หนังสือ เรื่อง รำ วง มาตรฐาน จัดทำ โดย ด.ช.ศักดิ์ว ดิ์ รินทร์ นาคประสิทธิ์ เลขที่18 ม.2/5
ประวัติความเป็นมา ของรำ วงมาตรฐาน รำ วงมาตรฐาน เป็นการแสดงที่มีวิวัฒนาการมา จาก รำ โทน เป็นการรำ และร้องของชาวบ้าน ซึ่งจะ มีผู้รำ ทั้ง ทั้ ชายและหญิง รำ กันเป็นคู่ ๆ รอบ ครกตำ ข้าวที่วางคว่ำ ไว้ หรือไม่ก็รำ กันเป็นวงกลม โดยมี โทนเป็น เครื่องดนตรี ประกอบจังหวะ ลักษณะการ รำ และร้องเป็นไปตามความถนัด ไม่มีแบบแผน กำ หนดไว้ คงเป็นการรำ และร้องง่าย ๆ มุ่งเน้นที่ ความสนุกสนานรื่นเริงเป็นสำ คัญ เช่น เพลงช่อมาลี เพลงยวนยาเหล เพลงหล่อจริงนะดารา เพลงตาม องตา เพลงใกล้เข้าไปอีกนิด ฯลฯ ด้วยเหตุที่การรำ ชนิดนี้มี นี้ มีโทนเป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ จึง เรียกการแสดงชุดนี้ว่ นี้ ว่ า รำ โทน ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๗ ในสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็น นายกรัฐมนตรี รัฐบาลตระหนักถึงความสำ คัญของ การละเล่น รื่นเริงประจำ ชาติ และเห็นว่าคนไทย นิยมเล่นรำ โทนกันอย่างแพร่หลาย ถ้าปรับปรุงการ เล่นรำ โทนให้เป็นระเบียบทั้ง ทั้ เพลงร้องลีลาท่ารำ และการแต่งกาย จะทำ ให้การเล่นรำ โทนเป็นที่น่า นิยมมากยิ่งขึ้น ขึ้ จึงได้มอบหมายให้ กรมศิลปากร ปรับปรุงรำ โทนเสียใหม่ให้เป็นมาตรฐาน มีการแต่ง เนื้อร้อง ทำ นองเพลงและนำ ท่ารำ จากแม่บทมา กำ หนดเป็นท่ารำ เฉพาะแต่ละเพลงอย่างเป็น แบบแผน
เครื่อ รื่ งแต่งกายของรำ วงมาตรฐาน แบบที่ ๑ แบบชาวบ้าน แบบที่ ๒ แบบไทยพระราชนิยม แบบที่ ๓ แบบสากลนิยม แบบที่ ๔ แบบราตรีสโมสร เครื่องแต่งกายของรำ วงมาตรฐาน ประกอบด้วย ๔ แบบดังนี้ ชาย นุ่งผ้าโจงกระเบน สวมเสื้อ สื้ คอพวงมาลัย เอวคาดผ้า ห้อยชายด้านหน้า หญิง นุ่งโจงกระเบน ห่มผ้าสไบอัดจีบ ปล่อยผม ประดับ ดอกไม้ที่ผมด้านซ้าย คาดเข็มขัด ใส่เครื่องประดับ ชาย นุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อ สื้ ราชปะแตน ใส่ถุงเท้า รองเท้า หญิง นุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อ สื้ ลูกไม้ สไบพาดบ่าผูกเป็นโบทิ้ง ทิ้ ชายไว้ข้างลำ ตัวด้านซ้าย ใส่เครื่องประดับมุก ชาย นุ่งกางเกง สวมสูท ผูกเน็กไท หญิง นุ่งกระโปรงป้ายข้าง ยาวกรอมเท้า ใส่เสื้อ สื้ คอกลม แขนกระบอก ชาย นุ่งกางเกง สวมเสื้อ สื้ พระราชทาน ผ้าคาดเอวห้อยชายด้านหน้า หญิง นุ่งกระโปรงยาวจีบหน้านาง ใส่เสื้อ สื้ จับเดรป ชายผ้า ห้อยจากบ่าลงไปทางด้านหลัง เปิดไหล่ขวา ศีรษะทำ ผม เกล้า
รำ วงมาตรฐาน ประกอบด้วยเพลงทั้ง ทั้ หมด ๑๐ เพลง กรมศิลปากรแต่งเนื้อร้องจำ นวน ๔ เพลง คือ เพลงงามแสง เดือน เพลงชาวไทย เพลงรำ ซิมารำ เพลงคืนเดือนหงาย ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม แต่งเนื้อร้องเพิ่มอีก ๖ เพลง คือ เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ เพลงดอกไม้ของชาติ เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า เพลงหญิงไทยใจงาม เพลงบูชา นักรบ เพลงยอดชายใจหาญ ส่วนทำ นองเพลงทั้ง ทั้ ๑๐ เพลง กรมศิลปากร และกรมประชาสัมพันธ์เป็นผู้แต่ง จากการสัมภาษณ์นางสุวรรณี ชลานุเคราะห์ ศิลปินแห่งชาติ สาชาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์ไทย) ปีพุทธศักราช ๒๕๓๓อธิบายว่า ท่ารำ เพลงรำ วงมาตรฐานประดิษฐ์ท่ารำ โดย นางลมุล ยมะคุปต์ นางมัลลี คงประภัศร์ และนางศุภ ลักษณ์ ภัทรนาวิก ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป์ ส่วนผู้คิดประดิษฐ์จังหวะเท้าของ เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ คือนางจิตรา ทองแถม ณ อยุธยา อาจารย์ใหญ่โรงเรียนสังคีตศิลป ปัจจุบันคือ วิทยาลัยนาฏ ศิลป ปีพ.ศ. ๒๔๘๕ – ๒๔๘๖ เมื่อปรับปรุงแบบแผนการ เล่นรำ โทนให้มีมาตรฐาน และมีความเหมาะสม จึงมีการ เปลี่ยนแปลงชื่อจากรำ โทนเป็น “รำ วงมาตรฐาน” อันมี ลักษณะการแสดงที่เป็นการรำ ร่วมกันระหว่างหญิง-ชาย เป็นคู่ ๆ เคลื่อนย้ายเวียนไปเป็นวงกลม มีเพลงร้องที่แต่ง ทำ นองขึ้น ขึ้ ใหม่ มีการใช้ทั้ง ทั้ วงปี่พาทย์บรรเลงเพลงประกอบและบางเพลงก็ใช้วงดนตรีสากลบรรเลงเพลงประกอบ ซึ่ง เพลงร้องที่แต่งขึ้น ขึ้ ใหม่ทั้ง ทั้ ๑๐ เพลง เพลงที่ใช้ในการรำ
เพลงงามแสงเดือน ท่ารำ สอดสร้อยมาลา เนื้อเพลง งามแสงเดือนมาเยือนส่องหล้า งามใบหน้าเมื่ออยู่วงรำ (ซ้ำ ) เราเล่นกันเพื่อสนุก เปลื้อ ลื้ งทุกข์วายระกำ ขอให้เล่นฟ้อนรำ เพื่อสามัคคีเอย
เพลงชาวไทย ท่ารำ ชักแป้งผัดหน้า เนื้อเพลง ชาวไทยเจ้าเอ๋ย ขออย่าละเลยในการทำ หน้าที่ การที่เราได้เล่นสนุก เปลื้อ ลื้ งทุกข์สบายอย่างนี้เพราะชาติเราได้เสรี มีเอกราชสมบูรณ์ เราจึงควรช่วยชูชาติ ให้เก่งกาจเจิดจำ รูญเพื่อความสุขเพิ่มพูน ของชาวไทยเราเอย
เพลงรำ มาซิมารำ ท่ารำ รำ ส่าย เนื้อเพลง รำ มาซิมารำ เริงระบำ กันให้สนุก ยามงานเราทำ งานจริงจริง ไม่ละไม่ทิ้งทิ้จะเกิดเข็ญขุก ถึงยามว่างเราจึงรำ เล่น ตามเชิงเช่นเพื่อให้สร่างทุกข์ ตามเยี่ยงอย่างตามยุค เล่นสนุกอย่างวัฒนธรรม เล่นอะไรให้มีระเบียบ ให้งามให้เรียบจึงจะคมขำ มาซิมาเจ้าเอ๋ยมาฟ้อนรำ มาเล่นระบำ ของไทยเราเอย
เพลงคืนเดือนหงาย ท่ารำ สอดสร้อย มาลาแปลง เนื้อเพลง ยามกลางคืนเดือนหงาย เย็นพระพายโบกพลิ้ว ลิ้ ปลิวมาเย็นอะไรก็ไม่เย็นจิต เท่าเย็นผูกมิตรไม่เบื่อระอา เย็นร่มธงไทยปกไทยทั่วหล้า เย็นยิ่งน้ำ ฟ้ามาประพรมเอย
เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ ท่ารำ แขกเต้าเข้ารัง ดวงจันทร์วันเพ็ญ ลอยเด่นอยู่ในนภา ทรงกลดสดสี รัศมีทอแสงงามตา แสงจันทร์อร่าม ฉายงามส่องฟ้า ไม่งามเท่าหน้า นวลน้องยองใย งามเอยแสนงาม งามจริงยอดหญิงชาติไทย งามวงพักตร์ยิ่งดวงจันทรา จริตกิริยานิ่มนวลละไม วาจากังวาน อ่อนหวานจับใจ รูปทรงสมส่วน ยั่วยวนหทัย สมเป็นดอกไม้ ขวัญใจชาติเอย เนื้อเพลง
เพลงดอกไม้ของชาติ ท่ารำ รำ ยั่ว เนื้อเพลง (สร้อย) ขวัญใจดอกไม้ของชาติ งามวิลาศนวยนาดร่ายรำ (ซ้ำ)เอวองค์อ่อนงาม ตามแบบนาฏศิลป์ ชี้ช ชี้ าติไทยเนาว์ถิ่น เจริญวัฒนธรรม (สร้อย) งามทุกสิ่งสามารถ สร้างชาติช่วยชาย ดำ เนินตามนโยบาย สู้ทนเหนื่อยยากตรากต
เพลงหญิงไทยใจงาม ท่ารำ พรหมสี่หน้า เนื้อเพลง เดือนพราวดาวแวววาวระยับ แสงดาวประดับส่องให้เดือนงามเด่น ดวงหน้าโสภาเพียงเดือนเพ็ญ คุณความดีที่เห็นเสริมให้เด่นเลิศงามขวัญใจหญิงไทยส่งศรีชาติ รูปงามวิลาสใจกล้ากาจเรืองนามเกียรติยศก้องปรากฏทั่วคาม หญิงไทยใจงามยิ่งเดือนดาวพราวแพรว
เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า ท่ารำ ช้างประสานงา และจันทร์ทรงกลด เนื้อเพลง ดวงจันทร์ขวัญฟ้า ชื่นชีวาขวัญพี่ จันทร์ประจำ ราตรี แต่ขวัญพี่ประจำ ใจ ที่เทิดทูนคือชาติ เอกราชอธิปไตย ถนอมแนบสนิทใน คือขวัญใจพี่เอย
เพลงยอดชายใจหาญ ท่ารำ ผู้หญิงชะนีร่ายไม้ผู้ชายจ่อ เพลิงกาฬ เนื้อเพลง โอ้ยอดชายใจหาญ ขอสมานไมตรี น้องขอร่วมชีวี กอบกรณีย์กิจชาติ แม้สุดยากลำ เค็ญ ไม่ขอเว้นเดินตาม น้องจักสู้พยายาม ทำ เต็มความสามารถ
เพลงบูชานักรบ ท่ารำ ผู้หญิงขัดจางนางผู้ชายจันทร์ ทรงกลด เนื้อเพลง น้องรักรักบูชาพี่ ที่มั่นคงที่มั่นคงกล้าหาญ เป็นนักสู้เชี่ยวชาญ สมศักดิ์ชาตินักรบ น้องรักรักบูชาพี่ ที่มานะที่มานะอดทน หนักแสนหนักพี่ผจญ เกียรติพี่ขจรจบ น้องรักรักบูชาพี่ ที่ขยันที่ขยันกิจการ บากบั่นสร้างหลักฐาน ทำ ทุกด้านทำ ทุกด้านครันครบ น้องรักรักบูชาพี่ ที่รักชาติที่รักชาติยิ่งชีวิต เลือดเนื้อพี่พลีอุทิศ ชาติยงอยู่ยงอยู่คู่พิภพ