนิ
ผลทเี่ กดิ ขึ้นกบั ผ้เู รียน
- ผเู้ รียนมีความเกย่ี วข้องสมั พนั ธก์ ันในทางบวกมกี ารทางานร่วมกันโดยสมาชิกทกุ คน
- ผเู้ รียนไดป้ ฏสิ ัมพันธ์สง่ เสริมความรซู้ ่ึงกันและกัน
- ผเู้ รยี นมีความรบั ผิดชอบตอ่ การเรียนรูข้ องตนเองและสมาชกิ ของกลมุ่
- ผู้เรยี นได้รับการพฒั นาทักษะการเรยี นรู้รายบคุ คลและรายกลุ่ม
- ผ้เู รียนมีกระบวนการกลุ่มในการพฒั นาการเรยี นรู้
- ผ้เู รียนมีเจตคตทิ ่ดี ีต่อการเรียนรูม้ ีความรสู้ กึ เป็นสว่ นหน่ึงของการเรียนรู้
รูปแบบการจดั การเรียนรโู้ ดยใช้เทคโนโลยี
แนวคิด
การจดั การเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี เป็นการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ว่าขณะน้ีมี
เทคโนโลยี มคี วามกวา้ หน้ากา้ วไกลไปในลักษณะรูปแบบไดบ่างท้งั ทางดา้ นวสั ดุ อปุ กรณ์ และวิธีใหม่ๆ ให้ผู้เรียนมี
ความรู้ความเข้าใจ และทักษะในการใช้เทคโนโลยี มาเปน็ เคร่ืองมือในการเรียนรูข้ องตนเองและงาน
แนวการจดั การเรยี นรู้
กระบวนการเรียนการสอนตามแนวคิดในการปฏริ ูปตอ้ งแตกต่างไปจากการเรียนการสอนแบบ
ดั้งเดิม กล่าวคือ
~ ๑๑ ~
๑) จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยยึดผเู้ รียนเปน็ ศนู ยก์ ลางให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิดโดย
ฝึกการคดิ วเิ คราะห์วจิ ารณอ์ ยา่ งมเี หตผุ ล การใฝห่ าความรู้ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ เพื่อนาไปใช้ในการพัฒนา
ตนเอง และแกป้ ัญหาในชวี ิตประจาวนั อยา่ งเหมาะสม
๒) จดั ระบบเครือขา่ ยการเรียนรูใ้ ห้เปน็ แหลง่ ความรู้สาหรับการค้นคว้าหาความรู้ทุก ๆ ด้านท่ี
ผเู้ รยี นต้องการ เชน่ สื่อมวลชนทกุ แขนง เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ทรพั ยากรทอ้ งถ่นิ ภมู ปิ ัญญาชาวบา้ น และหน่วยงาน
ตา่ งๆ ให้ผู้เรยี นสามารถเรยี นรู้พัฒนาตนเอง และพฒั นาสังคมและสิ่งแวดล้อมไดอ้ ยา่ งกว้าง-ขวาง
๓) จดั กจิ กรรมทงั้ ใน และนอกหลักสตู ร โดยให้ผู้ทากจิ กรรมทีต่ ้องเรียนในห้องเรียนให้เสร็จสิ้น
และให้แบ่งเวลาทากิจกรรมนอกหลกั สตู รเพ่ือเสริมประสบการณ์ทางสังคม
๔) ปรบั กระบวนการเรยี นการสอน และเทคนิคการสอนของครใู ห้สอดคล้องกบั เปา้ หมายของการ
จดั การศึกษาเนน้ ใหค้ รูเปน็ เพียงผู้อานวยความสะดวกและชี้แนะให้ผู้เรียนทาการศึกษาค้นคว้า คิดแ ละจัดสินใจ
ด้วยตนเองขณะเดียวกนั ครตู อ้ งเป็นตน้ แบบด้านคณุ ธรรม และจริยธรรมดว้ ย ซึ่งตอ้ งปลูกฝังทั้งในช่ัวโมงเรียนและ
กจิ กรรมการฝกึ ปฏบิ ตั ิ
ผลทีเ่ กิดกับผ้เู รียน
ผลการเรยี นรู้จากการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทักษะการใช้
เทคโนโลยี ในการสร้างความรู้ และพฒั นางาน บูรณาการการใช้เทคโนโลยีกบั การวิเคราะห์ปัญหาและการทางาน
เปน็ ทมี พัฒนาคณุ คา่ ทศั นคติ และจริยธรรมในเชงิ บวกในการใช้เทคโนโลยพี ัฒนาคุณภาพชีวติ
รูปแบบการจัดการเรยี นรู้จากประสบการณ์ (Experimental Instruction)
แนวคดิ
กระบวนการเรียนร้จู ากประสบการณจ์ รงิ เปน็ การจัดการเรียนรโู้ ดยใช้ประสบการณ์ตรงที่ทาให้
ผเู้ รยี นสามารถพัฒนาการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างแนวคดิ กับหลกั การต่าง ๆ เขา้ ดว้ ยกันอยา่ งเป็นองค์รวม
แนวทางการจดั การเรยี นรู้
กระบวนการเรยี นร้จู ากประสบการณ์จรงิ มแี นวทางในการจัดการเรียนรู้ ดงั น้ี
๑) การเรยี นรู้จากประสบการณ์โดยการกระตุ้นแนะนาเรอ่ื งท่ีจะเรียนโดยใช้ประสบการณ์หรือ
กจิ กรรมที่กระตนุ้ ใหผ้ ้เู รียนคิด เร้าใหผ้ ู้เรยี นอยากเหน็ อยากเรียนรู้
๒) การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี ขอ้ เท็จจริง โดยเช่อื มโยงความอยากรู้ อยากเห็น อยากเรียน รู้ของ
ผ้เู รยี นจากประสบการณเ์ ดิม สู่การค้นควา้ แสวงหาความรใู้ หม่ หรือแนวคิด ทฤษฎีใหม่ตามธรรมชาติของแต่ละ
กลุ่มสาระการเรยี นรู้
๓) การฝกึ ปฏิบตั ิ ในขน้ั นีเ้ ป็นการฝึกปฏบิ ัติด้วยการทากิจกรรมต่างๆ เพ่ือให้เกิดทักษะความ
ชานาญมากยง่ิ ขน้ึ
๔) การนาไปใช้ หรือขยายผล เป็นขั้นการนาขอ้ ค้นพบในขน้ั ฝกึ ปฏิบตั ิไปใชใ้ นสถานการณอ์ ่นื ๆ
ผลทเ่ี กิดกับผเู้ รียน
ชว่ ยพัฒนาทักษะการคิดบนพื้นฐานของการสืบค้นข้อเท็จจริงอย่างมีเหตุมีผลรู้จักหาข้อมูล
ทฤษฎี หลกั การมาสนับสนนุ สง่ิ ทค่ี ้นพบ
~ ๑๒ ~
รูปแบบการจัดการเรียนรูแ้ บบบรู ณาการ (Integration)
แนวคิด
การเรียนรูแ้ บบบรู ณาการ คอื การจัดการเรยี นรโู้ ดยการนาสาระท่ีมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
นามาจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ใู ห้ผูเ้ รยี นเกดิ ความรู้ ความเข้าใจในลักษณะที่เป็นองค์รวม และสามารถนาความรู้
ความเขา้ ใจไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน การจัดการเรียนรู้แบบบูรณ าการ มีหลายรูปแบบ ข้ึนอยู่กับ
วตั ถปุ ระสงค์ ความเหมาะสมกบั ผเู้ รยี นและสาระการเรยี นรู้
แนวทางการจัดการเรยี นรู้
การจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ สามารถทาได้หลายลักษณะ ในที่น้ีจะขอเสนอแนวคิดการ
จดั การเรยี นรแู้ บบบูรณาการ โดยใช้กลมุ่ สาระการเรียนร้เู ป็นหลกั ซ่งึ แบ่งได้เปน็ ๒ ประเภท คอื
๑) การบูรณาการภายในกลุม่ สาระการเรยี นรู้ เปน็ การจดั การเรียนร้ทู เ่ี ช่อื มโยงเน้อื หาด้านความรู้
ทักษะ/กระบวนการ หรอื คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกันเข้าด้วยกัน เพ่ือมุ่งศึกษา
เกย่ี วกบั เรื่องราว ประเด็นปญั หา หวั เรอื่ งหรอื ประสบการณ์เร่ืองใดเร่อื งหนึง่ การบรู ณาการภายในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้เดยี วกันนั้น สามารถจดั การเรียนรู้ โดยผู้สอนในกลมุ่ สาระการเรียนรู้น้ันๆ ไม่เก่ียวข้องกับกลุ่มสาระการ
เรยี นรอู้ น่ื ๆ
๒) การบูรณาการระหว่างกล่มุ สาระการเรยี นรู้ เปน็ การจดั การเรียนรทู้ ่เี ช่อื มโยงสาระการเรียนรู้
ทกั ษะ/กระบวนการ หรือคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ตั้งแต่สองกลุ่มสาระการเรยี นรูข้ ึน้ ไปเข้าด้วยดัน เพ่ือมุ่งศึกษา
เกี่ยวกับเรอื่ งราวประเดน็ ปญั หา หวั เรอื่ งหรือประสบการณ์เรื่องใดเรือ่ งหน่ึงซงึ่ ชว่ ยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในเร่ืองน้ัน ๆ
อย่างเขา้ ใจลึกซง้ึ และชัดเจนใกล้เคยี งกับความเปน็ จรงิ ในชีวิต
การบูรณาการระหว่างกลมุ่ สาระการเรียนร้ใู นระดับประถมศกึ ษา โดยทั่วไปจะเป็นการจัดการ
เรียนรู้โดยครผู สู้ อนคนเดียว แตใ่ นระดับมธั ยมศกึ ษาข้ึนไปจะเปน็ การสอนเปน็ ทมี ตง้ั แต่สองคนข้ึนไป หรือทาความ
ตกลงกนั แลว้ แยกกันสอนตามรายวิชาทรี่ บั ผิดชอบ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการทั้งสองประเภทน้ี จะทาให้กระบวนการจัดการเรียนรู้มี
ประสิทธิภาพก็ต่อเมอื่ ครูผสู้ อนเลือกใชร้ ูปแบบการจดั การเรียนรู้ วิธกี ารจัดการเรียนรู้หรือ เทค นิคการจัดการ
เรยี นรทู้ ่ีเหมาะสมกบั บทเรียน และศักยภาพของผู้เรียน ดว้ นเหตุนกี้ ารจัดการเรียนร้แู บบบูรณาการจึงต้องคานึงถึง
สิง่ ตอ่ ไปน้ี
- เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ
- จัดประสบการณ์ตรงทีส่ อดคล้องกับผเู้ รียน โดยคานงึ ถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล
- เน้นการปลกู ฝังจติ สานกึ คา่ นิยม และจรยิ ธรรมทถี่ ูกต้อง ดีงาม
- จดั บรรยากาศท่ีสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนกลา้ คิดกลา้ ทา
- ให้ผู้เรยี นได้ร่วมทางานเปน็ กลุ่ม มีปฏิสมั พนั ธ์ และมกี ารแลกเปล่ียนเรียนรูซ้ ึ่งกันและกนั
ผลท่เี กดิ กบั ผเู้ รียน
๑) เปดิ โอกาสให้ผเู้ รียน ไดเ้ รยี นรูก้ ารแก้ปญั หาโดยใช้ความรู้หลาย ๆ ดา้ นประกอบกัน และช่วย
ใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดพัฒนาการท้ังด้านความรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ไปพรอ้ ม ๆ กัน
๒) เปดิ โลกทัศนท์ ัง้ ครูผสู้ อน และผเู้ รียนให้กวา้ งข้ึน ไม่จากดั เฉพาะด้าน เฉพาะทาง ช่ วยให้การ
เรียนรู้น่าสนใจ นา่ ตน่ื เตน้ ผเู้ รียนเกิดแรงจงู ใจในการเรียนรู้ และมคี วามคดิ และมมุ มองทีก่ วา้ งขึ้น
๓) เปดิ โอกาสให้ครผู ู้สอนในทุกกลุม่ สาระการเรยี นรู้ ไดท้ างานรว่ มกัน ในการบูรณาการความรู้
ความเข้าใจตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ัด สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์สู่ตัว
ผเู้ รียน ช่วยให้ผเู้ รียนไดต้ ระหนกั ถึงคุณคา่ ในการนาความรู้ที่เรยี นไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจริง
~ ๑๓ ~
๔) ผู้เรียนได้รับความรู้ ความเข้า ใจในลักษณะองค์รวม สา มาร ถเช่ือมโยงความรู้และ
ประสบการณ์การเรยี นร้ไู ด้อยา่ งมจี ดุ มุง่ หมายและมีความหมาย สามารถแสดงหาความรู้ความเข้าใจสิ่งต่างๆ ที่อยู่
รอบตัว เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นทางานเป็นกลมุ่ แลกเปล่ยี นความรู้ซึ่งกนั และกนั สามารถพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
ได้อยา่ งไมจ่ ากัด ส่งเสรมิ ให้ผ้เู รียนไดเ้ รียนรูต้ ลอดชวี ติ โดยใช้ภูมปิ ัญญาและชุมชนเปน็ แหลง่ เรียนรู้
รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบทีเ่ น้นกระบวนการคิด (Thinking Skills)
แนวคดิ
กระบวนการคดิ เป็นกระบวนการทางสมองในการจดั กระทาข้อมูลหรือส่ิงเร้าที่รับเข้ามา เป็น
กระบวนการทางสติปญั ญา มลี ักษณะเปน็ กระบวนการหรอื วธิ ีการ ในการพัฒนาให้เกิดกระบวนการคิด จึงต้องมี
บคุ คล มีเนื้อหาหรือข้อมลู ทใ่ี ช้ในการคิด คุณสมบัติที่เอ้ืออานวยต่อการคิดกระบวนการท่ีใช้ในการคิด วิธีการ
พฒั นาการคิดและการวัดและประเมนิ การคิด
แนวทางการจัดการเรยี นรู้
การจัดการเรยี นรดู้ ว้ ยกระบวนการคดิ มแี นวทาง ดงั น้ี
๑) การจัดสภาพแวดล้อมและสร้างบรรยากาศทเี่ อ้ืออานวยต่อการคิด โดยส่งเสริมสนับสนุนให้
ผู้เรียนคิด ไม่ปิดก้นั ความคดิ ให้กาลังใจ เสรมิ แรงเมอื่ ผเู้ รียนคิดไดด้ ้วยตนเอง
๒) ใช้รปู แบบวิธีการสอนหรือเทคนิคการสอนตา่ งๆ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการคิดเช่ือมโยงจาก
ความคิดเดิมในลกั ษณะใดลักษณะหนึ่ง ได้แก่ การคิดคลอ่ ง การคิดหลากหลาย การคิดละเอียดการคิดชัดเจน การ
คิดอยา่ งมีเหตผุ ล การคิดถกู ทาง การคดิ กว้าง การคดิ ลึกซง้ึ และการคิดไกล
๓) จดั กิจกรรมใหผ้ ู้เรียนไดฝ้ กึ ทกั ษะการคิด และกระบวนการคิดต่างๆ ตามความเหมาะสมกับ
พื้นฐานของผเู้ รียน ซ่ึงทกั ษะการคิด สามารถแบ่งได้ ดงั น้ี
๓.๑) ทักษะการคิดข้ันพืน้ ฐาน ประกอบด้วย
๓.๑.๑) ทกั ษะการสือ่ ความหมาย หมายถงึ ทกั ษะการรบั สาร รับความคิดของผู้อื่นเข้า
มา เพอ่ื รบั รู้ ตีความ แลว้ จดจาเม่อื ตอ้ งการท่ีจะระลึกถงึ เพ่อื นามาเรยี บเรียงและถ่ายทอดความคิดของตนให้แก่
ผอู้ ืน่ โดยแปลความคิดของตนใหแ้ กผ่ ้อู ่นื โดยแปลความคิดในรูปของภาษาต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ ทักษะการฟัง ทักษะ
การพดู ทักษะการอา่ น และทักษะการเขยี น
๓.๑.๒) ทักษะการคิดท่ีเป็นแกนหรือทักษะการคิดท่ัวไป หมายถึง ทักษะการคิดท่ี
จาเปน็ ต้องใช้อยเู่ สมอในการดารงชีวิตประจาวัน เชน่ ทักษะการสังเกต ทักษะการสารวจ ทักษะการต้ังคาถาม
ทักษะการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ทกั ษะการจาแนก และทักษะการเปรียบเทยี บ
๓.๒) ทกั ษะการคิดขั้นสูง หมายถึง ทักษะการคดิ ทม่ี ีขัน้ ตอนหลายขั้น และต้องอาศัยทักษะ
การสือ่ ความหมาย และทกั ษะการคิดทว่ั ไปหลายๆ ทักษะในแตล่ ะข้ัน เช่น ทักษะการต้งั สมมตฐิ าน ทักษะก ารสรุป
ลงความเหน็ ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการประเมนิ ทกั ษะการสร้างองค์ความรู้ เปน็ ตน้
๔) ให้เวลาแก่ผูเ้ รยี นในการใช้ความคิด และแสดงความคดิ อภปิ รายแลกเปล่ียนกระบวนการคิด
ทเ่ี กดิ ข้นึ ในกระบวนการเรยี นรู้
๕) ร่วมกันสรปุ ประเด็นทไ่ี ด้จากกระบวนการคดิ ทีเ่ กิดขึ้นจากการเรยี นรู้
๖) การวดั และประเมนิ ผลการเรียนทง้ั ทางดา้ นเน้อื หา สาระการเรียนรู้และทักษะกระบวนการคิด
~ ๑๔ ~
ผลทีเ่ กิดกบั ผเู้ รียน
๑) มีกระบวนการทางานทเี่ ปน็ ระบบ ปฏบิ ัติงานไดอ้ ยา่ งมีข้ันตอน
๒) มคี วามสามารถในการพจิ ารณาส่ิงต่างๆ และประเมินค่าโดยใชห้ ลักเกณฑ์อย่างสมเหตุสมผล
รจู้ ักประเมนิ ตนเอง และผู้อ่นื ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
๓) สง่ เสรมิ ความสามารถในการใชภ้ าษาการอ่าน เขียน ฟัง พูดของผู้เรียน ให้มีทักษะในการ
สอื่ สารกับผอู้ น่ื ไดด้ ี
๔) ช่วยให้ผูเ้ รยี นได้พัฒนาความสามารถในการเรยี นรู้อยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชวี ติ และในสภาวการณ์
ปัจจุบันที่โลกมกี ารเปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ว กระบวนการคดิ ถงึ จึงเป็นภูมิคุ้มกันในการดารงชีวิตในสังคมที่มี
ความยุ่งยาก และซับซ้อนได้เป็นอย่างดี อีกท้ังใช้เป็นเครื่องมือ ในการแก้ไขปัญหาเพื่อเลือกตัดสินใจใน
สถานการณ์ตา่ งๆ ของสงั คมได้อย่างเขม้ แข็ง
การศึกษาเปน็ รายบคุ คล (Individual Study)
การศึกษาเป็นสง่ิ จาเป็นและสาคัญสาหรับมนษุ ย์ แตล่ ะคนจงึ มคี วามสามารถ ความสนใจ ความพร้อมและ
ความตอ้ งการที่แตกต่างกัน ทาใหก้ ารเรยี นรไู้ ม่เหมือนกัน ดังน้ันแนวคิดทางการศึกษาแผนใหม่จึงเน้นในเรื่องการ
จดั การศกึ ษา โดยคานึงถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เรยี กการเรียนการสอนลักษณะนี้ว่า การจัดการเรียนการ
สอนรายบุคคล หรอื การจดั การเรยี นการสอนตามเอกัตภาพ (แบบเอกตั บุคคล) หรือการเรียนด้วยตนเอง โดยยึด
หลักความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยมงุ่ จัดสภาพการเรียนการสอนท่ีจะเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
ตามความสามารถ ความสนใจและความพร้อม
ครูหรอื ผู้เรียน เป็นผ้กู าหนดหัวข้อปญั หา หรือโครงงานตามสาระการเรียนรู้ท่ีกาหนด โดยผู้เรียนต้อง
ศึกษา วเิ คราะห์ สรปุ อา้ งองิ และสรปุ ข้อความร้บู นพ้ืนฐานของการวิเคราะห์ และประเมินผลกระบวนการ ครูต้อง
ใช้เทคนคิ การประเมินในดา้ นการให้ขอ้ มลู ป้อนกลบั และการตรวจแก้งาน โดยใส่ไว้ในสอ่ื ทีผ่ ้เู รียนใช้ หรือใช้ร่วมกัน
ไปกับกระบวนการเรียนร้ขู องนกั เรียน ครูมีบทบาทช่วยให้ผเู้ รยี นได้พฒั นาทกั ษะและนสิ ยั การเรียนรู้อย่างอิสระ
โดยจัดส่งิ แวดลอ้ มในชนั้ เรียนใหส้ ง่ เสรมิ ความเป็นอสิ ระ ให้ผู้เรียนมั่นใจในตนเอง อยากรอู้ ยากเห็นและปรารถนาท่ี
จะเรยี นรู้ โดยครูอาจจัดชั้นเรยี นเป็นศนู ย์การเรยี น จดั ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ (Learning Activity Packages)
การศึกษาเปน็ รายบุคคล สามารถปรับใช้ไดใ้ นหลาย ๆ สถานการณ์ ตั้งแต่การเรียนในช้ันเรียนท่ีมีครู
คอยควบคุม จนถงึ การฝึกทักษะการศกึ ษาค้นคว้าในห้องสมดุ ที่ผู้เรียนต้องกากับการเรียนรู้ของตน โดยหัวข้อที่
ศึกษาจะเปน็ ไปตามข้อกาหนดของรายวชิ าหรือไม่ก็ได้ ครูอาจใช้วิธีน้ี กับผู้เรียนทั้งห้องเรียน กับกลุ่ม หรือกับ
ผเู้ รยี นแต่ละคนก็ได้
กจิ กรรมท่ีครูสามารถเลือกใชใ้ ห้ผู้เรียนปฏิบตั ใิ นการศึกษาเป็นรายบคุ คล มีดังนี้
รายงาน การระดมพลังสมอง การคน้ คว้าอยา่ งอิสระ เรยี งความ การแก้ปัญหา การเรียนเสริม
โครงงาน การตัดสนิ ใจ ศนู ย์การเรียน แบบจาลอง คสู่ ัญญา ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ การทานิตยสาร การสืบค้น
คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน ชุดการสอน เกม การมอบหมายงานเปน็ รายบคุ คล
เนื่องจากผู้เรียนแต่ละบคุ คลมคี วามสามารถในการเรียนรู้ และความสนใจในการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกัน
ดงั นนั้ จงึ จาเป็นทจี่ ะตอ้ งมเี ทคนคิ หลายวธิ ี เพ่ือชว่ ยใหก้ ารจัดการเรียนในกลุ่มใหญส่ ามารถตอบสนองผู้เรียนแต่ละ
คนท่แี ตกตา่ งกันได้ดว้ ย อาทิ
~ ๑๕ ~
เทคนิคการใช้ Concept Mapping ที่มหี ลกั การใช้ตรวจสอบความคดิ ของผู้เรยี นว่า คิดอะไร เข้าใจส่ิง
ที่เรยี นอย่างไร แล้วแสดงออกมาเป็นกราฟิก
เทคนิค Learning Contracts คอื สญั ญาท่ผี เู้ รยี นกับผสู้ อนร่วมกันกาหนด เพ่ือใช้เป็นหลักยึดในการ
เรยี นวา่ จะเรยี นอะไร อย่างไร เวลาใด ใช้เกณฑอ์ ะไรประเมนิ
เทคนคิ Know-Want-Learned ใช้เช่อื มโยงความร้เู ดิมกับความร้ใู หม่ ผสมผสานกับ การใช้ Mapping
ความรูเ้ ดิม เทคนิคการรายงานหน้าชั้นท่ใี ห้ผ้เู รยี นไปศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเองมานาเสนอหน้าชั้นซ่ึงอาจมีกิจกรรม
ทดสอบผ้ฟู ังดว้ ย
เทคนิคกระบวนการกลุ่ม (Group Process) เป็นการเรียนท่ีทาให้ผู้เรียนได้ร่วมมือกัน แลกเปล่ียน
ความรู้ความคดิ ซ่งึ กนั และกนั เพอื่ ให้บรรลเุ ปา้ หมายเดยี วกัน เพ่อื แก้ปญั หาใหส้ าเร็จตามวัตถปุ ระสงค์
การจัดการเรยี นร้แู บบย้อนกลับ Backward Design
กระบวนการออกแบบแบบถอยหลังกลบั (Backward Design) ของ Wiggins และ McTighc เร่ิมจากคิด
ทุกอยา่ งใหจ้ บสิน้ สดุ จากนัน้ จงึ เรม่ิ ตน้ จากปลายทางทผี่ ลผลติ ทีต่ ้องการ (เปา้ หมายหรอื มาตรฐานการเรียนรู้) ส่ิงน้ี
ได้มาจากหลกั สูตร เป็นหลกั ฐานพยานแหง่ การเรียนรู้ (Performances) ซึง่ เรียกวา่ มาตรฐานการเรียนรู้ แล้วจึง
วางแผนการเรียนการสอนในส่ิงท่ีจาเปน็ ให้กับนักเรียนเพื่อเป็นเคร่ืองมือท่นี าไปส่กู ารสรา้ งผลงานหลกั ฐานแห่งการ
เรียนร้นู ้ันได้
กระบวนการออกแบบการวางแผนของครูผู้สอนเก่ียวเนื่องสัมพนั ธก์ นั อยา่ งตอ่ เนื่องกัน ๓ ข้นั ตอน แต่ละ
ข้ันตอนประกอบดว้ ยคาถามทีว่ ่า
ข้นั ตอน ๑ : อะไรคอื ความเข้าใจทตี่ อ้ งการและมีคณุ คา่
ข้ันตอน ๒ : อะไรคือพยานหลักฐานของความเข้าใจ
ขั้นตอน ๓ : ประสบการณก์ ารเรียนร้แู ละการสอนอะไรทีจ่ ะสนบั สนุนทาใหเ้ กิดความเข้าใจ ความ
สนใจ และความยอดเยี่ยมในหลักฐานนนั้ ๆ
ขัน้ ตอนท่ี ๑ กาหนดเปา้ หมายหลักของการเรียนรู้ (Identity desired goals)
ผ้สู อนตอ้ งวิเคราะห์คาหรือวลที ี่สาคัญตามทบ่ี ง่ บอกไว้ในมาตรฐานการเรยี นรู้ของรายวิชาที่นามา
ออกแบบ และต้องทาความเข้าใจใหช้ ดั เจนว่า มาตรฐานตวั ชวี้ ัดแต่ละข้อ รวมทั้งจุดมุ่งหมายสาคัญของรายวิชา
นนั้ ๆ ตอ้ งการให้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้ มีความเข้าใจและเกิดทักษะหรือเจตคติในเร่ืองใดบ้าง โดยต้ังคาถามสาคัญ
(Essential Questions) เพือ่ กาหนดเป็นกรอบความคิดหลักว่า เมอื่ จบหนว่ ยการเรียนรแู้ ลว้
๑) ผู้เรยี นควรร้อู ะไร และมีความเข้าใจในหวั ข้อความรู้หรือสาระการเรียนที่เป็นแก่นสาคัญใน
เรื่องใดบ้าง
๒) ผู้เรยี นควรปฏิบตั แิ ละแสดงความสามารถในเรอ่ื งใดบ้าง จนเป็นพฤติกรรมติดตัวคงทนหรือ
เป็นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
๓) สาระสาคัญที่ควรค่าแกก่ ารเรียนรแู้ ละนาไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จริง ได้แก่เรื่องอะไรบ้าง เพื่อ
จะชว่ ยให้ผ้เู รียนดารงชีวิตอย่างมีคุณภาพ ทงั้ การทางานหรอื การเรยี นตอ่ ในระดับทสี่ ูงขนึ้
๔) ผู้เรยี นควรมคี วามรู้และเกิดความเขา้ ใจทีล่ ุ่มลึกยง่ั ยนื เกี่ยวกบั เรอื่ งอะไรบ้างที่จะติดตัวผู้เรียน
และสามารถนาไปบรู ณาการเชอ่ื มกบั ประสบการณ์ในชีวิตประจาวนั ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
๕) ผเู้ รียนควรเรยี นรู้ในสภาพจริงและ/หรอื จดั ทาโครงงานตามสาระการเรียนรู้ใดบ้างที่จะเกิด
ประโยชนส์ งู สดุ แก่ตัวผูเ้ รยี น
~ ๑๖ ~
ขน้ั ตอนที่ ๒ กาหนดหลักฐานและวิธวี ัดประเมนิ ผลการเรยี นรู้ (Determine Acceptable Evidence)
ระบุเครอื่ งมือท่ีใชว้ ดั ประเมนิ ผลและวธิ กี ารวัดประเมินผล โดยเน้นการวัดจา กพฤติกรรมการ
เรียนรู้รวบยอด (Performance Assessment) เพือ่ ประเมินว่าผู้เรยี นสามารถแสดงพฤตกิ รรมการเรียนรู้ท่ีเป็นผล
มาจากการมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจตามเกณฑท์ ีไ่ ด้กาหนดไว้ในเป้าหมายหลักของการจัดการเรียนรู้ได้จริงหรือไม่
อะไรคอื รอ่ งรอยหลกั ฐานทแ่ี สดงวา่ ผ้เู รียนร้แู ละสามารถทาได้ตามทีม่ าตรฐานกาหนด ท้งั นีผ้ ู้สอนควรดาเนิ นการวัด
ประเมินผลก่อนเรียน ในระหวา่ งเรยี น และเมื่อส้ินสุดการเรียน โดยใช้เครื่องมือการวัดประเมินผลย่อยๆ ทุก
ขั้นตอนของการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ประกอบกบั การรวบรวมหลักฐานรอ่ งรอยของการเรยี นรทู้ ีผ่ เู้ รียนแสดงออก
อยา่ งครบถ้วน เช่น
• การใช้แบบทดสอบยอ่ ยๆ
• การสงั เกตความพร้อมทางการเรียน
• การสังเกตการทากิจกรรม การตรวจการบ้าน
• การเขยี นบนั ทึกประจาวัน (Learning Log)
• การสะท้อนผลจากชิน้ งานต่างๆ เป็นต้น
ขอ้ พงึ ระมัดระวงั คอื การกาหนดหลักฐานของการเรยี นรูท้ เ่ี กดิ กับผเู้ รยี นนั้น ต้องเป็นหลักฐานท่ี
บง่ ชีไ้ ดว้ า่ ผเู้ รยี นบรรลเุ ปา้ หมายตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดไวด้ ว้ ยวิธกี ารประเมินอย่างหลากหลาย และมี
ความตอ่ เนอ่ื งจนจบสน้ิ กระบวนการเรียนรทู้ ีจ่ ดั ขนึ้ และหลักฐานการ ประเมินต้องมีความเที่ยงตรง เอื้อต่อการ
เรยี นรูต้ ามสภาพจรงิ ของผ้เู รยี น ผู้สอนจงึ ควรตรวจสอบหลักฐานการเรียนรู้กับวิธีการวัดประเมินผลว่ามีความ
สอดคลอ้ งสัมพนั ธ์กนั หรอื ไม่
ขนั้ ตอนท่ี 3 วางแผนการจัดกิจกรรมและเสริมสรา้ งประสบการณก์ ารเรยี นรู้
เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นบรรลุเปา้ หมายการเรียนรู้และมีหลักฐานที่เป็นรูปธรรมชัดเจน ผู้สอนควรวาง
แผนการเรียนการสอน ว่าจะจดั กิจกรรมอยา่ งไรจึงจะสนับสนุนให้ผ้เู รยี นมีความรทู้ ีฝ่ งั แนน่ ตามที่มาตรฐานกาหนด
ไว้ ตามประเด็นตอ่ ไปนี้
๑) ผ้เู รยี นจาเปน็ ตอ้ งมคี วามรู้ (ขอ้ เท็จจรงิ ความคิดรวบยอด ทฤษฎี หลักการตา่ งๆ) และทักษะ
(กระบวนการทางาน) อะไรบา้ งจงึ จะชว่ ยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจหรือมีความสามารถบรรลเุ ป้าหมายที่กาหนด
๒) ผ้สู อนจาเปน็ ตอ้ งสอนและชแ้ี นะหรือจัดกิจกรรมอะไรบ้างจึงจะช่วยพัฒนาผู้เรียน ให้ได้
ผลสัมฤทธิต์ ามเป้าหมาย
๓) ผสู้ อนควรใชส้ ่อื การสอน วัสดอุ ุปกรณ์ และแหลง่ การเรียนรอู้ ะไรบ้างท่ีจะช่วยกระตุ้นผู้เรียน
และเหมาะสมกับการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ขา้ งตน้
๔) การกาหนดขอบขา่ ยสาระการเรียนรู้ รูปแบบกจิ กรรม และส่ือการเรียนรู้ มีความกลมกลืน
สอดคล้องและมปี ระสทิ ธภิ าพหรอื ไม่ จะช่วยส่งผลต่อการวัดประเมนิ ผลไดช้ ัดเจนหรือไม่
แหลง่ การเรียนรู้
www.st.ac.th/quality/BackwardDesign/2.backward%20design1.doc
www.reo1.moe.go.th/reo1/images/kkk/akasan.doc
http://www.gotoknow.org/posts/201289
~ ๑๗ ~
การเรียนรโู้ ดยใช้สมองเปน็ ฐาน Brain-based Learning
การเรยี นรู้โดยใช้สมองเปน็ ฐาน (Brain– based learning) เปน็ การจัดการเรียนรูท้ ีส่ ่งเสริมให้สมองทั้งสอง
ซีกซา้ ยและซีกขวาเกิดการเรยี นรู้อย่างสมดุลและสอดคลอ้ งกบั สติปญั ญาของผู้เรยี น โดยใช้กระบวนการและวิธีการท่ี
หลากหลายอย่างเหมาะสม สิง่ เกีย่ วขอ้ งกบั หลกั การทางานของสมองสาหรบั การจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนไว้ ๑๒
ข้อ ดังน้ี
๑. สมองนน้ั ทางานพร้อมกนั หลายๆ ส่วน ซง่ึ สมองจะเกดิ การเรียนรู้ได้ดีในสภาพแวดล้อมท่ีมีส่ิงเร้าอย่าง
หลากหลาย (The brain is a parallel processor) การจัดชัน้ เรยี นตามข้อคิดน้ี ควรจัดให้มีการนาส่ือหรือวิธีการ
ต่าง ๆ เช่น กจิ กรรม และรูปแบบการเรยี นรตู้ ่าง ๆ มาใช้ ในการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อให้มีความหลากหลายที่
กระต้นุ ใหผ้ เู้ รียนสนใจในการเรยี นรู้มากข้ึน
๒. ศกั ยภาพในการเรียนรนู้ ั้นมคี วามเกี่ยวขอ้ งกับพัฒนาการเจริญเติบโต บุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย และ
สภาวะอารมณ์ (Learning engages the entire physiology ) ดังนั้น ผู้สอนตอ้ งคานึงถงึ ภาวะท่ีแตกต่างกันน้ีของ
ผู้เรยี นแต่ละคนดว้ ย รวมไปถงึ ต้องดูแลสขุ ภาวะผเู้ รียนใหม้ คี วามสมบูรณอ์ ยูเ่ สมอ ซงึ่ จะช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่าง
มีประสทิ ธภิ าพ
๓. ความสงสัยใครร่ เู้ ป็นส่ิงท่ีมมี าตามธรรมชาติ และติดตัวมาต้งั แตเ่ กิด ซ่งึ สมองนั้นก็ถกู ออกแบบมาเพื่อรับรู้
และขบคิดเพ่ือคน้ หาคาตอบ (The search for meaning is innate) จากขอ้ น้ีกค็ วรจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียน
เกิดคาถาม และส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนหาคาตอบจากคาถามนัน้ ดว้ ยตัวเอง
๔. การคน้ หาคาตอบของมนุษย์เปน็ กจิ กรรมท่ีเป็นรูปแบบ (The search for meaning occurs through
“patterning”) ดงั นน้ั การจัดการศกึ ษาจึงตอ้ งมีการดาเนนิ การอยา่ งมีรปู แบบเป็นระบบระเบียบ ซ่ึงจะทาให้เกิด
การเรียนร้ทู ี่ดีขน้ึ
๕. อารมณค์ วามรูส้ ึกไมไ่ ด้แยกออกจากการเรยี นรู้ ซงึ่ มคี วามสาคญั มากต่อการจดจาข้อมูล รวมไปถึงการ
เรยี กใช้ขอ้ มูล (Emotion are critical to patterning ) สิ่งน้ีทาใหจ้ าเป็นต้องจัดสิง่ แวดลอ้ มในการเรียนให้เอื้อต่อตัว
ผู้เรยี น เพือ่ ให้ผู้เรียนมีภาวะอารมณ์และความรู้สกึ ทด่ี เี ป็นปกติ รวมไปถึงต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักถึงภาวะอารมณ์
และความรู้สึกของตนเองดว้ ย จงึ จะชว่ ยใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การเรียนรขู้ องผเู้ รยี นอยา่ งมาก
๖. สมองแต่ละส่วนน้ันทางานทั้งแบบเฉพาะด้าน และประสานสัมพันธ์กับส่วนอ่ืนๆ ( Every brain
simultaneously perceives and creates parts and wholes) ดงั นัน้ จึงควรออกแบบการเรียนรูท้ ่ีเน้นท้ังการใช้
สมองเฉพาะแต่ละด้าน และรวมถงึ การใชส้ มองประสานสัมพันธ์กนั ด้วย
๗. การเรียนรู้น้ันจะเกิดข้ึนได้ต่อเมื่อผู้เรียนสนใจและใส่ใจในการเรียนรู้ (Learning involves both
focused attention and peripheral perception) จากข้อน้ี จึงจาเป็นต้องใช้เทคนิคทางจิตวิทยาต่าง ๆ เพื่อ
ดงึ ดดู ผู้เรยี นให้เกดิ ความสนใจในการเรียนรู้ ซ่ึงจะชว่ ยใหผ้ ้เู รียนเรียนรูไ้ ดด้ ขี ้นึ
๘. การเรียนเป็นส่งิ ที่มคี วามเกยี่ วข้องกับจิตสานึกและจิตใต้สานึก ( Learning involves conscious and
unconscious processes) จึงควรสง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการเรยี นรู้ที่ตอ่ เน่อื ง และควรกระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงความ
คิดเหน็ และมีเวลาทบทวนสิง่ ท่ไี ดเ้ รียนรู้ไปแล้ว
๙. มนุษย์มคี วามทรงจา ๒ ประเภท คือ ท้ังความทรงจาที่มาจากประสบการณ์ในชีวิตประจาวัน และความ
ทรงจาท่ีมาจากการท่องจา (We have (at last) two types of memory systems : spatial and rote
learning) ดงั นนั้ จึงควรใหค้ วามสาคญั ทั้งกับการเรยี นรู้ทเี่ น้นใหผ้ ้เู รียนได้สมั ผสั กับประสบการณ์จริง และการเรียนรู้
ทีใ่ ชท้ กั ษะการทอ่ งจา
~ ๑๘ ~
๑๐. ความเข้าใจทด่ี ีของสมองจะเกดิ จากขอ้ มูลและทักษะจากความทรงจาท่มี าจากประสบการณจ์ รงิ (The
brain understand and remember best when facts skill are embedded in natural spatial memory)
จากขอ้ นแ้ี สดงให้เหน็ วา่ การเรียนรทู้ ีเ่ นน้ ใหผ้ เู้ รยี นสมั ผัสจากประสบการณจ์ ริงน้ัน มีประโยชนต์ ่อการพัฒนาสมอง จึง
ควรเน้นการส่งเสรมิ ในส่วนน้ีเป็นพิเศษ
๑๑. แรงเสรมิ ทางบวกมผี ลดีต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน แต่ถา้ ผู้เรียนไดร้ บั สิ่งไม่พึงพอใจจากการคุกคามทาง
ความรสู้ กึ ความเครียด และความวิตกกังวล ก็จะทาให้สมองไม่เกิดการเรียนรู้ ( Learning and enhanced by
challenge and inhibited by threat) ดังนนั้ จึงควรสรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้ให้เกิดความรู้สึกผ่อนคลาย และ
หลีกเล่ียงการกดดนั ผเู้ รียนในรูปแบบต่าง ๆ
๑๒. สมองของมนุษย์นั้นมคี วามแตกต่างกัน แต่โครงสรา้ งสมองของ แตล่ ะคนสามารถเปลี่ยนแปลงได้
(Every brain is unique) สิ่งนี้จงึ จาเป็นอยา่ งมากทีจ่ ะต้องใชก้ ลยทุ ธ์ และเทคนิคการเรียนการสอนที่หลากหลาย
เพือ่ จูงใจผู้เรียนให้ไดม้ ากทีส่ ุด เพือ่ ประโยชนท์ ด่ี ีในการเรยี นรู้
การนาการเรียนรู้โดยใชส้ มองเปน็ ฐาน (Brain-based learning) กับการนามาใช้จริงในการจัดการเรียนรู้
คอื การนาหลักการเก่ียวกับสมอง มาเชอ่ื มโยงกบั การจดั การศึกษา สามารถนามาใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ที่ได้ดีเป็น
ความคิดระดับสูงท่ี รวมเอาเทคนิคที่หลากหลาย รปู แบบการเรยี นรู้น้ีจะหมายรวมถึงแนวความคิดทางการศึกษา
ใหม่ๆ มาประยกุ ต์ใช้ หรือบูรณาการเทคนิคตา่ งๆ ที่หลากหลายมาใช้ ในจัดการเรียนรู้ ไดแ้ ก่
- การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง(Mastery Learning)
- ลลี าการเรยี นรู้(Learning Styles)
- พหุปัญญา(Multiple Intelligences)
- การเรยี นรู้แบบร่วมมือ(Cooperative Learning)
- การสร้างสถานการณ์ (Practical Simulation)
- การเรยี นร้จู ากประสบการณจ์ ริง(Experiential Learning)
- การเรยี นรู้จากการใช้ปัญหาเปน็ ฐาน(Problem based learning)
- ความเคล่อื นไหวทางการศกึ ษา (Movement Education)
บทบาทของครู
๑. ครูสร้างบรรยากาศในการจัดประสบการณ์ เพอ่ื ส่งเสริมใหผ้ ้เู รยี นเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง กล้าคิดกล้า
แสดงออก
๒. จดั สิ่งแวดล้อมเพื่อสง่ เสริมการเรียนรู้ โดยใหผ้ ูเ้ รียนได้ลงมือปฏบิ ตั จิ ริง ตลอดจนสือ่ ต่างๆ เช่น เพลง และ
คาคล้องจอง เพ่ือกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นได้เกดิ ความคดิ จนิ ตนาการ ในการทจี่ ะเชอ่ื มโยงกับเหตกุ ารณ์ประจาวัน
๓. ปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ งครูกบั นกั เรยี น ครคู วรให้ความเป็นกนั เองกับผู้เรียนในขณะที่ผู้เรียนทากิจกรรมด้วย
การสนทนาซักถาม กระต้นุ ใหแ้ รงเสรมิ ต่าง ๆ เพ่อื ให้ผเู้ รียนมกี าลงั ใจทางาน และมีความมั่นใจในการแสดงความ
คดิ เห็น
๔. ใหแ้ รงเสรมิ ในทางบวกขณะทผ่ี ู้เรียนออกมานาเสนอผลงาน และแนะนา อานวยความสะดวกต่าง ๆ เมื่อ
ผเู้ รียนตอ้ งการ
๕. สงั เกตและจดบันทกึ ตามแบบบนั ทกึ
แหล่งการเรยี นรู้
http://www.pharmacy.cmu.ac.th/unit/unit_files/files_download/2011-10-19ก.ย.54 doc.pdf
http://www.kroobannok.com/news_file/p80795940427.pdf
http://www.kroobannok.com/75130
~ ๑๙ ~
การสอนตามทฤษฎพี หปุ ัญญา
พหุปัญญา หรอื ความฉลาด ในทัศนะของ Dr.Howard Gardner ซึ่งเป็นผู้เสนอคานี้ขึ้นมา หมายถึง
ความสามารถของมนษุ ยท์ จี่ ะค้นหาปัญหา และหาทางแก้ไขปัญหา รวมไปถงึ ความสามารถในการคิดค้นส่ิงใหม่ๆ
เพื่อตอบสนองหรอื รับใช้สังคมของตน เขาตอ้ งการแสดงใหเ้ หน็ อยา่ งเจาะจง และกระตนุ้ เตือนผู้ใหญ่ โดยเฉพาะครู
วา่ เด็กแตล่ ะคนมีปญั ญาหรือความฉลาดหลายด้าน ซึง่ เปน็ หน้าทีข่ องครูทจี่ ะตอ้ งค้นหา เพื่อสามารถช่วยกระตุ้น
หรอื จดั การเรยี นรใู้ นหอ้ งเรยี นใหเ้ หมาะกับเดก็ แตล่ ะคน โดยการจาแนกความฉลาดของมนุษย์ออกได้เป็น 7 ด้าน
ซง่ึ ต่อมาได้เพม่ิ เขา้ ไปอกี ๒ ด้าน รวมเป็น ๙ ดา้ น (ซงึ่ ในอนาคตก็อาจเพ่ิมเติมเข้าไปได้อีก เม่ือมีองค์ความรู้มาก
ข้นึ ) ประกอบด้วย
๑. Visual/Spatial Intelligence
ความฉลาดทจี่ ะเรียนรู้ด้วยการมองเหน็ ภาพ/มิติ เกบ็ ขอ้ มูลจากการมองเห็นจนเกิดความ คิดใน
เชงิ มติ ิ และปรากฏภาพในสมอง และจดจาภาพเหล่านน้ั เปน็ ขอ้ มูลไว้ใช้ตอ่ ไป เด็กกล่มุ นีม้ กั จะชอบเรียนรู้ด้วยแผน
ท่ี ตาราง แผนภมู ิ กราฟ รูปภาพ วิดิทศั น์ และภาพยนตร์ ให้ความสาคัญกับควา มเข้าใจที่จะนาไปสู่การลงมือ
กระทา เป็นทักษะท่ที าใหเ้ รามองเห็นสง่ิ ตา่ งๆ บันทกึ ไว้ในสมอง เกิดภาพในใจ จนสามารถคิดค้นส่ิงต่างๆ หรือ
แกไ้ ขปัญหา ทักษะของเดก็ ท่เี กง่ ดา้ นน้ี อาทิ ต่อภาพปรศิ นา การอ่าน เขียน และทาความเข้าใจแผนภูมิ กราฟ
และเก่งเร่อื งทิศทาง สเกต็ ภาพ วาดเขียน รวมไปถึงการออก แบบภาพมิติต่างๆ หรือจัดการภาพได้ดี โตขึ้นมี
แนวโน้มทจี่ ะประกอบอาชพี บางอยา่ งได้ดี เช่น ผู้นาทาง/ออกแบบการนาทาง ศิลปินภาพปั้น สถาปัตย์ นัก
ออกแบบภายใน วิศวกร ฯลฯ
๒. Verbal/Linguistic Intelligence
ความฉลาดที่จะเรยี นรู้ดว้ ยการฟงั พดู และใช้ภาษา และมที ักษะในการฟงั อา่ น เขยี น ใช้คา เด็ก
พัฒนาทกั ษะดา้ นการฟังและการพดู ได้ดี ความคิดมักจะออกมาเป็นคาพูดมากกว่าเป็นภาพ เก่งท่ีจะเล่าเร่ือง
อธบิ าย สอน พูดขาขัน เขา้ ใจความหมายในคาพูดได้ดี จดจาข้อมลู พดู ชักจูงโนม้ น้าวคนอื่น อธิบายวิเคราะห์การ
ใชค้ าพดู ซ่งึ เมื่อโตขึ้น มแี นวโน้มทจ่ี ะทาอาชีพตอ่ ไปนี้ อาทิเชน่ นักประพันธ์ นกั การส่ือสาร (เขียนข่าว บทความ)
ครู นักกฎหมาย นักการเมอื ง นักแปล ฯลฯ
๓. Logical/Mathematical Intelligence
ความฉลาดทจ่ี ะเรียนรดู้ ว้ ยเหตผุ ล ตรรกะ และตวั เลข เด็กมกั คดิ เปน็ ระบบ หรือ เรียงลาดับตาม
เหตุการณ์ ตามอนั ดบั ตวั เลข เก่งที่จะเชือ่ มโยงข้อมลู ช้ินสว่ นตา่ งๆเขา้ เปน็ ภาพใหญ่ มักกระตือรือร้นสนใจสิ่งรอบ
ตัวเสมอๆ มกั ชอบถามคาถามและชอบทดลองเพ่ือใหไ้ ด้คาตอบ มีทักษะในการแก้ปัญหา จัดลาดับหรือจัดกลุ่ม
ขอ้ มลู เชือ่ มโยงความคดิ เชิงนามธรรม และเห็นความสัมพนั ธ์ระหว่างประเด็นที่เก่ียวข้องกัน สามารถจัดการกับ
เหตผุ ลทเี่ กีย่ วเนอ่ื งกนั เปน็ ลูกโซ่ไดย้ าวๆ และเห็นความกา้ วหน้าของมนั สามารถทาวิจัยได้ดี มักถามคาถามเรื่อง
ธรรมชาตริ อบตัว อกี ทงั้ ยังมีทักษะดา้ นการคานวณ และรปู ทรงเรขาคณิต เมื่อโตข้นึ มีแนวโน้มท่ีจะประกอบอาชีพ
บางอยา่ งได้ดี คือ นักวทิ ยาศาสตร์ วศิ วกร โปรแกรมเมอร์ นกั วจิ ัย นกั บัญชี นักคณิตศาสตร์ ฯลฯ
๔. Bodily/Kinesthetic Intelligence
ความฉลาดที่จะควบคมุ ร่างกาย การเคลือ่ นไหว และจัดการงานต่างๆได้ดี มักแสดงตัวตนด้วย
การเคลอื่ นไหว มีทกั ษะในการใช้สายตาร่วมกบั การใช้มือ เชน่ เลน่ บอลได้ดี หรือ ยงิ เปา้ ได้แม่น ด้วยทักษะในการ
จัด การส่ิงแวดลอ้ มรอบตวั ทาใหส้ ามารถจดจาและจดั ระบบข้อมูลส่งิ รอบตัวได้ดี ซึ่งทาให้มีทักษะในการเต้นรา
ควบคมุ สมดุลร่าง กาย กฬี า การทดลอง ใชภ้ าษากาย ศลิ ปะ การแสดง เลียนแบบ ใช้มือในการสร้างสรรค์หรือ
สร้างส่งิ ตา่ งๆ แสดงอารมณ์ดว้ ยภาษากาย และมีแนวโน้มท่ีจะประกอบอาชีพบางอย่างได้ดี อาทิ นักเต้นรา
นักกีฬา ครสู อนพลศึกษา นกั แสดง นกั ผจญเพลิง ชา่ งฝมี ือหรือผ้เู ชี่ยวชาญด้านศิลปะ ฯลฯ
~ ๒๐ ~
๕. Musical/Rhythmic Intelligence
ความฉลาดทจี่ ะสร้างและด่ืมด่ากบั สนุ ทรีย์ทางดนตรี ทาให้เด็กกลุ่ มนี้มักคิดเป็นเสียง จังหวะ
และรูปแบบ (คล้ายกบั การเลน่ ดนตรี แบบท่วี งดนตรเี ลน่ ร่วมกนั เป็นเพลง) มักตอบสนองต่อเสียงดนตรี ท้ังด้าน
ความช่ืนชมหรอื วิพากษ์วจิ ารณ์ ไวกบั เสียงท่ีอย่รู อบตัว เช่น เสียงกระดง่ิ น้าหยด ทาให้มที กั ษะในการร้องเพลง ผิว
ปาก เลน่ เคร่ืองดนตรี จดจาจังหวะและแบบแผนของเสยี ง ประพันธ์เพลง จดจาท่วงทานองเสนาะ และเข้าใจ
โครงสรา้ งและจงั หวะของดนตรี จงึ มีแนวโน้มที่จะประกอบอาชีพ นกั ดนตรี ดเี จ นักร้อง นักแตง่ เพลง ฯลฯ
๖. Interpersonal Intelligence
ความฉลาดท่จี ะสร้างความสัมพันธแ์ ละเขา้ ใจผู้อื่น มักจะมองส่ิงต่างๆด้วยมุ มมองของคนอื่นๆ
รอบตัว เพอ่ื ให้เข้าใจวา่ คนอ่นื ๆคดิ อย่างไรและรู้สึกอยา่ งไร มที กั ษะในการเข้าใจอารมณ์ความรู้สึก แรงบันดาลใจ
และ แรงกระตุ้นของผ้คู น เปน็ นักจัดการแม้บางคร้ังอาจจะดวู ่าเจา้ ก้เี จ้าการไปบา้ ง แต่ก็เพ่ือให้เกิดความสงบสันติ
ในกลุ่ม และทาใหเ้ กดิ ความร่วมมือกนั โดยใช้ทง้ั ภาษาพดู และภาษากาย เชน่ การสบตา การเอียง/โน้มตัว ยิ้ม เพ่ือ
สร้างสัมพันธใ์ หส้ ่ือสารกนั ได้ มที ักษะในการฟงั และเข้าใจคนอืน่ ใช้ความเห็นอกเห็นใจ และความเข้าใจอารมณ์
ความรูส้ ึก ในการใหค้ าปรึกษาหรอื ประสานงานในกลุม่ จะคอยตรวจสอบอารมณ์ของกลุ่ม แรงบันดาลใจและความ
ต้งั ใจ ใชก้ ารสอ่ื สารทง้ั ภาษาพดู และภาษากาย สรา้ งความเช่ือมน่ั ในกลุ่มได้ดี เป็นนักประสานและแก้ไขความขัด
แจ้ง ทาให้เกิดบรรยากาศท่ีดีในระหว่างผู้คน คนกลุ่มนี้มักจะประกอบอาชีพเหล่าน้ีได้ดี คือ นักจิตวิทยา
Counselor นกั การเมอื ง นกั ธุรกจิ นกั เจรจาต่อรอง ฯลฯ
๗. Intrapersonal Intelligence
ความฉลาดในการเข้าใจตนเอง สือ่ สารกับตนเอง โดยเฉพาะการมีสติกับภาวะภายในของตน
พยายามท่ีจะเขา้ ใจอารมณค์ วามร้สู กึ ภายใน ความฝัน สัมพันธภาพกับผู้อื่น เข้าใจจุดแข็งและจุดอ่อนของตน
สะทอ้ นและวิ เคราะหต์ นเอง เข้าใจแรงปรารถนาและความใฝฝ่ ันของตน วิเคราะห์แบบแผนการคิดของตน ให้
เหตุผลกบั ตน เข้าใจบทบาทหน้า ทแ่ี ละสมั พันธภาพกบั คนอน่ื เมื่อโตขน้ึ มีแนวโน้มที่จะประกอบอาชีพเหล่านี้คือ
นกั วจิ ัย นักคดิ /ปราชญ์ นักปรัชญา
๘. Naturalistic Intelligence
ความฉลาดในการเรียนรสู้ ิง่ ต่างๆในธรรมชาติรอบตวั แยกแยะความเป็นจริง/ลักษณะร่วมหรือ
แตกต่างของส่งิ รอบตวั จัดกลมุ่ สิ่งทีเ่ หมือนหรือตา่ งกัน ด้วยแนวคิดท่ีเป็นเหตุเป็นผล มองเห็นลาดับชั้นของความ
เชื่อมโยงในธรรมชาติ จดั แบบแผนความคดิ ของตน ดว้ ยการจัดกลุ่ม จดั อันดับช้ันของความจาต่อส่ิงรอบตัว จึงมี
ทักษะในการจดั ระบบคิดภายในตวั เอง แสดงความร้สู ึกเห็นอกเหน็ ใจและเข้าใจธรรมชาติรอบตัว จดจาแยกแยะ
รายละเอียด สนกุ กบั การแจงนับและจัดระบบสง่ิ ต่างๆรอบตัว ชอบทจี่ ะใชก้ ราฟ แผนภูมิ ตาราง และลาดับเวลา
โตขึน้ มีแนวโนม้ ทจ่ี ะประกอบอาชพี เหลา่ นี้ได้ดี เช่น นักธรณวี ทิ ยา นกั มานุษยวทิ ยา นกั วิทยาศาสตร์ เกษตรกร นัก
ปศุสัตว์ นักปรงุ อาหาร ฯลฯ
๙. Existential Intelligence
ความฉลาดในการเชือ่ มโยงสิ่งต่างๆเข้ากบั ภาพใหญ่ (มหภาค) จนเห็นความงดงามของสรรพสิ่งใน
โลก เช่อื มโยงการดารงอยูข่ องมนษุ ยแ์ ละตนเองกับส่ิงที่ใหญ่กว่า เช่น จักรวาล พระเจ้า ความดีงาม สามารถ
รวบรวมสรุปรายละเอียด แลว้ ทาให้เกิดความเขา้ ใจถึงสงิ่ ทใ่ี หญก่ วา่ เห็นคณุ ค่าของการเกิดเป็นมนุษย์ เห็นความ
งดงามของศิลปะ คณุ ธรรมบารมี และมแี นวโน้มท่จี ะใสใ่ จกบั การค้นหาความหมายในชีวิต พยายามมองหาความ
เช่อื มโยงระหวา่ งการเรียนรูส้ าขายอ่ ยๆเข้าเปน็ ภาพใหญ่ สนใจและชื่นชมกับวรรณคดี เรื่องเล่า อัตประวัติของคน
ตา่ งวฒั นธรรม รสู้ กึ เปน็ อันหน่ึงอนั เดยี วกบั ครอบครวั และเพือ่ นๆ รวมไปถงึ ชุมชน และขยายไปถึงชุมชนโลก ชอบ
เข้าไปเก่ียวข้องกบั ประเด็นทางสังคมและการเมอื ง ใสใ่ จกับสุขภาวะของตน ที่จริงอาจเช่ือมโยงไปถึง “ปัญญา
ญาณ” ในศาสนาพุทธและการพัฒนาดา้ นจิตวิญญาณอ่นื ๆ
~ ๒๑ ~
ครจู ัดกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมพหปุ ญั ญาแตล่ ะด้านให้เด็ก ดังนี้
Visual/Spatial Intelligence
ได้แก่ การให้เด็กเคล่ือนไหวอสิ ระในบริเวณท่ีเรียนรู้ หัดใหร้ ่างภาพก่อนจะเขา้ ส่บู ทเรียน ฝึกเขียน
แผนที่ แผนภาพ ฝกึ การระดมความคดิ จัดสงิ่ แวดลอ้ มทกี่ ระตุ้นการใช้ตา ฝึกการเคล่ือนไหวตามจินตนาการ ฝึก
การรวบ รวมข้อมูล จากการมองเห็นเขา้ เปน็ การคดิ เปน็ ระบบ
Verbal/Linguistic Intelligence
ไดแ้ ก่ การฝกึ ค้นคว้าคาศพั ทใ์ หม่ๆ เรียนรู้คาศัพท์ในภาษาอ่ืนๆ ฝึกให้นาเสนอหน้าชั้นเรียน
โตว้ าที อภปิ ราย แทรกบทละคร การแสดงเข้ามาในบทเรียน หดั เขียนบนั ทกึ ประจาวันอย่างสม่าเสมอ กระตุ้นให้
ฝึกเขียนบทความสรา้ งสรรค์ ฝึกใหเ้ ล่าเรอ่ื ง หดั อา่ นวรรณกรรมเด็กและเยาวชน
Logical/Mathematical Intelligence
ได้แก่ การฝกึ จดั ลาดบั กิจกรรม การฟงั คาส่งั นาเสนอ “คาจากัดความ หรือ ข้อตกลง” ก่อนจะ
เข้าสู่กจิ กรรมในบทเรียน จดั ให้มีคาถามปลายเปดิ อย่ใู นกระบวนการแก้ปัญหา ส่งเสริมการทดลองซ่ึงเด็กๆจะ
สามารถทดสอบสมมตฐิ านได้ หัดให้ใชเ้ หตผุ ล หรือ การอนมุ านในการนาเสนอ ฝกึ ให้มีการโต้แย้งในช้ันเรียน หัด
แก้ปัญหาเกม puzzles ใหเ้ ดก็ ฝกึ กาหนดเป้าหมายระยะสัน้ ของการเรยี นรูข้ องตนและกลุ่ม ส่งเสริมให้เด็กมีส่วน
รว่ มในกระบวนการประเมนิ ผล
Bodily/Kinesthetic Intelligence
ไดแ้ ก่ การจัดกจิ กรรมท่ีให้ได้ใช้มือ รา่ งกาย เพิ่มการแสดงเข้าไปในหน่วยการเรียนรู้ ใช้เกมเพ่ือ
ทบทวนบทเรียน ใชด้ นตรี จงั หวะในการเรียนรู้ จัดบทเรยี นการทดลองทางวิทยาศาสตร์ เรียนตัวเลขจากส่ิงของที่
จบั ตอ้ งได้ เปิดโอกาสให้เด็กได้สรา้ งและแยกแยะสิ่งของต่างๆด้วยตนเอง ให้เด็กฝึกท่ีจะสร้างแน วคิดผ่านการ
ทดลองดว้ ยร่างกายของตนเอง ให้เด็กเคลอ่ื นไหวในช้ันเรยี นอย่างอสิ ระ เล่นตอ่ บลอ็ ก
Musical/Rhythmic Intelligence
ได้แก่ การฝกึ การฟงั เสียงเด่ยี ว เสียงผสมในส่ิงแวดล้อม ฝึกการเคล่ือนไหวตามจังหวะ ฝึกการ
วาดภาพจากสิ่งที่เหน็ ในสง่ิ แวดลอ้ ม หดั ฟงั รอ้ งเพลงกล่อมเดก็ /เพลงพืน้ บ้าน ฝกึ ภาษาต่างประเทศ ฟังเสียงเคร่ือง
ดนตรีชนดิ ต่างๆ ท้งั เดี่ยวและผสม ฝกึ เรียงลาดับตามรปู แบบของสง่ิ ต่างๆ ฝึกอา่ นโนต้ ดนตรี
Interpersonal Intelligence
ได้แก่ การให้เด็กมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั เพื่อนในชั้นเรยี น ให้เดก็ ทางานเป็นกลุ่ม ใหเ้ ดก็ เลือกจัดกลุ่มของ
ตนโดยอสิ ระ ฝึกทางานเป็นทีม โดยแต่ละคนมีหน้าทีด่ ูแล ฝกึ วางแผนการทางาน ซ่งึ จะนาไปสคู่ วามสาเร็จ ใช้การ
แขง่ ขนั กระตุ้นให้เกิดแรงบันดาลใจ ที่จะตั้งเป้าหมายไปสู่ความสาเร็จที่สูงขึ้น ฝึกบทบาทสมมติ เชื้อเชิญคน
ภายนอกเข้ามาช่วยทา งานกบั กลุ่ม จดั ใหม้ ีการทางานร่วมกับช้นั เรียนอนื่ ๆ
Intrapersonal Intelligence
ไดแ้ ก่ การใชบ้ ทเรียนทแ่ี ตกตา่ งในระหว่างเด็กแต่ละกลมุ่ ใชก้ ารอปุ มาอุปมัยในบทเรียน จัดให้มี
ทางเลอื กสาหรบั ผู้เรียน สง่ เสริมใหเ้ ดก็ ตงั้ เปา้ หมายของตนในการเรียน จดั ใหม้ ีการเขียนบันทกึ ประจาวันก่อนเข้าสู่
บท เรียน เปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ แสดงความร้สู กึ ตอ่ บทเรยี น รวมทั้งการสะท้อน เสนอแนะ จัดให้มีการประเมินผลตัว
เด็กในกระบวนการประเมินผลชน้ั เรียน นาประเดน็ เรอื่ งความยุติธรรมในสังคมเข้าสู่บทเรียน ใช้แบบสอบถาม
ประเมิน และเครือ่ งมืออื่นๆ ทจ่ี ะชว่ ยให้เด็กประเมนิ ความก้าวหนา้ ของตน
Naturalistic Intelligence
ได้แก่ การฝึกใหท้ ากราฟแผนภมู ทิ ั้งระนาบกว้างและลึก ฝึกใหร้ ะดมสมองด้วยกระบวนการต่างๆ
ฝึกทา mind mapping นาประเด็นการเรียนรไู้ ปสธู่ รรมชาตริ อบตวั ฝึกทาแฟ้มงานประจาตัว พยายามจัดโครงการ
รว่ มกับชน้ั เรยี นอน่ื ๆ
~ ๒๒ ~
Existential Intelligence
ไดแ้ ก่ การทบทวนบทเรียนเดมิ ก่อนจะข้ึนบทเรียนใหม่ กาหนดประเด็นที่ครอบคลุมแนวคิด
หลายๆดา้ น เชอ่ื มโยงบทเรียนเข้ากบั เรอื่ งราวในโลก บูรณาการหน่วยการเรยี นรู้ขา้ มวิชา ใชศ้ ิลปะเข้าในหน่วยการ
เรยี นรู้ อภิ ปรายความสาคัญของประเดน็ ที่จะเรยี นรู้ เชิญคนภายนอกทีม่ ีความเห็นแตกต่ าง/กว้าง ให้เด็กฝึกที่จะ
สรุปประเด็นต่างๆทไ่ี ดเ้ รยี น กระตุ้นใหเ้ ด็กกลา้ ทจ่ี ะแสดงความเหน็ หรือมุมมองทแ่ี ตกต่างออกไปจากบทเรียน ให้
เด็กมีส่วนในการกาหนด จัดปรับหน่วยการเรยี นร้ใู ห้เหมาะสมกบั ตน เพ่ือให้มีความเป็นเจา้ ของบทเรียน (มากกว่า
จะเปน็ ของครู/พอ่ แม)่
แหล่งการเรียนรู้
http://taamkru.com/th/พหปุ ัญญา/
http://ced.kmutnb.ac.th/tsk/question/index.php
http://www.bgfl.org/bgfl/custom/resources_ftp/client_ftp/ks3/ict/multiple_int/index.htm
หอ้ งเรียนกลบั ด้าน Flipped Classroom
แนวคดิ หลักของ "ห้องเรียนกลับด้าน" คือ "เรียนที่บา้ น-ทาการบา้ นทีโ่ รงเรยี น" เป็นการนาสิ่งที่เดิมท่ีเคย
ทาในชนั้ เรยี นไปทาทีบ่ ้าน และนาส่งิ ทีเ่ คยถกู มอบหมายใหท้ าทบี่ า้ นมาทาในชั้นเรยี นแทน โดยยึดหลักที่ว่า เวลาท่ี
นกั เรียนตอ้ งการพบครูจรงิ ๆ คือ เวลาทีเ่ ขาต้องการความช่วยเหลอื เขาไม่ได้ตอ้ งการให้ครูอยู่ในช้ันเรียนเพื่อสอน
เนือ้ หาต่างๆ เพราะเขาสามารถศึกษาเนือ้ หาน้นั ๆ ดว้ ยตนเอง ถ้าครบู ันทกึ วิดโี อการสอนให้เด็กไปดูเป็นการบ้าน
แล้วครูใช้ช้นั เรยี นสาหรับชแี้ นะนักเรียนใหเ้ ขา้ ใจแกน่ ความรู้จะดีกว่า
ดังน้ัน งานหลกั ของครูคือการสอนนักเรยี นเมื่อไมเ่ ขา้ ใจ มากกวา่ ทจ่ี ะเป็นคนบอกเล่าเนือ้ หาการเรียนเพียง
อย่างเดยี ว การเรยี นการสอนเชน่ น้ที าให้สามารถนาการจดั การเรยี นรู้ตามความแตกต่างของผ้เู รียน ( Differentiate
Instruction)และการเรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based learning : PBL) มาใช้ในชั้นเรยี นได้ด้วย การ
เรียนการสอนแบบ "ห้องเรยี นกลบั ด้าน" ทาให้ครูมเี วลาชแี้ นะนกั เรียนและชว่ ยนกั เรียนสร้างสรรคแ์ นวคิดต่างๆ ได้
มากข้นึ นอกจากนย้ี งั ลดจานวนนักเรียนที่หยุดเรียนในช้ันเรยี นนั้นๆ และช่วยเพิ่มเนื้อหาสาระจากท่ีนักเรียนได้
เรียนรูด้ ้วย หลายคนให้ความเห็นว่า "ห้องเรยี นกลบั ดา้ น" อาจสง่ ผลเสียตอ่ นกั เรยี นที่ไม่สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ต
ได้นอกโรงเรยี น อย่างไรกต็ ามครูหลายทา่ นก็แก้ปญั หานไี้ ด้ดว้ ยการแจก CDs หรือเตรียม Thumb drives ที่มีไฟล์
วดี ทิ ศั นใ์ หน้ กั เรียน
แหลง่ การเรียนรู้
http://taamkru.com/th/ห้องเรียนกลับด้าน-ขานรบั ความคิดใหม่-1
http://taamkru.com/th/หอ้ งเรยี นกลับด้าน-ขานรบั ความคิดใหม่-2
http://taamkru.com/th/หอ้ งเรยี นกลับดา้ น-ขานรับความคิดใหม่-3
https://www.scbfoundation.com/stocks/c1/file/13782013511lnn3c1.pdf
http://www.noppawan.sskru.ac.th/data/learn_c21.pdf
~ ๒๓ ~
การจัดการเรียนรูแ้ บบใช้โครงงานเปน็ ฐาน PROJECT-BASED LEARNING
การเรียนรูแ้ บบโครงงานเป็นรปู แบบหน่ึงของ Child- centered Approach ที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้
ทางานตามระดบั ทกั ษะท่ตี นเองมอี ยู่ เปน็ เรอื่ งที่สนใจและรู้สึกสบายใจทจ่ี ะทา นักเรียนไดร้ บั สิทธิในการเลือกว่าจะ
ตั้งคาถามอะไร และตอ้ งการผลผลติ อะไรจากการทางานชิ้นนี้ โดยครูทาหน้าท่ีเป็นผู้สนับสนุนอุปกรณ์และจัด
ประสบการณ์ให้แก่นักเรยี น สนบั สนนุ การแก้ไขปัญหา และสร้างแรงจูงใจให้แก่นักเรียน โดยลักษ ณะของการ
เรียนรู้แบบโครงงาน มดี งั น้ี
- นกั เรยี นกาหนดการเรียนร้ขู องตนเอง
- เช่ือมโยงกบั ชีวิตจริง สิ่งแวดลอ้ มจรงิ
- มีฐานจากการวจิ ยั หรือ องค์ความรูท้ ่เี คยมี
- ใชแ้ หล่งขอ้ มูล หลายแหล่ง
- ฝังตรงึ ด้วยความรู้และทกั ษะบางอยา่ ง (embedded with knowledge and skills)
- ใชเ้ วลามากพอในการสรา้ งผลงาน
- มีผลผลติ
ขน้ั ตอนการจัดการเรยี นรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน
การจัดการเรยี นร้แู บบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐานนั้น มีกระบวนการและข้นั ตอนแตกต่างกันไปตามแต่
ละทฤษฎี ดังน้ี
แนวคดิ ท่ี ๑ ข้นั ตอนการจัดการเรียนรแู้ บบโครงงาน
ของ สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาและกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงได้นาเสนอขั้นตอนการ
จัดการเรียนร้แู บบโครงงาน ไว้ ๔ ขน้ั ตอน ดงั น้ี
๑) ขั้นนาเสนอ หมายถึง ข้ันที่ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาใบความรู้ กาหนดสถานการณ์ ศึกษา
สถานการณ์ เลน่ เกม ดรู ูปภาพ หรือผสู้ อนใชเ้ ทคนคิ การต้งั คาถามเกยี่ วกับสาระการเรียนรู้ที่กาหนดในแผนการ
จัดการเรยี นรแู้ ต่ละแผน เช่น สาระการเรียนรูต้ ามหลกั สตุ รและสาระการเรียนรู้ที่เปน็ ข้นั ตอนของโครงงานเพื่อใช้
เปน็ แนวทางในการวางแผนการเรยี นรู้
๒) ขั้นวางแผน หมายถึง ขนั้ ทผี่ เู้ รยี นร่วมกันวางแผน โดยการระดมความคิด อภิปร ายหารือ
ข้อสรุปของกล่มุ เพือ่ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏิบัติ
๓) ขั้นปฏบิ ัติ หมายถึง ข้นั ท่ีผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรม เขียนสรุปรายงานผลท่ีเกิดข้ึนจากการ
วางแผนร่วมกนั
๔) ขน้ั ประเมินผล หมายถงึ ขัน้ การวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริง โดยให้บรรลุจุดประสงค์
การเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ โดยมผี ู้สอน ผเู้ รียนและเพอ่ื นรว่ มกนั ประเมนิ
แนวคดิ ท่ี ๒ ข้นั การจัดการเรียนรู้ ตาม โมเดลจกั รยานแหง่ การเรียนรู้แบบ PBL
ของ วจิ ารณ์ พาณชิ มดี งั น้ี
๑) Define คอื ข้นั ตอนการทาใหส้ มาชิกของทีมงาน รว่ มทัง้ ครูด้วยมคี วามชัดเจนร่วมกันว่า คาถาม
ปญั หา ประเดน็ ความท้าทายของโครงการคืออะไร และเพอื่ ให้เกดิ การเรยี นรู้อะไร
๒) Plan คอื การวางแผนการทางานในโครงการ ครกู ็ต้องวางแผน กาหนดทางหนีทีไล่ในการทา
หนา้ ท่โี ค้ช รวมทงั้ เตรียมเคร่ืองอานวยความสะดวกในการทาโครงการของนักเรียน และที่สาคัญเตรียมคาถามไว้
ถามทมี งานเพื่อกระตุ้นให้คดิ ถงึ ประเด็นสาคัญบางประเด็นท่ีนกั เรียนมองข้าม โดยครูต้องไม่เข้าไปช่วยเหลือจน
~ ๒๔ ~
ทีมงานขาดโอกาสคดิ เองแก้ปัญหาเอง นกั เรียนทเ่ี ป็นทีมงานกต็ ้องวางแผนงานของตน แบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบ
การประชุมพบปะระหว่างทีมงาน การแลกเปลย่ี นขอ้ ค้นพบแลกเปล่ียนคาถาม แลกเปลี่ยนวิธีการ ยิ่งทาความ
เข้าใจร่วมกันไวช้ ัดเจนเพยี งใด งานในข้ัน Do กจ็ ะสะดวกเล่อื นไหลดีเพียงน้นั
๓) Do คือ การลงมอื ทา มกั จะพบปญั หาท่ีไม่คาดคิดเสมอ นักเรียนจึงจะได้เรียนรู้ทักษะในการ
แกป้ ญั หา การประสานงาน การทางานร่วมกันเป็นทีม การจัดการความขัดแย้ง ทักษะในการทางานภายใต้
ทรพั ยากรจากัด ทักษะในการค้นหาความรู้เพ่ิมเติมทักษะในการทางานในสภาพที่ทีมงานมีความแตกต่าง
หลากหลาย ทักษะการทางานในสภาพกดดัน ทักษะในการบันทึกผลงาน ทักษ ะในการวิเคราะห์ผล และ
แลกเปล่ยี นขอ้ วเิ คราะหก์ ับเพือ่ นรว่ มทีม เปน็ ต้น ในขัน้ ตอน Do น้ี ครจู ะไดม้ โี อกาสสงั เกตทาความรู้จักและเข้าใจ
ศษิ ยเ์ ปน็ รายคน และเรียนร้หู รือฝกึ ทาหนา้ ท่ีเปน็ “วาทยากร” และโค้ชดว้ ย
๔) Review คอื การทที่ ีมนกั เรยี นจะทบทวนการเรียนรู้ ว่างานหรือกิจกรรม หรือพฤติกรรมแต่ละ
ข้ันตอนไดใ้ หบ้ ทเรยี นอะไรบ้าง เอาทั้งข้ันตอนที่เป็นความสาเร็จและความลม้ เหลวมาทาความเข้าใจ และกาหนด
วิธที างานใหม่ที่ถูกต้องเหมาะสมรวมท้ังเอาเหตุการณ์ระทึกใจ หรือเหตุการณ์ที่ภาคภูมิใจ ประทับใจ มา
แลกเปลยี่ นเรียนรกู้ นั ขน้ั ตอนนเ้ี ป็นการเรียนรูแ้ บบทบทวนไตร่ตรอง (reflection)
๕) Presentation คอื การนาเสนอโครงการต่อชั้นเรียน เป็นขน้ั ตอนทที่ าให้เกิดการทบทวนข้ันตอน
ของงานและการเรยี นร้ทู เี่ กดิ ข้นึ อย่างเขม้ ข้น แล้วเอามานาเสนอในรูปแบบที่เร้าใจ ให้อารมณ์และให้ความรู้
(ปญั ญา) ทีมงานของนักเรยี นอาจสร้างนวตั กรรมในการนาเสนอก็ได้ โดยอาจเขยี นเปน็ รายงาน และนาเสนอเป็น
การรายงานหน้าชน้ั มี เพาเวอรพ์ อยท์ (PowerPoint) ประกอบ หรือจดั ทาวีดิทัศนห์ รือเป็นละครนาเสนอเปน็ ต้น
บทบาทครู
ครใู ช้คาถามกระต้นุ การเรียนรู้ คาถามนั้นต้องเป็นคาถามท่ีมีลักษณะเป็นคาถามปลายเปิด และ
เพ่อื ให้นักเรยี นไดอ้ ธิบาย โดยขึ้นต้นว่า “ทาไม” หรือ ลงท้ายวา่ “อยา่ งไรบา้ ง” “อะไรบ้าง” “เพราะอะไร” โดย
คาถามเหลา่ นี้อาจเปน็ คาถามในใบกจิ กรรมหรือครูถามก่อนปฏบิ ตั ิกจิ กรรม กาลังลงมือปฏิบัติกิจกรรมและ/หรือ
หลังปฏิบตั กิ ิจกรรม ทกุ คาถามตอ้ งเชอ่ื มโยงไปยังรายวิชาทเ่ี รยี นเพ่อื ใหน้ กั เรียนไดฝ้ ึกทักษะการคิดด้วย
ครูทาหน้าทีเ่ ป็นผู้สังเกตวา่ นักเรยี นแตล่ ะคนมพี ฤตกิ รรมอยา่ งไร ขณะปฏิบัตกิ ิจกรรมโดยการสังเกต
ตอ้ งเปน็ ไปอย่างเหมาะสม คือ เมอื่ ครเู หน็ ว่าพฤติกรรมท่ีนักเรียนกาลังเรียนรู้ไม่ก่อให้เกิ ดความเดือดร้อนหรือ
อนั ตรายแก่นกั เรยี นอน่ื รอบตวั
ครูสอนใหน้ กั เรียนเรียนรูก้ ารตงั้ คาถาม เมือ่ นกั เรยี นสามารถตัง้ คาถามได้ จะทาให้นักเรียน รู้จักถาม
เพ่อื คน้ คว้าข้อมูล รูจ้ กั รับฟงั ความคดิ เห็นของผู้อ่ืน และรว่ มแสดงความคดิ เหน็ ของตนเองในเรื่องที่เก่ียวข้องกับการ
เรียนรู้เรือ่ ง การรจู้ กั ถามเปน็ อีกวิธีหนึ่งทน่ี กั เรยี นจะไดเ้ รยี นรแู้ ละได้มาซงึ่ ความรู้ทนี่ ักเรียนสนใจ
ครูเปน็ ผู้คอยใหค้ าแนะนาเมือ่ นกั เรียนเกิดข้อสงสยั ครจู ะตอ้ งเปน็ ผูค้ อยแนะนา ชแี้ จง ให้ข้อมูลต่างๆ
หรอื ยกตัวอยา่ งเหตกุ ารณ์ใกล้ตัวต่างๆ ทเ่ี กิดขนึ้ ในชีวิตประจาวนั ของนักเรียนเชอ่ื มโยงไปสคู่ วามรู้ด้านอื่นๆในขณะ
ทากิจกรรมเมือ่ นักเรยี นเกิดข้อสงสยั หรือคาถาม โดยไมบ่ อกคาตอบแก่นักเรียน
ครเู ปดิ โอกาสให้นกั เรียนคิดหาคาตอบด้วยตนเอง ซง่ึ ครจู ะเป็นผสู้ ังเกตและคอยกระตุ้นด้วยคาถาม
ใหน้ ักเรยี นไดค้ ิดกิจกรรมท่อี ยากเรียนรแู้ ละหาคาตอบในสง่ิ ทีส่ งสยั ดว้ ยตนเอง
ครูเปิดโอกาสให้นกั เรยี นสร้างสรรคผ์ ลงานอย่างอิสระ ตามความคิดและความสามารถของนักเรียน
เอง เพ่ือให้นักเรียนไดใ้ ช้จนิ ตนาการและความสามารถของตนเองในการคิดสร้างสรรค์อยา่ งเต็มท่ี
แหลง่ การเรยี นรู้
https://candmbsri.wordpress.com/2015/04/08/การจดั การเรยี นร้แู บบใช-2
https://candmbsri.wordpress.com/2015/04/08/การจดั การเรียนรแู้ บบใช-3
~ ๒๕ ~
การจัดการเรยี นรู้แบบใชป้ ัญหาเป็นฐาน PROBLEM-BASED LEARNING
การจดั การเรียนร้แู บบใชป้ ัญหาเปน็ ฐานเป็นจัดการเรยี นรทู้ ีเ่ น้นในส่ิงท่ีเด็กอยากเรียนรู้ โดยสิ่งที่อยาก
เรียนรูด้ ังกล่าวจะต้องเร่มิ มาจากปัญหาทเ่ี ด็กสนใจหรือพบในชีวิตประจาวันที่มีเนื้อหาเก่ียวข้องกับบทเรียน มี
จดุ มุง่ หมายเพอ่ื ฝกึ ทกั ษะการคิดแกป้ ญั หาอย่างมีเหตผุ ลและเป็นระบบให้แกน่ กั เรียนโดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่
เน้นทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหา การ คิดสร้างสรรค์ คิดวิจารณญาณ การสืบค้นและรวบรวมข้อมูล
กระบวนการกลมุ่ การบนั ทกึ และการอภิปราย
ลกั ษณะของปญั หาในการจดั การเรียนรแู้ บบใช้ปัญหาเป็นฐาน อาจมลี ักษณะดังน้ี
- เกิดขึ้นในชวี ิตจริงและเกิดจากประสบการณข์ องผู้เรียนหรือผเู้ รียนอาจมโี อกาสไดเ้ ผชิญกับปญั หาน้ัน
- เป็นปญั หาท่ีพบบอ่ ยมคี วามสาคญั มีข้อมลู เพียงพอสาหรับการคน้ ควา้
- เป็นปญั หาที่ยงั ไม่มคี าตอบชัดเจน ตายตวั หรือแนน่ อนและเป็นปัญหาท่ีมีความซับซ้อนคลุมเครือหรือ
ผ้เู รียนเกิดความสงสัย
- เป็นปญั หาทีม่ ีประเดน็ ขัดแย้ง ข้อถกเถียงในสังคมยงั ไมม่ ขี อ้ ยุติ
- เปน็ ปัญหาที่อยู่ในความสนใจ เปน็ สงิ่ ทอ่ี ยากรู้แต่ไมร่ ู้
- ปัญหาทส่ี รา้ งความเดอื ดรอ้ น เสียหาย เกดิ โทษ ภยั และเป็นส่ิงไมด่ ี หากมกี ารนาข้อมูลมาใช้โดยลาพัง
คนเดยี วอาจทาใหต้ อบปัญหาผดิ พลาด
- ปัญหาทไ่ี ด้รบั การยอมรับจากผอู้ น่ื ว่าจริง ถกู ตอ้ ง แตผ่ ูเ้ รยี นไม่เช่ือว่าจริง ยังไม่สอดคล้ องกับความคิด
ของผูเ้ รยี น
- ปญั หาท่อี าจมีคาตอบ หรอื แนวทางการแสวงหาคาตอบได้หลายทางครอบคลุมการเรียนรู้ที่กว้างขวาง
หลากหลายเนือ้ หา
- เปน็ ปัญหาท่ีมีความยากงา่ ยเหมาะสมกบั พื้นฐานของผู้เรยี น
- เปน็ ปญั หาท่ีไมส่ ามารถหาคาตอบของปญั หาได้ทนั ที ตอ้ งมกี ารสารวจ คน้ ควา้ และรวบรวมข้อมูล หรือ
ทดลองดูก่อน จึงจะได้คาตอบ ไม่สามารถคาดเดา หรือทานายได้งา่ ยๆ ว่าต้องใช้ความรู้อะไร ยุทธวิธีในการสืบ
เสาะหาความรเู้ ป็นอยา่ งไร หรอื คาตอบ หรอื ผลของความรูเ้ ป็นอยา่ งไร
- เปน็ ปญั หาทีส่ ง่ เสริมความรดู้ ้านเนอื้ หา ทกั ษะ สอดคลอ้ งกบั หลกั สตู รการศึกษา
ขัน้ ตอนการเรยี นรแู้ บบใชป้ ญั หาเป็นฐาน
๑) ทดสอบความรู้เก่ยี วกบั เน้อื หาท่จี ะสอนก่อนเรียน เพ่ือจะได้ทราบความรู้พื้นฐานของนักเรียนเป็น
รายบคุ คลในเร่ืองดังกลา่ ว และเปน็ แนวทางในการออกแบบหรอื ปรบั กระบวนการจัดการเรยี นรูข้ องครใู ห้เหมาะสม
และสอดคลอ้ งกับความต้องการของนกั เรียนด้วย
๒) ให้ความร้เู บอื้ งตน้ กอ่ นเร่มิ กิจกรรมการเรยี นรู้ ความรูพ้ ้ืนฐานจะนาไปสู่การเรียนรู้ของเด็กในกิจกรรมท่ี
ต้องลงมือปฏบิ ัติ ดงั นั้น ครูจงึ ต้องอธบิ ายเน้ือหาครา่ วๆ เพ่ือให้เดก็ เกดิ ความเข้าใจในเบอ้ื งต้น
๓) เปิดโอกาสให้เด็กเสนอส่งิ ทอี่ ยากเรยี นรู้ โดยให้เด็กเขียนถึงสิ่งท่ีตนเองอยากเรียนรู้ และส่ิงที่ตนเอง
เรียนรมู้ าแลว้ สงิ่ ท่ีเดก็ อยากเรียนรูอ้ าจเปน็ ปญั หาในชีวติ ประจาวัน หรือปัญหาของชุมชน หรือแนวทางในการ
แก้ปัญหาท่ีถกู กาหนดขึ้นในชนั้ เรยี นที่เดก็ ชว่ ยกันคิดและอยากลงมือปฏิบัติ
๔) แบ่งกลมุ่ เดก็ ในการทากิจกรรม เพ่อื ให้เดก็ รู้จกั วางแผนคอื ใหเ้ ด็กรูจ้ กั กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ตนเอง โดยการทาปฏทิ ินการเรียนรู้ตามความต้องการในการเรยี นของตน วิธีการดังกล่าวเพ่ือให้เด็กรู้หน้าท่ีของ
ตนเองและในขณะเดยี วกันสามารถแบง่ หนา้ ท่คี วามรับผดิ ชอบใหแ้ ก่ตนเองและเพอื่ นในกล่มุ ได้
~ ๒๖ ~
๕) สร้างกตกิ าในการร่วมกิจกรรมในช้ันเรยี น เพอื่ ใหเ้ ด็กร้จู ักเคารพในเงือ่ นไขและกติกาที่กาหนดขึ้น โดย
ทุกคนในช้ันเรยี นจะตอ้ งยอมรับและปฏิบตั ิตาม
๖) ให้เดก็ ลงมือปฏบิ ตั ิกจิ กรรมดว้ ยตนเอง ครูเปิดโอกาสให้เดก็ ได้เรยี นรแู้ ละลงมือปฏิบัติได้กิจกรรมต่างๆ
ด้วยตนเอง โดยครูจะคอยเป็นผูแ้ นะนา ตอบคาถามและสังเกตเด็กขณะทากจิ กรรม
๗) ครใู หเ้ ดก็ สรุปสงิ่ ทีเ่ รยี นรู้จากการทากิจกรรมและให้เด็กได้นาเสนอผลงานของตน โดยครูเป็นผู้คอย
สนบั สนุนใหเ้ กดิ การนาเสนอท่ีหลากหลายรูปแบบและเป็นไปอย่างสรา้ งสรรค์ ไม่จากดั แนวคิดในการนาเสนอ
๘) ประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรตู้ ามสภาพจริง ประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้ของเด็ก จากผลงานและ
พฤตกิ รรมที่เด็กแสดงออกขณะร่วมกิจกรรม โดยกาหนดเกณฑ์การประเมนิ ผลการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับเนื้อหาที่
จะสอนเป็นหลกั
แหล่งการเรยี นรู้
https://candmbsri.wordpress.com/2015/04/07/การจัดการเรยี นร้แู บบใช
การสอนแบบอ่นื ๆ
การสอนแบบ SCAFFOLDING
https://candmbsri.wordpress.com/2015/05/04/การสอนแบบ-scaffolding-ตอนท่ี-๑
https://candmbsri.wordpress.com/2015/05/04/การสอนแบบ-scaffolding-ตอนท่ี-๒
https://candmbsri.files.wordpress.com/2015/05/ex_scaffolding.pdf
การจัดการเรยี นร้แู บบการแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ CREATIVE PROBLEM SOLVING (CPS)
https://candmbsri.wordpress.com/2015/04/23/การจดั การเรยี นรู้แบบกา
https://candmbsri.wordpress.com/2015/04/24/การจัดการเรียนรูแ้ บบกา-2
https://candmbsri.wordpress.com/2015/04/29/การจัดการเรียนรู้แบบกา-3
https://candmbsri.files.wordpress.com/2015/05/crative-problem-solving.pdf
เอกสารอ้างองิ
เกรกิ ทว่ มกลาง และจินตนา ท่วมกลาง. การพัฒนาสื่อนวตั กรรมทางการศึกษาเพื่อเล่ือนวิทยฐานะ. กรุงเทพฯ:
สถาพรบคุ๊ , ๒๕๕๕.
มนสชิ สิทธสิ มบรู ณ์. การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา. [เอกสารออนไลน]์ สบื ค้นจาก
http://office.nu.ac.th/edu_teach/ASS/Download/vchk-การพัฒนานวัตกรรม-มนสชิ .pdf
[พฤศจกิ ายน, ๒๕๕๘]
สุคนธ์ สนิ ธพานนท์. นวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคณุ ภาพของเยาวชน. พมิ พค์ รง้ั ที่ ๔ .กรงุ เทพฯ :
๙๑๑๙ เทคนิคพรน้ิ ตง้ิ , ๒๕๕๓.
~ ๒๗ ~
ขอ้ คิดทไี่ ด้รบั
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............
ความรู้เสริม ส่ิงท่คี าดว่าจะทาตอ่ ไป
..............................................................
.............................................................. ......................................................
......................................................
.............................................................. ......................................................
.............................................................. ......................................................
.............................................................. ......................................................
.............................................................. ......................................................
.............................................................. ......................................................
..............................................................
.................................... ......................................................
..............