The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือสนุกคิดวิทย์สร้างสรรค์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pimkeylovecover, 2021-04-09 03:12:46

สนุกคิด วิทย์สร้างสรรค์

หนังสือสนุกคิดวิทย์สร้างสรรค์

คำนำ

นักกำรศึกษำได้อธิบำยเกี่ยวกับทักษะพื้นฐำนทำงวิทยำศำสตร์สำหรับ
เด็กปฐมวัย คือ กระบวนกำรค้นคว้ำ ทดลองเพื่อหำข้อเท็จจริง ในขณะที่ทำ
กำรทดลองจะมีโอกำสฝึกฝนท้ังในด้ำนปฏิบัติและคิดวิเครำะห์ รู้จักค้นคว้ำ
และทำควำมเข้ำใจสิ่งต่ำงๆ

ขณะที่เด็กค้นคว้ำ ทดลอง ลงมือปฏิบัติกิจกรรมทำงวิทยำศำสตร์เพื่อ
หำข้อเทจ็ จรงิ เด็กจะคิดวเิ ครำะห์และแก้ปัญหำ เกิดกระบวนกำรเรียนรู้โดยใช้
ทักษะพื้นฐำนทำงวิทยำศำสตร์ ได้แก่ ทักษะกำรสังเกต ทักษะกำรวัด ทักษะ
กำรใช้ตัวเลข ทักษะกำรหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำง สเปสกับสเปสและ
ส เ ป ส กั บ เ ว ล ำ ทั ก ษ ะ ก ำ ร จั ด ก ร ะ ท ำ แ ล ะ สื่ อ ค ว ำ ม ห ม ำ ย ข้ อ มู ล
ทักษะลงควำมเห็นจำกข้อมูล และทักษะพยำกรณ์ในขณะค้นคว้ำ สืบเสำะหำ
ควำมรู้ และได้เรียนรู้กำรสร้ำงสรรค์สิ่งใหม่ๆ จำกกำรทำผลงำนที่ใช้ในกำร
ทดลองวิทยำศำสตร์ทีน่ ำ่ สนใจ กิจกรรมทดลองสรำ้ งสรรคจ์ งึ เปน็ กิจกรรมที่ให้
เด็กได้ใช้จินตนำกำร สร้ำงสรรค์ผลงำนในกำรทดลองวิทยำศำสตร์ เพื่อเกิด
ทักษะพื้นฐำนทำงวิทยำศำสตร์อีกทั้งยังเกิดควำมสร้ำงสรรค์ในกำรทดลอง
หนังสือเล่มนี้ผู้อ่ำนจะได้เรียนรู้ถึงทักษะพื้นฐำนทำงวิทยำศำสตร์สำหรับเด็ก
ปฐมวัย แนวทำงกำรจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนกำรทำง
วิทยำศำสตร์ขนั้ พืน้ ฐำนสำหรับเด็กปฐมวยั

คณะผู้จัดทำ ขอขอบพระคุณอำจำรย์สุชำดำ หวังสิทธิเดช ที่ได้ให้
คำแนะนำในกำรทำหนังสือเล่มนี้ สุดท้ำยนี้ผู้จัดทำหวังว่ำผู้อ่ำนจะสำมำรถ
นำควำมรู้จำกกำรอ่ำนหนังสือไปใช้ประโยชน์ สำมำรถนำไปสอนนักเรียนหรือ
ประยกุ ต์ใชก้ บั กำรสอนนกั เรียนได้

คณะผู้จดั ทำ

สำรบัญ

คำนำ หน้ำ

สำรบญั ก

บทที่ 1 ควำมรพู้ ืน้ ฐำนทำงวทิ ยำศำสตรส์ ำหรบั เด็กปฐมวยั
• ควำมรพู้ ืน้ ฐำนทำงวิทยำศำสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 1
• ควำมหมำยวิทยำศำสตร์ 2
• ควำมหมำยวิทยำศำสตร์สำหรับเด็กปฐมวยั 3
• ควำมสำคญั ของวิทยำศำสตร์สำหรบั เด็กปฐมวัย 5
• ประโยชน์วทิ ยำศำสตร์สำหรบั เด็กปฐมวัย 6
• สรุปท้ำยบท 9
11
บทที่ 2 ทักษะกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตรข์ นั้ พืน้ ฐำน
สำหรบั เดก็ ปฐมวยั 12

• ทักษะกำรสังเกต 14
• ทักษะกำรวัด 15
• ทกั ษะกำรใชต้ ัวเลข 16
• ทกั ษะกำรจำแนก 17

• ทกั ษะกำรหำควำมสมั พันธ์ระหว่ำงสเปสกบั สเปส หน้ำ
และสเปสกับเวลำ
• ทกั ษะกำรจดั กระทำและสือ่ ควำมหมำยข้อมูล 18
• ทกั ษะกำรลงควำมเหน็ จำกข้อมูล 19
• ทักษะกำรพยำกรณ์ 20
• สรปุ ท้ำยบท 21
22
บทที่ 3 เทคนิคกำรสอนวทิ ยำศำสตร์
สำหรับกำรสอนเดก็ ปฐมวยั 23

• กำรเรียนรแู้ บบร่วมมือ 24
• กำรเรียนรโู้ ดยใช้โครงกำร 25
• กำรเรียนรนู้ อกห้องเรยี น 26
• กำรจดั กำรเรียนรู้แบบค้นพบ 27
• กำรสอนแบบสำธิต 28
• สรุปท้ำยบท 29

หน้ำ

บทที่ 4 กำรจดั สภำพแวดลอ้ มและบทบำทของพอ่ แม่ ครู 31
ต่อกำรสง่ เสรมิ ทกั ษะกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตรข์ น้ั 33
พนื้ ฐำนสำหรบั เดก็ ปฐมวยั
37
• กำรจดั สภำพแวดลอ้ มกำรเรยี นรู้ทำงวทิ ยำศำสตร์
• บทบำทของพ่อแม่ต่อกำรส่งเสริมทกั ษะกระบวนกำรทำง 43
44
วิทยำศำสตร์ขน้ั พืน้ ฐำนสำหรบั เด็กปฐมวยั
• บทบำทของครตู อ่ กำรส่งเสริมทักษะกระบวนกำร

ทำงวิทยำศำสตร์ขนั้ พืน้ ฐำนสำหรบั เดก็ ปฐมวยั
• สรุปท้ำยบท

บทที่ 5 กำรจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ ทกั ษะกระบวนกำร 45
ทำงวทิ ยำศำสตรข์ น้ั พนื้ ฐำนสำหรบั เด็กปฐมวยั

ตัวอย่ำงกิจกรรมที่ 1 • ของเล่นสมดลุ 46
ตัวอย่ำงกิจกรรมที่ 2 • แมเ่ หลก็ หรรษำ 53
ตัวอย่ำงกิจกรรมที่ 3 • ภำพสลบั ด้ำน 61

ตัวอย่ำงกิจกรรมที่ 4 • ไข่ล้มลกุ หน้ำ
ตัวอย่ำงกิจกรรมที่ 5 • สำรสีในใบไม้ 67
ตัวอย่ำงกิจกรรมที่ 6 • ดอกไม้บำน 72
ตวั อย่ำงกิจกรรมที่ 7 79
ตวั อย่ำงกิจกรรมที่ 8 • หลอดดำน้ำ 84
ตัวอย่ำงกิจกรรมที่ 9 • กำรด์ มำยำกล 89
บรรณำนกุ รม • ดอกไมเ้ ต้นระบำ 97
ประวตั ผิ ู้จดั ทำ
105
108

บทที่ 1
ควำมร้พู ้ืนฐำน
ทำงวิทยำศำสตร์
สำหรบั เดก็ ปฐมวยั

ควำมรพู้ นื้ ฐำนทำงวทิ ยำศำสตร์
สำหรบั เด็กปฐมวยั

ควำมรู้วิทยำศำสตร์เกิดจำกกำรที่มนุษย์ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งใน
ธรรมชำติควำมเฉลียวฉลำดมำกกว่ำสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ใช้วิธีสังเกตสรรพสิ่ง
ในธรรมชำติ ตลอดจนปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติ มนุษย์ยังไม่เข้ำใจยังไม่
ทรำบสำเหตุก็เข้ำใจว่ำสิ่งเหล่ำนี้เป็นอำนำจของภูตผีปีศำจเทพเจ้ำต่ำงๆ
ทำให้เกิดลัทธิบูชำเทพเจ้ำภูตผีปีศำจต่ำงๆ เม่ือนำนวันมำกขึ้นมนุษย์มีควำมรู้
มำกขึ้น สังเกตธรรมชำติรอบตัวมำกขึ้น เพื่อตอบข้อสงสัยของมนุษย์เองซึ่ง
มักมีคำถำมที่สำคัญคือ อะไร อย่ำงไร และทำไมกำรสังเกตเพื่อตอบคำถำม
ว่ำอะไรทำให้ได้ข้อมูลต่ำงๆเกี่ยวกับธรรมชำติ ควำมรู้ที่ได้นี้เม่ือมีมำกขึ้น
จึงมีกำรรวบรวมและจัดไว้เป็นระบบเพื่อควำมสะดวกและเหมำะสมต่อ
กำรศึกษำเป็นควำมรทู้ ีเ่ กิดจำกควำมจริงตำมธรรมชำติ

2

ควำมหมำยวทิ ยำศำสตร์

วิทยำศำสตร์เป็นวิชำที่มีกำรสืบค้น กำรสังเกต แสวงหำควำมจริงทุกสิ่งทุก
อย่ำงในโลก วิทยำศำสตร์สอนให้มนุษย์รู้ควำมจริงที่มีระบบและจัดไว้อย่ำงมี
ระเบียบแบบแผน สำมำรถยอมรับและพิสูจน์ได้ นักกำรศึกษำหลำยท่ำนให้
ควำมหมำยของวิทยำศำสตร์ไว้ดงั นี้

ภพ เลำหไพบูลย์ (2542 : 2) ได้กล่ำวถึง วิทยำศำสตร์เป็นวิชำที่สืบค้นหำ
ควำมจริงเกี่ยวกับธรรมชำติ โดยใช้กระบวนกำรแสวงหำควำมรู้ทำงวิทยำศำสตร์
วิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์ ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ และเจตคติทำง
วิทยำศำสตร์เพื่อใหไ้ ด้ควำมรทู้ ำงวิทยำศำสตรท์ ีเ่ ปน็ ทีย่ อมรบั กนั โดยทัว่ ไป

3

พจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. 2542 หมำยถึง “ ควำมรู้ที่ได้
โดยกำรสังเกตและค้นคว้ำจำกประสบกำรณ์ทำงธรรมชำติแล้วจัดเข้ำเป็น
ระเบียบวิชำที่ค้นคว้ำได้หลักฐำนและเหตุผลแล้วจัดเข้ำเป็นระเบียบ ”
(พจนำนกุ รม, 2546, หน้ำ 1075)

บัญญัติ ชำนำญกิจ (2542: 50) ได้กล่ำวถึง ทักษะพื้นฐำนทำง
วิทยำศำสตร์ว่ำเป็นกระบวนกำรทำงปัญญำที่ต้องอำศัยควำมคิดในระดับต่ำง ๆ
มำใช้ในกำรแก้ปัญหำสิ่งที่ยังไม่รู้ให้ได้มำซึ่งควำมจริงกฎหลักกำรก่อให้เกิด
ควำมรใู้ หม่

จำกควำมหมำยของวิทยำศำสตร์ สำมำรถสรุปได้ว่ำ วิทยำศำสตร์
เป็นกระบวนกำรในกำรแสวงหำควำมรู้เพื่อส่งเสริมให้เกิดกำรเรียนรู้และ
ใช้ทักษะ ใชเ้ หตุผล นำไปสู่กำรแก้ปัญหำเพ่ือหำข้อเท็จจริง

4

ควำมหมำยวทิ ยำศำสตร์สำหรบั เดก็ ปฐมวยั

บุญไทย แสนอุบล (2553 : 1) วิทยำศำสตร์สำหรับเด็กอำยุ 3–6 ขวบ มิได้
หมำยถึง สำระทำงชีววิทยำ เคมี กลศำสตร์ แต่เน้ือหำวิทยำศำสตร์สำหรับเด็ก
ปฐมวยั คอื สำระเกีย่ วกับธรรมชำติและส่งิ แวดล้อมรอบตัวเด็กที่เด็กควรรู้ กำรเรียน
กำรสอนมุ่งเพื่อให้เด็กเกิดควำมเข้ำใจมำกกว่ำที่จะจำเป็นองค์ควำมรู้ กำรเรียน
วิทยำศำสตร์ของเด็กปฐมวัยแตกต่ำงจำกเด็กวัยอื่นที่เด็กปฐมวัยมีกำรเจริญของ
สมองที่รวดเร็วและต้องกำรกำรกระตุ้นเพื่อกำรงอกงำมของใยสมองในช่วงปฐมวัย
แต่ขณะเดียวกันพัฒนำกำรทำงสติปัญญำของเด็กอำยุ 2–6 ขวบ ยังเป็นช่วงก่อน
ปฏิบัติกำร (pre – operative stage) เด็กเอำตนเองเป็นศูนย์กลำง (self - centered)
และมองสิ่งรอบตัวโดยเน้นที่ตัวของเด็กเอง เด็กจะรับรู้และคิดถ่ำยโยงเป็นทิศทำง
เดียวไม่ซับซ้อน เช่น รู้สี รู้รูปร่ำง โดยรู้ทีละอย่ำง จะเรียนรู้สองอย่ำงพร้อมกันไม่ได้
หรือเอำมำผนวกกันไม่ได้ ซึ่งกำรเรียนวิทยำศำสตร์เป็นกำรเรียนเพื่อฝึกเด็กให้
บูรณำกำรข้อควำมรู้ต่ำงๆ เข้ำด้วยกันโดยให้เด็กรู้จักสังเกต ค้นหำ ให้เหตุผล หรือ
ทดลองด้วยตนเอง ด้วยเหตุนี้กำรเรียนวิทยำศำสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยจึงต้องเริ่ม
จำกทักษะพื้นฐำนทำงวิทยำศำสตร์ ได้แก่ กำรสังเกต กำรค้นคว้ำหำคำตอบ กำรให้
เหตุผล ตำมด้วยกำรเรียนทักษะกระบวนกำรวิทยำศำสตร์ และควำมรู้ทำง
วิทยำศำสตร์สำหรบั เดก็ โดยใช้ประสบกำรณ์จริงและกำรทดลองปฏิบตั ิ

จำกควำมหมำยวิทยำศำสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย สำมำรถสรุปได้ว่ำ
ควำมหมำยวิทยำศำสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย คือ กำรเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชำติและ
สิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กที่เด็กควรรู้ กำรเรียนกำรสอนมุ่งเพื่อให้เด็กเกิดควำมเข้ำใจ
มำกกว่ำที่จะจำเป็นองค์ควำมรู้ เป็นกำรเรียนเพื่อฝึกเด็กให้บูรณำกำรควำมรู้ต่ำงๆ
เข้ำด้วยกนั โดยให้เด็กรู้จักสงั เกต ค้นหำ ให้เหตผุ ล หรอื ทดลองด้วยตนเอง

5

ควำมสำคัญของวทิ ยำศำสตร์สำหรบั เดก็ ปฐมวยั

ชุลีพร สงวนศรี (2550 : 6-9) ได้กล่ำวถึง วิทยำศำสตร์สำหรับเด็ก
ปฐมวัยเปน็ กำรเรียนรู้ควำมจริงจำกธรรมชำติและสภำพแวดล้อมรอบตัวเด็ก
โดยอำศัยทักษะหลำยๆ ด้ำน เช่น กำรสังเกต กำรค้นคว้ำและกำรทดลอง
หรือที่เรียกว่ำทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ทำให้เด็กเกิดเจตคติที่ดีซึ่ง
เป็นคุณลักษณะของบุคคลที่ทำให้สำมำรถค้นคว้ำหำควำมรู้ได้อย่ำงมีระบบ
และเป็นคุณลักษณะที่จำเป็นในกำรดำรงชีวิต วิทยำศำสตร์จึงมีควำมสำคัญ
ตอ่ เดก็ ปฐมวัยดังตอ่ ไปน้ี

1. ช่วยให้เด็กเป็นคนช่ำงสังเกตจำกประสบกำรณ์ที่เด็กได้ลงมือปฏิบัติ
ด้วยตนเองจำกกำรทำกิจกรรมต่ำงๆ อย่ำงเป็นข้ันตอน ซึ่งในกำรทำกิจกรรม
เด็กจะต้องใช้กำรคิดกำรค้นคว้ำอย่ำงเปน็ ระบบช่วยให้เด็กได้ใช้ควำมสำมำรถ
ในกำรคิดวิเครำะห์

2. ช่วยให้เด็กมีประสบกำรณ์ทำงวิทยำศำสตร์ เป็นผู้ที่รู้จักคิดรู้จัก
ค้นคว้ำและทำควำมเข้ำใจสิ่งต่ำงๆ เพื่อนำมำเป็นควำมรู้พื้นฐำน นำควำมรู้
น้ันไปใช้ให้เกิดประโยชน์เพือ่ กำรปรับตวั ใหเ้ ข้ำกบั สิง่ แวดล้อมทำงธรรมชำติซึ่ง
มีกำรเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลำอนั จะนำมำซึง่ ควำมสุขในกำรดำเนินชีวติ

6

3. ช่วยให้เด็กรู้จักประโยชน์และคุณค่ำของสิ่งแวดล้อมเข้ำใจถึง
ธรรมชำติของกำรอยู่ร่วมกัน กำรพึ่งพำอำศัยกัน กำรรักษำปกป้อง
ทรัพยำกรใหค้ งอยู่เพื่อกำรอยู่รอดของสิง่ มีชีวิตในโลกร่วมกัน

4. ช่วยให้เด็กใช้เวลำว่ำงอย่ำงมีคุณค่ำและมีประโยชน์โดยกำรเลือกทำ
กิจกรรมตำมควำมสนใจและควำมสำมำรถเพื่อค้นคว้ำทดลองประดิษฐ์ของ
เล่นและเครื่องใช้ตำ่ งๆ ขึน้ เอง

5. ช่วยให้เด็กมีอิสระในกำรคิดกำรเลือกทำกิจกรรมตำมควำมพอใจ
ฝึกให้เด็กได้ใช้ควำมพยำยำมและควำมสำมำรถอย่ำงเต็มที่ อันจะนำไปสู่
กำรทำงำนที่ประสบผลสำเร็จจะช่วยให้เด็กมีเจตคติที่ดีต่อตนเองและต่อ
กำรเรียน

6. ช่วยให้เด็กได้ใช้ส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำยทำงำนเพื่อประสำนสัมพันธ์
กันทำให้เกิดทักษะในกำรเคลื่อนไหว เช่น กำรทดลองกำรทำกิจกรรมต่ำงๆ
กำรเล่นทรำย เล่นน้ำ รดน้ำต้นไม้ พรวนดิน ขดุ ดนิ เป็นต้น

7. ช่วยให้เด็กเป็นคนกระตือรือร้น อยำกรู้อยำกเห็นใฝ่เรียนใฝ่รู้
ตอบสนองควำมต้องกำรตำมธรรมชำติตำมวัย กำรที่เด็กสนใจสิ่งแวดล้อม
รอบตัวและค้นคว้ำหำควำมรู้ที่แท้จริงจะช่วยพัฒนำให้เด็กฉลำดมีไหวพริบ
และมีเหตุผล

7

8. ช่วยพัฒนำควำมสำมำรถทำงด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์จิตใจ สังคมและ
สติปัญญำ วิทยำศำสตร์ช่วยให้พัฒนำกำรของเด็กเป็นไปตำมธรรมชำติอย่ำงมี
ระบบและต่อเนื่อง เด็กปฐมวัยมีกำรเรียนรู้อยู่ตลอดเวลำโดยผ่ำนกำรเล่นกำร
ค้นควำ้ กำรทดลอง

9. ช่วยตอบสนองธรรมชำติตำมวัยของเดก็ เน่ืองจำกเด็กปฐมวัยมีควำมเป็น
นักวิทยำศำสตร์อยู่ในตัวอยู่แล้ว เด็กจึงชอบทุกคนช่ำงพูดช่ำงถำมชอบค้นหำ
คำตอบจำกกำรค้นคว้ำทดลองด้วยกำรลองผิดลองถูกจึงควรเข้ำใจและ
สนบั สนนุ ควำมอยำกรู้อยำกเห็นนั้น

10. ช่วยให้เด็กเป็นนักคิดนักค้นคว้ำทดลองอยำกเรียนอยำกรู้ในทุกเร่ือง
ส่งเสริมให้เด็กสมั ผัสและปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง

จำกควำมสำคัญของวิทยำศำสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย สำมำรถสรุปได้ว่ำ
ควำมสำคัญของวิทยำศำสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยจะส่งเสริมทักษะกระบวนกำร
ทำงวิทยำศำสตร์ จะทำใหเ้ ดก็ มีคณุ ลกั ษณะของบุคคลทีท่ ำให้สำมำรถค้นคว้ำหำ
ควำมรไู้ ด้อย่ำงมรี ะบบและเป็นคุณลกั ษณะทีจ่ ำเปน็ ในกำรดำรงชีวิต

8

ประโยชน์วทิ ยำศำสตรส์ ำหรบั เดก็ ปฐมวยั

พรใจ สำรยศ และคณะ (2560 : 47-48) ได้กล่ำวถึง กำรเรียนรู้
วิทยำศำสตร์มีประโยชนก์ ับเด็กปฐมวัยในด้ำนต่ำงๆ ดงั น้ี

1. กำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์ระดบั ปฐมวัยช่วยให้เด็กได้พัฒนำควำมตระหนักรู้
เกี่ยวกับสิ่งต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นในโลกรอบตัว เด็กจะได้รับกำรส่งเสริมและ
ตอบสนองต่อคำถำมที่เกิดขึ้นระหว่ำงกำรสำรวจสิ่งต่ำงๆ รอบตัวของ
ตนเองอย่ำงเหมำะสม

2. กำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ระดับปฐมวัยช่วยให้เด็กได้พัฒนำคุณลักษณะ
ตำมวยั ทีส่ ำคัญ 4 ด้ำน ได้แก่

2.1 ด้ำนร่ำงกำย กำรจัดกิจกรรมให้เด็กได้สำรวจสิ่งต่ำงๆ รอบตัว
เด็กได้ใช้ประสำทสัมผัสท้ังห้ำและใช้อุปกรณ์สำรวจอย่ำงง่ำยซึ่งเป็นกำร
พฒั นำกล้ำมเน้ือใหญแ่ ละกล้ำมเนือ้ เล็ก

2.2 ด้ำนอำรมณ์และจิตใจ กำรจัดกิจกรรมสำรวจและทดลองเด็กได้
รู้จักบทบำทหน้ำที่ของตนเองรู้จักใช้เหตุผลกล้ำตัดสินใจได้แสดงผลงำน
และควำมสำมำรถจำกกำรสำรวจ

9

2.3 ด้ำนสังคม เด็กได้ฝึกกำรช่วยเหลือตนเองในกำรทำกิจกรรมรู้จัก
ทำงำนร่วมกับเพื่อนรู้จักกำรให้และกำรรับฝึกกำรปฏิบัติตำมกฎระเบียบ
หรือข้อตกลงร่วมกันและเห็นคุณค่ำของสิ่งแวดล้อมรอบตัวและช่วยกันดู
และรักษำ

2.4 ด้ำนสติปัญญำ เด็กได้พัฒนำควำมสำมำรถในกำรถำมคำถำม
เชิงวิทยำศำสตร์ กำรค้นหำคำตอบด้วยวิธีกำรต่ำงๆ ที่เหมำะสมกับวัยได้
บอกลกั ษณะของส่งิ ที่สำรวจพบด้วยคำพูด กำรวำดภำพ ได้เรียนรู้ใหม่และ
บอกวิธีกำรเรยี นรู้ของตนเอง

3. กำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ระดับปฐมวัยช่วยให้เด็กได้มีโอกำสใช้จิตนำกำร
และควำมคิดสร้ำงสรรค์ทำงวิทยำศำสตร์ในกำรออกแบบและสร้ำงสรรค์
สิ่งประดิษฐ์ ตลอดจนคิดวิธีกำรแก้ปัญหำต่ำงๆ ตำมวัยและศักยภำพผ่ำน
ทำงกำรเล่นทำงวิทยำศำสตร์

จำกประโยชน์ของวิทยำศำสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย สำมำรถสรุปได้ว่ำ
วิทยำศำสตร์สำหรบั เด็กปฐมวยั ช่วยใหเ้ ดก็ ได้พัฒนำคุณลักษณะตำมวัยที่สำคัญ
ได้แก่ ด้ำนรำ่ งกำย ดำ้ นอำรมณ์-จติ ใจ ด้ำนสังคม และด้ำนสติปัญญำ อีกท้ังยัง
ส่งเสริมให้เด็กสนใจสิ่งตำ่ งๆ รอบตัวมำกขึ้น ซึ่งนำมำสู่เจตคตทิ ี่ดใี นกำรเรียนรู้

10

สรุปท้ำยบท

ควำมรู้พื้นฐำนทำงวิทยำศำสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยธรรมชำติ คือ
ควำมรทู้ ี่มำจำกกำรตั้งคำถำมที่สำคัญคือ อะไร อย่ำงไร และทำไม เม่ือหำ
คำตอบ จึงมีกำรรวบรวมและจัดไว้เป็นระบบเพื่อควำมสะดวกและ
เหมำะสมต่อกำรศึกษำเป็นควำมรู้ที่เกิดจำกควำมจริงตำมธรรมชำติ
ซึ่งวิทยำศำสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย หมำยถึง กำรเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชำติ
และสิ่งแวดลอ้ มรอบตัวเดก็ ที่เด็กควรรู้ กำรเรียนกำรสอนมุ่งเพื่อให้เด็กเกิด
ควำมเข้ำใจมำกกว่ำที่จะจำเป็นองค์ควำมรู้ วิทยำศำสตร์สำหรับเด็ก
ปฐมวัย จะส่งเสริมทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ จะทำให้เด็กมี
คุณลักษณะของบุคคลที่ทำให้สำมำรถค้นคว้ำหำควำมรู้ได้อย่ำงมีระบบ
และเป็นคุณลักษณะที่จำเป็นในกำรดำรงชีวิต ช่วยให้เด็กได้พัฒนำ
คุณลักษณะตำมวัยที่สำคัญ ได้แก่ ด้ำนร่ำงกำย ด้ำนอำรมณ์-จิตใจ
ด้ำนสังคม และด้ำนสติปัญญำ อีกทั้งยังส่งเสริมให้เด็กสนใจสิ่งต่ำงๆ
รอบตวั มำกขึ้น ซึง่ นำมำสู่เจตคตทิ ี่ดใี นกำรเรียนรู้

11



บทที่ 2

ทกั ษะกระบวนกำร
ทำงวิทยำศำสตร์ข้นั พ้ืนฐำน

สำหรบั เด็กปฐมวัย

ทกั ษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ขั้นพ้นื ฐำน
สำหรับเด็กปฐมวยั

ในปี พ.ศ.2514 สมำคมเพื่อกำรพฒั นำควำมก้ำวหน้ำทำงวิทยำศำสตร์
(The American association for the advancement of science - AAAS)
(กรมวิชำกำร. 2546 : หนำ้ 13) ได้พัฒนำโครงกำรกำรปรบั ปรงุ กำรสอน
วิทยำศำสตรใ์ นระดบั อนุบำล โดยเน้นกำรใชก้ ระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์
ได้กำหนดทักษะกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์ไว้ดังน้ี

ทกั ษะกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์ขน้ั พืน้ ฐำน (The basic process skills)
ประกอบด้วยทกั ษะต่ำงๆ จำนวน 8 ทกั ษะ ได้แก่

1. ทักษะกำรสังเกต
2. ทกั ษะกำรวดั
3. ทักษะกำรใชต้ วั เลข
4. ทักษะกำรจำแนก
5. ทกั ษะกำรหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสเปสกบั สเปส และสเปสกับเวลำ
6. ทกั ษะกำรจดั กระทำและสื่อควำมหมำยข้อมูล
7. ทักษะกำรลงควำมเหน็ จำกข้อมูล
8. ทักษะกำรพยำกรณ์

13

1 ทักษะกำรสังเกต (Observing)

ควำมหมำยของทกั ษะกำรสงั เกต
ได้มนี กั วิชำกำรได้ให้ควำมหมำยของทกั ษะกำรสังเกตไว้ ดังน้ี

ศรีนวล ศรีอำ (2556: 34) ได้กล่ำวถึง ทักษะกำรสังเกต หมำยถึง
กำรใช้ประสำทสัมผัสอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งหรือหลำยอย่ำงรวมกัน ได้แก่ ตำ หู
จมูก ล้ินและผิวกำย ไปสัมผสั โดยตรงกับวตั ถหุ รอื เหตุกำรณ์โดยมีจุดประสงค์
ที่จะรวบรวมข้อมูลซึ่งเปน็ รำยละเอียดของสิง่ น้ันๆ

นันธิชำ ทำภักดี (2558 : 30) ได้กล่ำวถึง กำรสังเกต หมำยถึง
ควำมสำมำรถในกำรใช้ประสำทสัมผัสอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งหรือหลำยอย่ำง
รวมกันซึ่ง ได้แก่ ตำ หู จมูก ลิ้น และผิวกำย เข้ำไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุ
หรือเหตุกำรณ์โดยมีจุดประสงค์ที่จะหำข้อมูลซึ่งเป็นรำยละเอียดของสิ่งนั้น
โดยไม่ใส่ควำมคดิ เห็นลงไป

จำกที่กล่ำวมำข้ำงตน้ สรุปได้วำ่ ทักษะกำรสังเกต หมำยถึง ควำมสำมำรถใน
กำรใชป้ ระสำทสมั ผสั ทั้งหำ้ ได้แก่ ตำ หู จมกู ลิ้น และผวิ กำยอย่ำงใดอย่ำงหนึง่ หรือ
หลำยอย่ำงรวมกนั เข้ำสัมผัสโดยตรงกบั วัตถุหรือเหตุกำรณ์เพือ่ ค้นหำข้อมลู หรือ
รำยละเอียดของสิ่งนั้น โดยไม่ใส่ควำมเห็นของตนลงไป

14

2 ทกั ษะกำรวดั (Measuring)

ควำมหมำยของทกั ษะกำรวดั
ได้มนี กั วิชำกำรได้ให้ควำมหมำยของทกั ษะกำรวดั ไว้ ดงั น้ี

ศรีนวล ศรีอำ (2556 : 35) ได้กล่ำวถึง ทักษะกำรวัด หมำยถึง
ควำมสำมำรถในกำรเลือกใช้เคร่ืองมือให้เหมำะสมกับสิ่งที่จะวัดเพื่อบอก
ปริมำณหรอื รวบรวมข้อมูล เพื่อตัดสินในกำรบอกค่ำเชิงปริมำณของสิ่งต่ำงๆ
สำหรับทักษะกำรวัดของเด็กปฐมวัยเป็นเพียงกำรเปรียบเทียบทำงด้ำน
ลักษณะ เช่น มำก-น้อย สูง-เตี้ย สั้น-ยำว หรือควำมสำมำรถในกำรใช้
เครื่องมืองำ่ ยๆ ในกำรวัดสิ่งตำ่ งๆ

พรสวรรค์ จันทร (2560 : 60) ได้กล่ำวถึง ทักษะกำรวัด หมำยถึง
ควำมสำมำรถของบคุ คลในกำรใชเ้ ครือ่ งมือใดๆ เพื่อทำกำรวัดสิ่งของที่เรำ
ต้องกำรทรำบได้ถูกต้องหรือใกล้เคียงกับควำมเป็นจริงโดยมีหน่วยกำรวัด
กำกับอยู่เสมอ สำหรับเด็กปฐมวัยกำรวัดจะเป็นลักษณะที่เป็นกำร
คำดคะเนที่ใกล้เคียงควำมจริง โดยกำรใช้ทักษะอื่นร่วมด้วย เช่น
กำรสังเกตว่ำตนเองได้รับขนมปังมำกหรอื น้อยกว่ำเพือ่ น

จำกที่กล่ำวมำข้ำงต้นสรุปได้ว่ำ ทักษะกำรวัด หมำยถึง ควำมสำมำรถในกำร
เลือกใช้เคร่ืองมือในกำรวัดได้อย่ำงถูกต้องและเหมำะสม ออกมำเป็นตัวเลขที่แน่นอน
ได้อย่ำงเหมำะสมและถูกต้องโดยมีหนว่ ยที่ใชว้ ดั กำกับตลอดจนสำมำรถอ่ำนค่ำที่วัดได้
ถูกต้องหรอื ใกล้เคียงกบั ควำมเป็นจริง

15

3 ทกั ษะกำรใชต้ วั เลข (Using Number)

ควำมหมำยของทกั ษะกำรใช้ตวั เลข
ได้มนี กั วิชำกำรได้ให้ควำมหมำยของทกั ษะกำรใชต้ ัวเลขไว้ ดงั น้ี

ชุลีพร สงวนศรี (2550 : 91) ได้กล่ำวถึง ทักษะกำรใช้ตัวเลข หมำยถึง
ควำมสำมำรถในกำรนำตวั เลขที่แสดงจำนวนที่นับได้ มำคิดคำนวณโดยกำร
บวก ลบ คูณ หำร โดยตัวเลขที่แสดงค่ำปริมำณของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งได้มำ
จำกกำรสังเกต กำรวัด กำรทดลอง ตัวเลขที่ได้จะต้องแสดงค่ำในหน่วย
เดียวกัน เพื่อให้สำมำรถสื่อสำรได้ตรงตำมต้องกำร สำมำรถนับจำนวนและ
ใช้ตัวเลขแสดงจำนวนที่นับได้ ตัดสินได้ว่ำจำนวนใดมีมำก มีน้อย จำนวนใด
เท่ำกนั หรอื แตกต่ำงกัน

ชัลวำลย์ ลิ้มรัชตะกุล (2561 : 65) ได้กล่ำวถึง ทักษะกำรใช้ตัวเลข
หมำยถึง กำรนำเอำจำนวนทีไ่ ด้จำกกำรวดั กำรสังเกต และกำรทดลองมำ
จัดกระทำให้เกิดค่ำใหม่ เช่น กำรบวก ลบ คูณ หำร กำรหำค่ำเฉลี่ย
กำรหำค่ำต่ำงๆ ทำงคณิตศำสตร์ เพื่อนำค่ำที่ได้จำกกำรคำนวณไปใช้
ประโยชน์ในกำรแปลควำมหมำย และกำรลงขอ้ สรุป

จำกที่กล่ำวมำข้ำงต้นสรุปได้ว่ำ ทักษะกำรใช้ตัวเลข หมำยถึง กำรนำเอำตัวเลข
ที่แสดงจำนวนที่นับได้ มำคำนวณโดยกำรบวก ลบ คูณ หำร เพื่อนำค่ำที่ได้จำกกำร
คำนวณไปใชป้ ระโยชน์ในกำรแปลควำมหมำยและกำรลงขอ้ สรุป

16

4 ทักษะกำรจำแนก (Classification)

ควำมหมำยของทกั ษะกำรจำแนก
ได้มนี กั วิชำกำรได้ให้ควำมหมำยของทักษะกำรจำแนกไว้ ดังน้ี

ศรีนวล ศรีอ่ำ (2556 : 36) ได้กล่ำวถึง ทักษะกำรจำแนก หมำยถึง
กำรใชป้ ระสำทสมั ผัสท้ังหำ้ ในกำรแบ่งแยกเรียงลำดับสิ่งต่ำงๆ โดยใช้เกณฑ์
ใ นก ำรแบ่ง เ ช่น คว ำมเ หมือน ควำมแตก ต่ำง ควำ มเ กี่ย วข้อ ง
หรือควำมสัมพนั ธ์ อำจใช้รปู ร่ำงลักษณะทำงรูปธรรมในกำรแบ่งหลักในกำร
จำแนก

พรสวรรค์ จันทร (2560 : 62) ได้กล่ำวถึง ทักษะกำรจำแนก หมำยถึง
ควำมสำมำรถของบุคคลในกำรจำแนกประเภทของสิ่งต่ำงๆ ตำมเกณฑ์
ที่บุคคลมีควำมสำมำรถในกำรจำแนกตำมควำมคิดและควำมเหมำะสม
ด้วยตนเอง โดยท่ัวไปแล้วสำมำรถใช้เกณฑ์ในกำรจำแนกประเภทของ
สิ่งของได้ 3 อย่ำง คือ ควำมเหมือน ควำมแตกต่ำง และควำมสัมพันธ์
รวมสิ่งของบำงชนิดสำมำรถใช้กำรจำแนกประเภทได้ว่ำกำรจำแนก
ประเภทตำมทีก่ ล่ำวมำน้ันสำมำรถทำได้จริง

จำกที่กล่ำวมำข้ำงต้นสรุปได้ว่ำ ทักษะกำรจำแนก หมำยถึง ควำมสำมำรถใน
กำรจัดแบ่งแยกออกเป็นกลุ่มเปน็ พวกหรือเป็นหมวดหมู่โดยพิจำรณำจำกเกณฑ์ควำม
เหมอื น ควำมแตกต่ำง และควำมสัมพนั ธ์อย่ำงใดอย่ำงหนึ่งเท่ำน้ัน

17

5 ทักษะกำรหำควำมสมั พนั ธร์ ะหวำ่ งสเปสกบั สเปส
และสเปสกบั เวลำ (Using Space / Relationship

ควำมหมำยของทกั ษะกำรหำควำมสมั พนั ธร์ ะหวำ่ งสเปสกบั สเปส
และสเปสกบั เวลำ

ได้มนี กั วิชำกำรได้ใหค้ วำมหมำยของทกั ษะกำรหำควำมสมั พันธ์
ระหว่ำงสเปสกบั สเปส และสเปสกบั เวลำไว้ ดังน้ี

ชัลวำลย์ ลิ้มรัชตะกุล (2561 : 68) ได้กล่ำวถึง ทักษะกำรหำ
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลำ หมำยถึง
กำรหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงมิติต่ำงๆ ที่เกี่ยวกับสถำนที่ รูปทรง ทิศทำง
ระยะทำง พืน้ ที่ เวลำ ฯลฯ

ควำมสำมำรถทแี่ สดงวำ่ เดก็ เกิดทกั ษะกำรหำควำมสมั พันธ์
ระหว่ำงสเปสและเวลำ

1. สำมำรถบอกได้ว่ำสิ่งใดคือ 2 มิติ และสิ่งใดคือ 3 มิติ เช่น กล่องขนมปัง
ไม้บลอ็ ค

2. สำมำรถบอกตำแหน่งหรือทิศทำงของวัตถุ เช่น เด็กสำมำรถบอกได้ว่ำเม่ือ
เด็กยืนอยู่ที่นี่ เมื่อต้องกำรจะเดินไปห้องครจู ะต้องเดินไปทำงใด

3. สำมำรถบอกตำแหน่งซ้ำยและขวำของภำพที่เกิดจำกกำรวำงวัตถุไว้หน้ำ
กระจกเงำ เช่น ถ้ำเด็กถือดอกไม้ที่มือขวำ แล้วไปยืนหน้ำกระจก เด็กสำมำรถบอก
ได้ว่ำตนเองถือดอกไม้ที่มอื ข้ำงใด

4. สำมำรถบอกตำแหนง่ ของวตั ถทุ ีเ่ หน็ ได้ว่ำอยู่ในตำแหน่งต่ำงๆ เชน่ บน ล่ำง
5. สำมำรถบอกรปู ทรงของวตั ถุหรอื บอกรูปทรงจำกเงำของวตั ถุได้ว่ำเป็น ได้แก่
เปน็ วัตถรุ ูปทรงกลม สำมเหลี่ยมและสีเ่ หลี่ยม เชน่ เด็กสำมำรถบอกได้ว่ำลูกบอลมี
ลักษณะเป็นทรงกลม เปน็ ต้น

18

6 ทกั ษะกำรจดั กระทำและสือ่ ควำมหมำยขอ้ มลู
(Communication)

ควำมหมำยของทกั ษะกำรจดั กระทำและสอื่ ควำมหมำยขอ้ มลู
ได้มนี กั วิชำกำรได้ใหค้ วำมหมำยของทักษะกำรจัดกระทำและ

สื่อควำมหมำยข้อมูลไว้ ดังน้ี

ชุลีพร สงวนศรี (2550 : 86) ได้กล่ำวถึง ทักษะกำรจัดกระทำและ
สื่อควำมหมำยข้อมูล หมำยถึง ควำมสำมำรถในกำรนำข้อมูลที่ได้จำกกำร
สังเกต กำรทดลอง หรือกำรวัด มำจัดให้สัมพันธ์กันมำกขึ้น แล้วเสนอให้
บคุ คลอืน่ เข้ำใจได้โดยเสนอในรูปของกรำฟ แผนภูมิ เขียนบรรยำย กำรพูด
กำรใชส้ ัญลกั ษณ์ รปู ภำพ และควำมรสู้ ึกต่ำงๆ

พรใจ สำรยศ และคณะ (2560 : 23) ได้กล่ำวถึง ทักษะกำรจัดกระทำ
และสื่อควำมหมำยข้อมูล หมำยถึงกำรนำข้อมูลที่ได้จำกกำรสังเกต และ
กำรวัด มำจัดกระทำให้มีควำมหมำย โดยกำรหำควำมถี่ กำรเรียงลำดับ
กำรจัดกลุ่ม กำรคำนวณค่ำ เพื่อให้ผู้อื่นเข้ำใจควำมหมำยได้ดีขึ้น ผ่ำนกำร
เสนอในรูปแบบของตำรำง แผนภมู ิ วงจร เขียนหรอื บรรยำย เปน็ ตน้

จำกที่กล่ำวมำข้ำงต้นสรุป ได้ว่ำ ทักษ ะกำรกำรจัดกระทำและ
ส่ือควำมหมำยข้อมูล หมำยถึง กำรนำข้อมูลที่ได้จำกกำรสังเกต กำรวัด
กำรทดลอง และจำกแหล่งอื่นๆ มำจัดกระทำใหม่ โดยให้อยู่ในรูปแบบที่มี
ควำมหมำยหรือมีควำมสัมพนั ธ์กันมำกขึ้น และงำ่ ยต่อกำรแปลควำมหมำย

19

7 ทักษะกำรลงควำมเหน็ จำกข้อมลู (Inferring)

ควำมหมำยของทกั ษะกำรลงควำมเหน็ จำกขอ้ มลู
ได้มีนักวิชำกำรได้ให้ควำมหมำยของทักษะกำรลงควำมเหน็ จำกข้อมูลไว้ ดังนี้

ชุลีพร สงวนศรี (2550 : 86) ได้กล่ำวถึง ทักษะกำรลงควำมเห็นจำก
ข้อมูล หมำยถึง กำรอธิบำยข้อมูลที่ได้จำกกำรสังเกตอย่ำงมีเหตุผล
โดยอำศัยควำมรู้หรือประสบกำรณ์เดิมมำช่วยอำจได้จำกกำรสังเกต กำรวัด
และกำรทดลอง

พรใจ สำรยศ และคณะ (2560 : 23) ได้กล่ำวถึง ทักษะกำรลง
ควำมเห็นจำกข้อมูล หมำยถึง กำรเพิ่มควำมคิดเห็นของตนต่อข้อมูลที่ได้
จำกกำรสังเกตอย่ำงมีเหตุผลจำกพื้นฐำนควำมรู้หรือประสบกำรณ์ที่มี
ควำมสำมำรถที่แสดงกำรเกิดทักษะ คือ สำมำรถอธิบำยหรือสรุปจำก
ประเดน็ ของกำรเพิม่ ควำมคิดเห็นของตนต่อขอ้ มูลที่ได้มำ

จำกที่กล่ำวมำข้ำงต้นสรุปได้ว่ำ ทักษะกำรลงควำมเห็นจำกข้อมูล หมำยถึง
กำรเพิ่มเติมควำมคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่ำงมีเหตุผล โดยอำศัยควำมรู้หรือ
ประสบกำรณเ์ ดิมมำช่วย ข้อมูลน้อี ำจได้จำกกำรสังเกต กำรวดั หรอื กำรทดลอง

20

8 ทกั ษะกำรพยำกรณ์ (Predicting)

ควำมหมำยของทกั ษะกำรพยำกรณ์
ได้มีนกั วิชำกำรไดใ้ ห้ควำมหมำยของทกั ษะกำรพยำกรณไ์ ว้ ดงั นี้

พรใจ สำรยศ (2559 : 23) ได้กล่ำวถึง ทักษะกำรพยำกรณ์ หมำยถึง
กำรทำนำยหรือกำรคำดคะเนคำตอบ โดยอำศัยข้อมูลที่ได้จำกกำรสังเกต
หรือกำรทำซ้ำผ่ำนกระบวนกำรแปรควำมหมำยของข้อมูลจำกควำมสัมพันธ์
ภำยใต้ควำมรู้ทำงวิทยำศำสตร์ ควำมสำมำรถที่แสดงกำรเกิดทักษะ คือ สำมำรถ
ทำนำยผลที่อำจจะเกิดขึ้นจำกข้อมูลบนพื้นฐำน หลักกำร กฎ หรือทฤษฎีที่มีอยู่
ท้ังภำยในและขอบเขตของข้อมูลและภำยนอกขอบเขตของขอ้ มูลในเชิงปริมำณได้

ชัลวำลย์ ลิ้มรัชตะกุล (2561 : 76) ได้กล่ำวถึง ทักษะกำรพยำกรณ์
หมำยถงึ กำรคำดคะเนหรือกำรทำนำยถึงปรำกฏกำรณ์ เหตุกำรณ์ หรือสิ่งท่ี
จะเกดิ ขึน้ ล่วงหน้ำ โดยอำศัยข้อมูลจำกกำรสังเกต กำรวดั และประสบกำรณ์
เดิมเก่ียวกับสิ่งท่ีเกิดขึ้นซ้ำๆ หรือนำควำมรู้เดิมท่ีมีอยู่แล้วมำช่วยในกำร
พิจำรณำอย่ำงสมเหตุสมผล

จำกท่กี ล่ำวมำข้ำงต้นสรปุ ได้ว่ำ ทักษะกำรพยำกรณ์ หมำยถงึ กำรทำนำยหรอื กำร
คำดคะเนหำคำตอบ โดยอำศยั ข้อมลู ท่ไี ด้ จำกกำรสงั เกต กำรวัด รวมไปถึงควำมสัมพันธ์
ระหว่ำงตัวแปรท่ีได้ศึกษำมำแล้ว หรือปรำกฏกำรณ์ท่ีเกิดขึ้นซ้ำๆ กัน ผลกำรทำนำยจะ
ถกู ต้องหรือแม่นยำ เป็นผลมำจำกกำรสังเกตอย่ำงรอบคอบ และกำรวัดทถ่ี ูกต้องด้วย

21

สรปุ ทำ้ ยบท

ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตรข์ ้ันพืน้ ฐำน (The basic process skills)
ประกอบด้วยทักษะต่ำงๆ จำนวน 8 ทกั ษะ ได้แก่

1. ทักษะกำรสังเกต
2. ทักษะกำรวัด
3. ทักษะกำรใชต้ วั เลข
4. ทกั ษะกำรจำแนก
5. ทักษะกำรหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลำ
6. ทักษะกำรจัดกระทำและสื่อควำมหมำยข้อมลู
7. ทักษะกำรลงควำมเหน็ จำกข้อมูล
8. ทักษะกำรพยำกรณ์
ทกั ษะกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์ เป็นทักษะที่ควรฝึกฝนให้เกิดขึ้นในตัว
เด็กตั้งแต่ระดับปฐมวัย เพื่อให้เกิดควำมคุ้นเคยและมีควำมเข้ำใจในกำรใช้
ทักษะต่ำงๆ ในกระบวนกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ จนสำมำรถพึ่งพำตนเองในกำร
สืบเสำะหำคำตอบ และช่วยให้เกิดควำมสนุกสนำนในกำรเรียนรู้ กำรที่จะ
เลือกใช้ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ขั้นพื้นฐำนหรือข้ันบูรณำกำรนั้น
อำจจะเป็นกำรผสมผสำนไปในครำวเดียวกัน อย่ำงไรก็ตำมทักษะกำรสังเกตก็
ถือเปน็ ทกั ษะเบอื้ งต้นที่ควรฝึกให้เดก็ มีทกั ษะนอี้ ย่ำงถกู ต้องเปน็ อันดับแรก ส่วน
ทักษะอื่นๆ สำมำรถฝึกฝนได้ตำมวัตถุประสงค์ ท้ังนี้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กควร
จัดกำรเรียนรู้ แบบบูรณำกำรให้เหมำะสมกับควำมต้องกำรหรือควำมสนใจ
ของเดก็ ให้เพียงพอ

22



บทที่ 3

เทคนิคกำรสอนวิทยำศำสตร์
สำหรบั กำรสอนเด็กปฐมวยั

กำรเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื
Cooperative Learning

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ (2552 : 182) ได้กล่ำวถึง กำรเรียนรู้แบบร่วมมือ
เป็นกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้ร่วมมือและช่วยเหลือกันใน
กำรเรียนรู้ โดยแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มเล็กๆ ประกอบด้วยสมำชิกที่มี
ควำมสำมำรถแตกต่ำงกัน ทำงำนร่วมกันเพื่อเป้ำหมำยกลุ่ม สมำชิกมี
ควำมรับผิดชอบร่วมกันท้ังในส่วนตนและส่วนรวม มีกำรฝึกและใช้ทักษะ
กำรทำงำนกลุ่มร่วมกัน ผลงำนของกลุ่มขึ้นอยู่กับผลงำนของสมำชิกแต่ละ
บุคคลในกลุ่ม สมำชิกต่ำงได้รับควำมสำเร็จร่วมกัน จึงมีองค์ประกอบของ
กำรเรียนรู้ 5 ส่วนคือ กำรมีปฏิสัมพันธ์ระหว่ำงสมำชิก ควำมรับผิดชอบ
ของสมำชิกแต่ละคน ทักษะกำรทำงำนเป็นกลุ่มควำมสัมพันธ์กันใน
ทำงบวกและกระบวนกำรกลุ่ม

24

กำรเรยี นรโู้ ดยใช้โครงกำร
Project Approach

กำรเรียนรู้โดยใช้โครงกำร
ชัยวฒั น์ สทุ ธิรัตน์ (2552 : 343-344) ได้กล่ำวถึงและคุณค่ำ

ของกำรสอนแบบน้ีไว้ว่ำ เป็นกำรสอนที่ให้โอกำสผู้เรียน
ไ ด้ ว ำ ง โ ค ร ง ก ำ ร แ ล ะ ด ำ เ นิ น ก ำ ร ใ ห้ ส ำ เ ร็ จ ต ำ ม จุ ด มุ่ ง ห ม ำ ย
ของโครงกำรนนั้ อำจเปน็ โครงกำรที่จัดทำเป็นหมู่หรือคนเดียวก็ได้
ผู้เรียนจะมีส่วนร่วมรับผิดชอบในกำรทำงำนน้ันด้วยตนเอง
ลักษณะกำรสอนคล้อยตำมสภำพจริงของสังคม เป็นกำรทำงำนที่
เริ่มต้นด้วยปัญหำและดำเนินกำรแก้ปัญหำโดยลงมือทดลอง
ปฏิบัติจริง

25

กำรเรยี นรนู้ อกหอ้ งเรยี น
Outdoor Learning

Hammerman : 1994 ได้กล่ำวถึง กำรเรียนรู้นอกห้องเรียน
ว่ำเป็นกำรใช้สถำนที่นอกห้องเรียน เป็นห้องปฏิบัติกำร สำหรับกำร
เรียนกำรสอนเกี่ยวกับเร่ืองธรรมชำติหรือสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะให้
ป ร ะ ส บ ก ำ ร ณ์ ต ร ง แ ล ะ ส ร้ ำ ง บ ร ร ย ำ ก ำ ศ ใ น ก ำ ร เ รี ย น ก ำ ร ส อ น
กำรเรียนรู้นอกห้องเรียนมีควำมสำคัญต่อกำรเรียนวิชำต่ำงๆ หลำย
วิชำ โดยเฉพำะวิชำวิทยำศำสตร์ที่มีควำมเกี่ยวข้องกับธรรมชำติและ
กำรประยุกต์ใช้ในสภำพควำมเปน็ จรงิ ทีอ่ ยู่ในชวี ิตประจำวันของทุกคน
โดยมีจุดมงุ่ หมำยดังนี้

1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่ำนประสบกำรณ์ตรง ทำให้เกิดกำร
เรียนรู้ทีม่ คี วำมหมำย และมีประสิทธิภำพ

2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะที่จำเป็นต่อกำรใช้วิธีกำรทำง
วิทยำศำสตร์ ซึ่งจะเป็นกำรพัฒนำควำมคิดคู่ไปกับควำมสำมำรถใน
กำรทำงำน

3. เพื่อให้ผู้สอนและผู้เรียนได้เรียนรู้ไปด้วยกันในสถำนกำรณ์ที่
หลำกหลำยนอกห้องเรียน

4. เพื่อให้ผู้เรยี นได้เรียนรดู้ ้วยตนเองอย่ำงสนกุ สนำน

26

กำรจดั กำรเรยี นรแู้ บบคน้ พบ
Discovery Method

กำรจัดกำรเรียนรู้แบบค้นพบ เป็นวิธีกำรที่เน้นตัวผู้เรียนเป็น
สำคัญ เป็นกำรจัดกำรเรียนรู้ที่มนี กั กำรศกึ ษำได้ให้ควำมหมำยของ
กำรเรียนรแู้ บบค้นพบ ดงั นี้

สุวิทย์ และ อรทัย มูลคำ (2545 : 29) ได้กล่ำวถึง กำรเรียนรู้
แบบค้นพบว่ำ เป็นกระบวนกำรเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนหำคำตอบหรือ
ควำมรู้ด้วยตนเอง โดยครูจะเป็นผู้สร้ำงสถำนกำรณ์ ในลักษณะที่
ผู้เรียนเผชิญหน้ำกับปัญหำ กำรแก้ปัญหำน้ันผู้เรียนจะใช้ข้อมูลมำ
ทำกำรวิเครำะห์ สังเครำะห์ และสรุปเพื่อให้ได้ข้อค้นพบใหม่ หรือ
ควำมคิดรวบยอดในเรื่องนั้น

พจนำ ทรัพย์สมำน (2550 : 2) ได้กล่ำวถึง กำรเรียนรู้แบบ
ค้นพบว่ำ กำรเรียนรู้ที่ผู้เรียนแสวงหำและค้นพบควำมรู้ด้วยตนเอง
หมำยถึง กำรที่ผู้เรียนใช้กระบวนกำรเรียนรู้สร้ำงควำมรู้ของตนเอง จำก
กำรคิดและกำรปฏิบัติจริงตำมลำดับข้ันเพื่อวิเครำะห์ควำมสำคัญจำเป็น
ของสิ่งที่จะเรียนรู้ วำงแผน กำหนดขอบเขตวิธีกำรเรียนรู้ ข้อคิดแนวทำง
ปฏิบัติ จัดทำผลงำนรำยงำนผลกำรเรียนรู้ของตนในรูปแบบต่ำงๆ ตำม
ควำมถนัดควำมสนใจ

จำกควำมหมำยของกำรเรียนรู้แบบค้นพบ สำมำรถสรุปได้ว่ำ
กำรเรียนรู้แบบค้นพบ เป็นกระบวนกำรเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนหำคำตอบ
หรือควำมรู้ด้วยตนเองจำกกำรคิดและกำรปฏิบัติจริงตำมลำดับขั้น
เพื่อแก้ปัญหำนั้น ผู้เรียนจะนำข้อมูลที่ได้จำกกำรคิดและปฏิบัติจริง
มำทำกำรวิเครำะห์ สังเครำะห์ และสรุปเพื่อให้ได้ข้อค้นพบใหม่ หรือ
ควำมคิดรวบยอดในเรือ่ งนั้น

27

กำรสอนแบบสำธติ
Demonstration Method

กำรสำธิตว่ำเป็นกำรจัดแสดงประสบกำรณ์กำรกระทำอย่ำงใด
อย่ำงหนึ่งหน้ำช้ันโดยครู ผู้เรียนคนใดคนหนึ่งหรือกลุ่มนักเรียนก็ได้
เป็นกำรทดลองซึ่งให้ผลกำรทดลองที่ไม่ทรำบมำก่อนหรือเป็นกำร
ทดสอบเพื่อยืนยันสิ่งทีท่ รำบมำแล้ว

ทิศนำ แขมมณี (2551 :330) ได้กล่ำวถึง กำรสอนแบบสำธิต
ว่ำเปน็ กระบวนกำรที่ผู้สอนใช้ในกำรช่วยให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ตำม
วัตถปุ ระสงค์ที่กำหนด โดยกำรแสดงหรือทำสิ่งที่ต้องกำรให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้ ให้ผู้เรียนสังเกตดู แล้วให้ผู้เรียนซักถำม อภิปรำย และสรุป
กำรเรียนรทู้ ี่ได้จำกกำรสงั เกตกำรสอนแบบสำธิต

28

สรปุ ท้ำยบท

เทคนิคกำรสอนวิทยำศำสตร์สำหรับกำรสอนเด็กปฐมวัย
สำมำรถสรุปได้ดังนี้ กำรสอนวิทยำศำสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเป็นกำร
สอนของควำมรู้ ซึ่งต่ำงจำกกำรสอนให้รู้ข้อควำมรู้ ตรงที่กำรสอน
ข้อควำมรตู้ ้องกำรควำมสนใจ กำรสังเกต กำรจำ และกำรเรียกควำมจำ
จำกควำมเข้ำใจถ่ำยโยงได้ ดังนั้น เด็กปฐมวัยไม่สำมำรถรับรู้ควำมรู้
แบบเป็นนำมธรรมได้ กำรนำเทคนิคกำรสอนวิทยำศำสตร์เข้ำมำใช้กับ
เด็กปฐมวัย สำมำรถช่วยให้เด็กปฐมวัยรับรู้ และเข้ำใจเกี่ยวกับ
วิทยำศำสตร์ได้มำกยิ่งขึ้น เทคนิคที่สำมำรถสอนให้กับเด็กปฐมวัยนั้น
ได้แก่

1. เทคนิคกำรเรียนรแู้ บบร่วมมือ (Cooperative Learning)
2. เทคนิคกำรเรียนรโู้ ดยใช้โครงกำร (Project Approach)
3. เทคนิคกำรเรยี นรู้นอกห้องเรยี น (Outdoor Learning)
4. เทคนิคกำรเรียนรโู้ ดยวิธีค้นพบ (Discovery Method)
5. เทคนิคกำรสอนแบบสำธิต (Demonstration Method)

29



บทที่ 4

กำรจดั สภำพแวดล้อม
และบทบำทของพ่อแม่ ครู
ต่อกำรส่งเสริมทกั ษะกระบวนกำร
ทำงวิทยำศำสตร์ข้ันพ้นื ฐำน

สำหรับเดก็ ปฐมวยั

กำรจัดสภำพแวดล้อมในสถำนศึกษำปฐมวัยมีควำมสำคัญต่อเด็ก
เนื่องจำกในวัยนี้สนใจจะเรียนรู้ ค้นคว้ำ ทดลอง และต้องกำรสัมผัสกับ
สิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัว กำรจัดสภำพแวดล้อมจึงมีควำมสำคัญเก่ียวกับ
พฤติกรรมและกำรเรียนรู้ กำรจัดสภำพแวดล้อมและสื่อเพื่อกำรจัด
ประสบกำรณท์ ำงวิทยำศำสตร์ ในสถำนศึกษำให้สอดคล้องกับสภำพและควำม
ต้องกำรของหลกั เพือ่ ส่งผลให้บรรลจุ ุดหมำยในกำรพัฒนำเด็ก

ดงั นั้น พ่อแม่ผปู้ กครองและครู ควรส่งเสริมให้เด็กได้รับกำรเรียนรู้และมี
ประสบกำรณต์ ่ำงๆ ให้มำกทส่ี ุด เพรำะกำรทเ่ี ดก็ ได้รับสิง่ เหล่ำนีจ้ ะช่วยให้เด็กได้
มีโอกำสทดลองค้นคว้ำด้วยตนเอง ทำให้เกิดควำมเช่ือมั่นเป็นตัวของตัวเอง
มำกกวำ่ เด็กท่เี รยี นรู้ภำยใต้กำรควบคุมดแู ลอย่ำงใกล้ชดิ จำกผู้ใหญ่

32

1. กำรจดั สภำพแวดล้อมกำรเรยี นรทู้ ำงวทิ ยำศำสตร์

สภำพแวดล้อมเปรียบเสมือนสิ่งเร้ำ หรือ สภำพกำรณ์ต่ำงๆ ที่อยู่
รอบตวั เดก็ เปน็ ตัวกระตุ้นให้เด็กปฐมวัยได้แสดงออกโต้ตอบในลักษณะต่ำงๆ
ได้แก่ ธรรมชำติ ดิน ฟ้ำ อำกำศ พลังงำน คน สังคม วัตถุ ขนบธรรมเนียม
ประเพณี ศำสนำ ศิลปะ วัฒนธรรม ภำวะเศรษฐกิจ กำรเมือง กำรอบรม
เลี้ยงดูท้ังที่เป็นรูปธรรม และนำมธรรม

สถำนพฒั นำอัจฉริยภำพเด็กบ้ำนฮำนีน (2555 : ออนไลน์) ได้กล่ำวถึง
ห ลั ก ส ำ คั ญ ใ น ก ำ ร จั ด ส ภ ำ พ แ ว ด ล้ อ ม ท ำ ง ก ำ ร เ รี ย น รู้ ด้ ำ น วิ ท ย ำ ศ ำ ส ต ร์
มีวัตถุประสงค์ที่มุ่งให้ผู้เรียนได้ประโยชน์จำกสภำพแวดล้อมรอบตัวในช้ัน
เรียนเพื่อเพิ่มพูนควำมรู้ในเนื้อหำสำระที่เรียน มีทักษะแสวงหำควำมรู้ และมี
เจตคติตอ่ วิทยำศำสตร์ กิจกรรมกำรเรียน กำรสอนส่วนใหญ่เป็นกำรทดลอง
กำรลงมือปฏิบตั ิโดยใช้ทักษะกระวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ โดยแบ่งเป็น

1. กำรจัดสภำพแวดล้อมภำยในหอ้ งเรียน
2. กำรจดั สภำพแวดล้อมภำยนอกห้องเรียน

33

1.1 กำรจดั สภำพแวดลอ้ มในหอ้ งเรยี น

หลกั สำคัญในกำรจัดตอ้ งคำนงึ ถึงควำมปลอดภยั เป้ำหมำยกำรพัฒนำเด็ก
ควำมเป็นระเบียบ ควำมเป็นตัวของเด็กเอง ให้ด็กเกิดควำมรู้สึก อบอุ่น มั่นใจ
และมีควำมสขุ ซง่ึ อำจจดั แบง่ พนื้ ที่ให้เหมำะสมกบั กำรประกอบกิจกรรม ดังนี้

พืน้ ทีอ่ ำนวยควำมสะดวก
• แสดงผลงำนของเดก็ อำจจดั เปน็ แผ่นปำ้ ย หรือทแ่ี ขวนผลงำน
• ทเ่ี กบ็ แฟ้มผลงำนของเดก็ อำจจดั ทำเป็นกล่องหรือจัดใส่แฟม้ รำยบคุ คล
• ท่เี ก็บเครือ่ งใชส้ ่วนตัวของเด็ก อำจทำเปน็ ชอ่ งตำมจำนวน
• ทเ่ี กบ็ เครื่องใชข้ องผู้สอน เช่น อปุ กรณก์ ำรสอน ของส่วนตวั ผู้สอน ฯลฯ
• ปำ้ ยนิเทศตำมหน่วยกำรสอนหรอื สิ่งท่เี ด็กสนใจ

34

พนื้ ที่ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเคลอื่ นไหวและจงั หวะ
พื้นที่ปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะต้องกำหนดให้ชัดเจน ควรมี
พื้นที่ที่เด็กสำมำรถจะทำงำนได้ด้วยตนเอง และทำกิจกรรมร่วมกันในกลุ่มเล็ก
หรือกลุ่มใหญ่ เด็กสำมำรถเคลื่อนไหวได้อย่ำงอิสระจำกกิจกรรมหนึ่งไปยัง
กิจกรรมหน่งึ โดยไม่รบกวนผอู้ ืน่

พืน้ ทีจ่ ดั มมุ หรอื มมุ ประสบกำรณ์
สำมำรถจัดได้ตำมควำมเหมำะสมขึ้นอยู่กับสภำพของห้องเรียน จัดแยก
ส่วนที่ใช้เสียงดังและเงียบออกจำกกัน เช่น มุมบล็อกอยู่ห่ำงจำกมุมหนังสือ
มุมวิทยำศำสตร์อยู่ใกล้มุมศิลปะ ฯลฯ ที่สำคัญจะต้องมีของเล่น วัสดุอุปกรณ์
ในมุมอยำ่ งเพียงพอตอ่ กำรเรียนรขู้ องเดก็

35

1.2 กำรจดั สภำพแวดลอ้ มนอกหอ้ งเรยี น

ทำงโรงเรียนจะต้องจัดสภำพแวดล้อมภำยนอกห้องเรียนท่ีเอื้อต่อกำรเรียนรู้
ประกอบไปด้วย สนำมเด็กเล่น ท่ีมีเคร่ืองเล่นประเภทปีนป่ำย ทรงตัวและมีพื้นท่ี
สำหรับวิ่งเล่นเพียงพอและไม่เกิดอันตรำยต่อเด็ก มีศูนย์กำรเรียนรู้กำรแจ้ง
สวนหย่อมท่ีให้เด็กสำมำรถพักผ่อนได้ และท่ีมีกำรจัดโต๊ะม้ำหินอ่อนไว้ใต้ร่มไม้ให้
เพียงพอสำหรับเด็ก มีบริเวณธรรมชำติสำหรับกำรปลูกไม้ดอกไม้ประดับและ
พืชผกั สวนครัวตำมฤดูกำล

36

2. บทบำทของพอ่ แมต่ อ่ กำรสง่ เสรมิ ทกั ษะกระบวนกำรทำง
วิทยำศำสตรข์ ั้นพนื้ ฐำนสำหรบั เดก็ ปฐมวยั

พ่ อ แ ม่ ผู้ ป ก ค ร อ ง มี บ ท บ ำ ท ส ำ คั ญ ใ น ก ำ ร ช่ ว ย ใ ห้ เ ด็ ก เ รี ย น รู้ เ กี่ ย ว กั บ
สิ่งแวดล้อมต่ำงๆ ที่อยู่รอบตัว อันจะส่งผลที่ดีต่อกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ของเด็ก
โดยพ่อแม่จะต้องสังเกตควำมสนใจของเด็ก และส่งเสริมให้เด็กได้สำรวจค้นคว้ำ
ทดลอง ตลอดจนกำรให้ขอ้ มลู ทีเ่ ด็กสนใจสิ่งที่เด็กเรียนรู้จำกที่บ้ำน อำจจะเป็นสิ่ง
ที่พ่อแม่ปฏิบัติอยู่ในชีวิตประจำวันต้ังแต่กำรปรุงอำหำรในครัว กำรซ่อมแซมวัสดุ
อุปกรณ์ที่บ้ำน กำรทำสวนครัวหรือกำรเลี้ยงสัตว์ พ่อแม่สำมำรถส่งเสริม
ประสบกำรณท์ ำงวิทยำศำสตร์ใหเ้ ด็กปฐมวัยได้ดังนี้

กำรจัดทำอปุ กรณ์ซึง่ อำจจะเป็นของเล่นเครื่องใช้ต่ำงๆ

อุปกรณ์ที่จะเปิดโอกำสให้เด็กได้สัมผัสได้จับต้องและรับรู้ด้วย
ประสำทสมั ผัสต่ำงๆ เชน่

- อุปกรณ์กำรเล่นกับน้ำ เช่น ถังอ่ำงน้ำ ถ้วยตวงพลำสติก
ขวดพลำสติกขนำดตำ่ งๆ

- อปุ กรณ์กำรเล่นทรำย เชน่ ที่รอ่ นทรำย ถงั พลว่ั จอบ
- แมพ่ ิมพ์ขนำดต่ำงๆ รถบรรทกุ คนั เล็กๆ
- อปุ กรณ์เครื่องครัว เชน่ หมอ้ ชำม จำน ซ้อน มีดพลำสติก
- อุปกรณเ์ ครื่องดนตรตี ำ่ งๆ เชน่ กลอง เครือ่ ง เป่ำ
- หนังสือต่ำงๆ ที่เกี่ยวกับวิทยำศำสตร์ เช่น หนังสือภำพเกี่ยวกับส่วน
ต่ำงๆ ของตน้ ไม้

37

กำรพูดคุยสนทนำซกั ถำมเกี่ยวกบั เรื่องที่อยู่ใกล้ตัวเดก็
หรอื เรือ่ งทีเ่ ด็กได้พบเห็น
เรื่องทีเ่ ด็กได้พบเหน็ ท้ังทีโ่ รงเรียนและที่บ้ำน อำจจะเป็นเร่ืองที่เกี่ยวกับ
ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติที่เกิดขึ้นในวันน้ันก็ได้ เช่น ฝนตก ฟ้ำร้อง ฟ้ำผ่ำ
กำรเกิดน้ำท่วมที่จังหวัดใกล้เคียง กำรเกิดแผ่นดินไหวที่ประเทศเพื่อนบ้ำน
เปน็ ต้น

กำรสรำ้ งควำมม่ันใจให้กบั เดก็
กำรสร้ำงควำมมนั่ ใจให้กับเด็กโดยวิธีกำรอบรมเลี้ยงดใู นระบอบประชำธิปไตย
คือ เปิดโอกำสใหเ้ ดก็ ได้คิด ได้พดู ได้ทำ ดว้ ยตนเองดว้ ยตวั เค้ำเอง

กำรเลีย้ งสัตว์และปลกู พืชบริเวณรอบๆ บ้ำน

พ่อแม่อำจจะช่วยเด็กเลี้ยงสัตว์หรือปลูกพืชไว้ที่บ้ำน เพื่อให้เด็กได้
เรียนรู้เร่ืองกำรเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิต ฝึกทักษะกำรสังเกตพืชและสัตว์
เรียนรธู้ รรมชำตทิ ี่อยู่รอบตวั

38

กำรพำเด็กไปศกึ ษำนอกสถำนท่ี

พำเด็กไปศกึ ษำนอกสถำนที่ เชน่ สวนสตั ว์
พิพธิ ภัณฑ์สัตว์นำ้ ภเู ขำ นำ้ ตก ทะเล เปน็ ตน้

กำรเปิดโอกำสใหเ้ ด็กได้ทำกิจกรรมกับกำรเล่น
และกิจกรรมกำรเคลือ่ นไหว

เพือ่ สนับสนุนให้เดก็ เกิดควำมพร้อมทำงด้ำนร่ำงกำย
เชน่ กิจกรรมกำรวิง่ กำรเดิน กำรกระโดด และกำรเคลื่อนไหว
ตำมจงั หวะ เป็นตน้

กำรเปิดโอกำสใหเ้ ด็กได้ใชเ้ ครือ่ งมือและอุปกรณ์ต่ำงๆ ด้วยตนเอง
โดยพ่อแม่คอยดแู ลอยู่หำ่ งๆ ในบำงครง้ั อำจจะต้องให้คำแนะนำ
เกีย่ วกบั กำรเล่นเครือ่ งเล่น เนือ่ งจำกเดก็ ยังไม่เคยมีประสบกำรณ์กบั
กำรเลน่

39

กำรพำเด็กทำกิจกรรมต่ำงๆ ในบ้ำน

พำเดก็ ทำกิจกรรมต่ำงๆ ในบ้ำน เช่น เปน็ ผู้ช่วยในกำรปรงุ อำหำร
โ ด ย ใ ห้ เ ด็ ก ช่ ว ย ล้ ำ ง ผั ก ล้ ำ ง อุ ป ก ร ณ์ เ ค ร่ือ ง ค รั ว บ ำ ง อ ย่ ำ ง
ที่ไม่เป็นอนั ตรำยตอ่ เด็กและ ตำมควำมสำมำรถที่เดก็ จะทำได้

กำรสะสมสิ่งของจำกธรรมชำติและวัสดเุ หลอื ใช้
พ่อแม่อำจถ้ำจะหำกล่องกระดำษหรือลังไม้ให้เด็กได้เก็บรวบรวมสะสม
สิ่งต่ำงๆ จำกธรรมชำติที่เค้ำชอบ จำกกิจกรรมน้ีจะช่วยให้เด็กเรียนรู้ถึง
ควำมประทบั ใจ กำรสรำ้ งสรรค์ กำรเลือกสรร และกำรเกบ็ รักษำสิ่งของ

กำรเปิดดนตรใี ห้เดก็ ฟังบ่อยๆ

เปิดดนตรใี ห้เดก็ ฟงั บ่อยๆ จะช่วยใหเ้ ด็กมีประสบกำรณ์ ทำงดำ้ นกำรฟงั
และกำรแยกแยะได้ดีขึ้น เด็กจะสนุกสนำนไป กับเสียงเพลงจน
สำมำรถสร้ำงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงจังหวะได้ ซึ่งจะช่วยให้เด็กเกิดกำร
เรียนรู้ท่วงทำนอง จงั หวะควำมหมำยและยังเป็นกำรส่งเสริมจินตนำกำร
ให้กบั เดก็ อีกด้วย

40

กำรสรำ้ งอปุ กรณ์หรอื เครื่องเล่นให้เด็ก

พ่อแม่สำมำรถสร้ำงอุปกรณ์หรือเคร่ืองเล่นให้เด็กได้ใช้เวลำที่ว่ำง
โดยอุปกรณ์หรอื เครือ่ งเล่นทีพ่ ่อแม่สรำ้ งสำมำรถทำได้มดี ังน้ี

1. กระบะทรำยและน้ำ เด็กปฐมวัยจะชอบเล่นและสนุกสนำนมำก
เป็นพิเศษคือกำรเล่นทรำยและน้ำ ท้ังทรำยและน้ำเอื้ออำนวยกำร
สร้ำงสรรค์และควำมคิดสร้ำงสรรค์ได้อย่ำงไม่มีที่สิ้นสุด กำรเล่นแบบนี้
นำไปสู่พัฒนำกำรในกำรใช้อวัยวะต่ำงๆ ให้สัมพันธ์กันและยังพัฒนำกำร
ใช้ทักษะในด้ำนกำรประกอบกำร กำรโยกย้ำย กำรเท ฯลฯ พ่อแม่
สำมำรถสร้ำงกระบะทรำยและน้ำไว้ในบริเวณมุมใดมุมหนึ่งของบ้ำนได้
โดยกำรหำแผ่นไม้เศษๆ มำตัดขนำดตำมควำมต้องกำรจำนวน 4 แผ่น
แล้วเอำออกเข้ำด้วยกันเป็นสี่เหลี่ยมขนทรำยมำใส่ในกระบะทรำยจน
เกือบเต็มแล้วหำอุปกรณ์ประกอบกำรเล่นทรำยมำให้เด็กเล่นเพื่อควำม
สนุกสนำนมำกขึ้น

2. ของเล่น พ่อแม่สำมำรถสร้ำงของเล่นให้เด็กได้หลำยอย่ำง เช่น
ทำกงั หนั ลม ร่มชูชีพ รถลำก ฯลฯ

เปน็ วิทยำกรในชั้นเรยี นเปน็ บำงครง้ั บำงครำว

พ่อแม่ผู้ปกครองที่มีทกั ษะและควำมรทู้ ำงดำ้ นวิทยำศำสตร์ อำจมบี ทบำท
ในกำรเป็นวิทยำกรในช้ันเรยี น ตัวอย่ำงเชน่ กำรทดลองเกี่ยวกับเรือ่ งเสียง กำรนำ
สตั ว์บำงชนิดมำให้เดก็ ดู ฯลฯ

41

แนวทำงผปู้ กครองทีจ่ ะส่งเสรมิ ทกั ษะกระบวนกำรขนั้ พนื้ ฐำนทำง
วิทยำศำสตรใ์ หก้ บั ลกู ทีบ่ ำ้ น ควรมีขน้ั ตอนดงั นี้

ขั้นที่ 1 พ่อแม่ควรสังเกตควำมสนใจของลูกว่ำ ลูกมีควำมสนใจ
สิ่งแวดล้อมรอบตัวในเร่ืองใดบ้ำง ซึ่งสำมำรถพบได้จำกกำรคำพูด
กำรสนทนำในชวี ิตประจำวันของลกู กบั พ่อแม่

ข้ันที่ 2 พ่อแม่ควรปล่อยให้ลูกเล่น กำรเล่นทำให้เด็กเกิดกำรเรียนรู้ผ่ำน
ประสำทสัมผัสท้ัง 5 มำกขึ้น เช่น กำรเล่นทรำยหรือกำรวำดภำพ จะทำให้
เด็กได้พฒั นำกล้ำมเนอื้ เรียนรู้เกี่ยวกับกำรสัมผัส กำรแยกเนื้อละเอียดเน้ือ
หยำบของทรำย กำรสังเกต และที่สำคัญคือเปิดโอกำสให้เด็กได้ใช้ควำมคิด
สรำ้ งสรรค์

ขั้นที่ 3 พ่อแม่ควรสรุปควำมรู้หรือควำมคิดรวบยอดหลังจำกที่เด็กได้
ทดลองหรอื สืบค้นข้อมูลเพียงพอแลว้

ทั้งนีก้ ำรอธิบำยหลกั กำรต่ำงๆ ควรใช้ภำษำทีเ่ หมำะสมกับวัยของเด็ก
ด้วยกำรจดั กิจกรรมกำรทดลองทำงวิทยำศำสตรใ์ ห้เดก็ เรียนรู้ที่บ้ำนน้ัน
พ่อแม่ควรนำสถำนกำรณท์ ี่เกิดขึน้ จริงในชีวิตประจำวันมำสอนเด็ก เชน่

1. กำรทดลองเรือ่ งกำรระเหยของน้ำและกำรเกิดฝนจำกกำรปรุงอำหำร
2. กำรทดลองเกีย่ วกับพลงั งำนควำมรอ้ นจำกกำรรดี ผ้ำ กำรตำกผ้ำ
3. กำรทดลองเรื่องรุ้งกินน้ำจำกกำรซกั ผ้ำ
4. กำรทดลองกำรจม กำรลอยจำกกำรถนอมอำหำรด้วยกำรทำไข่เคม็
5. กำรทดลองเรือ่ งอำกำศต้องกำรที่อยู่จำกกำรเป่ำลูกโป่ง เพื่อใช้
ตกแต่งสถำนทีใ่ นงำนวันเกิดหรอื วนั ปีใหม่ ฯลฯ

42


Click to View FlipBook Version