The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Koranitphet, 2020-06-29 00:24:43

1.ปกนอก-ผสาน

1.ปกนอก-ผสาน

ISSN 1685-0408

การสารวจภาวะการทางานของประชากร

จังหวดั อานาจเจริญ

ไตรมาสท่ี 1 : มกราคม – มีนาคม 2563

สานักงานสถิตจิ งั หวัดอานาจเจรญิ
สานักงานสถติ แิ หง่ ชาติ
กระทรวงดิจิทลั เพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม

การสารวจภาวะการทางานของประชากร

จังหวดั อานาจเจริญ

ไตรมาสท่ี 1 : มกราคม – มนี าคม 2563

สานกั งานสถิติจงั หวดั อานาจเจรญิ
สานกั งานสถิติแหง่ ชาติ
กระทรวงดิจทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกิจและสังคม

หนว่ ยงานเจ้าของเรอ่ื ง สำนกั งำนสถิติจังหวัดอำนำจเจรญิ
ศำลำกลำงจังหวัดอำนำจเจริญ ชนั้ 3
หน่วยงานท่เี ผยแพร่ อ.เมอื งอำนำจเจรญิ จ.อำนำจเจรญิ 37000
โทรศพั ท์ 0 4552 3040
ปที จ่ี ดั พิมพ์ โทรสำร 0 4552 3120
จดั พมิ พโ์ ดย ไปรษณยี ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ : [email protected]

กองสถติ ิพยำกรณ์
สำนักงำนสถติ ิแห่งชำติ
ศูนย์รำชกำรเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษำฯ
อำคำรรัฐประศำสนภักดี ชน้ั 2
ถนนแจง้ วฒั นะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
โทรศพั ท์ 0 2143 1323 ตอ่ 17496
โทรสำร 0 2143 8132
ไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ : [email protected]

2563
สำนักงำนสถิติจงั หวัดอำนำจเจรญิ

คำนำ

สำนักงำนสถิติแห่งชำติ ได้เริ่มจัดทำโครงกำรสำรวจภำวะกำรทำงำนของประชำกร มำต้ังแต่ปี พ.ศ. 2506
ในช่วงปี พ.ศ. 2514-2526 ได้ทำกำรสำรวจปีละ 2 รอบโดยรอบแรกเป็นกำรสำรวจนอกฤดูกำรเกษตรระหว่ำง
เดือนมกรำคมถึงเดอื นมนี ำคมรอบท่ี 2เป็นกำรสำรวจในฤดูกำรเกษตรระหวำ่ ง เดือนกรกฎำคมถงึ เดือนกันยำยน
และช่วงปี พ.ศ. 2527-2540 ทำกำรสำรวจเป็นปีละ 3 รอบ คือ รอบท่ี 1 สำรวจในเดือนกุมภำพันธ์ รอบที่ 2
สำรวจในเดือนพฤษภำคม รอบที่ 3 สำรวจในเดือนสิงหำคม และช่วงปี พ.ศ. 2541-2543 ทำกำรสำรวจ
เพม่ิ ข้ึนอกี 1 รอบ เปน็ รอบท่ี 4 ในเดือนพฤศจิกำยน ซ่งึ ทำให้ไดข้ ้อมลู เปน็ รำยไตรมำส

ตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นไป กำรสำรวจโครงกำรน้ีได้จดั ทำเป็นรำยเดือนทกุ ๆ เดอื นสว่ นกำรเสนอ
ผลกำรสำรวจนนั้ ในปี พ.ศ. 2544 นำเสนอผลทกุ เดือนตงั้ แต่เดอื นกุมภำพนั ธ์ถงึ เดอื นธันวำคม โดยเอำข้อมูลท่ี
ได้จำกกำรสำรวจคร้ังละ 3 เดือน มำประมวลผลและหำค่ำเฉล่ียเคลื่อนที่ (ค่ำเฉลี่ยเคลื่อนที่ 3 เดือน) ซึ่งผล
ของกำรสำรวจจะสะท้อนถึงค่ำประมำณของเดือนท่ีอยู่กลำงคำบเวลำสำรวจนั้นๆ และกำรเสนอผลตั้งแต่
พ.ศ. 2545 เป็นต้นไป จะนำเสนอปีละ 4 ฉบับเป็นรำยไตรมำส สำหรับผู้ที่ต้องกำรใช้ข้อมูล เป็นรำย
เดอื น ในลักษณะเดิมยงั สำมำรถตดิ ตอ่ ขอขอ้ มูลได้ที่สำนักงำนสถิตจิ ังหวัด

สำหรับรำยงำนฉบับน้ี เป็นกำรเสนอผลกำรสำรวจภำวะกำรทำงำนของประชำกร ไตรมำสที่ 4 :
ตุลำคม – ธันวำคม 2562 ของจังหวัดอำนำจเจริญ ท่ีได้ดำเนินกำรสำรวจระหว่ำงเดือน ตุลำคม – ธันวำคม 2562
เนื่องจำกข้อมูลที่นำเสนอในรำยงำนฉบับน้ีได้มำจำกกำรสำรวจด้วยระเบียบวิธีตัวอย่ำงซึ่งอำจจะมีควำม
คลำดเคลอื่ นจำกกำรเลือกตัวอยำ่ งและควำมคลำดเคล่ือนอื่นๆ รวมอยู่ด้วย จึงขอให้ผู้ใช้ขอ้ มลู ได้คำนึงถึงเร่ืองน้ี
ในกำรใช้ตัวเลขดว้ ย

บทสรปุ สาหรบั ผบู้ ริหาร

แผนผัง การจาแนกประชากรตามสถานภาพแรงงาน ส านั ก งาน ส ถิ ติ จั งห วัด อ าน าจ เจ ริญ ได้
การสารวจภาวะการทางานของประชากร ไตรมาส 1/2563 ดาเนินการสารวจภาวะการทางานของประชากรใน
ไตรมาสที่ 1 ระหว่างวันที่ 1-12 ของเดือนมกราคม –
ผูม้ อี ายุ 15 ปขี ้ึนไป มีนาคม 2563 มีครัวเรือนตัวอย่างท้ังส้ิน 840 ครัวเรือน
219,784 คน (ในเขตเทศบาล 480 ครัวเรือน นอกเขตเทศบาล 360
ครัวเรือน) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์
ผอู้ ยใู่ นกาลงั แรงงาน ผู้ไม่อยู่ในกาลงั แรงงาน สมาชิกในครัวเรือนที่ตกเป็นตัวอย่าง ผลการสารวจทา
117,361 คน 102,423 คน ให้ทราบถึงภาวะการมีงานทาและว่างงานของประชากร
ในจงั หวดั อานาจเจริญ สรปุ ข้อมลู ทีส่ าคญั ได้ ดังนี้
แรงงาน ผรู้ อฤดูกาล ทางานบา้ น 31,735 คน
ปัจจุบัน 1,562 คน เรียนหนังสือ 18,237 คน 1. สถานภาพแรงงาน
115,799 คน จังหวัดอานาจเจริญมีประชากรท่ีมีอายุ 15 ปี
อืน่ ๆ 52,451 คน
ผู้มีงานทา ผู้วา่ งงาน ขึ้นไปจานวน 219,784 คน โดยเป็นผ้อู ยู่ในกาลังแรงงาน
114,766 คน 1,033 คน 117,361 คนร้อยละ 53.4 ประกอบด้วยผู้มีงานทา
114,766 คนผูว้ า่ งงาน 1,033 คนผรู้ อฤดูกาล 1,562 คน
แผนภมู ิ ก ร้อยละของผมู้ ีงานทาจาแนกตามอุตสาหกรรม
ไตรมาส 1/2562- ไตรมาส 1/2563 ส่วนผู้ไม่อยู่ในกาลังแรงงาน 102,423 คน
ร้อยละ46.7 ประกอบด้วยผู้ทางานบ้าน 31,735 คน
ภาคการเกษตร ภาคการผลิต ภาคการบริการและการคา้ ผูเ้ รยี นหนงั สือ 18,237 คน และอื่นๆ 52,451 คน

46.0 51.8 65.4 62.1 42.7 2. อตุ สาหกรรม
41.1 ในไตรมาส 1/2563 ผู้มีงานทาส่วนใหญ่
37.3 29.0 32.8 30.9
12.9 เป็ น ผู้ท างานในภ าคเกษ ตรจานวน 44,934 คน
10.9 5.6 ไต5ร.ม1าส 18.3 รองลงมาเป็นผู้ทางานในภาคการขายส่งและการขาย
ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส 4/62 ปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ 19,394 คน
1/62 2/62 3/62 ไตรมาส และการผลิต 12,049 คน
1/63
เม่ือเปรียบเทียบช่วงไตรมาสเดียวกันข อ งปี
แผนภมู ิ ข รอ้ ยละของผ้มู ีงานทา จาแนกตามสถานภาพ 2562 พบว่า ผู้มีงานทาภาคการเกษตรสัดส่วน
การทางานไตรมาส 1/2562- ไตรมาส 1/2563 ลดลงร้อยละ 15.1และภาคการผลิตและภาค
การบริการและการค้ามีสัดส่วนเพ่ิมขึ้นเ ช่ น กั น ร้ อ ย ล ะ
การรวมกล่มุ 0.6 0.3 0.3 0.2 1.8 5.4 และ 1.6 ตามลาดบั
ช่วยธุรกิจครัวเรอื น 19.7 24.1 29.9 28.0 18.2
3. สถานภาพการทางาน
ทางานส่วนตัว 43.3 42.8 45.9 45.4 38.8 ผู้ที่มีงานทาส่วนใหญ่ทางานส่วนตัวจานวน

ลูกจ้างเอกชน 20.9 16.3 11.2 14.3 25.9 44,586 คนรองลงมาคือลูกจ้างเอกชน 29,631 คนและ
ลกู จา้ งรัฐบาล 14.5 15.6 12.0 10.6 14.3 ช่วยธรุ กิจครวั เรอื น 20,924 คน
นายจา้ ง
1.0 0.9 0.8 0.9 1.0 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงไตรมาสเดียวกันของปี
ไตรมาส 2562 พบว่าลูกจ้างเอกชนและการรวมกลุ่มมีสัดส่วน
1/62 เพ่ิมขึ้นร้อยละ 5.0และ1.2ตามลาดับ นายจ้างมีสัดส่วน
ไตรมาส เท่าเดิมร้อยละ 1.0 ส่วนลูกจ้างรัฐบาลมีสัดส่วนลดลง
2/62 รอ้ ยละ 0.2
ไตรมาส
3/62
ไตรมาส
4/62
ไตรมาส
1/63

แผนภมู ิ ค ร้อยละของผ้มู ีงานทา จาแนกตามระดบั การศกึ ษา 4. ระดับการศึกษา
ทสี่ าเรจ็ ไตรมาส 1/2562- ไตรมาส 1/2563
ใน ไต รม าส 1 /2 5 6 3 ผู้ ท างาน ส่ ว น ให ญ่

ไมม่ กี ารศึกษา 0.6 00..13 0.4 00..16 0.8 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา 34,679 คนร้อยละ 30.0
ไม่ทราบ 26.3 25.6 27.2 29.8 24.8 รองลงมาคือผู้ที่จบระดับประถมศึกษา 31,220 คน
ร้อยละ 27.2 และระดบั มัธยมศึกษา 28,494 คน ร้อยละ 24.8
ตา่ กว่าประถมศึกษา 27.7 29.7 31.9 30.4 27.2
เมื่ อเป รียบ เที ยบ กับ ช่วงไตรมาสเดียวกัน
ประถมศกึ ษา 31.2 30.9 28.2 27.3 30.0 ของปี 2562 พบว่าส่วนใหญ่ร้อยละของระดับการศึกษา
มัธยมศึกษา 14.2 13.3 12.4 11.7 17.2 ของผู้ที่มีงานทามีสัดส่วนลดลง มีระดับมหาวิทยาลัยและ
มหาวทิ ยาลัย ไมม่ กี ารศึกษาทมี่ ีสดั สว่ นเพิ่มข้ึนร้อยละ 3.0 และ 0.2
ไตรมาส
1/62 5. ชว่ั โมงการทางานของสัปดาห์
ไตรมาส
2/62 ในไตรมาส 1/2563 ผู้มีงานทาในจังหวัด
ไตรมาส
3/62
ไตรมาส
4/62
ไตรมาส
1/63

อานาจเจริญส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ทางาน 35 ชั่วโมงข้ึนไป

แผนภูมิ ง ร้อยละของผูม้ ีงานทา จาแนกตามชว่ั โมงการทางาน ต่อสัปดาห์ จานวน 96,761 คนร้อยละ 84.3 รองลงมาคือ
ตอ่ สปั ดาหไ์ ตรมาส 1/2562- ไตรมาส 1/2563 ผู้ที่ทางาน 1-34 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ จานวน 17,870 คน
รอ้ ยละ 15.6 และผู้ท่ีทางานน้อยกว่า 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
80.2 78.2 91.2 89.4 84.3 มีเพียง 135 คน ร้อยละ 0.1
35 ชวั่ โมง
ขึ้นไป เมื่อเปรียบเทียบช่วงไตรมาสเดยี วกันของปี 2562

พบว่าผู้ท่ีทางาน 35 ช่ัวโมงข้ึนไปต่อสัปดาห์มีสัดส่วน

1-34 เพ่ิมขึ้นร้อยละ 4.1 ส่งผลให้ผู้ที่ทางาน 1-34 ชั่วโมง
ต่อสัปดาห์ลดลงร้อยละ 3.9 เช่นกัน ส่วนผู้ทางานน้อย
ชั่วโมง 19.5 21.1 8.7 10.4 15.6 กว่า 1 ชวั่ โมงลดลงรอ้ ยละ 0.2

0 ชวั่ โมง * 0.3 0.7 0.1 0.2 0.1 6. ภาวะการวา่ งงาน

ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส

1/62 2/62 3/62 4/62 1/63

สาหรับไตรมาส 1/2563 จังหวัดอานาจเจริญ
*0 ช่วั โมงต่อสัปดาห์ คอื ผไู้ มไ่ ดท้ างานในสัปดาห์การสารวจ แต่มงี านประจาทา จานวนผู้ว่างงาน 1,033 คนและมีอัตราการว่างงานร้อยละ

แผนภมู ิ จ อัตราการวา่ งงาน ไตรมาส 1 /2562- ไตรมาส 1/2563 0.9 ของผอู้ ยใู่ นกาลงั แรงงาน (จานวน 115,799 คน)
เม่ือเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว
1.3
พบวา่ อัตราการว่างงานเพม่ิ ข้นึ รอ้ ยละ 0.1
1.1 1.1 0.9
0.7
0.8

0.4 0.4 0.4 0.40.2
0.1 0.2

*หมายเหตุ : อัตราการว่างงาน =ผูว้ ่างงาน x 100
ผู้อย่ใู นกาลังแรงงาน

สารบัญ

คานา หนา้

บทสรุปสาหรบั ผ้บู รหิ าร ค

สารบญั ตาราง ง

บทท่ี 1 บทนา ช

1. ความเป็นมาและวัตถปุ ระสงค์ 1
2. คมุ้ รวม
3. สัปดาหแ์ ห่งการสารวจ 1
4. คาอธบิ ายศพั ท์ แนวคิด คาจากดั ความ 2
2
บทท่ี 2 ผลการสารวจท่ีสาคัญ 2

1. ลักษณะของกาลังแรงงาน 7
2. การมสี ่วนร่วมในกาลงั แรงงาน
3. ผูม้ ีงานทา 7
7
3.1 อาชพี 7
3.2 อตุ สาหกรรม 7
3.3 สถานภาพการทางาน 8
3.4 การศกึ ษา 8
3.5 ช่ัวโมงการทางาน 9
9
4. การว่างงาน
9
ภาคผนวก
11
ภาคผนวก ก ระเบยี บวิธี 13
ภาคผนวก ข ตารางสถติ ิ

สารบัญตาราง หนา้

ตาราง ก จานวนและร้อยละของประชากร จาแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ 7
ตาราง ข จานวนและอัตราการมีสว่ นร่วมในกาลังแรงงาน จาแนกตามเพศ 7
ตาราง ค จานวนและรอ้ ยละของผ้มู ีงานทา จาแนกตามอาชพี และเพศ 8
ตาราง ง จานวนและรอ้ ยละของผ้มู ีงานทา จาแนกตามอุตสาหกรรมและเพศ 8
ตาราง จ จานวนและรอ้ ยละของผูม้ ีงานทา จาแนกตามสถานภาพการทางานและเพศ 9
ตาราง ฉ จานวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามการศกึ ษาทสี่ าเร็จและเพศ 9
ตาราง ช จานวนและร้อยละของผ้มู งี านทา จาแนกตามชั่วโมงการทางานตอ่ สัปดาห์และเพศ 9
ตาราง ซ จานวนและอตั ราการว่างงาน จาแนกตามเพศ 9

บทที่ 1
บทนำ

1. ควำมเปน็ มำและวตั ถปุ ระสงค์

สำนักงำนสถิติแห่งชำติ ได้ทำกำรสำรวจ หลังจำกเกิดภำวะวิกฤติทำงเศรษฐกิจกลำงปี
ภำวะกำรทำงำนของประชำกรทั่วประเทศอย่ำง 2540 ควำมต้องกำรใช้ข้อมูลเพ่ือกำรวำงแผนและ
ต่อเน่ืองเป็นประจำทุกปี เร่ิมต้ังแต่ปี พ.ศ.2506 กำหนดนโยบำยด้ำนแรงงำนมีมำกข้ึนและเรง่ ด่วนขึ้น
โดยในช่วงแรกทำกำรสำรวจปีละ 2 รอบและใน ในปี พ.ศ. 2544 จึงได้เริ่มดำเนินกำรสำรวจเป็น
พ.ศ. 2527 ถึง พ.ศ. 2540 ได้ทำกำรสำรวจปีละ รำยเดือนแล้วนำข้อมูล 3 เดือนรวมกันเพ่ือเสนอ
3 รอ บ โด ย รอ บ ท่ี 1 ท ำก ำรส ำรว จใน เดื อ น ข้อมูลเป็นรำยไตรมำส โดยข้อมูลท่ีสำคัญสำมำรถ
กุมภำพันธ์ เปน็ ช่วงหนำ้ แล้งนอกฤดูกำรเกษตร รอบ นำเสนอในระดับจังหวัด สำหรับข้อมูลของเดือนที่
ท่ี 2 สำรวจในเดือนพฤษภำคม เป็นช่วงที่กำลัง ตรงกับรอบกำรสำรวจเดิม คือขอ้ มูลเดือนกุมภำพันธ์
แรงงำน ให ม่ท่ี เพ่ิ งส ำเร็จกำรศึก ษ ำเร่ิม เข้ำสู่ พฤษภำคม และ สิงหำคม ได้จัดทำสรุปผลกำร
ตลำดแรงงำน รอบที่ 3 สำรวจในเดือนสิงหำคม สำรวจเฉพำะขอ้ มูลท่ีสำคัญเพอ่ื สำมำรถเปรียบเทียบ
เป็นช่วงฤดูกำรเกษตร และต่อมำใน พ.ศ.2541 กบั ข้อมูลแตล่ ะรอบของปีที่ผ่ำนมำได้ และกำรสำรวจ
เป็นต้นมำ ได้เพิ่มกำรสำรวจอีก 1 รอบ รวมเป็น ตั้งแต่เดือนกันยำยน พ.ศ.2544 เป็นต้นมำ สำมำรถ
4 รอบ โดยทำกำรสำรวจในเดอื นพฤศจิกำยนของทุกปี นำเสนอผลของกำรสำรวจเป็นรำยเดือนทุกเดือน
ซึ่งเป็นช่วงฤดูกำรเก็บเกี่ยวผลผลิตทำงกำรเกษตร โดยสำมำรถเสนอผลในระดับภำคเท่ำนั้นเน่ืองจำก
ท้งั น้ีเพอ่ื เปน็ กำรนำเสนอข้อมูลที่สะท้อนถึงภำวะกำร ตัวอย่ำงไม่มำกพอที่จะนำเสนอในระดับย่อยกว่ำน้ี
มีงำนทำ กำรว่ำงงำนและกำรประกอบกิจกรรมต่ำงๆ และในขณะเดียวกันได้มีกำรปรับอำยุผู้อยู่ในกำลัง
ข อ ง ป ร ะ ช ำ ก ร ทั้ ง ป ร ะ เท ศ เป็ น ร ำ ย ไต ร ม ำ ส แ ล ะ แรงงำนจำก 13 ปีขึ้นไปเป็น 15 ปีขึ้นไป เพ่ือให้
ตอ่ เนื่องครบทกุ ช่วงเวลำของปี สอดคล้องกับกฎหมำยกำรใช้แรงงำนเด็ก ปรับปรุง
กำรจัดจำแนกประเภทของอำชีพ อุตสำหกรรมและ
เน่อื งจำกควำมจำเป็นต้องกำรใช้ข้อมูล เพื่อใช้ ส ถ ำ น ภ ำ พ ก ำ ร ท ำ ง ำ น ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ
ในกำรวำงแผนและกำหนดนโยบำยในระดับจังหวัด ม ำต รฐ ำน ส ำก ล ใน ปั จ จุ บั น เพื่ อ ให้ ส ำม ำร ถ
มมี ำกข้ึน สำนักงำนสถิติแห่งชำติจึงได้กำหนดขนำด เปรียบเทียบข้อมูลกันได้ ปรับเขตกำรปกครอง
ตวั อย่ำงเพมิ่ ขึน้ โดยเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2537 ทั้งนี้เพ่ือให้ จำกเดิมเขตสุขำภิบำลถูกนำเสนอรวมเป็นนอกเขต
สำมำรถนำเสนอข้อมูลในระดับจังหวัดได้ โดยเสนอ เทศบำล มำรวมเป็นในเขตเทศบำล เน่ืองจำก
เฉพำะรอบกำรสำรวจของเดือนกุมภำพันธ์และ พระรำชบัญญัติเปล่ียนแปลงฐำนะของสุขำภิบำล
เดือนสิงหำคมเท่ำน้ัน กำรสำรวจรอบที่ 4 ในเดือน เปน็ เทศบำล พ.ศ. 2542
พฤศจิกำยน พ.ศ. 2541 ซึ่งจัดทำเป็นครั้งแรก
ได้เสนอผลในระดับจังหวัดด้วยและต้ังแต่ปี พ.ศ. วัตถุประสงค์ท่ีสำคัญของกำรสำรวจภำวะ
2542 เป็นต้นมำ ผลกำรสำรวจทง้ั 4 รอบได้เสนอผล กำรทำงำนของประชำกรเพ่ือประมำณจำนวนและ
ในระดบั จงั หวัด ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก ำ ลั ง แ ร งง ำ น ภ ำ ย ใน ป ร ะ เท ศ แ ล ะ
ในจังหวัดต่ำง ๆ ในแต่ละไตรมำสของข้อมูลสถิติ
ที่ไดจ้ ำกกำรสำรวจ

2

1. จำนวนประชำกรในวัยทำงำน (อำยุ 15 ปี ไตรมำสที่ 1 พ.ศ. 2544 ได้กำหนดอำยุขั้นต่ำ ของ

ข้ึนไป) และจำนวนประชำกรนอกวัยทำงำนจำแนก ประชำกรวัยทำงำนเปน็ 15 ปี

ตำมเพศ คำนยิ ำมทส่ี ำคญั ๆ ทใ่ี ชใ้ นกำรสำรวจ มีดงั น้ี
2. จำนวนประชำกรในวัยทำงำน จำแนก

ตำมสถำนภำพแรงงำน อำยุ เพศ สถำนภำพสมรส ผู้มีงำนทำ
กำรศกึ ษำทสี่ ำเร็จ ผู้มีงำนทำ หมำยถึง บุคคลท่ีมีอำยุ 15 ปีข้ึนไป

3. จำนวนผู้มีงำนทำ จำแนกตำมลักษณะ และในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจมีลักษณะอย่ำงหน่ึง
ท่ีน่ำสนใจ เช่น อำยุ เพศ กำรศึกษำที่สำเร็จ อำชีพ อยำ่ งใด ดังต่อไปนี้
อุตสำหกรรม สถำนภำพกำรทำงำน ช่ัวโมงทำงำน
ค่ำจำ้ ง เงินเดือน และผลประโยชน์อ่ืน ๆ ที่ได้รบั จำก 1. ได้ทำงำนต้ังแต่ 1 ชั่วโมงขึ้นไป โดยได้รับ
กำรทำงำน ค่ำจ้ำง เงินเดือน ผลกำไร เงินปันผลค่ำตอบแทน
ท่ีมีลักษณะอย่ำงอ่ืนสำหรับผลงำนที่ทำ เป็นเงินสด
4. จำนวนผู้ว่ำงงำน จำแนกตำมลักษณะ หรอื สง่ิ ของ
บำงประกำรที่น่ำสนใจ เช่น ระยะเวลำในกำรหำงำนทำ
งำนทีท่ ำครง้ั สุดท้ำย สำเหตกุ ำรว่ำงงำน เป็นต้น 2. ไมไ่ ด้ทำงำน หรือทำงำนนอ้ ยกวำ่ 1 ชว่ั โมง
แต่ เป็ น บุ ค คลท่ี มี ลักษ ณ ะอ ย่ำงห น่ึ งอ ย่ำงใด

2. คมุ้ รวม ดังต่อไปน้ี (ซึ่งจะถอื วำ่ เปน็ ผ้ทู ีป่ กตมิ งี ำนประจำ)

ประชำกรท่ีอำศัยอยู่ในครัวเรือนส่วนบุคคล 2.1 ยังได้รับค่ำตอบแทน ค่ำจ้ำง หรือ
และครวั เรอื นกลมุ่ บุคคลประเภทคนงำน ผลประโยชน์อื่นๆ หรือผลกำไรจำกงำนหรือธุรกิจใน
ระหวำ่ งทไ่ี ม่ไดท้ ำงำน

3. สัปดำหแ์ หง่ กำรสำรวจ 2.2 ไม่ได้รับค่ำตอบแทน ค่ำจ้ำง หรือ
ผลประโยชน์อ่ืน ๆ หรือผลกำไรจำกงำนหรือธุรกิจ
หมำยถึง ระยะเวลำ 7 วัน นับจำกวันก่อน ในระหว่ำงท่ีไม่ได้ทำงำน แต่ยังมีงำนหรือธุรกิจที่
วันสัมภำษณ์ย้อนหลังไป 7 วัน เช่น วันสัมภำษณ์คือ จะกลับไปทำ

วันท่ี 9 มกรำคม พ.ศ. 2563 “ ระหว่ำง 7 วัน ก่อน 3. ทำงำนอย่ำงน้อย 1 ชั่วโมง โดยไม่ได้รับ

วันสัมภำษณ์ ” คือ ระหว่ำงวันที่ 2 ถึง วันท่ี 8 ค่ ำ จ้ ำ ง ใน วิ ส ำ ห กิ จ ห รื อ ไ ร่ น ำ เก ษ ต ร ข อ ง หั ว ห น้ ำ
มกรำคม พ.ศ. 2563 ครัวเรอื นหรอื ของสมำชกิ ในครัวเรอื น

4. คำอธิบำยศพั ท์/แนวคดิ /คำจำกัดควำม ผวู้ ่ำงงำน
ผู้ว่ำงงำน หมำยถึง บุคคลที่มีอำยุ 15 ปีขึ้นไป
สำนักงำนสถิติแห่งชำติ ได้ปรับปรุงแนวคิด
และคำนิยำมที่ใช้ในกำรสำรวจภำวะกำรทำงำนของ และในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจมีลักษณะอย่ำงหน่ึง
ประชำกรหลำยคร้ัง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ อย่ำงใด ดงั ต่อไปน้ี
สอดคล้องกับสภำพที่แท้จริงทำงสังคมและเศรษฐกิจ
ของประเทศตลอดจนควำมต้องกำรของผู้ใช้ข้อมูล 1. ไม่ได้ทำงำนและไม่มีงำนประจำ แต่ได้
แ ล ะ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ม ำ ต ร ฐ ำ น ส ำ ก ล ข อ ง อ ง ค์ ก ำ ร หำงำน สมัครงำนหรือรอกำรบรรจุ ในระหว่ำง 30
แ รงงำน ระห ว่ำงป ระเท ศ (ILO) กั บ อ งค์ ก ำร วนั ก่อนวันสมั ภำษณ์
สหประชำชำติ (UN) แนวคิดและคำนิยำมที่ใช้ใน
กำรสำรวจไตรมำสน้ี ได้เริ่มใช้มำตั้งแต่รอบท่ี 1 2. ไม่ได้ทำงำนและไม่มีงำนประจำ และไม่ได้
พ.ศ. 2526 มีกำรปรับปรุงบ้ำงตำมลำดับ และตั้งแต่ หำงำนทำในระหว่ำง 30 วันก่อนวันสัมภำษณ์ แต่
พรอ้ มที่จะทำงำนในสปั ดำห์แห่งกำรสำรวจ

3

กำลงั แรงงำนปัจจบุ นั 7. ทำงำนให้แก่องค์กำร หรือสถำบันกำร

กำลังแรงงำนปัจจุบัน หมำยถึง บุคคลที่มี กุศลต่ำงๆ โดยไม่ได้รับค่ำจ้ำงผลกำไรส่วนแบ่งหรือ
ส่งิ ตอบแทนอยำ่ งใด
อำยุ 15 ปีข้ึนไป ซึ่งในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจมีงำน 8. ไม่พร้อมท่ีจะทำงำน เนื่องจำกเหตุผล
ทำหรอื วำ่ งงำน ตำมคำนิยำมท่ไี ดร้ ะบุขำ้ งต้น
อน่ื
กำลงั แรงงำนทรี่ อฤดกู ำล
กำลังแรงงำนที่รอฤดูกำล หมำยถึง บุคคล งำน
งำน หมำยถึง กิจกำรที่ทำท่ีมีลักษณะอย่ำง
ท่ีมีอำยุ 15 ปีข้ึนไป ในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจเป็นผู้
ไม่เข้ำข่ำยคำนิยำมของผู้มีงำนทำ หรือผู้ว่ำงงำน แต่ หนง่ึ อยำ่ งใด ดังตอ่ ไปนี้

เป็นผู้รอฤดูกำลที่เหมำะสมเพ่ือท่ีจะทำงำน และเป็น 1. กิจกำรท่ีทำแล้วได้รับค่ำตอบแทนเป็นเงิน

บุคคลที่ตำมปกติจะทำงำนท่ีไม่ได้รับส่ิงตอบแทนใน หรือส่ิงของ ค่ำตอบแทนท่ีเป็นเงิน อำจจ่ำยเป็น

ไร่นำเกษตร หรือธุรกิจซ่ึงทำกิจกรรมตำมฤดูกำล รำยเดือน รำยสัปดำห์ รำยวนั หรอื รำยชิ้น

โดยมีหัวหน้ำครัวเรือน หรือสมำชิกคนอ่ืน ๆ 2. กิจกำรที่ทำแล้วได้ผลกำไร หรือหวังท่ีจะ

ในครัวเรือนเป็นเจ้ำของหรือผู้ดำเนนิ กำร ได้รบั ผลกำไร หรือสว่ นแบ่งเป็นกำรตอบแทน

กำลงั แรงงำนรวม 3. กิจกำรท่ี ท ำให้ กับ ธุรกิจของสมำชิกใน
กำลังแรงงำนรวม หมำยถึง บุคคลทุกคนที่มี ครวั เรือน โดยไม่ไดร้ ับค่ำจ้ำงหรอื ผลกำไรตอบแทนอยำ่ ง
ใด ซึ่งสมำชิกในครัวเรือนที่ประกอบธุรกิจน้ัน
อำยุ 15 ปีขึ้นไป ในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจเป็นผู้อยู่ จะมีสถำนภำพกำรทำงำน เป็นประกอบธุรกิจ
ในกำลังแรงงำนปัจจุบัน หรือเป็นผู้ถูกจัดจำแนก สว่ นตัว หรอื นำยจำ้ ง
อยู่ในประเภทกำลังแรงงำนท่ีรอฤดูกำลตำมคำนิยำม
อำชพี
ทไ่ี ดร้ ะบุขำ้ งต้น
อำชีพ หมำยถึง ประเภทหรือชนิดของงำน
ผ้ไู ม่อย่ใู นกำลงั แรงงำน
ผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงำน หมำยถึง บุคคลที่ ที่บุคคลน้ันทำอยู่ บุคคลส่วนมำกมีอำชีพเดียว
สำหรับบุคคลที่ในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจมีอำชีพ
ไม่ เข้ ำ ข่ ำ ย ค ำ นิ ย ำ ม ข อ ง ผู้ อ ยู่ ใน ก ำ ลั ง แ ร ง ง ำ น ใ น มำกกว่ำ 1 อำชีพให้นับอำชีพท่ีมีช่ัวโมงทำงำนมำก
สัปดำห์แห่งกำรสำรวจ คอื ท่สี ุด ถ้ำช่ัวโมงทำงำนแต่ละอำชีพเท่ำกันให้นับอำชีพ
ทม่ี ีรำยไดม้ ำกกวำ่ ถ้ำชวั่ โมงทำงำนและรำยไดท้ ไี่ ดร้ ับ
บุคคลซ่ึงในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจมีอำยุ 15 จำกแต่ละอำชีพเท่ำกัน ให้นับอำชีพท่ีผู้ตอบ
ปีขึ้นไป แต่ไม่ได้ทำงำน และไม่พร้อมท่ีจะทำงำน สัมภำษณ์พอใจมำกที่สุด ถ้ำผู้ตอบสัมภำษณ์ตอบ
เนอ่ื งจำกเป็นผ้ทู ่ี ไม่ได้ให้นับอำชีพท่ีได้ทำมำนำนที่สุด กำรจัดจำแนก
ประเภทอำชีพ ตั้งแต่ไตรมำสท่ี 1 พ.ศ. 2554 ปรับ
1. ทำงำนบ้ำน ใช้ ต ำม International Standard Classification
2. เรยี นหนังสอื of Occupation, 2008 (ISCO – 08) ขององค์กำร
3. ยังเด็กเกนิ ไป หรอื ชรำมำก แรงงำนระหว่ำงประเทศ (ILO)
4. ไม่สำมำรถทำงำนได้ เน่ืองจำกพิกำร
ทำงรำ่ งกำยหรอื จติ ใจ หรือเจ็บปว่ ยเร้อื รัง ก่อน พ.ศ. 2553 กำรจัดประเภทอำชีพจำแนก
5. ไม่สมคั รใจทำงำน ตำมควำมเหมำะสมกับลักษณะอำชีพของประเทศไทย
โดยอ้ำงอิง International Standard Classification
6. ทำงำนโดยไม่ได้รับค่ำจ้ำง ผลกำไร of Occupation, 1988 (ISCO – 88)
ส่วนแบ่ง หรือสิ่งตอบแทนอ่ืน ๆ ให้แก่บุคคลซึ่งมิได้
เป็นสมำชิกในครัวเรอื นเดียวกัน

4

อตุ สำหกรรม ลกู จ้ำงแบ่งออกเป็น 3 ประเภท

อตุ สำหกรรม หมำยถึง ประเภทของกิจกรรม 4.1 ลู ก จ้ ำ ง รั ฐ บ ำ ล ห ม ำย ถึ ง

ทำงเศรษฐกิจที่ได้ดำเนินกำรโดยสถำนประกอบกำร ข้ำรำชกำร พนักงำนเทศบำล พนักงำนองค์กำร

ท่ีบุคคลนั้นกำลังทำงำนอยู่ หรือประเภทของธุรกิจ บริหำรส่วนจังหวัด ตลอดจนลูกจ้ำงประจำ และ

ซึ่งบุคคลนั้นได้ดำเนินกำรอยู่ในสัปดำห์แห่งกำร ช่ัวครำวของรัฐบำล

สำรวจ ถ้ำบุคคลหนึ่งมีอำชีพมำกกว่ำหน่ึงอย่ำง 4.2 ลูกจ้ำงรัฐวิสำหกิจ หมำยถึง ผู้ท่ี

ให้บันทึกอุตสำหกรรมตำมอำชีพท่ีบันทึกไว้ กำรจัด ทำงำนใหก้ ับหนว่ ยงำนรัฐวสิ ำหกจิ
จำแนกประเภทอุตสำหกรรม ต้ังแต่ไตรมำสท่ี 1
พ .ศ . 2554 ป รั บ ใช้ ต ำ ม Thailand Standard 4.3 ลู ก จ้ำงเอ ก ช น ห มำยถึง ผู้ท่ี

Industrial Classification, (TSIC 2009) ทำงำนใหก้ ับเอกชน หรอื ธุรกิจของเอกชน รวมท้ังผู้ท่ี

รบั จำ้ งทำงำนบ้ำน

กอ่ น พ.ศ. 2553 กำรจัดประเภทอตุ สำหกรรม 5. กำรรวมกลุ่ม หมำยถึง กลุ่มคนที่มำ
จำแนกตำมควำมเหมำะสมกับลักษณะอุตสำหกรรม
ของประเทศไทย โดยอ้ำงองิ International Standard ร่วมกันทำงำนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพึ่งตนเอง และ
Industrial Classification of All Economic ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สมำชิกแต่ละคนมีควำม
Activities, (ISIC : 1989) เท่ำเทียมกันในกำรกำหนดกำรทำงำนทุกข้ันตอน
ไม่ว่ำเป็นกำรลงทุน กำรขำย งำนอ่ืนๆ ของกิจกำร

สถำนภำพกำรทำงำน ท่ีทำ ตลอดจนกำรแบ่งรำยได้ให้แก่สมำชิกตำมท่ี
สถำนภำพกำรทำงำน หมำยถึง สถำนะของ ตกลงกัน (กำรรวมกลมุ่ ดังกล่ำวอำจจดทะเบียนจดั ต้ัง
ในรูปของสหกรณห์ รอื ไมก่ ็ได้)
บุคคลที่ทำงำนในสถำนที่ท่ีทำงำนหรือธุรกิจ แบ่ง
ออกเป็น 5 ประเภท คือ กำรจัดจำแนกประเภทสถำนภำพกำรทำงำน
ต้ังแต่ไตรมำสท่ี 1 พ.ศ. 2544 ใช้ตำม International
1. นำยจ้ำง หมำยถึง ผู้ประกอบธุรกิจของ Classification of Status in Employment, 1993
(ICSE – 93) ขององค์กำรแรงงำนระหว่ำงประเทศ
ตนเองเพื่อหวังผลกำไร หรือส่วนแบ่ง และได้จ้ำง (ILO) มีสถำนภำพกำรทำงำนเพ่ิมขึ้นอีก 1 กลุ่มคือ
บคุ คลอื่นมำทำงำนในธรุ กิจในฐำนะลูกจ้ำง

2. ประกอบธุรกิจส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้ำง ก ำ ร ร ว ม ก ลุ่ ม (Member of Producers’

หมำยถึง ผู้ประกอบธุรกจิ ของตนเองโดยลำพังผู้เดียว Cooperative)

หรืออำจมีบุคคลอ่ืนมำร่วมกิจกำรด้วยเพื่อหวังผล
กำไร หรือส่วนแบ่งและไม่ได้จ้ำงลูกจ้ำงแต่อำจมี ช่ัวโมงทำงำน
สมำชิกในครัวเรือนหรือผู้ฝึกงำนมำช่วยทำงำนโดย
ไม่ได้รับค่ำจ้ำง หรือค่ำตอบแทนอย่ำงอ่ืนสำหรับงำน ช่ัวโมงทำงำน หมำยถึง จำนวนชั่วโมง
ท่ีทำ
ทำงำนจริงทั้งหมด ในสัปดำห์แหง่ กำรสำรวจ สำหรับ
3. ช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รับ บุคคลท่ีมีอำชีพมำกกว่ำหน่ึงอำชีพ ช่ัวโมงทำงำน
หมำยถงึ ยอดรวมของชว่ั โมงทำงำนทกุ อำชพี สำหรับ
ค่ำจ้ำง หมำยถึง ผู้ที่ช่วยทำงำนโดยไม่ได้รับค่ำจ้ำง ผู้ที่มีงำนประจำซ่ึงไม่ได้ทำงำนในสัปดำห์แห่งกำร

ในไรน่ ำเกษตร หรอื ในธรุ กิจของสมำชิกในครวั เรอื น สำรวจใหบ้ ันทกึ จำนวนชวั่ โมงเปน็ 0 ช่ัวโมง

4. ลูกจ้ำง หมำยถึง ผู้ท่ีทำงำนโดยได้รับ กำรสำรวจก่อนปี พ.ศ. 2544 ผู้ท่มี ีงำนประจำ
ซึ่งไม่ได้ทำงำนในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจ ให้นับ
ค่ำจ้ำงเป็นรำยเดือน รำยสัปดำห์ รำยวัน รำยช้ิน จำนวนชั่วโมงทำงำนปกติต่อสัปดำห์เป็นชั่วโมง
หรือเหมำจ่ำย ค่ำตอบแทนท่ีได้รับจำกกำรทำงำน ทำงำน
อำจจะเปน็ เงิน หรอื สง่ิ ของ

5

รำยได้ของลูกจ้ำง ระดบั กำรศกึ ษำทสี่ ำเร็จ

รำยได้ของลูกจ้ำง หมำยถึง รำยได้ของผู้ท่ีมี ได้ จ ำ แ น ก ก ำ ร ศึ ก ษ ำ ต ำ ม ร ะ ดั บ ก ำ ร ศึ ก ษ ำ

สถำนภำพกำรทำงำนเป็น ลูกจ้ำง ท่ีได้รบั มำจำกกำร ที่สำเร็จดงั น้ี

ทำงำนของอำชีพที่ทำในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจ 1. ไม่มีกำรศึกษำ หมำยถึง บุคคลที่ไม่เคย
ซึ่งประกอบด้วยค่ำจ้ำงและผลประโยชน์ตอบแทน
อื่นๆ สำหรับลูกจ้ำง เข้ำศกึ ษำในโรงเรยี น หรอื ไม่เคยไดร้ ับกำรศกึ ษำ

ระยะเวลำของกำรหำงำนทำ 2. ต่ำกว่ำประถมศึกษำ หมำยถึง บุคคล

ระยะเวลำของกำรหำงำนทำ หมำยถึง ที่สำเร็จกำรศึกษำต่ำกว่ำช้ันประถมปีท่ี 6 หรือ
ระยะเวลำที่ผู้ว่ำงงำนได้ออกหำงำนทำ ให้นับตั้งแต่ ชัน้ ประถมปที ี่ 7 หรอื ชน้ั ม.3 เดมิ
วันท่ีเร่มิ หำงำนทำจนถงึ วนั สดุ ท้ำยกอ่ นวันสัมภำษณ์
3. สำเร็จประถมศึกษำ หมำยถึง บุคคล

คำบกำรแจงนับ ท่ีสำเร็จกำรศึกษำตั้งแต่ชั้นประถมปีท่ี 6 หรือ
คำบกำรแจงนับ หมำยถึง ระยะเวลำท่ี ชนั้ ประถมปีที่ 7 หรือช้ัน ม.3 เดิมข้ึนไป แต่ไม่สำเร็จ
ระดบั กำรศกึ ษำทีส่ ูงกวำ่
พนักงำนออกไปสัมภำษณ์บุคคลในครวั เรือนตัวอย่ำง
ซง่ึ โดยปกตเิ ปน็ วันที่ 1 - 12 ของทกุ เดือน 4. สำเร็จมัธยมศึกษำตอนต้น หมำยถึง

ประเภทของครัวเรือนท่ีอยู่ในขอบข่ำยกำร บุคคลที่สำเร็จกำรศึกษำตั้งแต่ช้ัน ม.3 ม.ศ.3 หรือ
ม.6 เดมิ ขน้ึ ไป แต่ไมส่ ำเร็จระดบั กำรศึกษำทส่ี ูงกว่ำ
สำรวจ
5. สำเรจ็ มัธยมศกึ ษำตอนปลำย
ครัวเรือนท่ีอยู่ในขอบข่ำยกำรสำรวจแบ่งได้ 5.1 ส ำย ส ำมั ญ ห มำยถึง บุ คค ล
เปน็ 2 ประเภท คือ
ที่สำเร็จกำรศึกษำประเภทสำมัญศึกษำตั้งแต่ชั้น ม.6
1. ครัวเรือนส่วนบุคคล ประกอบด้วย ม.ศ.5 หรือ ม.8 เดิมขึ้นไป แต่ไม่สำเร็จระดับ
กำรศึกษำที่สงู กวำ่
ครัวเรือนหนึ่งคน คือ บุคคลเดียวซ่ึงหงุ หำอำหำรและ
จัดหำสิ่งอุปโภคบริโภคท่ีจำเป็นแก่กำรครองชีพ 5.2 อำชีวศึกษ ำ หมำยถึง บุคคล
โดยไม่เก่ียวกับผู้ใดซ่ึงอำจพำนักอยู่ในเคหสถำน
เดียวกัน หรือครัวเรือนที่มีบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป ที่สำเร็จกำรศึกษำประเภทอำชีวศึกษำหรือวิชำชีพ
ร่วมกันจัดหำ และใช้สิ่งอุปโภคบริโภคท่ีจำเป็น ท่ีเรียนต่อจำกระดับมัธยมศึกษำตอนต้นหรือ
แก่กำรครองชีพร่วมกัน ครัวเรือนส่วนบุคคลอำจ เทียบเท่ำ โดยมีหลักสูตรไม่เกิน 3 ปี และไม่สำเร็จ
อำศัยอยู่ในเคหะท่ีเป็นเรือนไม้ ตึกแถว ห้องแถว ระดบั กำรศึกษำที่สงู กวำ่

หอ้ งชุด เรือแพ เปน็ ต้น 5.3 วิชำกำรศึกษำ หมำยถึง บุคคล

2. ครวั เรอื นกลุ่มบุคคล ทีส่ ำเรจ็ กำรศกึ ษำประเภทวิชำกำรศึกษำ (กำรฝึกหัด

2.1 ประเภทคนงำน ได้แก่ ครัวเรือน ครู) ในระดับมัธยมศึกษำตอนปลำยหรือเทียบเท่ำ
ข้ึนไปแต่ไมส่ ำเร็จระดับกำรศกึ ษำทีส่ งู กว่ำ
ซึ่งประกอบด้วย บคุ คลหลำยคนอยู่กินร่วมกนั ในทอี่ ยู่

แหง่ หนึ่ง เช่น ทพี่ กั คนงำน เปน็ ต้น 6. อุดมศกึ ษำ
6.1 สำยวิชำกำร หมำยถึง บุคคล
2.2 ประเภทสถำบัน ซ่ึงหมำยถึง
ที่สำเร็จกำรศึกษ ำป ระเภ ทสำมัญ ศึกษำหรือ
บุคคลหลำยคนอยู่ร่วมกันในสถำนท่ีอยแู่ ห่งหนึ่ง เช่น สำยวิชำกำร โดยได้รับวุฒิบัตรระดับอนุปริญญำ
สถำนที่กักกัน วัด กรมทหำร โดยไม่แยกที่อยู่ ปรญิ ญำตรี โท เอก
เปน็ สัดส่วนเฉพำะคนหรือเฉพำะครวั เรือน นักเรียนท่ี
อยู่ประจำท่ีโรงเรียนหรือในหอพักนักเรียน เป็นต้น

ไมอ่ ยู่ในคุ้มรวมของกำรสำรวจน้ี

6

6.2 สำยวิชำชีพ หมำยถึง บุคคล 7. อำชีวศึกษำระยะสั้น หมำยถึง บุคคล

ที่สำเร็จกำรศึกษำประเภทอำชีวศึกษำ หรือสำย ท่ีสำเร็จกำรศึกษำหรือกำรฝึกอบรมประเภ ท

วิชำชีพที่ได้รับประกำศนียบัตรวิชำชีพชั้นสูง หรือ อำชีวศึกษำท่ีมีหลักสูตรไม่เกิน 1 ปี และได้รับ

เทยี บเทำ่ อนปุ ริญญำ ปรญิ ญำตรี ประกำศนียบัตรหรือใบรับรองเมื่อสำเร็จกำรศึกษำ

6.3 สำยวิชำกำรศึกษำ หมำยถึง พ้ื น ค ว ำ ม รู้ ข อ ง ผู้ เข้ ำ เรี ย น ได้ ก ำ ห น ด ให้ แ ต ก ต่ ำ ง
ตำมวิชำเฉพำะแต่ละอย่ำงท่ีเรียน แต่อย่ำงต่ำ
บุคคลที่สำเร็จกำรศึกษำประเภทวิชำกำรศึกษำ และ ตอ้ งจบประถมปีที่ 4 หรือเทียบเทำ่
ได้รับประกำศนียบั ตรระดับอนุป ริญ ญ ำ และ
8. อื่น ๆ หมำยถึง บุคคลท่ีสำเร็จกำรศึกษำ
ปริญญำตรี

ทไ่ี ม่สำมำรถเทยี บช้ันได้

บทท่ี 2
สรุปผลการสำรวจ

1. ลักษณะของกำลงั แรงงาน ตาราง ข จำนวนและอัตราการมสี ว่ นร่วมในกำลังแรงงาน

ผลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร จำแนกตามเพศ

ในไตรมาสท่ี 1 : มกราคม – มีนาคม พ.ศ.2563 พบว่า หนว่ ย : คน

จังหวัดอำนาจเจริญ มีจำนวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เพศ ประชากร ผู้อยู่ในกำลงั อัตราการมสี ่วนร่วม
อายุ 15 ปขี ้ึนไป แรงงาน ในกำลังแรงงาน
จำนวน 219,784 คน ซ่ึงอยู่ในกำลังแรงงานจำนวน
ยอดรวม 219,784 117,361 53.4
115,799 คน คิดเป็นร้อยละ 52.7 ของประชากร อายุ
ชาย 106,314 66,145 62.2
15 ปีขึน้ ไป ผูท้ ไ่ี ม่อยู่ในกำลังแรงงาน จำนวน 102,423 คน หญิง 113,470 51,216 45.1

คิดเป็นร้อยละ 46.6 หมายเหตุ : อัตราการมีส่วนรว่ มในกำลังแรงงาน = กำลงั แรงงาน X 100

ตาราง ก จำนวนและรอ้ ยละของประชากร จำแนกตาม

สถานภาพแรงงาน และเพศ หน่วย : คน ประชากรท่ีมอี ายุ 15 ปขี ้นึ ไป

รวม ชาย หญงิ 3. ผมู้ ีงานทำ
สถานภาพแรงงาน 3.1 อาชีพ
ประชากรของจังหวัดอำนาจเจริญที่มีงานทำ
จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
จำนวน 114,766 คน น้ันพบว่าเป็นชายจำนวน 64,805
ผมู้ ีอายุ 15 ปีข้นึ ไป 219,784 100.0 106,314 100.0 113,470 100.0
คน และหญิงจำนวน 49,961 คน คิดเป็นร้อยละ 56.5
1. ผู้อยใู่ นกำลังแรงงาน 117,361 53.4 66,145 62.2 51,216 45.1
และ 43.5 ของจำนวนผูม้ ีงานทำ
1.1กำลังแรงงานปจั จุบัน 115,799 52.7 65,420 61.5 50,379 44.4
สำหรับอาชีพของผู้มีงานทำ ผลการสำรวจ
1.1.1 ผู้มีงานทำ 114,766 52.2 64,805 60.9 49,961 44.0 ป ร าก ฎ ว่ า ส่ ว น ให ญ่ เป็ น ผู้ ป ฏิ บั ติ งา น ท่ี มี ฝี มื อ ใน ด้ า น
การเกษตรและการประมง จำนวน 42,841 คน คิดเป็น
1.1.2 ผู้ว่างงาน 1,033 0.5 615 0.6 418 0.4 ร้อยละ 37.3 โดยชายสูงกว่าหญิงคือชายร้อยละ 40.6
หญิงร้อยละ 33.3 รองลงมาเป็นพนักงานบริการและ
1.2 ผทู้ ร่ี อฤดูกาล 1,562 0.7 725 0.7 837 0.7 พนักงานในร้านค้าและตลาดจำนวน 21,228 คน คิดเป็น
ร้อยละ 18.5 โดยหญิง สูงกว่าชาย คือหญิงร้อยละ 27.1
2.ผ้ไู ม่อยู่ในกำลังแรงงาน 102,423 46.6 40,169 37.8 62,254 54.9 และชาย ร้อยละ 11.9 อาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆในด้านการ
ขายและการให้บริการ จำนวน 16,606 คน คิดเป็น
2.1 ทำงานบา้ น 31,735 14.5 1,004 0.9 30,731 27.1 ร้อยละ 14.5 โดยชายสูงกว่าหญิง คือ ชายร้อยละ 18.2
และหญงิ ร้อยละ 9.6
2.2 เรยี นหนังสือ 18,237 8.3 8,961 8.4 9,276 8.2
ท่ี เห ลือเป็ น ผู้ป ระกอบ อ าชีพ อ่ืน ๆ ได้ แก่
2.3 อื่นๆ 52,451 23.8 30,204 28.5 22,247 19.6 ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจอื่นๆ
เก่ียวข้องผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆผู้ปฏิบัติการโรงงาน
2. การมีส่วนรว่ มในกำลังแรงงาน และเคร่ืองจักรฯลฯ ผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับ
ประชากรของจังหวัดอำนาจเจริญอยู่ในกำลัง อาวุโส และผู้จัดการ เสมียนและผู้ประกอบวิชาชีพด้าน
เทคนิคสาขาตา่ งๆ และอาชพี ที่เกี่ยวข้อง
แรงงานท้ังส้ิน จำนวน 117,361 คน เป็นชายจำนวน
66,145 คน และหญิงจำนวน 51,216 คน คิดเป็น
ร้อยละ 62.2 และ 45.1 ของจำนวนผู้อยู่ในกำลัง
แรงงาน ตามลำดับ

สำหรับอัตราการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงาน
ซึ่งหมายถึง ร้อยละของประชากรท่ีอยู่ในกำลังแรงงาน
(ประกอบด้วยผู้มีงานทำ ผู้ว่างงาน และผู้ท่ีรอฤดูกาล)
ต่อประชากรท่ีมีอายุ 15 ปีข้ึนไป พบว่าจังหวัด
อำนาจเจริญ มีอัตราการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงาน
ร้อยละ 53.4 โดยชายมีอัตราการมีส่วนร่วมในกำลัง
แรงงานสูงกว่าหญิง คือ ชายร้อยละ 62.2 และหญิง
รอ้ ยละ 45.1

8

ตาราง ค จำนวนและรอ้ ยละของผู้มงี านทำ จำแนกตาม ตาราง ง จำนวนและรอ้ ยละของผู้มงี านทำ จำแนกตาม
อาชพี และเพศ อุตสาหกรรมและเพศ

หน่วย : คน หน่วย : คน

อาชพี รวม ชาย หญงิ อุตสาหกรรม รวม ชาย หญิง
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ

10ย0ย.อ0อดดรรววมม 314174,0,79656 110000..00 16943,8,9005 100.0 15493,,91691 110000..00 ยอดรวม 134174,079656 100.0 6194,38,9050 100.0 4159,39,16191001.00.0
ภาคเกษตร 44,934 39.0 27,3056 42.1 17,6208 35.2
1 5,221 4.5 3,7056 5.7 0 1,515 3.0
1 44,934 39.0 27,306 42.1 17,628 35.2
2 7,216 6.3 1,577 2.4 5,639 11.3
นอกภาค
3 1,920 1.7 546 0.8 1,374 2.7 เกษตร 69,832 61.0 37,499 57.9 32,333 64.8

4 2,067 1.8 380 0.6 1,687 3.4 2 12,049 10.5 6,140 9.5 5,909 11.8

5 21,228 18.5 7,664 11.9 13,564 27.1 3 8,796 7.7 8,520 13.1 276 0.6

6 42,841 37.3 26,278 40.6 16,563 33.3 4 19,394 16.8 8,577 13.3 10,817 21.7

7 12,311 10.7 9,102 14.0 3,209 6.4 5 4,085 3.6 1,061 1.6 3,024 6.1

8 5,356 4.7 3,767 5.8 1,589 3.2 6 7,071 6.2 4,792 7.4 2,279 4.6

9 16,606 14.5 11,785 18.2 4,821 9.6 7 5,454 4.8 1,164 1.8 4,290 8.6

หมำยเหตุ : อำชีพ 8 3,330 2.9 699 1.1 2,631 5.3

1. ผู้บญั ญัตกิ ฎหมาย ขา้ ราชการระดบั อาวุโส และผจู้ ดั การ 9 9,653 8.5 6,546 10.1 3,107 6.1
2. ผูป้ ระกอบวชิ าชพี ดา้ นตา่ งๆ
3. ผูป้ ระกอบวชิ าชพี ด้านเทคนคิ สาขาตา่ งๆ และอาชพี ทเี่ ก่ียวขอ้ ง หมำยเหตุ : อตุ สำหกรรม

4. เสมยี น 1. เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง
5. พนกั งานบรกิ ารและพนกั งานในรา้ นคา้ และตลาด 2. การผลติ
3. การกอ่ สร้าง
4 การขายสง่ การขายปลกี การซอ่ มยานยนต์และรถจักรยานยนต์
6. ผูป้ ฏบิ ัตงิ านทม่ี ีฝมี ือในดา้ นการเกษตร และการประมง 5. ทีพ่ ักแรมและการบริการด้านอาหาร
7. ผปู้ ฏิบัตงิ านดา้ นความสามารถทางฝมี อื และธรุ กจิ อน่ื ๆทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 6. การบริหารราชการ การปอ้ งกนั ประเทศ และการประกนั สงั คมภาคบังคบั
8. ผูป้ ฏิบัตกิ ารโรงงานและเครอ่ื งจกั ร และผปู้ ฏิบัตงิ านดา้ นการประกอบ 7. การศกึ ษา
9. อาชีพขั้นพน้ื ฐานตา่ งๆ ในดา้ นการขาย และการให้บรกิ าร 8. กิจกรรมด้านสขุ ภาพและงานสงั คมสงเคราะห์
9. อน่ื ๆ ได้แก่ ศิลปะ ความบนั เทงิ และนนั ทนาการ กิจกรรมบรกิ าร
3.2 อตุ สาหกรรม
ดา้ นอ่นื ๆ การจัดหานำ้ การจดั การ และการบำบัดนำ้ เสยี ของเสยี และสงิ่
เม่ื อ พิ จ า ร ณ าถึ งป ร ะ เภ ท อุ ต ส า ห ก ร ร ม ห รื อ ปฏกิ ลู การขนสง่ และสถานท่ีเกบ็ สินคา้ กจิ กรรมทางการเงนิ และการ

ลกั ษณะของการประกอบกิจกรรม ของผู้มงี านทำในเชิง ประกนั ภยั ขอ้ มลู ขา่ วสารและการสอื่ สาร กิจกรรมการจา้ งงานในครัวเรอื น
สว่ นบคุ คลกจิ กรรมผลติ สินค้าและบรกิ าร
เศรษฐกิจจากผู้มีงานทำท้ังสน้ิ 114,766 คน พบว่าเป็น

ผู้มีงานทำในภาคเกษตรกรรม จำนวน 44,934 คน 3.3 สถานภาพการทำงาน

คิดเป็นร้อยละ 39.0 ของผู้มีงานทำ โดยชายสูงกว่า เมื่อพจิ ารณาสถานภาพการทำงานของผูม้ ีงานทำ
ในไตรมาสนี้พบวา่ ส่วนใหญ่เป็นผู้ท่ีทำงานส่วนตัว จำนวน
หญิง คือ ชายรอ้ ยละ 42.1 หญิงร้อยละ 35.2 44,586 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 38.8 โดยชายสงู กวา่ หญงิ คือ
ชายร้อยละ 42.7 และหญิงร้อยละ 34.0 รองลงมาคือ
ส ำ ห รั บ ผู้ มี ง า น ท ำ น อ ก ภ า ค เก ษ ต ร ก ร ร ม ลูกจ้างเอกชน จำนวน 29,631 คน คิดเป็นร้อยละ 25.9
โดยชายสูงกว่าหญิง คือ ชายร้อยละ 30.7 หญิงร้อยละ
จำนวน 69,832 คน หรือคดิ เปน็ ร้อยละ 61.0 สว่ นใหญ่ 19.5 ช่วยธุรกิจครัวเรือน จำนวน 20,924 คน คิดเป็น
ร้อยละ 18.2 โดยหญิงสูงกว่าชายคือ หญิงร้อยละ 26.5
เป็นผู้ทำงาน ในสาขาการขายสง่ และการขายปลกี การ ชายร้อยละ 11.8 ลูกจ้างรัฐบาล จำนวน 16,437 คน
คิดเป็นร้อยละ 14.3 โดยหญิง สูงกว่าชาย คือ หญิง
ซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ มีจำนวน 19,394 คน ร้อยละ 18.8 ชาย ร้อยละ 10.9 รวมกลุ่ม จำนวน 2,064 คน
คิดเป็นร้อยละ 1.8 และ นายจ้าง จำนวน 1,124 คน
คิดเป็นร้อยละ 16.8 โดยหญิงสูงกว่าชาย คือ หญิง คดิ เปน็ ร้อยละ 1.0

ร้อยละ 21.7 และชายร้อยละ 13.3 รองลงมาเป็นการ

ผลิต จานวน 12,049 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 10.5 โดย

หญิงสูงกว่าชาย คือ หญิงร้อยละ 11.8 และชาย

ร้อยละ 9.5 การก่อสร้างจานวน 8,796 คน คดิ เป็น

ร้อยละ 7.7 โดยชายสูงกว่าหญิง คือ ชายร้อยละ

13.1 และหญิงรอ้ ยละ 0.6 สว่ นทเ่ี หลอื กระจายอย่ใู น

อุตสาหกรรมประเภทอ่นื ๆ

9

ตาราง จ จำนวนและรอ้ ยละของผมู้ งี านทำ จำแนกตาม ร้อยละ 74.2 โดยชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิง คือร้อยละ
75.0 และ 73.2 ตามลำดับ รองลงมา คือผู้มีชั่วโมงการ
สถานภาพการทำงานและเพศ หนว่ ย : คน

รวม ชาย หญิง ทำงาน 10-34 ช่ัวโมง จำนวน 17,410 คน คิดเป็น
สถานภาพการทำงาน จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ
ร้อยละ 15.2 โดยชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิง คือ ชาย
จำนวน รอ้ ยละ
ร้อยละ 15.3 หญิงร้อยละ 15.0 ผู้มีชั่วโมง การทำงาน
ยอดรวม 114,766 100.0 64,805 100.0 49,961 100.0
1.นายจา้ ง 1,124 1.0 676 1.0 448 0.9 50 ชั่วโมงข้ึนไป จำนวน 11,600 คน คิดเป็นร้อยละ
2.ลกู จ้างรัฐบาล 16,437 14.3 10.9 18.8 10.1 โดยหญงิ มสี ัดส่วนสูงกวา่ ชาย คือ หญิงร้อยละ 11.8
3.ลูกจ้างเอกชน 29,631 25.9 7,025 30.7 9,412 19.5
4.ทำงานสว่ นตัว 44,586 38.8 19,871 42.7 9,760 34.0 ชาย ร้อยละ 8.8
5.ช่วยธรุ กิจครัวเรอื น 20,924 18.2 27,654 11.8 16,932 26.5
6. การรวมกลุ่ม 2,064 1.8 7,677 2.9 13,247 0.3 ตาราง ช จำนวนและรอ้ ยละของผ้มู งี านทำ จำแนกตาม
1,902
162 ชวั่ โมงการทำงานต่อสปั ดาห์ และเพศ หน่วย : คน

ชวั่ โมงกำร รวม ชำย หญิง
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
ทำงำนต่อ
สปั ดำห์ จำนวน ร้อยละ
3.4 การศึกษา
ยอดรวม 114,766 100.0 64,805 100.0 49,961 100.0
เมื่อพิจารณาระดับการศึกษาที่สำเร็จของผู้
มีงานทำในไตรมาสน้ี พบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่สำเร็จ 1. 0 ชั่วโมง1/ 135 0.1 135 0.2 --
การศึกษาระดับมัธยมศึกษา มีจำนวน 34,404 คน
คิดเป็นร้อยละ 30.0 โดยสัดส่วนของชายสูงกว่าหญิง 2. 1-9 ช่วั โมง 460 0.4 460 0.7 --
คือ ชายร้อยละ 32.2 หญิงร้อยละ 27.1 รองลงมาคือ
ผู้ท่ีสำเร็จการศึกษาระดับ ประถมศึกษา จำนวน 3. 10-34 ชว่ั โมง 17,410 15.2 9,908 15.3 7,502 15.0
31,220 คน คิดเป็นร้อยละ 27.2 ผู้ที่สำเร็จการศึกษา 4. 35-49 ชั่วโมง 85,161 74.2 48,616 75.0 36,545 73.2
ระดับต่ำกว่าประถมศึกษา มีจำนวน 28,494 คน 8. 50ชว่ั โมงข้ึนไป 11,600 10.1 5,686 8.8 5,914 11.8
คิ ด เป็ น ร้ อ ย ล ะ 2 4 .8 ผู้ ที่ ส ำ เร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า
ระดับอุดมศึกษา จำนวน 19,745 คน คิดเป็นร้อยละ หมายเหตุ : 1/ ผไู้ ม่ไดท้ างานในสปั ดาหก์ ารสารวจ แต่มงี านประจา
17.2 ไม่มีการศกึ ษา 903 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.8
4. การว่างงาน
ตาราง ฉ จำนวนและร้อยละของผู้มงี านทำ จำแนกตาม
ป ร ะ ช า ก ร ข อ ง จั ง ห วั ด อ ำ น า จ เจ ริ ญ ว่ า ง ง า น
ระดบั การศกึ ษาท่สี ำเร็จ และเพศ หน่วย : คน จำนวนทั้งส้ิน 1,033 คน เป็นชายจำนวน 615 และเป็น
หญงิ จำนวน 418 คน คดิ เป็นชายร้อยละ 59.5 และหญิง
ระดบั การศึกษา รวม ชาย หญิง ร้อยละ 40.5 ตามลำดับ

ที่สำเรจ็ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ สำหรับอัตราการว่างงานของประชากรหมายถึง
สัดส่วนของผู้ว่างงานต่อจำนวนประชากรที่อยู่ในกำลัง
ยอดรวม 114,766 100.0 64,805 100.0 49,961 100.0 แรงงานรวม พบว่าจังหวดั อำนาจเจรญิ มอี ัตราการวา่ งงาน
ร้อยละ 0.9 โดยชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิง คือร้อยละ 0.9
1.ไม่มีการศึกษา 903 0.8 494 0.8 409 0.8 และ 0.8 ตามลำดับ

2.ต่ำกว่าประถมศกึ ษา 28,494 24.8 17,000 26.2 11,494 23.0 ตาราง ซ จำนวนและอัตราการว่างงาน จำแนกตามเพศ

3.ประถมศึกษา 31,220 27.2 17,723 27.3 13,497 27.1 หน่วย : คน

4.มัธยมศึกษา 34,679 30.0 20,843 32.2 13,561 27.1 ผู้อยู่ในกำลงั ผวู้ ่างงาน
แรงงาน จำนวน ร้อยละ
5.อุดมศกึ ษา 19,745 17.2 8,745 13.5 11,000 22.0 เพศ

6.ไม่ทราบ -- -- -- ยอดรวม 117,361 1,033 0.9

3.5 ช่วั โมงการทำงาน ชาย 66,145 615 0.9

ในจำนวนผู้มีงานทำ 114,766 คนน้ัน เป็นผู้ท่ี หญิง 51,216 418 0.8
ทำงานต่อสัปดาห์ต้ังแต่ 1 ช่ัวโมงขึ้นไป มีจำนวน
114,631 คน ผู้ไม่ได้ทำงานในสัปดาห์การสำรวจ แต่มี หมายเหตุ : อตั ราการวา่ งงาน = ผวู้ ่างงาน 100
งานประจำ(ชว่ั โมงทำงานเป็น “0”) จำนวน 135 คน
ผู้อย่ใู นกำลงั แรงงานรวม
ในการสำรวจรอบน้ี พบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ท่ี
ทำงาน 35-49 ชั่วโมง จำนวน 85,161 คน คิดเป็น

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
ระเบียบวิธี

ภาคผนวก ก
ระเบยี บวิธี

1. วธิ กี ารสารวจ

การสารวจน้ีประชากรเปา้ หมาย ไดแ้ ก่ ครัวเรือนส่วนบคุ คลและครวั เรือนกลุ่มบุคคลประเภทครัวเรอื น
คนงานท่ีอาศัยอยู่ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลทุกจังหวัดท่ัวประเทศ ยกเว้น ครัวเรือนชาวต่างชาติท่ี
ทางานในสถานทูตหรือองค์การระหว่างประเทศที่มีเอกสิทธท์ิ างการทตู

การสารวจแต่ละเดือน สานักงานสถิติแห่งชาติได้ดาเนินการสารวจในทุกจังหวัดท่ัวประเทศ แผนการ
เลือกตัวอย่างท่ีใช้เป็นแบบ Stratified Two-stage Sampling โดยหน่วยตัวอย่างข้ันที่หนึ่ง คือ เขตแจงนับ
(Enumeration Area : EA) จานวน 1,990 EA ตัวอย่าง จากทั้งสิ้นจานวน 127,460 EA และหน่วยตัวอย่าง
ข้ันที่สอง คือ ครัวเรือนส่วนบุคคลและสมาชิกในทุกครัวเรือนกลุ่มบุคคลประเภทครัวเรือนคนงาน จานวน
27,960 ครัวเรือนตัวอย่าง หรือคิดเป็นจานวนประชาชนตัวอย่างประมาณ 95,000 คน ซ่ึงขนาดตัวอย่างในแต่
ละเดือนสามารถนาเสนอผลการสารวจในระดับภาค (กรุงเทพมหานคร และ 4 ภาค) โดยจาแนกตาม
เขตการปกครอง คือ ในเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาล แต่ไม่เพียงพอสาหรับนาเสนอผลการสารวจใน
ระดับจังหวัดหรือพ้ืนที่ย่อยกว่าน้ี สาหรบั การนาเสนอผลการสารวจในระดับจังหวัดได้ใช้ข้อมูลของการสารวจ
จานวน 3 เดอื น เพอ่ื ให้ได้ขนาดตัวอยา่ งเพยี งพอ เชน่ กรณสี รปุ รายงานผลการสารวจระดับจังหวดั ในไตรมาสท่ี
1 ของปี พ.ศ. 2563 กไ็ ดน้ าข้อมลู ของเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ และมนี าคม 2563 มารวมกัน เป็นต้น

สาหรับขนาดตัวอย่างของจังหวัดอานาจเจริญ ใช้หน่วยตัวอย่างขั้นที่หนึ่ง จานวน 60 EA ตัวอย่าง
หน่วยตวั อย่างขนั้ ท่สี อง จานวน 840 ครวั เรอื นตวั อย่าง

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือนหรือสมาชิกในครัวเรือนตัวอย่าง
โดยเจ้าหน้าที่ของสานักงานสถิติแห่งชาติ/สานักงานสถิติจังหวัด โดยผู้ทาการสัมภาษณ์ทุกคนจะมีคู่มือ
การปฏิบัตงิ านเกบ็ รวบรวมข้อมูลสาหรบั ใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน ทง้ั นี้เพือ่ ใหท้ ุกคนปฏิบัตงิ านไปในทางเดียวกนั

ส่วนการประมวลผลข้อมูลนั้นดาเนินการในส่วนกลางตามหลักวิชาการสถิติ โดยนาข้อมูลท่ีได้จาก
ตัวอย่างมาประมาณค่า โดยมีการถ่วงน้าหนัก (Weighty) ซ่ึงค่าถ่วงน้าหนักคานวณได้จากสูตรการประมาณค่า
ทสี่ อดคล้องกับวิธกี ารเลือกตวั อยา่ ง เพ่ือให้ไดค้ า่ ประมาณประชากรใกล้เคียงกับคา่ ทแี่ ทจ้ รงิ

2. คาบการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

การสารวจได้ดาเนินการพร้อมกันทั่วประเทศ ในระหว่างวันท่ี 1 – 12 ของเดือน มกราคม –
มีนาคม พ.ศ. 2563

ภาคผนวก ข
ตารางสถิติ

ตารางสถติ ิ หนา้
15
ตารางท่ี 1 จานวนและร้อยละของประชากร จาแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ 16
ตารางที่ 2 จานวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จาแนกตามระดบั การศึกษาท่ีสาเร็จและเพศ 17
ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของผ้มู งี านทา จาแนกตามอาชีพและเพศ 18
ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละของผมู้ งี านทา จาแนกตามอตุ สาหกรรมและเพศ 19
ตารางท่ี 5 จานวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามสถานภาพการทางานและเพศ 20
ตารางท่ี 6 จานวนและร้อยละของผมู้ ีงานทา จาแนกตามช่วั โมงการทางานต่อสัปดาห์และเพศ 21
ตารางที่ 7 จานวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามระดับการศกึ ษาท่ีสาเรจ็ และเพศ

15
ตารางท่ี 1 จานวนและร้อยละของประชากร จาแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ

สถานภาพแรงงาน รวม ชาย หญิง

ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป 219,784 จานวน 113,470
1. ผูอ้ ยู่ในกำลงั แรงงำน 117,361 51,216
115,799 106,314 50,379
1.1 กำลังแรงงำนปัจจบุ ัน 114,766 66,145 49,961
1.1.1 ผู้มีงำนทำ 65,420
1.1.2 ผวู้ ำ่ งงำน 1,033 64,805 418
1,562 837
1.2 ผทู้ ี่รอฤดูกำล 102,423 615 62,254
2. ผไู้ ม่อยู่ในกำลงั แรงงำน 31,735 725 30,731
2.1 ทำงำนบ้ำน 18,237 40,169 9,276
2.2 เรียนหนังสอื 52,451 1,004 22,247
2.3 อ่ืนๆ 8,961
30,204 100.0
45.1
ผู้มีอายุ 15 ปขี ึ้นไป 100.0 100.0 44.4
1. ผู้อยู่ในกำลงั แรงงำน 53.4 62.2 44.0
52.7 61.5 0.4
1.1 กำลงั แรงงำนปัจจุบัน 52.2 60.9 0.7
1.1.1 ผมู้ ีงำนทำ 0.5 0.6 54.9
1.1.2 ผวู้ ำ่ งงำน 0.7 0.7 27.1
46.6 37.8 8.2
1.2 ผู้ท่ีรอฤดูกำล 14.5 0.9 19.6
2. ผ้ไู ม่อยู่ในกำลังแรงงำน 8.3 8.4
2.1 ทำงำนบ้ำน 23.8 28.5
2.2 เรียนหนังสือ
2.3 อ่นื ๆ

16
ตารางท่ี 2 จานวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ15 ปขี นึ้ ไป จาแนกตามระดบั การศกึ ษาทีส่ าเร็จและเพศ

ระดับการศึกษาท่ีสาเร็จ รวม ชาย หญิง

ยอดรวม 219,784 จานวน 113,470
1. ไม่มีการศึกษา 2,948 106,314 1,068
2. ต่ากวา่ ประถมศึกษา 70,396 38,803
3. ประถมศึกษา 53,973 1,880 26,972
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 37,336 31,593 18,208
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 30,513 27,001 14,613
28,076 19,128 13,939
5.1 สายสามัญ 2,436 15,899 674
5.2 สายอาชีวศึกษา 14,137
5.3 สายวชิ าการศึกษา 24,524 1,762 13,711
6. มหาวทิ ยาลยั 10,367 5,550
6.1 สายวิชาการ 9,456 10,813 5,006
6.2 สายวิชาชีพ 4,700 4,817 3,154
6.3 สายวิชาการศึกษา 4,450
7. อนื ๆ - 1,546 -
8. ไม่ทราบ 96 96
-
ยอดรวม 100.0 - 100.0
1. ไม่มีการศึกษา 1.3 0.9
2. ตา่ กว่าประถมศึกษา 32.0 ร้อยละ 34.2
3. ประถมศึกษา 24.6 23.8
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 17.0 100.0 16.0
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 13.9 12.9
12.8 1.8 12.3
5.1 สายสามัญ 1.1 29.6 0.6
5.2 สายอาชีวศึกษา - 25.4 -
5.3 สายวิชาการศึกษา 11.2 18.0 12.1
6. มหาวิทยาลัย 4.8 15.0 4.9
6.1 สายวชิ าการ 4.3 13.3 4.4
6.2 สายวิชาชีพ 2.1 1.7 2.8
6.3 สายวชิ าการศึกษา - -
7. อนื ๆ 0.0 - 0.1
8. ไม่ทราบ 10.2
4.5
4.2
1.5

-
-

17 ชาย หญิง
ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตามอาชพี และเพศ จานวน
49,961
อาชีพ รวม 64,805 1,515
3,706 5,639
ยอดรวม 114,766 1,577 1,374
1. ผู้บญั ญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผู้จัดการ 5,221 1,687
2. ผู้ประกอบวชิ าชีพด้านต่างๆ 7,216 546 13,564
3. ผู้ประกอบวชิ าชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพท่ีเกี่ยวข้อง 1,920 380 16,563
4. เสมียน 2,067 7,664 3,209
5. พนักงานบรกิ ารและพนักงานในร้านค้า และตลาด 21,228 26,278 1,589
6. ผู้ปฏบิ ัติงานท่ีมีฝีมือในด้านการเกษตร และการประมง 42,841 9,102 4,821
7. ผู้ปฏบิ ัติงานด้านความสามารถทางฝีมือ และธุรกิจอ่ืนๆท่ีเก่ียวข้อง 12,311 3,767
8. ผู้ปฏิบตั ิการโรงงานและเคร่ืองจักร และผู้ปฏิบตั ิงานด้านการประกอบ 5,356 11,785 -
9. อาชีพขั้นพ้ืนฐานต่างๆ ในด้านการขาย และการใหบ้ รกิ าร 16,606
10. คนงานซ่ึงมิได้จาแนกไว้ในหมวดอื่น - - 100.0
รอ้ ยละ 3.0
ยอดรวม 100.0 100.0 11.3
1. ผู้บญั ญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผู้จัดการ 4.5 2.7
2. ผู้ประกอบวชิ าชีพด้านต่างๆ 6.3 5.7 3.4
3. ผู้ประกอบวชิ าชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพที่เกี่ยวข้อง 1.7 2.4 27.1
4. เสมียน 1.8 0.8 33.3
5. พนักงานบริการและพนักงานในรา้ นค้า และตลาด 18.5 0.6 6.4
6. ผู้ปฏบิ ตั ิงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตร และการประมง 37.3 11.9 3.2
7. ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือ และธุรกิจอ่ืนๆท่ีเกี่ยวข้อง 10.7 40.6 9.6
8. ผู้ปฏบิ ัติการโรงงานและเคร่ืองจักร และผู้ปฏบิ ตั ิงานด้านการประกอบ 4.7 14.0 -
9. อาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ ในด้านการขาย และการให้บริการ 14.5 5.8
10. คนงานซ่ึงมิได้จาแนกไว้ในหมวดอ่ืน - 18.2

-

18

ตารางท่ี 4 จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ

อุตสาหกรรม รวม ชาย หญงิ
จานวน
ยอดรวม 114,766 49,961
1. เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง 44,934 64,805 17,628
2. การทาเหมืองแร่และเหมืองหิน 27,306
3. การผลิต - -
4. ไฟฟ้า ก๊าซ ไอนา และระบบปรบั อากาศ 12,049 - 5,909
5. การจัดหานา การจัดการ และการบาบัดนาเสีย ของเสยี และสงิ่ ปฏิกูล 6,140
6. การก่อสรา้ ง 64 -
7. การขายสง่ และการขายปลกี การซ่อมยานยนตแ์ ละจักรยานยนต์ - 64 -
8. การขนสง่ และสถานท่ีเก็บสินคา้ - 276
9. ที่พักแรมและบรกิ ารดา้ นอาหาร 8,796 8,520 10,817
10. ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร 19,394 8,577 204
11. กิจกรรมทางการเงนิ และการประกันภัย 1,037 833 3,024
12. กิจกรรมอสังหาริมทรัพย์ 4,085 1,061 -
13. กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคนิค - 309
14. กิจกรรมการบรหิ ารและการบรกิ ารสนับสนุน - 213 -
15. การบริหารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคบั 522 - 114
16. การศกึ ษา 537 267
17. กิจกรรมดา้ นสขุ ภาพและงานสังคมสงเคราะห์ - 190 2,279
18. ศลิ ปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 651 4,792 4,290
19. กิจกรรมบริการดา้ นอื่นๆ 457 1,164 2,631
20. กิจกรรมการจ้างงานในครัวเรอื นส่วนบุคคล กิจกรรมผลิตสนิ คา้ และบริการ 7,071 699 59
21. กิจกรรมขององค์การระหว่างประเทศและภาคีสมาชิก 5,454 54 2,007
22. ไม่ทราบ 3,330 4,655 147
113 - -
6,662 - -
147 -
100.0
- ร้อยละ 35.2
- -
100.0 11.8
ยอดรวม 100.0 42.1 -
1. เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง 39.0 - -
2. การทาเหมืองแรแ่ ละเหมืองหิน - 9.5 0.6
3. การผลติ 10.5 0.1 21.7
4. ไฟฟ้า ก๊าซ ไอนา และระบบปรับอากาศ 0.1 - 0.4
5. การจัดหานา การจัดการ และการบาบัดนาเสีย ของเสยี และสงิ่ ปฏิกูล - 13.1 6.1
6. การก่อสรา้ ง 7.7 13.3 -
7. การขายส่งและการขายปลกี การซอ่ มยานยนต์และจักรยานยนต์ 16.8 1.3 0.6
8. การขนสง่ และสถานที่เก็บสินคา้ 0.9 1.6 -
9. ที่พักแรมและบรกิ ารดา้ นอาหาร 3.6 - 0.2
10. ข้อมูลข่าวสารและการส่ือสาร - 0.3 0.5
11. กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย 0.5 - 4.6
12. กิจกรรมอสงั หารมิ ทรัพย์ - 0.8 8.6
13. กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคนิค 0.6 0.3 5.3
14. กิจกรรมการบรหิ ารและการบรกิ ารสนับสนุน 0.4 7.4 0.1
15. การบริหารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ 6.2 1.8 4.0
16. การศกึ ษา 4.8 1.1 0.3
17. กิจกรรมดา้ นสขุ ภาพและงานสงั คมสงเคราะห์ 2.9 0.1 -
18. ศลิ ปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 0.1 7.2 -
19. กิจกรรมบริการดา้ นอื่นๆ 5.8 -
20. กิจกรรมการจ้างงานในครวั เรือนส่วนบุคคล กิจกรรมผลิตสนิ คา้ และบรกิ าร 0.1 -
21. กิจกรรมขององค์การระหว่างประเทศและภาคสี มาชิก - -
22. ไม่ทราบ -

19
ตารางที่ 5 จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตามสถานภาพการทางานและเพศ

สถานภาพการทางาน รวม ชาย หญิง

จานวน 49,961
448
ยอดรวม 114,766 64,805
1. นายจ้าง 1,124 676 9,412
2. ลูกจ้างรัฐบาล 16,437 9,760
3. ลูกจ้างเอกชน 29,631 7,025 16,932
4. ทางานส่วนตัว 44,586 19,871 13,247
5. ช่วยธรุ กิจครัวเรอื น 20,924 27,654
6. การรวมกลุ่ม 2,064 7,677 162
1,902
รอ้ ยละ 100.0
0.9
ยอดรวม 100.0 100.0 18.8
19.5
1. นายจ้าง 1.0 1.0 34.0
26.5
2. ลูกจ้างรฐั บาล 14.3 10.9 0.3

3. ลูกจ้างเอกชน 25.9 30.7

4. ทางานส่วนตัว 38.8 42.7

5. ช่วยธุรกิจครัวเรือน 18.2 11.8

6. การรวมกลุ่ม 1.8 2.9

20
ตารางท่ี 6 จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตามช่ัวโมงการทางานตอ่ สัปดาห์และเพศ

ชั่วโมงการทางาน รวม ชาย หญิง

ยอดรวม 114,766 จานวน 49,961
135 -
1. 0 ชั่วโมง1/ 460 64,805 -
2. 1-9 ชั่วโมง 135
3. 10-19 ชั่วโมง 1,971 460 1,196
4. 20-29 ช่ัวโมง 13,291 775 5,091
5. 30-34 ช่ัวโมง 2,148 1,215
6. 35-39 ช่ัวโมง 22,838 8,200 9,534
7. 40-49 ช่ัวโมง 62,323 933 27,011
8. 50 ชั่วโมงขึ้นไป 11,600 5,914
13,304
ยอดรวม 100.0 35,312 100.0
5,686 -
1. 0 ชั่วโมง 1/ 0.1 รอ้ ยละ -
100.0
2. 1-9 ช่ัวโมง 0.4 2.4
0.2 10.2
3. 10-19 ชั่วโมง 1.7 0.7 2.4
1.2 19.1
4. 20-29 ช่ัวโมง 11.6 12.7 54.1
1.4 11.8
5. 30-34 ชั่วโมง 1.9 20.5
54.5
6. 35-39 ชั่วโมง 19.9 8.8

7. 40-49 ช่ัวโมง 54.3

8. 50 ช่ัวโมงขึ้นไป 10.1

หมายเหตุ : 1/ ผู้ไม่ได้ทางานในสัปดาห์การสารวจ แต่มีงานประจา

21

ตารางท่ี 7 จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตามระดับการศึกษาที่สาเร็จและเพศ

ระดับการศึกษาท่ีสาเร็จ รวม ชาย หญิง

ยอดรวม 114,766 จานวน 49,961
1. ไม่มีการศึกษา 903 409
2. ต่ากวา่ ประถมศึกษา 64,805
3. ประถมศึกษา 28,494 494 11,494
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 31,220 13,497
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 16,712 17,000 6,286
17,692 17,723 7,275
5.1 สายสามัญ 17,076 10,426 7,144
5.2 สายอาชีวศึกษา 10,417
5.3 สายวิชาการศึกษา 616 9,932 131
6. มหาวทิ ยาลัย - -
6.1 สายวชิ าการ 485
6.2 สายวิชาชีพ 19,745 - 11,000
6.3 สายวชิ าการศึกษา 9,067 4,857
7. อืนๆ 6,871 8,745 3,360
8. ไม่ทราบ 3,807 4,210 2,783
3,511
ยอดรวม - 1,024 -
1. ไม่มีการศึกษา - -
2. ต่ากว่าประถมศึกษา -
3. ประถมศึกษา 100.0 - 100.0
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 0.8 รอ้ ยละ 0.8
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 24.8 100.0 23.0
27.2 0.8 27.0
5.1 สายสามัญ 14.6 26.2 12.5
5.2 สายอาชีวศึกษา 15.4 27.3 14.6
5.3 สายวชิ าการศึกษา 14.9 16.1 14.3
6. มหาวทิ ยาลัย 0.5 16.1 0.3
6.1 สายวิชาการ - 15.4 -
6.2 สายวชิ าชีพ 17.2 0.7 22.0
6.3 สายวิชาการศึกษา 7.9 - 9.7
7. อืนๆ 6.0 13.5 6.7
8. ไม่ทราบ 3.3 6.5 5.6
- 5.4 -
- 1.6 -
-
-


Click to View FlipBook Version