The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนจัดการเรียนรู้วิชาไมโครคอรโทรลเลอร์ 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นพรัตน์ มโนรํา, 2020-02-26 22:55:26

แผนจัดการเรียนรู้วิชาไมโครคอรโทรลเลอร์ 2562

แผนจัดการเรียนรู้วิชาไมโครคอรโทรลเลอร์ 2562

แผนการจัดการเรยี นรมู้ ่งุ เนน้ สมรรถนะ
บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลกั ธรรมาภบิ าล

จติ อาสา และค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ
ประจาภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562

วิชา ไมโครคอนโทรลเลอร์ รหัส 2105-2105 ทฤษฏี 1 ปฎิบตั ิ 3 หน่วยกติ 2

หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2562
ประเภทวชิ า ชา่ งอตุ สาหกรรม สาขาวชิ า ชา่ งอิเล็กทรอนกิ ส์

สาขางาน อิเล็กทรอนกิ ส์

จดั ทาโดย
นายนพรตั น์ มโนรา

วทิ ยาลยั เทคนคิ เชียงคา
อาเภอเชียงคา จังหวดั พะเยา
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

รายการตรวจสอบและอนุญาตใหใ้ ช้

แผนการจัดการเรยี นรมู้ ุ่งเนน้ สมรรถนะบูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลักธรรมาภิบาล
จิตอาสา และคา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ
ประจาภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562

วิชา ไมโครคอนโทรลเลอร์ รหัส 2105-2105 ทฤษฏี 1 ปฎิบัติ 3 หน่วยกิต 2 .
หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี พุทธศกั ราช 2562

ประเภทวชิ า ชา่ งอตุ สาหกรรม สาขาวชิ า ชา่ งอิเลก็ ทรอนิกส์
สาขางาน อิเลก็ ทรอนกิ ส์
ครูผสู้ อน
นายนพรตั น์ มโนรา

 ควรอนญุ าตใหใ้ ช้สอนได้  เห็นควรอนุญาตให้ใช้สอนได้
 ควรปรบั ปรงุ เกีย่ วกบั  ควรปรับปรุงดงั เสนอ
 อน่ื ๆ....................................................................
…………………………………...............................
……………………………………………………………. ……………………………………………..........................
ลงช่อื ...........................................................
ลงชอ่ื .................................................. (นางสาวชวาลนิ ี สิงห์คา)
(นายนพรัตน์ มโนรา) รองผอู้ านวยการฝา่ ยวิชาการ
หัวหน้าแผนกวชิ า ............../..................../...............

............../............./...............

อนญุ าตให้ใชส้ อนได้
อนื่ ๆ........................................................................................

ลงชื่อ...........................................................
(นายสมปอง พลู เพิม่ )

ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั เทคนคิ เชียงคา
............../.................../..............

หลักสูตรรายวชิ า

ชือ่ วิชา ไมโครคอนโทรลเลอร์ รหัสวิชา 2105 – 2105
ทฤษฎี 1 ปฏิบตั ิ 3 หนว่ ยกิต 2 หลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ประเภทวชิ าชา่ งอตุ สาหกรรม สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานอิเล็กทรอนกิ ส์

จดุ ประสงค์รายวิชา
1. เข้าใจโครงสร้าง การทางาน ชุดคาสงั่ และการเขยี นโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์
2. มที กั ษะการใชช้ ดุ คาสงั่ และการเขียนโปรแกรมควบคุมไมโครคอนโทรลเลอร์
3. มีกิจนิสยั ในการแสวงหาความร้เู พมิ่ เตมิ การทางานด้วยความประณีต รอบคอบและปลอดภยั

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรเู้ กย่ี วกับการประยุกตใ์ ช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์
2. ประกอบและทดสอบไมโครคอนโทรเลอร์
3. ประยุกต์ใชง้ านไมโครคอนโทรลเลอร์

คาอธิบายรายวชิ า

ศึกษาและปฏิบัตเิ กีย่ วกับโครงสร้างส่วนประกอบและหนา้ ทีใ่ นสว่ นต่างๆ ของไมโครคอนโทรลเลอร์
ชุดคาสง่ั และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาแอสเซมบลแี ละภาษาระดับสงู ของไมโครคอนโทรเลอร์ การควบคุม
ระบบดว้ ยไมโครคอนโทรลเลอร์ การต่อวงจรและการประยกุ ต์ใชง้ าน และการไมโครคอนโทรเลอร์ในระบบ IOT
เบอ้ื งต้น

หน่วยการเรียนรู้

หน่วยที่ ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ จานวน สปั ดาหท์ ี่
ช่วั โมง

1 ความรู้เกี่ยวกบั ไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บอ้ื งต้น 41
2 Arduino IDE ซอฟตแ์ วร์สาหรับโปรแกรมภาษา C
3 โครงสร้างโปรแกรมของ Arduino 42
4 ฟงั กช์ ่นั พื้นฐาน และ ไลบรารโ่ี ปรแกรมสาหรับ Arduino
5 การอา่ นคา่ อนาลอ็ กและดิจิตอล 8 3–4

6 การเช่ือมต่อจอแสดงผล LCD ของ Arduino ( สอบกลางภาค ) 4 5-6
7 การขับโหลดไฟฟ้ากระแสสูงและเช่อื มต่ออุปกรณ์ภายนอก
8 การประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรเลอร์เบอื้ งตน้ 8 7-8
9 การใชง้ านไมโครคอนโทรเลอร์ในระบบ IOT ( เพ่ิมเตมิ คาอธิบายรายวิชา )
8 9 - 10
สอบปลายภาค
รวม 8 11 - 12

12 13 - 15

8 16 – 17

4 18

72 ชม.

ตารางวิเคราะห์หลักสตู รรายวชิ า

รหัสวิชา 2105 - 2105 ชื่อวิชา ไมโครคอนโทรลเลอร์ จานวน 2 หนว่ ยกติ 4 ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดบั พฤติกรรมทพ่ี ึงประสงค์ การบูรณาการตาม
ปรัชญา

หน่วย ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ พทุ ธพิ สิ ัย ัทกษะพิสัย
ิจตพิสัย (12ประการ)
ที่ ))พอประมาณ
ีมเห ุตผล
123456 ูภมิ ุ้คมกัน
ความรู้
ุคณธรรม
เวลา (ชม.)

1 ความร้เู กย่ี วกบั ไมโครคอนโทรลเลอร์      4
เบื้องต้น

2 Arduino IDE ซอฟตแ์ วร์สาหรบั โปรแกรม     4
ภาษา C

3 โครงสร้างโปรแกรมของ Arduino      8

4 ฟังก์ชนั่ พ้นื ฐาน และ ไลบรารโี่ ปรแกรม         12
สาหรบั Arduino

5 การอา่ นคา่ อนาล็อกและดจิ ิตอล              20

6 การเชื่อมตอ่ จอแสดงผล LCD ของ              16
Arduino ( สอบกลางภาค )

7 การขบั โหลดไฟฟ้ากระแสสูงและเชื่อมตอ่        4
อปุ กรณ์ภายนอก

8 การประยุกตใ์ ช้งานไมโครคอนโทรเลอร์     
เบื้องต้น

9 การใช้งานไมโครคอนโทรเลอร์ในระบบ     
IOT ( เพิ่มเตมิ คาอธบิ ายรายวชิ า )

10 สอบปลายภาค 4

ความสาคญั /สัดส่วนคะแนน(รอ้ ยละ)/รวม 40 40 20 72

ระดับพุทธิพสิ ยั 1 = ความรู้ 2 = ความเขา้ ใจ 3 = การนาไปใช้

4 = การวิเคราะห์ 5 = การสังเคราะห์ 6 = การประเมนิ ค่า



ชอื่ หนว่ ย หน่วยการเรียนรแู้ ละส

หนว่ ยที่ 1. ความรู้
ความรู้เกย่ี วกบั 1. อธบิ ายความรูเ้ กีย่ วกับ
ไมโครคอนโทรลเลอร์เบื้องต้น
ไมโครคอนโทรลเลอร์เบ้อื งต้น
2. จาแนกตระกลู และหนา้ ที่ส่วนตา่ งๆ

ของไมโครคอนโทรลเลอร์

หน่วยที่ 2. 1. อธิบายการตดิ ตง้ั ซอฟตแ์ วร์
ARDUINO IDE ซอฟตแ์ วรส์ าหรับ Arduino IDE
โปรแกรมภาษา C
2. อธบิ ายลกั ษณะโดยท่วั ไปของ
โปรแกรม Arduino IDE

3. บอกวิธีการใชเ้ มนูบารแ์ สดงรายการ
ของคาส่ัง

สมรรถนะประจาหน่วย คุณลกั ษณะทีพ่ ง่ึ ประสงค์
1. เข้าเรียนตรงเวลา
สมรรถนะ 2. คารพ นอบน้อมให้เกียร ติ
ทักษะ
ครูผูส้ อน
1. บอกสว่ นประกอบของ 3. แต่งกายเรียบรอ้ ยถูกต้องตาม
ไมโครคอนโทรลเลอร์ AVR
ระเบียบ
2. อธิบายโครงสร้างภายใน 4. มีความรับผดิ ชอบ และทางาน
ไมโครคอนโทรลเลอร์ AVR
รว่ มกบั ผอู้ ื่นได้
3. บอกส่วนประกอบและโครงสรา้ ง 5. มีความละเอียดรอบครอบ
ภายในของไมโครคอนโทรลเลอร์
Arduino ถูกต้องและปลอดภยั

1. ติดตัง้ ซอฟตแ์ วร์ Arduino IDE ได้ 1. เขา้ เรียนตรงเวลา
2. ทดสอบการทางานบอรด์ Arduino 2. คารพ นอบน้อมให้เกียร ติ

เบอ้ื งตน้ ครผู ู้สอน
3. ทดสอบการทางานซอฟตแ์ วร์ 3. แต่งกายเรียบรอ้ ยถูกต้องตาม

Arduino IDE เบอ้ื งต้น ระเบยี บ
4. มีความรับผดิ ชอบ และทางาน

รว่ มกับผู้อ่นื ได้

หน่วยที่ 3. 1. บอกหน้าที่การทางานสว่ นของ
โครงสรา้ งโปรแกรมของ ARDUINO ฟงั กช์ ่นั

หน่วยท่ี 4. 2. บอกหนา้ ทก่ี ารทางานสว่ นของ
ฟังกช์ น่ั พ้ืนฐาน และ ฟงั ก์ชัน่ setup()
ไลบราร่โี ปรแกรมสาหรับ Arduino
3. บอกหน้าทก่ี ารทางานสว่ นของ
ฟังกช์ ัน่ loop()

4. บอกหนา้ ทก่ี ารทางานของตวั กระทา
ทางคณติ ศาสตร์

5. บอกหนา้ ท่ีการทางานสว่ นของตัว
กระทาเปรียบเทยี บ

6. ใชง้ านสว่ นของตวั กระทาระดบั บิตได้
7. ใชง้ านไวยากรณ์ภาษา C / C++

ของ Arduino
8. ใชง้ านตัวแปร
1. บอกฟงั กช์ ่ันอนิ พตุ เอาต์พตุ ดิจติ อล

(Digital l/0)
2. บอกฟงั ก์ชนั่ เกี่ยวกับการสือ่ สารผ่าน

พอร์ตอนุกรม

5. มีความละเอียดรอบครอบ
ถกู ต้องและปลอดภัย

1. เขยี นโปรแกรม ภาษา C / C++ 1. เข้าเรยี นตรงเวลา
ของ Arduino โดยใชฟ้ ังกช์ ั่น ตา่ งๆ 2. คารพ นอบน้อมให้เกียร ติ

2. ทดสอบการทางานของโปรแกรม ครูผ้สู อน
3. แต่งกายเรียบรอ้ ยถูกต้องตาม

ระเบยี บ
4. มคี วามรับผิดชอบ และทางาน

ร่วมกบั ผู้อ่นื ได้
5. มีความละเอียดรอบครอบ

ถูกต้องและปลอดภัย

1. ใชฟ้ งั กช์ ั่นอินพุต เอาตพ์ ตุ ดิจิตอล 1. เขา้ เรียนตรงเวลา
(Digital l/0) 2. คารพ นอบน้อมให้เกียร ติ

2. ใช้ฟงั กช์ นั่ เกี่ยวกับการสอื่ สารผ่าน ครผู สู้ อน
พอร์ตอนกุ รม

3. บอกฟังกช์ ่ันอินพุตเอาต์พตุ อนะล็อก
4. บอกฟังก์ชั่นเกีย่ วกบั เวลา
5. บอกฟังกช์ ั่นเกย่ี วกับอินเตอร์รัปต์

ภายนอก
6. บอกฟังก์ชั่นทางคณิตศาสตร์
7. ฟงั ก์ชัน่ เกย่ี วกบั เลขสุ่ม

8. บอกไลบรารโี่ ปรแกรมสาหรบั
Arduino

9. บอกไลบราร่ีเกยี่ วกบั เวลา
10. บอกไลบรารีเ่ ก่ยี วกบั การอา่ นค่า

ดจิ ติ อล

3. ใชฟ้ งั กช์ น่ั อนิ พุตเอ้าต์พุตแอนะลอ็ ก 3. แต่งกายเรียบรอ้ ยถูกต้องตาม
4. ใชฟ้ ังก์ชนั่ เกย่ี วกบั เวลา ระเบียบ
5. ใชฟ้ งั ก์ช่ันเกี่ยวกบั อนิ เตอรร์ ัปต์
4. มีความรบั ผิดชอบ และทางาน
ภายนอก ร่วมกับผ้อู ่นื ได้
6. ใช้ฟงั กช์ น่ั ทางคณิตศาสตรไ์ ด้
7. ใชฟ้ งั ก์ชั่นเกีย่ วกับเลขสมุ่ 5. มีความละเอียดรอบครอบ
ถกู ตอ้ งและปลอดภยั

8. เลือกใช้งานไลบราร่ีโปรแกรมสา
หรับ Arduino

9. เลอื กใชง้ านไลบรารเี่ กี่ยวกบั เวลา
สาหรบั Arduino

10. เลอื กใชง้ านไลบรารเ่ี กี่ยวกับการ
อ่านค่าดจิ ิตอลสาหรับ Arduino

11. เลือกใช้งานไลบรารเ่ี กีย่ วกบั การ
อา่ นคา่ แอนะลอ็ กสาหรบั Arduino

12. เลือกใชง้ านไลบรารี่เกี่ยวกบั การ
สอื่ สารข้อมูลอนกุ รมสาหรบั
Arduino

หนว่ ยท่ี 5. 1. อธิบายคณุ ลักษณะของสัญญาณ
การอา่ นคา่ อนาลอ็ กและดจิ ิตอล อนาลอ็ กและดจิ ติ อล

2. บอกไลบรารี่เกีย่ วกบั การอ่านคา่
อนาลอ็ ก

3. บอกไลบรารีเ่ ก่ียวกบั การส่อื สาร
ขอ้ มูลอนุกรม

หนว่ ยท่ี 6. 1. ความรทู้ ว่ั ไปเกย่ี วกับ LCD Display
การเชื่อมตอ่ จอแสดงผล LCD ของ 2. โครงสรา้ งโดยท่วั ไปของ LCD
Arduino ( สอบกลางภาค ) 3. การเชอ่ื มตอ่ สัญญาณขาข้อมูล

ระหวา่ ง Arduino กบั LCD
Controller
4. รายละเอียดคาสงั่ ในการสง่ั งาน
ระหว่าง Arduino กบั จอ LCD
5. ขัน้ ตอนการตดิ ตง้ั ไลบรารจี่ อแสดงผล
LCD

1. เขียนโปรแกรมอา่ นค่าจาก 1. เข้าเรียนตรงเวลา
เซนเซอรอ์ นาลอ็ กไดต้ ามเงอื่ นไข 2. คารพ นอบน้อมให้เกียร ติ

2. เขยี นโปรแกรมอา่ นค่าดิจิตอลได้ ครูผู้สอน
ตามเงื่อนไข 3. แต่งกายเรียบร้อยถูกต้องตาม

ระเบียบ
4. มคี วามรับผิดชอบ และทางาน

รว่ มกบั ผู้อ่นื ได้
5. มีความละเอียดรอบครอบ

ถกู ต้องและปลอดภัย

1. เชอ่ื มตอ่ จอ Character LCD 1. เข้าเรียนตรงเวลา
2. เชอื่ มต่อสญั ญาณขาขอ้ มลู ระหวา่ ง 2. คารพ นอบน้อมให้เกียร ติ

Arduinoกับ LCD (I2C) ครูผูส้ อน
3. บอกรายละเอียดคาสง่ั ในการ 3. แต่งกายเรียบร้อยถูกต้องตาม

ส่ังงานระหวา่ ง Arduino กบั จอ ระเบยี บ
LCD 4. มคี วามรับผิดชอบ และทางาน

รว่ มกับผู้อ่ืนได้
5. มีความละเอียดรอบครอบ

ถกู ตอ้ งและปลอดภยั

หน่วยที่ 7. 6. ฟังกช์ ่ันส่ังงานจอ LCD
การขับโหลดไฟฟา้ กระแสสงู และ 7. การสร้างตวั อักษรหรือใสร่ ปู ภาพลง
เชือ่ มต่ออปุ กรณ์ภายนอก
จอ LCD
หน่วยท่ี 8. 1. อธบิ ายหลักการทางานของรีเลย์
การตอ่ วงจรและการประยกุ ต์ใช้
งานไมโครคอนโทรเลอรเ์ บื้องตน้ และวงจรขบั รีเลย์
2. บอกวิธีการเช่ือมต่ออปุ กรณภ์ ายนอก

ดว้ ยบอรด์ ขบั รเี ลย์
3. อธบิ ายความรเู้ บ้อื งต้นเกยี่ วกับ

มอเตอร์ไฟฟา้
4. อธิบายวธิ ีการเชื่อมตอ่ ดซี ีมอเตอร์

และสเตปมอเตอร์ ด้วย Arduino
5. อธิบายการควบคมุ ดีซีมอเตอร์และ

สเตปมอเตอร์ ด้วย Arduino
6. อธิบการหลกั การทางานของ Servo

Motor
1. บอกวิธกี ารการประยุกตใ์ ช้งาน

ไมโครคอนโทรเลอร์เบือ้ งต้นกบั งาน
ในชีวิตประจาวัน
2. เขยี นโฟว์ชารจ์ แสดงกระบวนการ
ทางานของโครงงาน

1. ตอ่ วงจรขบั รีเลย์ 1. เขา้ เรียนตรงเวลา
2. เชอ่ื มตอ่ อปุ กรณภ์ ายนอกด้วย 2. คารพ นอบน้อมให้เกียร ติ

บอร์ดขับรีเลย์ ครูผู้สอน
3. เขียนโปรแกรมควบคุมอปุ กรณ์ 3. แต่งกายเรียบรอ้ ยถูกต้องตาม

ภายนอกดว้ ยบอร์ดขับรเี ลย์ ระเบยี บ
4. เชอ่ื มต่อสเตปมอเตอรด์ ว้ ย 4. มคี วามรับผิดชอบ และทางาน

Arduino ร่วมกบั ผู้อน่ื ได้
5. เชอ่ื มต่อดีซีมอเตอร์ดว้ ย Arduino 5. มีความละเอียดรอบครอบ
6. เขียนโปรแกรมควบคุมดซี มี อเตอร์
ถูกต้องและปลอดภยั
ดว้ ย Arduino
7. เขยี นโปรแกรมควบคมุ สเตปมอ 1. เขา้ เรียนตรงเวลา
2. คารพ นอบน้อมให้เกียร ติ
เตอร์ด้วย Arduino
1. ต่อวงจรควบคมุ โดยใช้ ครูผสู้ อน
3. แต่งกายเรียบรอ้ ยถูกต้องตาม
ไมโครคอนโทรเลอรแ์ ละอปุ กรณ์
ต่อพว่ งอ่ืนๆ ระเบยี บ
2. เขียนโปรแกรมเพือ่ ควบคุมการ
ทางานของไมโครคอนโทรเลอร์ตาม
เงอื่ นไขที่กาหนด

3. เขยี นโปรแกรมควบคุมโดย
ไมโครคอนโทรลเลอร์

หน่วยท่ี 9 1. อธบิ ายความหมายคณุ ลกั ษณะของ
การใช้งานไมโครคอนโทรเลอรใ์ น ระบบ IOT
ระบบ IOT
2. บอกถึงลักษณะการประยุกต์ใช้งาน
ไมโครคอนโทรเลอรใ์ นระบบ IOT

3. ค้นควา้ ความรู้เกย่ี วกบั ระบบ IOT
เพมิ่ เติม

3. ทดสอบการทางานของวงจรและ 4. มีความรับผดิ ชอบ และทางาน
โปรแกรมท่ีสร้างข้ึนตามเงือ่ นไข ร่วมกบั ผอู้ นื่ ได้

5. มีความละเอียดรอบครอบ
ถูกตอ้ งและปลอดภัย

1. ต่อใช้งานโมดลู ESP8266 ร่วมกบั 1. เข้าเรียนตรงเวลา
อปุ กรณ์อน่ื ๆ ตามเงอื่ นไขที่กาหนด 2. คารพ นอบน้อมให้เกียร ติ

2. เขียนโปรแกรมเพื่อทดสอบการ ครผู ้สู อน
ทางานโมดลู ESP8266 ร่วมกบั 3. แต่งกายเรียบรอ้ ยถูกต้องตาม
อปุ กรณอ์ ืน่ ๆ ตามเงือ่ นไขที่กาหนด
ระเบยี บ
3. ทดสอบการทางานของ โมดลู 4. มคี วามรบั ผดิ ชอบ และทางาน
ESP8266 รว่ มกับแอปพิเคชัน่
Blynk เพอื่ ทดสอบการทางานใน ร่วมกบั ผ้อู น่ื ได้
ระบบ IOT 5. มีความละเอียดรอบครอบ

ถูกตอ้ งและปลอดภัย



แผนการจดั การเรยี นร้มู ุ่งเนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี 1
ชื่อหน่วย ความร้เู ก่ียวกับไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บื้องต้น สอนคร้ังท่ี 1
ชื่อเร่อื ง ความรู้เกย่ี วกบั ไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บ้ืองตน้ ชั่วโมงรวม 4 ช.ม.
จานวนชัว่ โมง 4 ชม.

1.สาระสาคญั

ไมโครคอนโทรลเลอร์ (องั กฤษ: Microcontroller มักย่อวา่ μC, uC หรอื MCU) คอื อุปกรณ์ควบคุม
ขนาดเล็ก ซง่ึ บรรจุความสามารถท่คี ลา้ ยคลงึ กับระบบคอมพิวเตอร์ โดยในไมโครคอนโทรลเลอรไ์ ดร้ วมเอา
ซพี ีย,ู หน่วยความจา และพอร์ต ซึง่ เป็นสว่ นประกอบหลกั สาคัญของระบบคอมพิวเตอรเ์ ข้าไว้ด้วยกัน โดยทา
การบรรจุเขา้ ไว้ในตวั ถงั เดียวกัน

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย

2.1. เขา้ ใจเก่ียวกับสว่ นประกอบและโครงสร้างของไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino
2.2. นาความรไู้ ปประยุกตใ์ นการเลอื กใชต้ ระกลู และภาษาของไมโครคอนโทรลเลอร์
2.3. ตระหนักถึงความสาคญั ของโครงสร้างและส่วนประกอบของไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้
3.1.1. อธิบายความรเู้ กี่ยวกับไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บ้อื งตน้
3.1.2. จาแนกตระกูลและหนา้ ทส่ี ่วนต่างๆของไมโครคอนโทรลเลอร์
3.1. ด้านทกั ษะ
3.2.1. บอกส่วนประกอบของไมโครคอนโทรลเลอร์ AVR
3.2.2. อธบิ ายโครงสรา้ งภายในไมโครคอนโทรลเลอร์ AVR
3.2.3. บอกสว่ นประกอบและโครงสร้างภายในของไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino
3.3. คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์

3.3.1. เขา้ เรยี นตรงเวลา

3.3.2. คารพนอบนอ้ มให้เกยี รตคิ รูผสู้ อน

3.3.3. แต่งกายเรยี บรอ้ ยถกู ต้องตามระเบยี บ

3.3.4. มีความรบั ผดิ ชอบ และทางานรว่ มกบั ผ้อู นื่ ได้

3.3.5. มีความละเอียดรอบครอบ ถูกตอ้ งและปลอดภยั

4. เนือ้ หาสาระ

4.1. ความรเู้ ก่ียวกับไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บอ้ื งต้น
4.2. หน้าท่สี ่วนต่างๆ ของไมโครคอนโทรลเลอร์
4.3. ไมโครคอนโทรลเลอร์ AVR
4.4. บอรด์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino
5. กิจกรรมการเรยี นรู้

5.1. การนาเข้าสบู่ ทเรยี น
5.1.1. ผสู้ อนตงั้ คาถามวา่ ไมโครคอนโทรลเลอร์ คอื อะไร มีความสาคญั อย่างไรบา้ งพร้อม
อธิบายเหตผุ ลประกอบ
5.1.2. ผสู้ อนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของหนว่ ยที่ 1 การวดั ผลและประเมนิ ผล
5.1.3. ผสู้ อนใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนหนว่ ยท่ี 1.

5.2. การเรียนรู้
5.2.1. ผู้สอนใหน้ ักเรียน ดูวดี ีโอเก่ยี วกับโครงงานสงิ่ ประดษิ ฐท์ ี่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์
เปน็ ส่วนประกอบ
5.2.2. ผูส้ อนให้ผู้เรียนเปดิ PowerPoint หนว่ ยท่ี 1 เร่ือง ความรู้เก่ยี วกบั
ไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บ้อื งต้น และให้ผเู้ รียนศกึ ษา PowerPoint และจดบนั ทึก
เนอ้ื หาลงในสมดุ
5.2.3. ผสู้ อนเปดิ โอกาส ใหผ้ ้เู รยี นถามปัญหา และข้อสงสยั จากเนื้อหา โดยครูเป็นผู้ตอบ
ปญั หาที่เกดิ ขน้ึ ระหวา่ งการเรียนการสอน

5.3. การสรปุ
5.3.1. ผูส้ อนและผู้เรยี นร่วมกันสรุปเน้ือหาท่ีได้เรียนใหม้ ีความเข้าใจในทิศทางเดยี วกนั
5.3.2. ผสู้ อนให้ผเู้ รยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยท่ี 1.
5.3.3. ผู้สอนเฉลย แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยที่ 1.

5.4. การวดั ผลและการประเมินผล
5.4.1. ผ้สู อนบนั ทึกคะแนน แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน
5.4.2. ประเมินพฤตกิ รรม โดยการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
5.4.3. การสงั เกตและประเมินพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะ
อันพงึ ประสงค์

6. ส่อื การเรยี นรู้/แหลง่ การเรยี นรู้
6.1. เอกสารประกอบการสอน วิชาไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บือ้ งตน้ อ.ทันพงษ์ ภรู่ ักษ์
6.2. เรียนร้ไู มโครคอนโทรลเลอร์ ง่ายๆกบั Arduino , ผศ.โอภาศ ศิริครรชิตถาวร , INEX
6.3. PowerPoint หนว่ ยท่ี 1 เรอื่ ง ความร้เู กย่ี วกบั ไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บอ้ื งตน้

7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)
7.1. ใบความรู้หนว่ ยท่ี 1. เรือ่ ง ความรู้เกี่ยวกบั ไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บื้องตน้

8. บูรณาการ/ความสมั พันธ์กบั วชิ าอ่นื
มีเนอ้ื หารายวชิ าสอดคลอ้ งกบั วชิ า ไมโครโปรเซสเซอร์ , อุปกรณ์และวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์

9. การวัดและประเมนิ ผล
9.1 ก่อนเรยี น แบบประเมินผลกอ่ นการเรยี นรู้
9.2 ขณะเรียน แบบฝกึ หดั ใบงานการทดลอง ผา่ นเกณฑ์ 60 % ขน้ึ ไป
9.3 หลงั เรยี น แบบประเมินผลหลงั การเรยี นรู้ ผ่านเกณฑ์ 60 % ขึน้ ไป

แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเนน้ สมรรถนะ หนว่ ยที่ 2
ช่อื หนว่ ยARDUINO IDE ซอฟตแ์ วรส์ ำหรับโปรแกรมภำษำ C สอนครง้ั ท่ี 2
ชื่อเร่ือง ARDUINO IDE ซอฟตแ์ วรส์ ำหรับโปรแกรมภำษำ C ชัว่ โมงรวม 4 ช.ม.
จานวนชวั่ โมง 4 ชม.

1.สาระสาคญั

ซอฟตแ์ วร์ทีใ่ ชใ้ นกำรพฒั นำงำนสำหรบั บอร์ด Arduino น่นั คอื โปรแกรมที่เรยี กวำ่ Arduino IDE ในกำร
เขียนโปรแกรมและคอมไพลล์ งบอรด์ IDE ยอ่ มำจำก (Integrated Development Environment) คอื สว่ น
เสรมิ ของระบบกำรพัฒนำหรอื ตัวชว่ ยต่ำงๆทีจ่ ะคอยชว่ ยเหลือ Developer หรอื ช่วยเหลอื คนทพ่ี ัฒนำ
Application เพอื่ เสรมิ ใหเ้ กิดควำมรวดเร็ว ถูกต้อง แมน่ ยำ ตรวจสอบระบบท่ีจัดทำได้ ทำให้กำรพฒั นำงำน
ต่ำงๆเรว็ มำกข้ึน

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย
2.1. แสดงควำมรูค้ วำมเขำ้ ใจเก่ียวกบั กำรตดิ ตั้งซอฟต์แวร์ Arduino IDE
2.2. นำควำมรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นกำรเขียนโปรแกรม Arduino IDE
2.3. ตระหนกั ถึงควำมสำคญั ของกำรทดสอบกำรทำงำนบอรด์ Arduino เบ้ืองตน้

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
3.1 ด้านความรู้
3.1.1. อธบิ ำอธิบำยกำรตดิ ต้ังซอฟตแ์ วร์ Arduino IDE
3.1.2. อธิบำยลักษณะโดยทัว่ ไปของโปรแกรม Arduino IDE
3.1.3. บอกวธิ ีกำรใช้เมนูบำรแ์ สดงรำยกำรของคำสัง่
3.2. ดา้ นทักษะ
3.2.1. ติดตง้ั ซอฟตแ์ วร์ Arduino IDE ได้
3.2.2. ทดสอบกำรทำงำนบอร์ด Arduino เบื้องตน้
3.2.3. ทดสอบกำรทำงำนซอฟต์แวร์ Arduino IDE เบอ้ื งตน้
3.3. คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์
3.3.1. เขำ้ เรยี นตรงเวลำ
3.3.2. คำรพนอบน้อมให้เกียรติครผู ู้สอน
3.3.3. แต่งกำยเรียบรอ้ ยถูกต้องตำมระเบยี บ

3.3.4. มีควำมรบั ผดิ ชอบ และทำงำนรว่ มกับผ้อู ื่นได้
3.3.5. มคี วำมละเอียดรอบครอบ ถกู ตอ้ งและปลอดภยั

4. เนอ้ื หาสาระ

4.1. กำรตดิ ตง้ั ซอฟต์แวร์ Arduino IDE
4.2. ลักษณะโดยทว่ั ไปของโปรแกรม Arduino IDE
4.3. เมนูบำรแ์ สดงรำยกำรของคำส่งั
4.4. กำรทดสอบกำรทำงำนบอรด์ Arduino เบอ้ื งต้น

5. กจิ กรรมการเรียนรู้
5.1. การนาเขา้ สบู่ ทเรียน
5.1.1. ผู้สอนต้ังคำถำมวำ่ ซอฟตแ์ วร์ Arduino IDE คืออะไร มคี วำมสำคญั อย่ำงไรบำ้ ง
พรอ้ มอธบิ ำยเหตุผลประกอบ
5.1.2. ผู้สอนแจ้งจดุ ประสงค์กำรเรียนของหนว่ ยที่ 2 กำรวดั ผลและประเมนิ ผล
5.1.3. ผู้สอนใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยที่ 2.

5.2. การเรียนรู้
5.2.1. ผู้สอนให้นกั เรียน ดูวีดโี อเก่ยี วกบั ARDUINO IDE ซอฟต์แวรส์ ำหรบั โปรแกรม
ภำษำ C
5.2.2. ผ้สู อนให้ผเู้ รยี นเปดิ PowerPoint หนว่ ยท่ี 2 เรือ่ ง ARDUINO IDE ซอฟต์แวร์
สำหรับโปรแกรมภำษำ C และให้ผเู้ รยี นศกึ ษำ PowerPoint และจดบนั ทกึ
เนื้อหำลงในสมดุ
5.2.3. ผสู้ อนเปดิ โอกำส ให้ผูเ้ รียนถำมปัญหำ และขอ้ สงสัยจำกเนอ้ื หำ โดยครูเป็นผตู้ อบ
ปัญหำที่เกิดขนึ้ ระหวำ่ งกำรเรยี นกำรสอน
5.2.4. ผ้สู อนให้นักเรียน ปฏิบตั กิ ำรทดลองหน่วยที่ 2 เรือ่ ง กำรติดตัง้ และทดสอบ
Arduino Uno R3

5.2. การสรปุ
5.2.1. ผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกนั สรุปเนอ้ื หำทีไ่ ด้เรยี นใหม้ ีควำมเข้ำใจในทิศทำงเดียวกัน
5.2.2. ผสู้ อนให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยท่ี 2.
5.2.3. ผูส้ อนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยท่ี 2.

5.3. การวดั ผลและการประเมินผล
5.3.1. ผ้สู อนบันทกึ คะแนน แบบทดสอบกอ่ นเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน
5.3.2. ประเมินพฤตกิ รรม โดยกำรสังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล
5.3.3. กำรสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดำ้ นคุณธรรม จริยธรรม คำ่ นิยม และคุณลกั ษณะ
อันพึงประสงค์

6. สือ่ การเรยี นรู้/แหล่งการเรยี นรู้
6.1. เอกสำรประกอบกำรสอน วิชำไมโครคอนโทรลเลอร์เบื้องต้น อ.ทนั พงษ์ ภรู่ กั ษ์
6.2. เรยี นรู้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ง่ำยๆกบั Arduino , ผศ.โอภำศ ศริ คิ รรชติ ถำวร , INEX
6.3. PowerPoint หน่วยที่ 2 เรอ่ื ง ARDUINO IDE ซอฟต์แวร์สำหรบั โปรแกรมภำษำ C

7. เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)
7.1. ใบควำมรู้หนว่ ยท่ี 2. เรื่อง ARDUINO IDE ซอฟต์แวร์สำหรบั โปรแกรมภำษำ C
7.2. ใบงำนกำรทดลองหนว่ ยที่ 2 เรือ่ ง กำรตดิ ตั้งและทดสอบ Arduino Uno R3

8. บูรณาการ/ความสัมพนั ธ์กบั วชิ าอน่ื
มีเนอ้ื หำรำยวิชำสอดคลอ้ งกับวิชำ ไมโครโปรเซสเซอร์ , อุปกรณแ์ ละวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์

9. การวัดและประเมนิ ผล
9.1 ก่อนเรียน แบบประเมนิ ผลกอ่ นกำรเรยี นรู้
9.2 ขณะเรยี น แบบฝกึ หัด ใบงำนกำรทดลอง ผ่ำนเกณฑ์ 60 % ข้ึนไป
9.3 หลงั เรยี น แบบประเมนิ ผลหลังกำรเรยี นรู้ ผำ่ นเกณฑ์ 60 % ขึน้ ไป

แผนการจดั การเรยี นรมู้ ุ่งเนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 3
ชอื่ หน่วย โครงสร้างโปรแกรมของ ARDUINO สอนครั้งที่ 3 - 4
ชอื่ เร่อื ง โครงสร้างโปรแกรมของ ARDUINO ชั่วโมงรวม 8 ช.ม.
จานวนชั่วโมง 8 ชม.

1.สาระสาคญั

ในการเขียนโปรแกรมสาหรบั บอร์ด Arduino จะตอ้ งเขยี นโปรแกรมโดยใช้ภาษาของ Arduino
(Arduino Programming Language) ซ่ึงตวั ภาษาของ Arduino กน็ าเอาโอเพน่ ซอร์สโปรเจ็กตช์ ่ือ Wiring มา
พัฒนาต่อ ภาษาของ Arduino แบ่งไดเ้ ปน็ 2 ส่วนหลักคอื โครงสรา้ งภาษา (Structure) ตัวแปร ค่าคงท่แี ละ
ฟังกช์ ั่น (Function)

ภาษาของ Arduino จะอ้างอิงตามภาษา C/C++ จึงอาจกลา่ วได้ว่าการเขยี นโปรแกรมสาหรับ
Arduino (ซึ่งก็รวมถงึ บอร์ด Arduino) กค็ อื การเขียนโปรแกรมภาษา C โดยเรียกใช้ฟงั ก์ชั่นและไลบรารีทที่ าง
Arduinoไดเ้ ตรียมไวใ้ หแ้ ลว้

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย

2.1. แสดงความรูค้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกับลักษณะโครงสรา้ งโปรแกรมของ Arduino
2.2. นาความรไู้ ปประยุกต์ใชใ้ นการเขียนโปรแกรมกาหนดการทางานของ Arduino
2.3. ตระหนักถึงความสาคญั ของลักษณะโครงสรา้ งโปรแกรมของ Arduino

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.1 ดา้ นความรู้
3.1.1. อธิบาบอกหนา้ ทก่ี ารทางานสว่ นของฟงั กช์ ัน่
3.1.2. บอกหน้าทีก่ ารทางานส่วนของฟังกช์ นั่ setup()
3.1.3. บอกหนา้ ที่การทางานสว่ นของฟงั ก์ช่ัน loop()
3.1.4. บอกหน้าท่กี ารทางานของตัวกระทาทางคณิตศาสตร์
3.1.5. บอกหนา้ ทีก่ ารทางานสว่ นของตัวกระทาเปรยี บเทียบ
3.1.6. ใชง้ านส่วนของตัวกระทาระดบั บิตได้
3.1.7. ใช้งานไวยากรณ์ภาษา C / C++ ของ Arduino
3.1.8. ใช้งานตัวแปร

3.2. ดา้ นทกั ษะ
3.2.1. เขียนโปรแกรม ภาษา C / C++ ของ Arduino โดยใชฟ้ ังกช์ ั่น ตา่ งๆ
3.2.2. ทดสอบการทางานของโปรแกรม

3.3. คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์
3.3.1. เขา้ เรยี นตรงเวลา
3.3.2. คารพนอบน้อมใหเ้ กยี รตคิ รูผูส้ อน
3.3.3. แต่งกายเรียบร้อยถกู ต้องตามระเบียบ
3.3.4. มีความรบั ผิดชอบ และทางานรว่ มกบั ผ้อู ื่นได้
3.3.5. มคี วามละเอียดรอบครอบ ถูกตอ้ งและปลอดภยั

4. เน้อื หาสาระ
4.1. ส่วนของฟงั กช์ น่ั setup()
4.2. ส่วนของฟังกช์ ่ัน loop()
4.3. สว่ นของตัวกระทาทางคณิตศาสตร์
4.4. ส่วนของตัวกระทาเปรียบเทยี บ
4.5. ส่วนของตวั กระทาระดบั บติ
4.6. ไวยากรณภ์ าษา C / C++ ของ Arduino
4.7. ตัวแปร
4.8. ขอบเขตของตวั แปร
4.9. การกาหนดคา่ คงท่เี ลขจานวนเต็มเป็นเลขฐานต่างๆ ของ Arduino
4.10. ค่าคงที่ (constants)
4.11. ตวั กระทาอืน่ ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ งกบั ตวั แปร
4.12. คาสงวนของ Arduino

5. กิจกรรมการเรียนรู้
5.1. การนาเขา้ สูบ่ ทเรยี น
5.1.1. ผสู้ อนต้งั คาถามวา่ โครงสรา้ งโปรแกรมของ Arduino คอื อะไร มคี วามสาคัญ
อยา่ งไรบ้างพร้อมอธิบายเหตุผลประกอบ
5.1.2. ผู้สอนแจ้งจดุ ประสงคก์ ารเรยี นของหน่วยที่ 3 การวัดผลและประเมนิ ผล
5.1.3. ผสู้ อนให้นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหนว่ ยท่ี 3.

5.2. การเรียนรู้
5.2.1. ผสู้ อนใหน้ ักเรยี น ดูวีดโี อเก่ยี วกบั โครงสรา้ งโปรแกรมของ Arduino
5.2.2. ผสู้ อนให้ผเู้ รียนเปิด PowerPoint หนว่ ยท่ี 3 เร่อื ง โครงสร้างโปรแกรมของ
Arduino และให้ผู้เรยี นศกึ ษา PowerPoint และจดบันทกึ เนือ้ หาลงในสมดุ
5.2.3. ผสู้ อนเปิดโอกาส ใหผ้ ้เู รียนถามปญั หา และข้อสงสยั จากเนื้อหา โดยครูเปน็ ผู้ตอบ
ปญั หาท่เี กดิ ขนึ้ ระหว่างการเรยี นการสอน
5.2.4. ผู้สอนใหน้ กั เรียน ปฏบิ ตั ิการทดลองหน่วยท่ี 3 เร่ือง โครงสรา้ งโปรแกรมของ
Arduino

5.2. การสรุป
5.2.1. ผสู้ อนและผู้เรยี นร่วมกนั สรุปเนอื้ หาทีไ่ ด้เรียนให้มีความเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกนั
5.2.2. ผสู้ อนให้ผู้เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยที่ 3.
5.2.3. ผู้สอนเฉลย แบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยที่ 3.

5.3. การวัดผลและการประเมนิ ผล
5.3.1. ผู้สอนบนั ทึกคะแนน แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและแบบทดสอบหลงั เรียน
5.3.2. ประเมนิ พฤติกรรม โดยการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
5.3.3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะ
อันพึงประสงค์

6. สอ่ื การเรยี นรู้/แหล่งการเรียนรู้
6.1. เอกสารประกอบการสอน วชิ าไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บือ้ งตน้ อ.ทนั พงษ์ ภู่รกั ษ์
6.2. เรียนร้ไู มโครคอนโทรลเลอร์ ง่ายๆกับ Arduino , ผศ.โอภาศ ศิรคิ รรชิตถาวร , INEX
6.3. PowerPoint หน่วยท่ี 3 เรื่อง โครงสรา้ งโปรแกรมของ Arduino

7. เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)
7.1. ใบความรู้หน่วยท่ี 3. เรอื่ ง โครงสรา้ งโปรแกรมของ Arduino
7.2. ใบงานการทดลองหนว่ ยท่ี 3 เรือ่ ง โครงสรา้ งโปรแกรมของ Arduino

8. บรู ณาการ/ความสัมพนั ธก์ ับวิชาอน่ื
มีเนื้อหารายวชิ าสอดคล้องกับวชิ า ไมโครโปรเซสเซอร์ , อุปกรณแ์ ละวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์

9. การวัดและประเมนิ ผล
9.1 ก่อนเรยี น แบบประเมนิ ผลกอ่ นการเรียนรู้
9.2 ขณะเรยี น แบบฝกึ หัด ใบงานการทดลอง ผา่ นเกณฑ์ 60 % ขึน้ ไป
9.3 หลงั เรยี น แบบประเมนิ ผลหลังการเรยี นรู้ ผ่านเกณฑ์ 60 % ข้นึ ไป

แผนการจดั การเรยี นรมู้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หน่วยท่ี 4
ชอื่ หน่วย ฟังก์ช่นั พน้ื ฐานของ ARDUINO และการควบคมุ สอนครั้งท่ี 5 -6
หลอดไฟ LED ช่วั โมงรวม 8 ช.ม.
ชื่อเรื่อง ฟังกช์ ั่นพื้นฐานของ ARDUINO และการควบคุมหลอดไฟ LED จานวนชั่วโมง 8 ชม.

1.สาระสาคญั

โปรแกรม Arduino IDE ไดจ้ ัดเตรียมฟงั ก์ชน่ั พนื้ ฐาน เช่นฟังกช์ ัน่ เก่ยี วกับขาพอร์ตอินพตุ เอาต์พุต
ดจิ ติ อล, อนิ พุตเอาตพ์ ตุ แอนะล็อกเป็นต้น ดังนั้นในการเขยี นโปรแกรมจงึ เรยี กใชฟ้ ังก์ชนั่ เหลา่ นไ้ี ด้ทันทโี ดยไม่
ต้องใชค้ าสงั่ #include เพอ่ื ผนวกไฟล์เพมิ่ เตมิ แต่อย่างใด นอกจากฟังกช์ ่นั พื้นฐานเหลา่ นีแ้ ลว้ นกั พฒั นาท่าน
อื่นๆ ทร่ี ว่ มในโครงการ Arduino นี้ก็ไดเ้ พ่มิ ไลบรารีอน่ื ๆ เช่นไลบรารคี วบคุมมอเตอร์, การตดิ ต่อกับอุปกรณ์
บัส I2C ฯลฯ ในการเรียกใช้งานต้องเพม่ิ บรรทัด #include เพื่อผนวกไฟลท์ เ่ี หมาะสมกอ่ น จงึ จะเรียกใช้
ฟังกช์ น่ั ได้

2. สมรรถนะประจาหน่วย

2.1. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกับลกั ษณะฟงั กช์ ่ันและกระบวนการทางานของ Arduino
2.2. สามารถนาความรไู้ ปประยกุ ต์ใช้ในการเขยี นโปรแกรมกาหนดการทางานพน้ื ฐานของ

Arduino
2.3. ตระหนักถึงความสาคัญของลกั ษณะฟงั ก์ชน่ั และกระบวนการทางานของ Arduino

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.1 ดา้ นความรู้
3.1.1. ฟงั กช์ น่ั อนิ พตุ เอาตพ์ ุตดิจิตอล (Digital l/0)
3.1.2. ฟังก์ชน่ั เก่ยี วกบั การสื่อสารผ่านพอรต์ อนุกรม
3.1.3. ฟังกช์ ัน่ อินพตุ เอ้าต์พุตแอนะล็อก
3.1.4. ฟงั ก์ชั่นเกย่ี วกบั เวลา
3.1.5. ฟังกช์ ่นั เกีย่ วกบั อินเตอร์รัปต์ภายนอก
3.1.6. ฟังก์ชนั่ ทางคณติ ศาสตร์
3.1.7. ฟงั ก์ช่ันเกี่ยวกับเลขสมุ่

3.2. ด้านทกั ษะ
3.2.1. ใช้ฟังก์ชั่นอนิ พตุ เอาต์พตุ ดจิ ิตอล (Digital l/0)
3.2.2. ใช้ฟังก์ชัน่ เกยี่ วกบั การส่ือสารผ่านพอรต์ อนกุ รม
3.2.3. ใช้ฟังก์ช่นั อินพุตเอ้าตพ์ ตุ แอนะลอ็ ก
3.2.4. ใชฟ้ ังกช์ น่ั เก่ียวกบั เวลา
3.2.5. ใชฟ้ ังก์ชั่นเกีย่ วกับอินเตอรร์ ปั ต์ภายนอก
3.2.6. ใชฟ้ งั ก์ชน่ั ทางคณิตศาสตรไ์ ด้
3.2.7. ใชฟ้ งั ก์ชัน่ เกี่ยวกบั เลขสุ่ม

3.3. คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์
3.3.1. เข้าเรยี นตรงเวลา
3.3.2. คารพนอบน้อมใหเ้ กยี รติครผู ู้สอน
3.3.3. แตง่ กายเรยี บร้อยถกู ต้องตามระเบยี บ
3.3.4. มคี วามรบั ผิดชอบ และทางานรว่ มกับผู้อื่นได้
3.3.5. มคี วามละเอยี ดรอบครอบ ถกู ต้องและปลอดภยั

4. เนือ้ หาสาระ
4.1. ฟงั ก์ชั่นอนิ พุต เอาตพ์ ตุ ดจิ ิตอล (Digital l/0)
4.2. ฟังก์ชั่นเกี่ยวกบั การสอ่ื สารผ่านพอร์ตอนุกรม
4.3. ฟงั กช์ น่ั อนิ พุตเอ้าต์พุตแอนะลอ็ ก
4.4. ฟังก์ชน่ั เกย่ี วกบั เวลา
4.5. ฟงั ก์ชัน่ เกย่ี วกบั อนิ เตอร์รัปต์ภายนอก
4.6. ฟงั ก์ชัน่ ทางคณิตศาสตร์
4.7. ฟังกช์ น่ั เกี่ยวกบั เลขสุม่

5. กิจกรรมการเรียนรู้
5.1. การนาเข้าสูบ่ ทเรยี น
5.1.1. ผู้สอนตง้ั คาถามวา่ ฟังกช์ ัน่ พ้ืนฐานของ ARDUINO และการควบคุมหลอดไฟ LED
คืออะไร มคี วามสาคญั อยา่ งไรบา้ งพรอ้ มอธิบายเหตุผลประกอบ
5.1.2. ผสู้ อนแจ้งจดุ ประสงค์การเรียนของหนว่ ยที่ 4 การวัดผลและประเมินผล
5.1.3. ผู้สอนใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยท่ี 4.

5.2. การเรียนรู้
5.2.1. ผู้สอนให้ผูเ้ รียนเปดิ PowerPoint หน่วยที่ 4 ฟังกช์ ั่นพ้นื ฐานของ ARDUINO และ
การควบคุมหลอดไฟ LED และให้ผเู้ รียนศึกษา PowerPoint และจดบันทกึ
เน้ือหาลงในสมุด
5.2.2. ผู้สอนเปิดโอกาส ใหผ้ ู้เรียนถามปญั หา และขอ้ สงสัยจากเน้ือหา โดยครเู ป็นผูต้ อบ
ปัญหาทีเ่ กิดขน้ึ ระหว่างการเรียนการสอน
5.2.3. ผสู้ อนให้นกั เรียน ปฏิบตั กิ ารทดลองหนว่ ยที่ 4 เรือ่ ง ฟังก์ช่ันพนื้ ฐานของ
ARDUINO และการควบคุมหลอดไฟ LED

5.2. การสรุป
5.2.1. ผสู้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั สรุปเนอื้ หาทไ่ี ด้เรียนให้มีความเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกนั
5.2.2. ผ้สู อนให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยท่ี 4.
5.2.3. ผู้สอนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยท่ี 4.

5.3. การวดั ผลและการประเมินผล
5.3.1. ผ้สู อนบันทึกคะแนน แบบทดสอบกอ่ นเรียนและแบบทดสอบหลงั เรียน
5.3.2. ประเมนิ พฤติกรรม โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
5.3.3. การสังเกตและประเมนิ พฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ
อันพงึ ประสงค์

6. ส่อื การเรยี นรู้/แหล่งการเรียนรู้
6.1. เอกสารประกอบการสอน วิชาไมโครคอนโทรลเลอร์เบ้ืองต้น อ.ทันพงษ์ ภู่รักษ์
6.2. เรียนรู้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ง่ายๆกับ Arduino , ผศ.โอภาศ ศิรคิ รรชติ ถาวร , INEX
6.3. PowerPoint หน่วยที่ 4 เร่อื ง ฟังก์ชนั่ พืน้ ฐานของ ARDUINO และการควบคุมหลอดไฟ LED

7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)
7.1. ใบความรู้หน่วยที่ 4. เรอื่ ง ฟงั กช์ ัน่ พ้นื ฐานของ ARDUINO และการควบคุมหลอดไฟ LED
7.2. ใบงานการทดลองหนว่ ยที่ 4 เรื่อง ฟังก์ชนั่ พนื้ ฐานของ ARDUINO และการควบคมุ หลอดไฟ
LED

8. บรู ณาการ/ความสัมพันธก์ ับวชิ าอ่ืน
มเี น้อื หารายวิชาสอดคล้องกบั วชิ า ไมโครโปรเซสเซอร์ , อปุ กรณแ์ ละวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

9. การวัดและประเมนิ ผล
9.1 กอ่ นเรยี น แบบประเมนิ ผลก่อนการเรยี นรู้
9.2 ขณะเรียน แบบฝึกหัด ใบงานการทดลอง ผา่ นเกณฑ์ 60 % ข้นึ ไป
9.3 หลังเรยี น แบบประเมินผลหลงั การเรยี นรู้ ผ่านเกณฑ์ 60 % ขึ้นไป

แผนการจัดการเรยี นรมู้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หน่วยที่ 5
ชอื่ หนว่ ย การอา่ นคา่ อนาลอ็ กและดิจิจอล สอนครั้งท่ี 7 - 8
ช่อื เรือ่ ง การอา่ นคา่ อนาล็อกและดจิ จิ อล ชัว่ โมงรวม 8 ช.ม.
จานวนชั่วโมง 8 ชม.

1.สาระสาคัญ

การพฒั นาโปรแกรมภาษา C/C++ ด้วย Arduino สาหรับบอร์ด Arduino ดาเนนิ การภายใตก้ าร

สนบั สนุนของไฟลไ์ ลบรารีหลักท่ีทาง Arduino จัดเตรียมให้ผนวกเขา้ กบั ไฟลไ์ ลบรารที ่พี ฒั นาข้นึ มาเป็นเฉพาะ

สาหรบั บอรด์ Arduino ท้งั นีเ้ พอ่ื ชว่ ยลดความซบั ซ้อนในการเขียนโปรแกรมควบคุมลง Arduino IDE ไดบ้ รรจุ

ไฟล์ไลบรารที ช่ี ่วยให้การเขียนโปรแกรมภาษา C/C++ เพอ่ื ให้ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ทาได้ง่ายขึน้ รวมถึง

ผเู้ ริ่มต้นใหมก่ ็สามารถเรียนรเู้ พอื่ ใชง้ านไมโครคอนโทรลเลอร์ได้ โดยไม่จาเป็นต้องศกึ ษาเพอื่ ลงลกึ ใน

รายละเอยี ดของสถาปัตยกรรม ไลบราร่โี ปรแกรมสาหรับ Arduino เปน็ ไลบราร่เี ก่ียวกับเวลา ไลบราร่ี

เกี่ยวกับเสียง ไลบราร่ีเกีย่ วกับการอ่านคา่ ดิจติ อล ไลบรารเี่ ก่ยี วกบั การอ่านคา่ แอนะลอ็ ก และไลบราร่ีเกย่ี วกบั

การสื่อสารข้อมูลอนุกรม ที่ใชเ้ ปน็ ประจาคือไลบรารอี่ ่านค่าข้อมลู แอนะลอ็ กและแปลงเป็นสญั ญาณดจิ ิตอล

ของไมโครคอนโทรลเลอร์ ทพ่ี อร์ต A0 ถงึ A6 ซง่ึ ใช้ในการเช่อื มต่อกบั ตัวตรวจจับท่ีให้ผลการทางานในรปู

แรงดนั ไฟฟา้ ในย่าน 0 ถึ ง +5V รปู แบบ unsigned int analog(unsigned char channel) พารามเิ ตอร์

channel - กาหนดช่องอินพุตแอนะลอ็ กที่ตอ้ งการมีคา่ 0 ถึง 6 ซ่งึ ตรงกบั ขาพอรต์ A0 ถงึ A6 การคนื ค่าเป็น

ขอ้ มูลทีไ่ ด้จากการแปลงสัญญาณของโมดลู แปลงสัญญาณแอนะลอ็ กเป็นดิจติ อลภายในไมโครคอนโทรลเลอร์

จากชอ่ งอนิ พตุ ท่ีกาหนด โดยขอ้ มูลมีความละเอียด 10 บิต ดังนน้ั ค่าทเี่ ป็นไปได้คือ 0 ถึง 1,023

2. สมรรถนะประจาหน่วย

2.1. มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับไลบรารโี่ ปรแกรมสาหรับ Arduino และการอ่านคา่ แอนะล็อก
และดจิ ิตอลได้

2.2. นาความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ช้ในการเขียนโปรแกรมกาหนดการทางานพน้ื ฐานของ Arduino
2.3. ตระหนกั ถงึ ความสาคญั เก่ยี วกบั ไลบราร่โี ปรแกรมสาหรับ Arduino และการอ่าน

ค่าแอนะล็อกและดิจติ อลได้

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.1 ดา้ นความรู้
3.1.1. ไลบรารโ่ี ปรแกรมสาหรับ Arduino

3.1.2. ไลบรารี่เกย่ี วกบั เวลา

3.1.3. ไลบรารเี่ กยี่ วกับการอา่ นคา่ ดจิ ิตอล
3.1.4. ไลบรารี่เกีย่ วกับการอา่ นค่าแอนะล็อก
3.1.5. ไลบรารเี่ กยี่ วกบั การสอื่ สารขอ้ มูลอนุกรม

3.2. ดา้ นทกั ษะ
3.2.1. เลอื กใช้งานไลบรารี่โปรแกรมสาหรับ Arduino
3.2.2. เลือกใชง้ านไลบราร่ีเก่ยี วกับเวลาสาหรับ Arduino
3.2.3. เลอื กใช้งานไลบรารี่เกีย่ วกับการอ่านค่าดจิ ิตอลสาหรับ Arduino
3.2.4. เลือกใชง้ านไลบรารีเ่ ก่ยี วกับการอ่านคา่ แอนะลอ็ กสาหรับ Arduino
3.2.5. เลือกใชง้ านไลบรารี่เก่ียวกบั การส่ือสารขอ้ มูลอนุกรมสาหรบั Arduino

3.3. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
3.3.1. เขา้ เรียนตรงเวลา
3.3.2. เคารพนอบน้อมใหเ้ กยี รตคิ รผู ู้สอน
3.3.3. แตง่ กายเรยี บรอ้ ยถูกตอ้ งตามระเบยี บ
3.3.4. มีความรบั ผดิ ชอบ และทางานร่วมกบั ผอู้ ่นื ได้
3.3.5. มคี วามละเอียดรอบครอบ ถกู ต้องและปลอดภัย

4. เนอื้ หาสาระ

4.1. ไลบรารี่โปรแกรมสาหรับ Arduino
4.2. ไลบรารี่เกยี่ วกบั เวลา
4.3. ไลบรารีเ่ กยี่ วกบั การอา่ นคา่ ดิจติ อล
4.4. ไลบรารี่เกี่ยวกับการอ่านคา่ แอนะล็อก
4.5. ไลบราร่ีเกย่ี วกับการสอื่ สารขอ้ มูลอนกุ รม

5. กจิ กรรมการเรียนรู้
5.1. การนาเข้าสู่บทเรยี น
5.1.1. ผู้สอนตง้ั คาถาม เกย่ี วกบั ไลบรารี่โปรแกรมสาหรับ ARDUINO และการอา่ นค่า
แอนาล็อก คืออะไร มีความสาคัญอย่างไรบา้ งพรอ้ มอธบิ ายเหตผุ ลประกอบ
5.1.2. ผูส้ อนแจ้งจุดประสงค์การเรยี นของหน่วยท่ี 5 การวัดผลและประเมนิ ผล

5.1.3. ผ้สู อนใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยท่ี 5.

5.2. การเรยี นรู้
5.2.1. ผู้สอนให้ผ้เู รียนเปิด PowerPoint หนว่ ยที่ 5 เรื่อง ไลบราร่โี ปรแกรมสาหรบั
ARDUINO และการอา่ นคา่ แอนาลอ็ ก และให้ผู้เรียนศึกษา PowerPoint และจด
บันทึกเน้ือหาลงในสมุด
5.2.2. ผสู้ อนเปิดโอกาส ใหผ้ ู้เรยี นถามปญั หา และขอ้ สงสยั จากเน้ือหา โดยครเู ป็นผตู้ อบ
ปัญหาท่เี กิดขึ้นระหวา่ งการเรยี นการสอน
5.2.3. ผสู้ อนใหน้ กั เรยี น ปฏิบตั กิ ารทดลองหน่วยท่ี 5 เรอ่ื ง ไลบรารีโ่ ปรแกรมสาหรบั
ARDUINO และการอ่านค่าแอนาลอ็ ก

5.2. การสรปุ
5.2.1. ผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกนั สรุปเนอื้ หาที่ไดเ้ รยี นใหม้ ีความเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกนั
5.2.2. ผสู้ อนให้ผูเ้ รยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยที่ 5.
5.2.3. ผสู้ อนเฉลย แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยที่ 5.

5.3. การวดั ผลและการประเมนิ ผล
5.3.1. ผสู้ อนบนั ทึกคะแนน แบบทดสอบกอ่ นเรียนและแบบทดสอบหลงั เรยี น
5.3.2. ประเมนิ พฤตกิ รรม โดยการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
5.3.3. การสงั เกตและประเมินพฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะ
อันพึงประสงค์

6. สอื่ การเรียนรู้/แหล่งการเรยี นรู้
6.1. เอกสารประกอบการสอน วิชาไมโครคอนโทรลเลอร์เบื้องตน้ อ.ทันพงษ์ ภู่รักษ์
6.2. เรยี นรู้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ง่ายๆกับ Arduino , ผศ.โอภาศ ศริ ิครรชติ ถาวร , INEX
6.3. PowerPoint หน่วยท่ี 5 เร่อื ง ไลบราร่โี ปรแกรมสาหรบั ARDUINO และการอา่ นค่าแอนาล็อก

7. เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)
7.1. ใบความรู้หนว่ ยท่ี 5. เรือ่ ง ไลบรารี่โปรแกรมสาหรับ ARDUINO และการอ่านค่าแอนาลอ็ ก
7.2. ใบงานการทดลองหนว่ ยท่ี 5 เรอื่ ง ไลบรารี่โปรแกรมสาหรับ ARDUINO และการอ่านคา่
แอนาล็อก

8. บรู ณาการ/ความสัมพันธก์ ับวชิ าอ่ืน
มเี น้อื หารายวิชาสอดคล้องกบั วชิ า ไมโครโปรเซสเซอร์ , อปุ กรณแ์ ละวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

9. การวัดและประเมนิ ผล
9.1 กอ่ นเรยี น แบบประเมนิ ผลก่อนการเรยี นรู้
9.2 ขณะเรียน แบบฝึกหัด ใบงานการทดลอง ผา่ นเกณฑ์ 60 % ข้นึ ไป
9.3 หลังเรยี น แบบประเมินผลหลงั การเรยี นรู้ ผ่านเกณฑ์ 60 % ขึ้นไป

แผนการจดั การเรยี นรูม้ ุ่งเนน้ สมรรถนะ หนว่ ยที่ 6
ชอื่ หนว่ ย การแสดงผลด้วยจอ LCD ของ ARDUINO สอนครั้งที่ 9 - 10
ชอ่ื เร่อื ง การแสดงผลดว้ ยจอ LCD ของ ARDUINO ชั่วโมงรวม 8 ช.ม.
จานวนช่วั โมง 8 ชม.

1.สาระสาคญั

คาว่า LCD ย่อมาจากคาวา่ Liquid Crystal Display ซึง่ เปน็ จอทท่ี ามาจากผลกึ คริสตอลเหลว
หลักการคอื ด้านหลงั จอจะมีไฟส่องสวา่ ง หรอื ทเี่ รียกวา่ Backlight อยู่ เมอ่ื มีการปลอ่ ยกระแสไฟฟา้ เขา้ ไป
กระตนุ้ ที่ผลกึ กจ็ ะทาใหผ้ ลึกโปรง่ แสง ทาใหแ้ สงทีม่ าจากไฟ Backlight แสดงขนึ้ มาบนหนา้ จอ สว่ นอนื่ ที่โดน
ผลึกปิดกั้นไว้จะไม่สว่าง ผลึกมสี ีท่แี ตกตา่ งกนั ตามสขี องผลึกคริสตอล เชน่ สเี ขียว หรอื สฟี า้ ฯลฯ ทาใหเ้ มอ่ื มอง
ไปทีจ่ อก็จะพบกับตวั หนงั สอื แลว้ พบกับพ้ืนหลังสีต่างๆกัน

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย

2.1. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั ลักษณะการแสดงผลดว้ ยจอ LCD ของ Arduino
2.2. สามารถนาความร้ไู ปประยกุ ต์ใช้ในการเขยี นโปรแกรมกาาหนดการทางานของ Arduino
2.3. เพอื่ ใหต้ ระหนักถงึ ความสาคญั ของลกั ษณะการแสดงผลด้วยจอ LCD ของ Arduino

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
3.1 ดา้ นความรู้
3.1.1. ความรู้ทว่ั ไปเกย่ี วกับ LCD Display
3.1.2. โครงสรา้ งโดยท่ัวไปของ LCD
3.1.3. การเชือ่ มตอ่ สัญญาณขาข้อมูลระหวา่ ง Arduino กับ LCD Controller
3.1.4. รายละเอยี ดคาสัง่ ในการส่ังงานระหว่าง Arduino กับจอ LCD
3.1.5. ขั้นตอนการตดิ ตงั้ ไลบรารจี่ อแสดงผล LCD
3.1.6. ฟงั ก์ชั่นสง่ั งานจอ LCD การสรา้ งตัวอกั ษรหรือใสร่ ูปภาพลงจอ LCD
3.2. ด้านทักษะ
3.2.1. เช่อื มต่อจอ Character LCD
3.2.2. เชื่อมต่อสัญญาณขาข้อมลู ระหวา่ งArduinoกับ LCD (I2C)
3.2.3. บอกรายละเอียดคาส่ังในการสง่ั งานระหว่าง Arduino กับจอ LCD

3.3. คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์
3.3.1. เข้าเรยี นตรงเวลา
3.3.2. เคารพนอบนอ้ มใหเ้ กยี รตคิ รูผสู้ อน
3.3.3. แต่งกายเรยี บรอ้ ยถกู ตอ้ งตามระเบยี บ
3.3.4. มคี วามรบั ผิดชอบ และทางานร่วมกับผอู้ ื่นได้
3.3.5. มีความละเอยี ดรอบครอบ ถูกต้องและปลอดภยั

4. เนื้อหาสาระ
4.1. ความร้ทู ัว่ ไปเก่ียวกับ LCD Display
4.2. โครงสรา้ งโดยทัว่ ไปของ LCD
4.3. การเชอ่ื มตอ่ สัญญาณขาข้อมูลระหว่าง Arduino กับ LCD Controller
4.4. รายละเอยี ดคาส่งั ในการสั่งงานระหว่าง Arduino กับจอ LCD
4.5. ข้ันตอนการตดิ ตง้ั ไลบรารีจ่ อแสดงผล LCD
4.6. ฟงั กช์ น่ั สั่งงานจอ LCD
4.7. การสรา้ งตวั อักษรหรอื ใสร่ ปู ภาพลงจอ LCD

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
5.1. การนาเข้าสบู่ ทเรยี น
5.1.1. ผู้สอนตั้งคาถาม เก่ียวกบั การแสดงผลด้วยจอ LCD ของ ARDUINO คืออะไร มี
ความสาคัญอยา่ งไรบา้ งพรอ้ มอธิบายเหตผุ ลประกอบ
5.1.2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรยี น และการวดั ผลและประเมินผลของหน่วยท่ี 6
5.1.3. ผสู้ อนใหน้ ักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยท่ี 6.

5.2. การเรยี นรู้
5.2.1. ผ้สู อนให้ผู้เรียนเปดิ PowerPoint หน่วยท่ี 5 เรอื่ ง การแสดงผลด้วยจอ LCD ของ
ARDUINO และใหผ้ ู้เรยี นศกึ ษา PowerPoint และจดบันทึกเน้อื หาลงในสมดุ
5.2.2. ผู้สอนเปิดโอกาส ใหผ้ ้เู รียนถามปัญหา และขอ้ สงสยั จากเนอ้ื หา โดยครูเป็นผ้ตู อบ
ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการเรยี นการสอน
5.2.3. ผู้สอนใหน้ กั เรียน ปฏบิ ัตกิ ารทดลองหน่วยที่ 6 เร่ือง การแสดงผลด้วยจอ LCD ของ
ARDUINO

5.2. การสรุป
5.2.1. ผ้สู อนและผ้เู รียนร่วมกันสรปุ เนื้อหาทไี่ ด้เรียนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
5.2.2. ผู้สอนให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยท่ี 6.
5.2.3. ผู้สอนเฉลย แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยที่ 6.

5.3. การวดั ผลและการประเมินผล
5.3.1. ผู้สอนบันทกึ คะแนน แบบทดสอบก่อนเรยี นและแบบทดสอบหลังเรียน
5.3.2. ประเมนิ พฤติกรรม โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
5.3.3. การสงั เกตและประเมินพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงค์

6. สอื่ การเรียนรู้/แหล่งการเรยี นรู้
6.1. เอกสารประกอบการสอน วิชาไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บ้อื งต้น อ.ทันพงษ์ ภู่รักษ์
6.2. เรียนรู้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ง่ายๆกบั Arduino , ผศ.โอภาศ ศิริครรชิตถาวร , INEX
6.3. PowerPoint หน่วยท่ี 6 เรื่อง การแสดงผลด้วยจอ LCD ของ ARDUINO

7. เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)
7.1. ใบความรู้หน่วยท่ี 6. เร่อื ง การแสดงผลดว้ ยจอ LCD ของ ARDUINO
7.2. ใบงานการทดลองหนว่ ยท่ี 6 เรื่อง การแสดงผลดว้ ยจอ LCD ของ ARDUINO

8. บูรณาการ/ความสมั พันธก์ ับวชิ าอนื่
มเี น้อื หารายวชิ าสอดคล้องกบั วชิ า ไมโครโปรเซสเซอร์ , อุปกรณ์และวงจรอิเล็กทรอนิกส์

9. การวัดและประเมนิ ผล
9.1 กอ่ นเรยี น แบบประเมินผลก่อนการเรยี นรู้
9.2 ขณะเรียน แบบฝึกหัด ใบงานการทดลอง ผ่านเกณฑ์ 60 % ขึ้นไป
9.3 หลังเรยี น แบบประเมินผลหลังการเรียนรู้ ผา่ นเกณฑ์ 60 % ขึ้นไป

แผนการจดั การเรียนรมู้ ุ่งเนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี 7
ช่ือหน่วย การขบั โหลดไฟฟ้ากระแสสูงและเชอ่ื มต่ออุปกรณ์ สอนครง้ั ท่ี 11 - 12
ภายนอกดว้ ย ARDUINO ชวั่ โมงรวม 8 ช.ม.
ช่อื เร่อื ง การขบั โหลดไฟฟา้ กระแสสงู และเช่อื มต่ออุปกรณภ์ ายนอกดว้ ย ARDUINO จานวนชวั่ โมง 8 ชม.

1.สาระสาคัญ

หน่งึ ในการประยุกตใ์ ช้งานระบบควบคมุ อัตโนมตั ิ คอื การควบคุมอุปกรณ์ท่ีมคี วามตอ้ งการ

กระแสไฟฟ้าและแรงดนั ไฟฟ้าสงู เช่นหลอดไฟ มอเตอร์ ขดลวดเคลอ่ื นที่ หรอื โซลนิ อยด์ ในขณะท่ี

ไมโครคอนโทรลเลอรส์ ามารถขับกระแสไฟฟา้ ทางเอาต์พตุ ไมส่ ูง คือประมาณ +3 หรือ +5V 20mA ดังนนั้ จงึ

ต้องมีการเรียนรูถ้ ึงแนวทางในการนาไมโครคอนโทรลเลอร์ไปขับอุปกรณท์ ี่ต้องการพลังงานไฟฟา้ สูง อปุ กรณท์ ่ี

นิยมนามาใชใ้ นการขับโหลดกระแสไฟฟา้ สูงรว่ มกบั ไมโครคอนโทรลเลอร์คอื รีเลย์ (Relay ) รีเลย์ทาหน้าทเ่ี ป็น

สวิตช์กระแสไฟฟา้ สงู

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย

2.1. มีความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการขบั โหลดไฟฟา้ กระแสสงู และการเชอ่ื มต่ออุปกรณภ์ ายนอก
สามารถนาความรูไ้ ปประยกุ ตใ์ ช้ในการเขียนโปรแกรมกาหนดการทางานด้วย Arduino

2.2. ตระหนกั ถึงความสาคัญของการขับโหลดไฟฟ้ากระแสสูงและการเชอื่ มตอ่ อุปกรณภ์ ายนอก

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
3.1 ด้านความรู้
3.1.1. ความรเู้ บอ้ื งตน้ เก่ยี วกบั รเี ลย์
3.1.2. วงจรขบั รีเลย์
3.1.3. การเชือ่ มตอ่ อุปกรณ์ภายนอกด้วยบอร์ดขับรเี ลย์
3.1.4. การใช้งาน Arduino กบั บอรด์ ขับรเี ลย์ 4 ชอ่ ง
3.2. ดา้ นทักษะ
3.2.1. ต่อวงจรขับรเี ลย์
3.2.2. เช่ือมตอ่ อุปกรณ์ภายนอกดว้ ยบอรด์ ขับรีเลย์
3.2.3. ควบคุมอปุ กรณ์ภายนอกด้วยบอร์ดขับรเี ลย์
3.2.4. ใชง้ าน Arduino กบั บอร์ดขบั รีเลย์ 4 ชอ่ ง

3.3. คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์
3.3.1. เขา้ เรยี นตรงเวลา
3.3.2. เคารพนอบนอ้ มใหเ้ กยี รติครูผู้สอน
3.3.3. แต่งกายเรียบรอ้ ยถกู ตอ้ งตามระเบยี บ
3.3.4. มคี วามรับผิดชอบ และทางานร่วมกับผอู้ น่ื ได้
3.3.5. มคี วามละเอยี ดรอบครอบ ถูกต้องและปลอดภยั

4. เนื้อหาสาระ
4.1. ความรเู้ บอ้ื งต้นเกยี่ วกับรีเลย์
4.2. วงจรขับรเี ลย์
4.3. การเชอ่ื มต่ออปุ กรณ์ภายนอกด้วยบอรด์ ขับรเี ลย์
4.4. การใชง้ าน Arduino กบั บอรด์ ขับรเี ลย์ 4 ช่อง

5. กจิ กรรมการเรียนรู้
5.1. การนาเขา้ สบู่ ทเรยี น
5.1.1. ผ้สู อนต้ังคาถาม เกยี่ วกับ การขับโหลดไฟฟา้ กระแสสูงและเชอ่ื มต่ออปุ กรณ์
ภายนอกด้วย ARDUINO คอื อะไร มีความสาคัญอย่างไรบ้างพรอ้ มอธบิ ายเหตผุ ล
ประกอบ
5.1.2. ผสู้ อนแจ้งจุดประสงคก์ ารเรียน และการวดั ผลและประเมินผลของหนว่ ยที่ 7
5.1.3. ผูส้ อนให้นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยท่ี 7.

5.2. การเรยี นรู้
5.2.1. ผสู้ อนให้ผู้เรียนเปดิ PowerPoint หนว่ ยท่ี 7 เร่ือง การขบั โหลดไฟฟา้ กระแสสูง
และเชอ่ื มตอ่ อปุ กรณภ์ ายนอกดว้ ย ARDUINO และให้ผเู้ รยี นศึกษา PowerPoint
และจดบนั ทกึ เนื้อหาลงในสมดุ
5.2.2. ผู้สอนเปิดโอกาส ใหผ้ ู้เรียนถามปญั หา และขอ้ สงสัยจากเนอื้ หา โดยครูเปน็ ผตู้ อบ
ปัญหาทเี่ กิดขนึ้ ระหวา่ งการเรยี นการสอน
5.2.3. ผสู้ อนใหน้ ักเรียน ปฏบิ ตั กิ ารทดลองหนว่ ยที่ 7 เรื่อง การขับโหลดไฟฟ้ากระแสสงู
และเช่อื มต่ออุปกรณ์ภายนอกดว้ ย ARDUINO

5.2. การสรุป
5.2.1. ผสู้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั สรุปเนอื้ หาที่ได้เรียนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกนั
5.2.2. ผู้สอนให้ผ้เู รียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยท่ี 7.
5.2.3. ผู้สอนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยท่ี 7.

5.3. การวัดผลและการประเมินผล
5.3.1. ผสู้ อนบันทึกคะแนน แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและแบบทดสอบหลังเรยี น
5.3.2. ประเมินพฤติกรรม โดยการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
5.3.3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะ
อนั พึงประสงค์

6. สอื่ การเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
6.1. เอกสารประกอบการสอน วชิ าไมโครคอนโทรลเลอร์เบือ้ งตน้ อ.ทันพงษ์ ภู่รักษ์
6.2. เรียนรูไ้ มโครคอนโทรลเลอร์ ง่ายๆกบั Arduino , ผศ.โอภาศ ศริ ิครรชิตถาวร , INEX
6.3. PowerPoint หน่วยที่ 7. เรอื่ ง การขับโหลดไฟฟ้ากระแสสูงและเชอื่ มตอ่ อุปกรณ์ภายนอกด้วย
ARDUINO

7. เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)
7.1. ใบความรู้หนว่ ยที่ 7. เรอื่ ง การขบั โหลดไฟฟา้ กระแสสงู และเช่ือมต่ออุปกรณ์ภายนอกด้วย
ARDUINO
7.2. ใบงานการทดลองหนว่ ยท่ี 7. เรื่อง การขบั โหลดไฟฟา้ กระแสสงู และเช่อื มต่ออปุ กรณ์
ภายนอกด้วย ARDUINO

8. บรู ณาการ/ความสัมพนั ธ์กบั วชิ าอื่น
มีเนอ้ื หารายวชิ าสอดคล้องกบั วชิ า ไมโครโปรเซสเซอร์ , อุปกรณ์และวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์

9. การวดั และประเมินผล
9.1 กอ่ นเรยี น แบบประเมนิ ผลก่อนการเรยี นรู้
9.2 ขณะเรยี น แบบฝกึ หัด ใบงานการทดลอง ผ่านเกณฑ์ 60 % ขนึ้ ไป
9.3 หลงั เรยี น แบบประเมินผลหลังการเรียนรู้ ผา่ นเกณฑ์ 60 % ข้ึนไป

แผนการจดั การเรียนรมู้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หน่วยที่ 8
ช่ือหน่วย การประยุกตใ์ ชง้ านไมโครคอนโทรลเลอร์เบอ้ื งตน้ สอนครง้ั ที่ 13 - 15
ชอ่ื เร่อื ง การประยุกตใ์ ชง้ านไมโครคอนโทรลเลอร์เบือ้ งต้น ชว่ั โมงรวม 12 ช.ม.
จานวนช่วั โมง 12 ชม.

1.สาระสาคัญ

มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นอุปกรณท์ น่ี ยิ มใชก้ นั อย่างแพร่หลายในโรงงานอุตสาหกรรม เปน็ อปุ กรณท์ ใ่ี ช้
ควบคมุ เคร่อื งจกั รกลในงานอุตสาหกรรม มอเตอร์มีหลายแบบหลายชนดิ ที่ใช้ให้เหมาะสมกบั งาน ดังนน้ั เราจงึ
ตอ้ งทราบถงึ ความหมายและชนดิ ของมอเตอร์ไฟฟา้ ตลอดถึงคุณสมบตั กิ ารใช้งานของมอเตอร์แตล่ ะชนดิ
เพอื่ ใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพสูงสดุ ในการใช้งานของมอเตอรน์ ้นั ๆ มอเตอรม์ อเตอร์ไฟฟา้ (Motor) หมายถงึ
เครอ่ื งกลไฟฟา้ ชนดิ หนง่ึ ท่เี ปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟา้ มาเปน็ พลงั งานกล

2. สมรรถนะประจาหน่วย

2.1. มีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั การควบคุมดีซีมอเตอรแ์ ละคมุ สเตปมอเตอร์ด้วย Arduino
2.2. สามารถนาความร้ไู ปประยกุ ตใ์ ช้ในการเขียนโปรแกรมกาหนดการทางานดว้ ย Arduino
2.3. ตระหนักถึงความสาคัญของการควบคมุ ดีซีมอเตอรแ์ ละคุมสเตปมอเตอรด์ ว้ ย Arduino

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
3.1 ด้านความรู้
3.1.1. อธิบายความรู้เบ้ืองต้นเก่ยี วกบั มอเตอรไ์ ฟฟ้า
3.1.2. อธิบายวธิ กี ารเช่อื มตอ่ ดีซีมอเตอร์และสเตปมอเตอร์ ด้วย Arduino
3.1.3. อธิบายการควบคุมดซี มี อเตอร์และสเตปมอเตอร์ ด้วย Arduino
3.2. ดา้ นทักษะ
3.2.1. เชือ่ มตอ่ สเตปมอเตอรด์ ว้ ย Arduino
3.2.2. เช่อื มตอ่ ดซี ม๊ อเตอร์ดว้ ย Arduino
3.2.3. ควบคมุ ดซี มี อเตอร์ดว้ ย Arduino
3.2.4. ควบคุมสเตปมอเตอรด์ ว้ ย Arduino
3.3. คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์
3.3.1. เขา้ เรียนตรงเวลา
3.3.2. เคารพนอบนอ้ มใหเ้ กยี รติครผู ้สู อน
3.3.3. แต่งกายเรยี บร้อยถกู ต้องตามระเบียบ

3.3.4. มคี วามรับผิดชอบ และทางานรว่ มกับผอู้ นื่ ได้
3.3.5. มคี วามละเอียดรอบครอบ ถกู ตอ้ งและปลอดภัย

4. เนอ้ื หาสาระ
4.1. ความรเู้ บอื้ งต้นเกยี่ วกบั มอเตอรไ์ ฟฟา้
4.2. การควบคมุ ดซี มี อเตอรด์ ้วย Arduino
4.3. การควบคมุ สเตปมอเตอรด์ ้วย Arduino

5. กิจกรรมการเรียนรู้
5.1. การนาเขา้ สบู่ ทเรียน
5.1.1. ผู้สอนตงั้ คาถาม เก่ียวกับ การควบคุมดีซมี อเตอร์และสเตปมอเตอรด์ ว้ ย ARDUINO
คืออะไร มคี วามสาคัญอย่างไรบา้ งพรอ้ มอธิบายเหตุผลประกอบ
5.1.2. ผสู้ อนแจ้งจุดประสงคก์ ารเรยี น และการวัดผลและประเมินผลของหนว่ ยท่ี 8
5.1.3. ผูส้ อนใหน้ ักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหนว่ ยท่ี 8.

5.2. การเรียนรู้
5.2.1. ผ้สู อนให้ผู้เรยี นเปิด PowerPoint หน่วยที่ 8 เรือ่ ง การควบคมุ ดซี ีมอเตอร์และสเต
ปมอเตอร์ดว้ ย ARDUINO และใหผ้ ู้เรียนศึกษา PowerPoint และจดบันทึก
เนอื้ หาลงในสมดุ
5.2.2. ผู้สอนเปดิ โอกาส ใหผ้ เู้ รยี นถามปัญหา และขอ้ สงสัยจากเน้ือหา โดยครเู ปน็ ผ้ตู อบ
ปญั หาทีเ่ กดิ ขึน้ ระหวา่ งการเรยี นการสอน
5.2.3. ผสู้ อนใหน้ ักเรยี น ปฏิบัตกิ ารทดลองหน่วยที่ 8 เรื่อง การควบคุมดซี มี อเตอรแ์ ละส
เตปมอเตอร์ดว้ ย ARDUINO

5.2. การสรุป
5.2.1. ผู้สอนและผ้เู รยี นรว่ มกนั สรุปเนอื้ หาท่ไี ดเ้ รียนให้มีความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั
5.2.2. ผู้สอนให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยที่ 8.
5.2.3. ผสู้ อนเฉลย แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยที่ 8.

5.3. การวัดผลและการประเมนิ ผล
5.3.1. ผูส้ อนบนั ทึกคะแนน แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลงั เรียน
5.3.2. ประเมนิ พฤติกรรม โดยการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล

5.3.3. การสังเกตและประเมินพฤตกิ รรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะ
อันพงึ ประสงค์

6. ส่อื การเรยี นรู้/แหลง่ การเรยี นรู้
6.1. เอกสารประกอบการสอน วชิ าไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บอ้ื งต้น อ.ทันพงษ์ ภรู่ ักษ์
6.2. เรียนรู้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ง่ายๆกบั Arduino , ผศ.โอภาศ ศริ คิ รรชติ ถาวร , INEX
6.3. PowerPoint หนว่ ยท่ี 8. เร่ือง การควบคมุ ดีซีมอเตอรแ์ ละสเตปมอเตอร์ด้วย ARDUINO

7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)
7.1. ใบความรู้หนว่ ยท่ี 8. เรอ่ื ง การควบคุมดซี มี อเตอร์และสเตปมอเตอร์ดว้ ย ARDUINO
7.2. ใบงานการทดลองหนว่ ยท่ี 8. เร่อื ง การควบคมุ ดซี ีมอเตอรแ์ ละสเตปมอเตอร์ดว้ ย
ARDUINO

8. บรู ณาการ/ความสัมพนั ธก์ ับวิชาอนื่
มีเนื้อหารายวชิ าสอดคลอ้ งกบั วิชา ไมโครโปรเซสเซอร์ , อปุ กรณแ์ ละวงจรอิเล็กทรอนิกส์

9. การวัดและประเมินผล
9.1 ก่อนเรียน แบบประเมนิ ผลก่อนการเรยี นรู้
9.2 ขณะเรยี น แบบฝกึ หัด ใบงานการทดลอง ผ่านเกณฑ์ 60 % ขึน้ ไป
9.3 หลังเรียน แบบประเมินผลหลังการเรยี นรู้ ผา่ นเกณฑ์ 60 % ขน้ึ ไป

แผนการจัดการเรียนรูม้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หน่วยที่ 9
ชอื่ หนว่ ย การใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ในระบบ IOT สอนคร้ังท่ี 16 - 17
( เพม่ิ เตมิ คาอธิบายรายวชิ า) ชัว่ โมงรวม 8 ช.ม.

ชอ่ื เรื่อง การใชง้ านไมโครคอนโทรลเลอร์ในระบบ IOT จานวนชัว่ โมง 8 ชม.

1.สาระสาคัญ

Servo เป็นคาศพั ท์ทใ่ี ช้กนั ทัว่ ไปในระบบควบคุมอัตโนมตั ิ มาจากภาษาละตินคาว่า Sevus หมายถึง
“ทาส” (Slave) ในเชงิ ความหมายของ Servo Motor กค็ ือ Motor ท่ีเราสามารถสั่งงานหรือต้ังคา่ แล้วตัว
Motor จะ หมนุ ไปยังตาแหนง่ องศาที่เราสัง่ ได้เองอยา่ งถกู ตอ้ ง โดยใชก้ ารควบคมุ แบบป้อนกลบั (Feedback
Control) ในหนว่ ยนี้ จะกลา่ วถึง RC Servo Motor ซ่งึ นยิ มนามาใช้ในเครอ่ื งเล่นท่ีบังคบั ดว้ ยคลน่ื วิทยุ
(RC = Radio - Controlled) เช่น เรอื บังคบั วิทยุ รถบังคบั วทิ ยุ เฮลิคอปเตอร์บังคับวทิ ยุ เปน็ ต้น
2. สมรรถนะประจาหน่วย

2.1. มีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั ลักษณะการทางานของระบบ IOT
2.2. สามารถนาความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ในการเขียนโปรแกรมควบคมุ อุปกรณผ์ ่านระบบ IOT
2.3. เพื่อให้ตระหนักถึงความสาคัญของระบบ IOT

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.1 ดา้ นความรู้
3.1.1. ความรูเ้ บื้องต้นเกย่ี วกบั ระบบ IOT
3.1.2. ส่วนประกอบภายในของ ESP8266
3.1.3. บลอ็ กไดอะแกรมของ ESP8266
3.1.4. หลักการทางานของ ระบบ IOT
3.2. ดา้ นทักษะ
3.2.1. เขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของ ESP8266 ผ่านระบบ IOT
3.2.2. ตอ่ วงจรเพอื่ ทดสอบการทางาน
3.3. คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์
3.3.1. เขา้ เรียนตรงเวลา
3.3.2. เคารพนอบนอ้ มใหเ้ กยี รตคิ รผู สู้ อน
3.3.3. แต่งกายเรยี บร้อยถูกตอ้ งตามระเบียบ
3.3.4. มคี วามรับผิดชอบ และทางานรว่ มกับผู้อน่ื ได้
3.3.5. มคี วามละเอียดรอบครอบ ถกู ตอ้ งและปลอดภัย

4. เนอ้ื หาสาระ
4.1. ความรูเ้ บ้อื งต้นเกี่ยวกบั ระบบ IOT
4.2. สว่ นประกอบภายในของ ESP8266
4.3. บลอ็ กไดอะแกรมของ ESP8266
4.4. หลกั การทางานของ ระบบ IOT

5. กิจกรรมการเรยี นรู้
5.1. การนาเขา้ สบู่ ทเรยี น
5.1.1. ผ้สู อนตัง้ คาถาม เก่ียวกับ ระบบ IOT คืออะไร มีความสาคญั อยา่ งไรบ้างพร้อม
อธิบายเหตผุ ลประกอบ
5.1.2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงคก์ ารเรียน และการวดั ผลและประเมินผลของหน่วยท่ี 9
5.1.3. ผสู้ อนใหน้ ักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยท่ี 9

5.2. การเรยี นรู้
5.2.1. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนเปิด PowerPoint หนว่ ยที่ 9 เรอื่ ง การใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์
ในระบบ IOT และใหผ้ ู้เรียนศกึ ษา PowerPoint และจดบันทึกเนอื้ หาลงในสมดุ
5.2.2. ผูส้ อนเปิดโอกาส ให้ผูเ้ รยี นถามปญั หา และขอ้ สงสยั จากเน้อื หา โดยครูเปน็ ผตู้ อบ
ปญั หาทีเ่ กิดขึ้นระหว่างการเรียนการสอน
5.2.3. ผสู้ อนใหน้ ักเรยี น ปฏบิ ัตกิ ารทดลองหนว่ ยท่ี 9 เร่อื ง การใชง้ าน
ไมโครคอนโทรลเลอร์ในระบบ IOT

5.2. การสรปุ
5.2.1. ผสู้ อนและผเู้ รียนรว่ มกันสรปุ เน้ือหาทไี่ ด้เรียนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดยี วกัน
5.2.2. ผสู้ อนให้ผู้เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยที่ 9
5.2.3. ผู้สอนเฉลย แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยท่ี 9

5.3. การวัดผลและการประเมนิ ผล
5.3.1. ผสู้ อนบันทกึ คะแนน แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและแบบทดสอบหลงั เรยี น
5.3.2. ประเมินพฤติกรรม โดยการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
5.3.3. การสงั เกตและประเมินพฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะ
อนั พึงประสงค์

6. ส่ือการเรียนรู้/แหลง่ การเรียนรู้
6.1. เอกสารประกอบการสอน วชิ าไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บ้อื งต้น อ.ทันพงษ์ ภ่รู ักษ์
6.2. เรยี นรูไ้ มโครคอนโทรลเลอร์ งา่ ยๆกับ Arduino , ผศ.โอภาศ ศิริครรชติ ถาวร , INEX
6.3. PowerPoint หน่วยที่ 9. เรอ่ื ง การควบคมุ เซอร์โวมอเตอร์ดว้ ย ARDUINO

7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)
7.1. ใบความรู้หนว่ ยที่ 9. เรอื่ ง การใชง้ านไมโครคอนโทรลเลอร์ในระบบ IOT
7.2. ใบงานการทดลองหน่วยที่ 9 เรือ่ ง การใชง้ านไมโครคอนโทรลเลอรใ์ นระบบ IOT

8. บรู ณาการ/ความสัมพันธก์ บั วิชาอ่นื
มเี นื้อหารายวิชาสอดคล้องกบั วชิ า ไมโครโปรเซสเซอร์ , อุปกรณ์และวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์

9. การวดั และประเมนิ ผล
9.1 กอ่ นเรียน แบบประเมินผลก่อนการเรียนรู้
9.2 ขณะเรยี น แบบฝกึ หดั ใบงานการทดลอง ผา่ นเกณฑ์ 60 % ข้นึ ไป
9.3 หลงั เรียน แบบประเมินผลหลงั การเรียนรู้ ผา่ นเกณฑ์ 60 % ข้นึ ไป


Click to View FlipBook Version