The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นพรัตน์ มโนรํา, 2020-02-26 21:17:37

วิจัยในชั้นเรียนภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562

วิจัยในชั้นเรียน 2_2562

วิจัยในชน้ั เรียน

เรอ่ื งการเพิ่มผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรยี น ระดบั ชัน้ ปวช. 1
สาขางานอเิ ลก็ ทรอนิกส์ วทิ ยาลยั เทคนคิ เชยี งคา

ในรายวิชา 20105-2009 เคร่อื งรับวิทยุ ด้วยกระบวนการจดั การเรียนรู้แบบใช้
ปญั หาเป็นฐาน

ผวู้ จิ ัย

นายนพรัตน์ มโนรา
ครู

ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562
แผนกวชิ าช่างอิเล็กทรอนกิ ส์ วิทยาลัยเทคนิคเชียงคา

อาชวี ศึกษาจังหวดั พะเยา
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ก1

ช่อื งานวิจัย เรื่องการเพ่มิ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนกั เรียน ระดับช้ัน ปวช. 1 สาขางานอเิ ล็กทรอนิกส์
วทิ ยาลัยเทคนิคเชยี งคาในรายวิชา 20105-2009 เคร่ืองรบั วิทยุ
ด้วยกระบวนการจัดการเรยี นรแู้ บบใช้ปญั หาเปน็ ฐาน
ชอ่ื ผู้วิจัย นายนพรตั น์ มโนรา
สาขาวชิ า ช่างอิเล็กทรอนิกส์
บทคัดย่อ

เร่ืองการเพิ่มผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรียน ระดับช้ัน ปวช. 1
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษาท่ี 2562

ซ่ึงมีจุดประสงค์เพ่ือแก้ปัญหา เร่ือง เพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน ในรายวิชา 20150-
2009 เคร่อื งรับวทิ ยุ โดยประชากรในการทาวิจยั คือ ชน้ั ปที ี่ 1 สาขาวชิ าช่างอิเลก็ ทรอนิกส์ จานวน 12 คน ซ่ึง
ใช้ระยะเวลาในการทาวจิ ัย 1 ภาคเรียน คือ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562

จากผลการวิจัยในบทท่ี 4 พบว่าก่อนใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ผู้เรียนมี
คะแนนเฉล่ยี เทา่ กบั 8.98 คะแนน และหลงั จากปรบั ด้วยกระบวนการจัดการเรยี นรู้แบบใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน
( ต้ังแต่ สัปดาห์ท่ี 7 -17 ) พบว่าคะแนนเฉลี่ยของผเู้ รียนเพิ่มขึ้น โดยค่าเฉล่ียในสัปดาห์ที่ 7 -12 มีค่าเท่ากับ
10.00 คะแนน และคา่ เฉลีย่ ในสัปดาหท์ ี่ 13 – 17 มคี ่าเทา่ กับ 10.50 คะแนน

และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน รายวิชา 20105- 2009 วิชาเคร่ืองรับวิทยุ พบว่ามีนักเรียนที่มีผลการ
เรียนในระดับ 2 ( พอใช้ ) ข้ึนไปจานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 50 และ มีผู้ท่ีมีผลการเรียนต่ากว่าระดับ 2
จานวน 6 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 50 ซง่ึ ไมเ่ ปน็ ไปตามสมมุตฐิ านของการวิจัย เน่อื งจากมนี กั เรียนท่ีมีเวลาเรียนต่า
กวา่ เกณฑ์ ( ขร. ) จานวน 6 คน

จากผลการวิจัยพบว่า กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ทาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนดขี ้นึ

สารบัญ ข2

บทคดั ย่อ หน้า
สารบญั ก
บทที่ 1 บทนา ข
บทท่ี 2 เอกสารและวิจยั ที่เก่ียวขอ้ ง 1
บทที่ 3 วิธีการดาเนนิ งาน 3
บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย 8
บทท่ี 5 สรปุ ผลการวจิ ัย อภิปราย และข้อเสนอแนะ 11
ภาคผนวก 13

3

1

1

บทที่ 1
บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา

ในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา 20105-2009 วิชาเคร่ืองรับวิทยุ มีการเก็บคะแนนระหว่าง
ภาคเปน็ 3 สว่ นๆ ละ 20 คะแนน รวมคะแนนระหวา่ งภาค 60 คะแนน

และจากการประชุมพิจารณา ปัญหาในกลุ่มชุมชนแห่งการเรียนรู้ PLC กลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ ได้พบ
ปัญหาและอุปสรรคจากในการเรียนรู้ คือเรื่องผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนต่า และครูไม่สามารถวัด
ทักษะและความก้าวหนา้ ของนกั เรียนได้ ดงั นน้ั ครผู ู้สอนจงึ มีความตอ้ งการทจี่ ะแก้ไขปัญหาดังกลา่ ว

ผวู้ จิ ัยจงึ ไดจ้ ัดทาวจิ ยั เพ่ือหาวธิ ีการการเพม่ิ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียน เพือ่ ใหก้ ารเรียนการ
สอนมปี ระสทิ ธภิ าพ และทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของกลุ่มทมี่ ีปัญหาสงู ขึ้น เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นกลมุ่ ดงั กลา่ ว
ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน

1. สมมติฐานการวิจัย
กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สามารถเพิ่มผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและทาให้

นักเรยี นมผี ลการเรียนต้ังแต่ 2 ขึน้ ไปร้อยละ 70 ของผู้เรยี น

2. วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั
1. ทาใหผ้ ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรยี น

3. ขอบเขตของงานวิจัย
1. ประชากรในการทาวิจยั คอื นักเรยี นระดับช้นั ประกาศนียบตั รวิชาชพี ชน้ั ปที ี่ 1 สาขาวิชา
ช่างอิเล็กทรอนกิ ส์ วทิ ยาลัยเทคนิคเชียงคาจานวน 12 คน
2. ระยะเวลาคอื ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562

4. ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะไดร้ ับ
1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของกลุ่มท่ีมีปัญหาสงู ขึน้
2. เปน็ แนวทางในการแกป้ ญั หาให้กับครูผ้สู อนในรายวชิ าอ่นื ๆ

5. นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ
การจัดการเรียนรูแ้ บบใชป้ ญั หาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) เป็นกระบวนการ

จดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning ซง่ึ ในการจดั ทาคู่มือจดั การเรยี นรูแ้ บบใชป้ ัญหาเป็นฐานครง้ั นี้
ขอนาเสนอสาระสาคญั เกยี่ วกบั แนวคิดพ้ืนฐาน จุดมุง่ หมายของการจัดการเรียนรู้ ลกั ษณะของปญั หา

2

ในการจดั การเรียนรู้ การเตรียมตวั ของครูก่อนการจดั การเรยี นรู้ ขนั้ ตอนการจดั การเรยี นรู้ การ
ประเมนิ ผลการเรียนรู้ และบทบาทของครใู นการจัดการเรยี นรู้

3

บทที่ 2
เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

แนวทางในการจัดทาวจิ ัยในเรอื่ ง เรอื่ งการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี น ระดับช้นั ปวช. 1
สาขาง าน อิเล็ก ทร อนิก ส์ วิ ทยาลัยเทคนิคเชียง คาใน ร ายวิ ชา 20105-2009 เคร่ือ ง รับวิ ทยุ
ด้วยกระบวนการจดั การเรียนร้แู บบใช้ปญั หาเปน็ ฐาน

ผู้วจิ ัยจงึ ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทเี่ กยี่ วข้องโดยเสนอตามลาดบั หัวขอ้ ดงั น้ี
2.1. วจิ ยั ในชัน้ เรียน
2.2. กระบวนการจดั การเรียนร้แู บบใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem-Based Learning)

2.1. วจิ ยั ในชั้นเรยี น
ความหมายของวิจยั ในชนั้ เรียน
การวจิ ัยในชั้นเรยี นเปน็ รูปแบบของการวจิ ัยทางการศกึ ษาอกี รูปแบบหน่ึงซ่ึงเป็นการวิจัยทด่ี า
เนินการควบคู่ไปกับการปฏิบัตงิ านของครู โดยมีครูเปน็ นักวิจัย ทั้งผลติ งานวจิ ัย และบริโภคงานวิจัย
หรือกล่าวอีกนัยหน่ึงคือ ครูเป็นผู้ทาการวิจัยและนาผลการวิจัยไปใช้ ด้วยลักษณะของการวิจัยในช้ัน
เรียนจึงมีนักศึกษาและนักวิจัยหลายท่านได้ให้ความหมายของการวิจัยในชัน้ เรียนไว้หลากหลายโดย
เนน้ การวจิ ัยทางการศึกษาและปฏิบัติการในหอ้ งเรยี นดังน้ี
การวจิ ัยในชั้นเรยี น หากแปลความหมายโดยการแยกคาหลัก ๆ จะเหน็ ได้วา่ ประกอบด้วยคา
ว่า“การวิจัย” และ “ชั้นเรียน” ซึ่งการวิจัยนั้นในบทที่ 1 ได้อธิบายความหมาย ความสาคัญ และ
หลักการไว้แล้ว ส่วนคาวา่ ชั้นเรยี น หากสือ่ ตามความหมายท่เี กี่ยวข้องจะเหน็ ได้ว่าส่ือถึง ครู นักเรียน
ดังนน้ั หากหมายรวมกันแล้วจะเหน็ ได้ว่า การวจิ ัยในชน้ั เรียน จะหมายถงึ การวิจยั ท่เี กี่ยวขอ้ งกับครูหรอื
นักเรียน นอกจากน้ีความหมายของการวิจัยในชั้นเรียนน้ันได้มีนักวิชาการ ได้นิยามความหมายที่
คล้ายคลึงกันดังนี้(Field ,1997 อ้างถึงในสุภัทรา เอื้อวงศ์ ออนไลน์ 2554) การวิจัยในชั้นเรียน เป็น
การวจิ ยั เพื่อหานวตั กรรมสาหรับแก้ปญั หาหรือเพ่ือพฒั นาการเรียนรู้ของผู้เรยี น ซ่ึงเน้นในลกั ษณะการ
วิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดยมีปัญหาการเรียนรู้เป็นจุดเร่ิมต้น ผู้สอนหาวิธีการ หรือ
นวัตกรรมเพ่ือแก้ปัญหา มีการสังเกตและตรวจสอบผลของการแก้ปัญหา/การพัฒนา แล้วจึงบันทึก
และสะท้อนการแก้ปญั หาหรือการพัฒนานนั้ ๆ การวิจยั ในช้ันเรียนมักเป็นการวิจัยขนาดเล็ก (Small
scale) ทีด่ าเนินการโดยผสู้ อน เป็นกระบวนการทผี่ ู้สอนสะท้อนการปฏิบัติงาน และเสริมพลังอานาจ
ใหค้ รผู ู้สอน
(รตั นะ บวั สนธ์,2544) การวิจัยในชั้นเรียน เป็นการแก้ปัญหาและ /หรือพัฒนางานที่เกยี่ วกับ
การเรียนการสอนในชนั้ เรยี นโดยอาศัยกระบวนการวิจัยในการดาเนินงานท้ังนี้มีเป้าหมายสาคัญทอ่ี ยู่ที่

4

การเรียนรู้ท่ีสาคัญของผู้เรียนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาในแต่ละ
ระดับ(ส. วาสนา ประวาลพฤกษ์,2541)

การวิจัยในช้ันเรียน เป็นวิธีการศึกษาค้นคว้าที่สะท้อนตัวครูและกลุ่มผู้ร่วมปฏิบัติงานใน
สถานการณ์สังคม เพ่ือค้นหาลักษณะท่ีเหมาะสมของรูปแบบการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานให้
สอดคล้องกับภาวะของสังคมหรือสถานการณ์ ด้วยความร่วมมือของเพ่ือนครู ผู้บริหารสถานศึกษา
ผ้ปู กครอง ตลอดจนสมาชกิ ในสงั คมทเ่ี ก่ียวขอ้ ง มีจดุ มงุ่ หมายเพ่ือพนิ จิ พิเคราะห์การกระทาของตนเอง
และกลุ่ม เพ่ือพัฒนาเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับหลักสูตรการสอนและการเรียนรู้ อันเป็นผลจากการ
เปลี่ยนแปลงแบบมีแผน ดงั น้ัน การวจิ ัยในชั้นเรียน จึงไม่ใช่เป็นเพียงการแก้ปัญหา แต่จะเป็นการตั้ง
ปัญหาจากแรงกระตุ้นของผู้วิจัยท่ีต้องการเปลี่ยนแปลงพัฒนา แล้วปฏิบัติสังเกต สะท้อนกลับเป็น
วฏั จกั รของการวิจัยทีห่ มุนไปเรอ่ื ย ๆ เพอื่ การเปลี่ยนแปลงที่ย่งั ยืนและสร้างภาพลักษณข์ องการเรียน
การสอนใหม้ คี ณุ ภาพย่ิงขึ้น

ส่วนความสาคัญของการวิจัยในชั้นเรียนนั้นจะเห็นได้ว่าการวิจัยในช้ันเรียนน้ันมุ่งแก้ปัญหา
และ/หรือพัฒนางานทเี่ ก่ยี วกบั การเรียนการสอนในชั้นเรียน ซ่ึงต้องบังเกิดประโยชน์แก่นกั เรียนใหใ้ น
การพัฒนาการเรียนรู้อยู่แล้ว และต้องส่งผลต่อผลงานของครูผู้สอนและโรงเรียนตามมา และ
นอกจากนี้การวจิ ัยในชั้นเรียนนีย้ ังสอดคล้องกับแนวทางของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
2542 หมวด4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 24(5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูผู้สอนสามารถจัด
บรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึง
ของกระบวนการเรียนรู้ ท้ังนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรยี นร้ไู ปพร้อมกันจากการเรียนการสอนและแหล่ง
วิทยาการประเภทต่างๆ มาตรา 30 ส่งเสริมใหผ้ ู้สอนสามารถวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรูท้ ี่เหมาะสมกับ
ผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษาในหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2544 ได้กล่าวถึงการวิจัย ใน
กระบวนการจัดการศึกษา ของผู้เกี่ยวข้อง ดังเช่น ศึกษาค้นคว้า วิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้
สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ผู้สอนนากระบวนการวิจัยมาผสมผสานหรือบูรณการ
ใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนและเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้สามารถใช้
กระบวนการวิจัยเปน็ ส่วนหนึ่งของกระบวนการเรยี นรู้

สุวฒั นา สวุ รรณเขตนิค (2555) กลา่ ววา่ การวิจัยในชัน้ เรยี น คือ กระบวนการแสวงหาความรู้
อันเป็นความจริงที่เชื่อถือได้ในเน้ือหาเกี่ยวกับการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน เพ่ือพัฒนาการ
เรยี นรูข้ องนกั เรียนในบรบิ ทของข้ันเรยี น การวจิ ยั ในชนั้ เรียนมีเปา้ หมายสาคญั อยทู่ ก่ี ารพัฒนางานการ
จดั การเรียนการสอนของครูลักษณะของการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัตกิ าร (Action Research) คือ
เป็นการวิจัยควบคู่ไปกับการปฏิบัติงานจริง โดยมีครูเป็นท้ังผู้ผลิตงานวิจัย และผู้บริโภคผลการวิจัย
หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ครูเป็นนักวิจัยในชั้นเรียนครูนักวิจัยจะต้ังคาถามที่มีความหมายในการ
พฒั นาการจดั การเรียนการสอน แลว้ จะวางแผนการปฏิบัติงานและการวจิ ยั หลกั จากน้นั ครจู ะดาเนิน
การการจัดการเรียนการสอนไปพร้อม ๆ กับทาการจัดเก็บข้อมูล ตามระบบข้อมูลท่ีได้วางแผนการ
วิจัยไว้ นาข้อมูลที่ไดม้ าวิเคราะห์สรปุ ผลการวจิ ัยนาผลการวิจัยไปใชใ้ นการพฒั นาการจัดการเรยี นการ

5

สอนแล้วพัฒนาขอ้ ความรูท้ ไ่ี ด้น้ันตอ่ ไปใหม้ ีความถูกตอ้ งเป็นสากลและเป็นประโยชนม์ ากยงิ่ ข้นึ ตอ่ การ
พัฒนาการเรยี นการสอนเพือ่ พฒั นานกั เรยี นของครูให้มีคุณภาพยง่ิ ๆ ขึ้นไป

โดยทั่วไปแล้วประชากรเป้าหมายของการวิจัยในชั้นเรียนจะถูกจากัดเป็นกลุ่มนักเรียนใน
ความรับผิดชอบของครูนักวิจัยเท่าน้ัน และข้อความรู้ท่ีได้มักจะมีความเฉพาะคือจะเก่ียวกับสภาพ
ปัญหาและผลการพฒั นานกั เรียนในช้นั เรียนของครูนักวจิ ัยเป็นสาคัญ

สรุปได้ว่าวิจัยในชั้นเรียนคือ การค้นคว้าเพื่อแก้ไขปัญหาของครูและนักเรียน ในการจัดการ
เรียนการสอนเพื่อให้บรรลุซ่ึงเป้าหมายและพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพท่ีดียิ่งขึ้น โดยมีการวางแบบ
แผนการปฏิบัติการอย่างมีระบบ ขั้นตอนและสืบค้นหาข้อมูลเพื่อนามาแก้ไขปัญหาเหล่าน้ันที่เกิดใน
ช้ันเรยี นของครผู ู้สอน

ความสาคัญของวิจัยในช้ันเรียนสุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม (2555) กล่าวว่า การทาวิจัยในชั้น
เรียนน้ันจะช่วยให้ครูมีวิถีชีวิตของการทางานครูอย่างเป็นระบบเห็นภาพของงานตลอดแนว มีการ
ตัดสินใจท่ีมีคุณภาพ เพราะจะมองเห็นทางเลือกต่าง ๆ ได้กว้างขวางและลึกซึ้งข้ึน แล้วจะตัดสินใจ
เลือกทางเลือกต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลและสร้างสรรค์ครูนักวจิ ัยจะมีโอกาสมากข้ึนในการคิดใคร่ครวญ
เก่ียวกับเหตุผลของการปฏิบัติงานและครูจะสามารถบอกได้ว่างานการจัดการเรียนการสอนท่ีปฏิบัติ
นนั้ ไดผ้ ลหรือไมเ่ พราะอะไร นอกจากนี้ครูทใี่ ช้กระบวนการวจิ ยั ใน

การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนน้ีจะสามารถควบคุม กากบั และพัฒนาการปฏิบัติงาน
ของตนเองได้อยา่ งดี เพราะการทางาน และผลของการทางานนนั้ ล้วนมคี วามหมาย และคณุ ค่าสาหรับ
ครูในการพัฒนานักเรียน ผลจากการทาวิจัยในชั้นเรียนจะช่วยให้ครูได้ตัวบ่งช้ีท่ีเป็นรูปธรรมของ
ผลสาเรจ็ ในการปฏบิ ัติงานของครู อันจะนามาซ่ึงความรูใ้ นงานและความสขุ ในการปฏิบตั งิ านทถี่ ูกต้อง
ของครู เป็นท่ีคาดหวังว่าเม่ือครูผู้สอนได้ทาการวิจัยในชั้นเรียนควบคู่ไปกับการปฏิบัติงานสอนอย่าง
เหมาะสมแลว้ จะกอ่ ใหเ้ กิดผลดตี อ่ วงการศึกษา และวิชาชีพครอู ย่างน้อย 3 ประการ คือ

1. นกั เรียนจะมกี ารเรยี นร้ทู ม่ี คี ุณภาพและประสิทธภิ าพยง่ิ ขน้ึ
2. วงวิชาการการศึกษาจะมีข้อความรู้และ/ หรือนวัตกรรมทางการจัดการเรียนการสอนท่ี
เปน็ จริงเกดิ มากขนึ้ อนั จะเป็นประโยชน์ต่อครูและเพ่ือนครใู นการพัฒนาการจัดการเรียนการ
สอนเป็นอย่างมาก
3. วิถีชีวิตของครู หรือวัฒนธรรมในการทางานของครู จะพัฒนาไปสู่ความเป็นครูมืออาชีพ
(Professional Teacher) มากยงิ่ ขึ้นทงั้ นี้เพราะครนู กั วิจยั จะมีคุณสมบตั ขิ องการเป็นผูแ้ สวงหาความรู้
หรือผู้เรียน (Learner) ในศาสตร์แห่งการสอนอย่างต่อเน่ืองและมีชีวิตชีวา จนในท่ีสุดก็จะเป็นผู้ที่มี
ความรู้ความเข้าใจท่ีกว้างขวาง และลึกซ้ึงในศาสตร์และศิลป์แห่งการสอนเป็นครูทม่ี ีวิทยายุทธ์แกร่ง
กล้าในการสอนสามารถที่จะสอนนักเรียนให้พัฒนาก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ ในหลายบริบทหรือที่
เรียกว่าเป็นครูผู้รอบรู้ หรือครูปรมาจารย์ (Maser Teacher) ซึ่งถ้ามีปริมาณครูนักวิจัยดังกล่าวมาก
ขน้ึ จะชว่ ยให้การพัฒนาวิชาชีพครเู ป็นอย่างสร้างสรรค์และม่นั คง

6

สรุปได้ว่าการจัดทาวิจัยในช้ันเรียนจะช่วยให้ครูสามารถวิเคราะห์ถึงปัญหาของผู้เรียนและ
วิเคราะห์ได้ถึงปัญหาในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนได้อย่างลึกซ้ึง เน่ืองจากครูผู้สอนจะ
สามารถรู้และเข้าใจถึงปัญหาท่ีเกิดกับผู้เรียนได้โดยตรง เม่ือทราบถึงปัญหาครูผู้สอนสามารถทาการ
วิจัยเพื่อสืบค้นหาหนทางหรือวิธีการแก้ไขได้อย่างตรงเป้าหมายทาให้ผู้เรียนมีประสิทธิภาพและ
คณุ ภาพทดี่ มี ากย่งิ ข้นึ

2.2. กระบวนการจัดการเรียนรูแ้ บบใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน (Problem-Based Learning)
การจัดการเรยี นรขู้ องครูทเี่ ปน็ กระบวนการจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning มีเทคนิค

การสอน ที่หลากหลายเพื่อให้เดก็ เกดิ ทักษะต่างๆ ทีจ่ าเปน็ ในการดารงชีวิต เนน้ ใหเ้ ด็กได้เรยี นรู้จาก
การปฏบิ ัตจิ รงิ และเรียนรู้จากสถานการณ์ปญั หาท่ีเกิดข้นึ จรงิ ในชวี ิตประจาวันเพ่อื ให้ได้ฝึกทกั ษะการ
คิด โดยมีการวางเงอื่ นไขและกตกิ าในการรว่ มกจิ กรรม ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้ท่จี ดั ข้ึนเนน้ ใหผ้ ู้เรยี นได้
ฝึกกระบวนการทางานกลมุ่ การรบั ฟงั ความคิดเห็นของผอู้ ่นื ตลอดจนทักษะการส่ือสารท่ถี อื วา่ มีความ
จาเปน็ และสาคัญต่อการดารงชวี ิตอยา่ งมาก โดยเด็กจะเสนอสิ่งท่ีตนเองอยากเรียนรู้ขนึ้ มาและครมู ี
บทบาทเป็นผู้ช้ีแนะ

การจัดการเรยี นรแู้ บบใชป้ ญั หาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) เปน็ กระบวนการ
จัดการเรียนร้แู บบ Active Learning ซง่ึ ในการจดั ทาคู่มือจดั การเรยี นรู้แบบใชป้ ญั หาเปน็ ฐานครง้ั นี้
ขอนาเสนอสาระสาคญั เกีย่ วกับแนวคิดพน้ื ฐาน จดุ มุง่ หมายของการจดั การเรียนรู้ ลกั ษณะของปญั หา
ในการจดั การเรยี นรู้ การเตรียมตวั ของครกู อ่ นการจัดการเรียนรู้ ขนั้ ตอนการจัดการเรยี นรู้ การ
ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และบทบาทของครใู นการจัดการเรียนรู้

2.2.1. แนวคิดพน้ื ฐานของการจดั การเรียนรูแ้ บบใช้ปญั หาเป็นฐาน
การจดั การเรยี นรู้แบบใชป้ ัญหาเปน็ ฐานเปน็ จัดการเรียนรทู้ ่เี น้นในสงิ่ ท่ีเด็กอยาก

เรยี นรู้ โดยสิ่งท่อี ยากเรียนรู้ดังกล่าวจะต้องเรม่ิ มาจากปญั หาทเี่ ด็กสนใจหรือพบใน
ชีวิตประจาวันท่ีมเี นือ้ หาเกี่ยวข้องกับบทเรียน อาจเปน็ ปญั หาของตนเองหรอื ปัญหาของกลมุ่
ซึ่งครจู ะตอ้ งมีการปรับเปลย่ี นแผนการจัดการเรยี นรู้ตามความสนใจของเด็กตามความ
เหมาะสม จากน้ันครูและเด็กร่วมกนั คิดกจิ กรรมการเรียนร้เู กยี่ วกับปัญหาน้นั โดยปญั หาที่จะ
นามาใช้ในการจดั การเรียนรบู้ างครัง้ อาจเปน็ ปญั หาของสังคมทค่ี รูเป็นผ้กู ระตุน้ ให้เด็กคดิ จาก
สถานการณ์ ขา่ ว เหตกุ ารณ์ต่างๆ ท่ีเกิดขึน้ จะเนน้ ท่ีกระบวนการเรียนรู้ของเดก็ เด็กตอ้ ง
เรยี นรู้จากการเรียน (learning to learn) เนน้ ปฏิสมั พันธ์ระหว่างผู้เรียนในกลมุ่ การปฏบิ ตั ิ
และการเรียนรู้รว่ มกัน (Collaborative Learning) นาไปส่กู ารคน้ คว้าหาคาตอบหรอื สรา้ ง
ความรู้ใหมบ่ นฐานความร้เู ดมิ ท่ีผูเ้ รียนมมี ากอ่ นหนา้ น้ี

7

2.2.2. จดุ ม่งุ หมายของการจัดการเรยี นรแู้ บบใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน
รปู แบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบใชป้ ัญหาเป็นฐานมีจุดมุง่ หมายเพื่อฝึกทักษะ

การคิดแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผลและเป็นระบบให้แกน่ ักเรียนโดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้น
ทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหา การคิดสรา้ งสรรค์ คิดวิจารณญาณ การสืบค้นและรวบรวม
ข้อมลู กระบวนการกลุม่ การบันทกึ และการอภปิ ราย

2.2.3. ลกั ษณะของปัญหาในการจดั การเรยี นรแู้ บบใชป้ ญั หาเป็นฐาน
 เกิดขน้ึ ในชวี ิตจริงและเกิดจากประสบการณข์ องผู้เรียนหรือผู้เรียนอาจมีโอกาสได้เผชิญ
กับปัญหานน้ั
 เปน็ ปญั หาที่พบบ่อยมีความสาคญั มขี ้อมลู เพยี งพอสาหรบั การค้นควา้
 เป็นปัญหาที่ยังไม่มีคาตอบชัดเจน ตายตัวหรือแน่นอนและเป็นปัญหาท่ีมีความซับซ้อน
คลุมเครือหรอื ผู้เรียนเกิดความสงสยั
 เปน็ ปัญหาทม่ี ปี ระเด็นขดั แยง้ ข้อถกเถียงในสงั คมยงั ไมม่ ขี อ้ ยุติ
 เป็นปญั หาที่อยใู่ นความสนใจ เป็นส่งิ ที่อยากรูแ้ ต่ไมร่ ู้
 ปัญหาท่ีสรา้ งความเดือดร้อน เสียหาย เกิดโทษ ภัย และเป็นสิ่งไม่ดี หากมีการนาข้อมูล
มาใช้โดยลาพังคนเดียวอาจทาให้ตอบปัญหาผดิ พลาด
 ปัญหาที่ไดร้ ับการยอมรับจากผู้อน่ื วา่ จริง ถกู ต้อง แต่ผ้เู รยี นไมเ่ ชอ่ื ว่าจริง ยังไมส่ อดคลอ้ ง
กับความคดิ ของผเู้ รียน
 ปัญหาที่อาจมีคาตอบ หรือแนวทางการแสวงหาคาตอบได้หลายทางครอบคลุมการ
เรียนรทู้ ก่ี ว้างขวางหลากหลายเนอ้ื หา
 เป็นปัญหาทมี่ ีความยากงา่ ยเหมาะสมกบั พืน้ ฐานของผเู้ รยี น
 เป็นปัญหาที่ไม่สามารถหาคาตอบของปัญหาได้ทันที ต้องมีการสารวจ ค้นคว้าและ
รวบรวมข้อมูล หรือทดลองดูก่อน จึงจะได้คาตอบ ไม่สามารถคาดเดา หรือทานายได้
ง่ายๆ ว่าต้องใช้ความรู้อะไร ยุทธวิธีในการสืบเสาะหาความรู้เป็นอย่างไร หรือคาตอบ
หรอื ผลของความรู้เป็นอยา่ งไร
 เป็นปัญหาท่สี ่งเสริมความรู้ดา้ นเน้ือหา ทกั ษะ สอดคล้องกบั หลักสูตรการศึกษา

8

2.2.4. การเตรยี มตวั ของครูก่อนการจดั การเรียนรู้
2.2.4.1. ศึกษาหลักสูตร เพื่อให้ครเู กิดความเข้าใจจุดประสงค์ของหลักสตู ร ตลอดจนตวั ช้ีวัด

และมาตรฐานการเรียนรู้ต่างๆอย่างละเอียดและสามารถนาความรู้ดังกล่าวไปจัดกระบวนการ
เรยี นรู้ ให้สอดคล้องกับหลกั สตู รแกนกลางตามเปา้ หมายการเรียนรไู้ ด้

2.2.4.2. วางแผนผังการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับเน้ือเร่ืองที่จะสอน โดยครูต้องหาความรู้ที่
เชื่อมโยงกับเน้ือเรื่องในการกาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ คือมีการออกแบบกิจกรรมด้วยตนเอง
ใช้ส่ือและแหล่งเรียนรู้ชุมชนเพื่อเป็นการสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ให้กับเด็ก ออกแบบ
กิจกรรมใช้สอื่ ให้ทันกับเหตุการณป์ ัจจุบัน ทันกับคาตอบของเด็ก และเชื่อมโยงกับสิ่งท่ีเด็กเรียนรู้
โดยเนน้ ออกแบบกิจกรรมการสอนแบบบรู ณาการรายวิชา

2.2.4.3. ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม ครูผู้สอนต้องออกแบบกิจกรรมการ
เรยี นรู้อย่างรัดกุมให้รายละเอียดการจัดกิจกรรมทช่ี ดั เจน คอื ไมว่ ่าครูท่านใดอา่ นแผนการ
จัดการเรยี นรู้ แล้วสามารถจดั กจิ กรรมการเรียนร้ตู ามแผนดงั กล่าวได้

2.2.4.4. ครูผู้สอนสอบถามความต้องการในการเรียนและสร้างความคุ้นเคยกับนักเรียน ครู
จะต้องสร้างความคุ้นเคยกับนักเรียนและถามความต้องการของนักเรียนว่าอยากเรียนอะไรในปี
การศกึ ษานนั้ เพอ่ื สารวจความตอ้ งการของผู้เรยี นไว้เป็นแนวทางในการออกแบบการจดั การเรียนรู้
ใหส้ อดคลอ้ งระหว่างหลกั สูตรและความตอ้ งการของนักเรยี น เพ่ือความสะดวกในการจัดกิจกรรม
การเรยี นรู้ที่มคี วามเหมาะสมและเป็นกิจกรรมท่ีนา่ สนใจสาหรับนกั เรียนมากขึ้น

2.2.5. ขั้นตอนการเรยี นร้แู บบใช้ปัญหาเปน็ ฐาน
สาหรับคู่มือการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานน้ี ไดน้ าข้นั ตอนการจัดการเรียนรแู้ บบใช้

ปญั หาเป็นฐานที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลการแลกเปล่ยี นเรียนรู้โดยโครงการพัฒนาโรงเรยี นต้นแบบ
และภาคีที่เกี่ยวข้องเพ่ือการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 มูลนิธิสดศรี-สฤษด์ิวงศ์ (มสส.) โดยมี
ขั้นตอนการจัดการเรยี นรู้ ดังนี้

2.2.5.1. ทดสอบความรู้เกีย่ วกับเนื้อหาที่จะสอนก่อนเรยี น เพื่อจะไดท้ ราบความรู้พืน้ ฐานของ
นักเรียนเป็นรายบุคคลในเรื่องดังกล่าว และเป็นแนวทางในการออกแบบหรือปรับกระบวนการ
จัดการเรยี นรขู้ องครูใหเ้ หมาะสมและสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของนักเรียนดว้ ย

2.2.5.2. ให้ความรู้เบื้องต้นก่อนเริ่มกิจกรรมการเรียนรู้ ความรู้พื้นฐานจะนาไปสู่การเรียนรู้
ของเดก็ ในกิจกรรมทต่ี ้องลงมือปฏิบัติ ดังนั้น ครูจงึ ต้องอธบิ ายเน้ือหาคร่าวๆ เพอ่ื ให้เด็กเกดิ ความ
เขา้ ใจในเบ้อื งตน้

2.2.5.3. เปิดโอกาสให้เด็กเสนอส่ิงที่อยากเรียนรู้ โดยให้เด็กเขียนถึงสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้
และส่ิงที่ตนเองเรียนรู้มาแล้ว สิ่งที่เด็กอยากเรียนรู้อาจเป็นปัญหาในชีวิตประจาวัน หรือปัญหา
ของชุมชน หรือแนวทางในการแก้ปัญหาที่ถูกกาหนดข้ึนในชั้นเรียน ที่เด็กช่วยกันคิดและ
อยากลงมอื ปฏบิ ตั ิ

9

2.2.5.4. แบ่งกลุ่มเด็กในการทากิจกรรม เพื่อให้เด็กรู้จักวางแผนคือ ให้เด็กรู้จักกาหนด
กิจกรรมการเรียนรขู้ องตนเอง โดยการทาปฏทิ ินการเรยี นรตู้ ามความตอ้ งการในการเรียนของตน
วิธีการดังกล่าวเพื่อให้เด็กรู้หน้าท่ีของตนเองและในขณะเดียวกันสามารถแบ่งหน้าท่ีความ
รบั ผิดชอบใหแ้ กต่ นเองและเพอ่ื นในกล่มุ ได้

2.2.5.5. สรา้ งกติกาในการร่วมกจิ กรรมในช้ันเรียน เพอ่ื ให้เด็กรู้จักเคารพในเง่อื นไขและกติกา
ทกี่ าหนดขึน้ โดยทกุ คนในชั้นเรยี นจะตอ้ งยอมรับและปฏบิ ัติตาม

2.2.5.6. ให้เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง ครูเปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้และลงมือ
ปฏบิ ตั ิไดก้ ิจกรรมต่างๆดว้ ยตนเอง โดยครจู ะคอยเป็นผแู้ นะนา ตอบคาถามและสังเกตเด็กขณะทา
กิจกรรม

2.2.5.7. ครูให้เด็กสรุปส่ิงท่ีเรียนรู้จากการทากิจกรรมและให้เด็กได้นาเสนอผลงานของตน
โดยครูเป็นผู้คอยสนับสนุนให้เกิดการนาเสนอที่หลากหลายรูปแบบและเป็นไปอย่างสร้างสรรค์
ไมจ่ ากัดแนวคิดในการนาเสนอ

2.2.5.8. ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ของเด็ก
จากผลงานและพฤติกรรมท่ีเด็กแสดงออกขณะร่วมกิจกรรม โดยกาหนดเกณฑ์การประเมินผล
การเรียนร้ใู ห้สอดคล้องกบั เนอื้ หาทจ่ี ะสอนเป็นหลกั

2.2.5.9. การประเมนิ ผลการเรียนรแู้ บบใชป้ ญั หาเป็นฐาน
การประเมนิ ผลการเรียนร้โู ดยใช้ปัญหาเปน็ ฐานควรจะมีการประเมนิ ผลตามสภาพจริง มกี ารกาหนดเป้าหมาย
ทม่ี ีความสมั พนั ธใ์ นการประเมนิ ได้แก่

 ควรทาความเขา้ ใจด้านกระบวนการทีเ่ กี่ยวกบั การเรียนรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน

 การพัฒนาการเรยี นรดู้ ้วยตนเองของผูเ้ รียน และ

 ส่งิ ที่ไดร้ บั จากเนอ้ื หาวชิ า โดยทาการประเมนิ ดังน้ี
2.2.5.10. การประเมินตามสภาพจริง เป็นการวัดผลหรือประเมินผลการปฏิบัติงานของ

นักเรียนโดยตรงผา่ นชีวติ จริง เช่น การดาเนินการด้านการสืบสวน ค้นคว้า การร่วมมือกันทางาน
กลุ่มในการแก้ปญั หา การวดั ผลจากการปฏบิ ัติงานจริง เป็นตน้

2.2.5.11. การสังเกตอย่างเป็นระบบ เป็นอกี วิธีหนึ่งท่ีมคี วามเก่ียวข้องกับการประเมินผลใน
ด้านทักษะกระบวนการของผู้เรียนในขณะเรียน ผู้สอนต้องมีการกาหนดเกณฑ์การประเมินให้
ชัดเจน เชน่ การแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์นั้น ควรมีการกาหนดเกณฑ์การประเมนิ ไว้ ไดแ้ ก่ การ
สร้างปัญหาหรือคาถาม การสร้างสมมตฐิ าน การระบุตัวแปรต้น ตวั แปรตาม และตัวแปรควบคุม
การอธบิ ายแนวทางในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล และการประเมินผลสมมตฐิ านบนพ้นื ฐานของขอ้ มูล
ที่ดี

10

2.2.6. บทบาทของครใู นการจดั การเรยี นรู้แบบใชป้ ญั หาเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานครูผู้สอนจะทาหน้าที่สนับสนุนการเรียนรู้

ของผู้เรยี น คอย ใหค้ าปรกึ ษา กระตุ้นให้ผูเ้ รียนเอาความรู้เดมิ ท่ีมอี ยมู่ าใช้และเกดิ การเรียนรู้
โดยการต้ังคาถาม ส่งเสริมให้ผู้เรียนประเมินการเรียนรู้ของตนเอง รวมทั้งเป็นผู้ประเมิน
ทกั ษะของผู้เรียนและกลมุ่ พร้อมให้ข้อมลู ยอ้ นกลับเพื่อใหผ้ ้เู รียนไดเ้ กดิ การพฒั นาตนเอง

11

บทที่ 3
วิธกี ารดาเนนิ งาน
วจิ ยั เร่อื งการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ระดับช้ัน ปวช. 1 สาขางานอเิ ล็กทรอนิกส์
วทิ ยาลยั เทคนิคเชยี งคาในรายวชิ า 20105-2009 เครื่องรบั วทิ ยุ ด้วยกระบวนการจดั การเรียนรู้แบบใชป้ ญั หา
เปน็ ฐาน

โดยมวี ตั ถุประสงค์เพอื่ ทดลองใช้ กระบวนการจดั การเรียนรูแ้ บบใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน ในรายวชิ า
20105-2009 เครอื่ งรับวิทยุ เพ่ือเปรยี บเทยี บคะแนนเก็บช่วงที่ 1 ( สัปดาห์ท่ี 1 – 6 ) และคะแนนเก็บ ชว่ งที่
2 ( สัปดาหท์ ี่ 7 - 12 ) และ 3 ( สัปดาห์ที่ 13 -17 ) ท่ีผู้สอนเปล่ยี นกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบเดิม เป็น
กระบวนการจดั การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน

1.1. กลุม่ ประชากร
กลมุ่ ประชากร คือ นกั เรยี นชั้นประกาศนยี บตั รวิชาชีพช้ันปที ่ี1 สาขาวชิ าช่างอเิ ล็กทรอนิกส์

วิทยาลยั เทคนคิ เชยี งคา ทล่ี งทะเบยี นเรียนในรายวิชา 20105-2009 เครื่องรับวทิ ยุ จานวน 12 คน

1.2. ระยะเวลาที่ใชใ้ นการทางาน
ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการทาวิจยั ตลอดภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2562

1.3. เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการวิจยั
1.3.1. แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ า 20105-2009 เคร่อื งรับวิทยุ ท่ีปรบั เปลยี่ นจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปญั หาเป็นฐาน
1.3.2. ตารางแสดงความก้าวหนา้ ทางการเรียน รายวิชา 20105-2009 เคร่อื งรับวิทยุ
1.3.3. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ

1.4. ข้นั ดาเนนิ การ
1.4.1.ศกึ ษารปู แบบวธิ กี าร ของกระบวนการจดั การเรียนรแู้ บบใชป้ ญั หาเป็นฐาน
1.4.2. ใช้กระบวนการของชุมชนแห่งการเรียนรู้ PLC ในการวิเคราะห์ปัญหา และจัดทาแผนการ
จัดการเรียนรู้ โดยใช้ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน โดยการปรับกิจกรรม
การเรยี นรูใ้ หม่ตามกระบวนการจัดการเรียนรแู้ บบใช้ปญั หาเป็นฐาน
1.4.3. นาแผนการจัดการเรยี นรู้ทีป่ รบั ปรงุ นาเสนอในกลมุ่ PLC เพือ่ ปรับปรุง
1.4.4. นาแผนการจัดการเรยี นรู้ทีป่ รับปรงุ แลว้ มาใช้ในการเรียนรู้ในรายวิชา 20105-2009 เครื่องรับ
วทิ ยุ
1.4.5. สังเกตคะแนนเก็บของผู้เรยี น และบันทกึ ผลลงในตารางแสดงความก้าวหน้าทางการเรียน วชิ า
เครอื่ งรบั วิทยุ และประเมินผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนในรายวิชาดงั กล่าว

12

1.4.6. ใหน้ ักเรียนจัดทาเครือ่ งรบั วิทยุ ตามโจทยแ์ ละปัญหาที่ต้งั ไว้
1.4.7.ประเมินผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น กลุ่มตัวอย่าง ในรายวชิ า 20105-2009 เครอื่ งรบั วทิ ยุ
1.4.8. สรุปผลการเรียนรู้ของนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง ในรายวิชา 20105-2009 เครื่องรับวิทยุ

1.5. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู
ผูว้ จิ ยั ดาเนนิ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพอ่ื ให้สอดคล้องกับวตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัยด้วยวิธกี ารทาง

สถิติ ดังนี้
1.5.1.วิเคราะห์ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีผลการเรียน ระดับ ดี ข้ึนไป เทยี บกบั จานวนนักเรียนประชากร
ทง้ั หมด 12 คน
1.5.2. วิเคราะห์ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีผลการเรียน ระดับต่ากว่าระดับ ดี เทียบกับจานวนนักเรียน
ประชากรทง้ั หมด 12 คน
1.5.3.ผวู้ จิ ยั ไดใ้ ช้วธิ ีการทางสถิตวิ ิเคราะหข์ อ้ มลู โดยการหาคา่ คะแนนเฉลย่ี ค่าร้อยละ วเิ คราะห์ข้อมูล
โดยใช้ Microsoft Excel หลังจากวิเคราะห์ข้อมูลแล้ว ทาการแปลผลและนาเสนอในรูปตาราง
ประกอบความเรียงแลว้ สรปุ ผลการวจิ ัยโดยการบรรยาย

1.6. สถติ ทิ ่ใี ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล
1.6.1.สถติ ิทใี่ ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู
1.6.2.คา่ เฉลีย่ เลขคณิตประชากร (จตภุ ัทร เมฆพายพั , 2557 : 46-47) โดยใช้สูตร

กาหนดให้ xi แทนข้อมูลหน่วยท่ี i ของประชากรขนาด N
ดงั น้นั คา่ เฉลย่ี เลขคณิตประชากรหาได้จากผลรวมของข้อมูลประชากรทง้ั หมดหารดว้ ย
ขนาดของประชากร เขยี นแทนดว้ ยสัญลกั ษณ์ “μ”

1.6.3.สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานประชากร (Standard Deviation) (จตุภทั ร เมฆพายพั , 2557
: 75-76) โดยใชส้ ตู ร

สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานประชากรเขียนแทนด้วยสญั ลกั ษณ์ “σ” หาได้จากรากทส่ี องของ
ความแปรปรวน หรือ σ2

13

1.6.4.ความแปรปรวนประชากร (จตุภัทร เมฆพายพั , 2557 : 82-83) โดยใช้สตู รความแปรปรวนหาได้
จากคา่ เฉลย่ี ของผลต่างกาลงั สองระหวา่ งข้อมลู และคา่ เฉลยี่ ของขอ้ มลู

6.2 หาค่าสถติ ิพ้นื ฐาน ไดแ้ ก่

6.2.1 ร้อยละ (Percentage) (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545 : 102-105)

P = x 100


เมื่อ
P แทน รอ้ ยละ
F แทน ความถ่ที ตี่ อ้ งการแปลงให้เปน็ ร้อยละ
N แทน จานวนคะแนนในกล่มุ

14

บทที่ 4
ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู

ในการวจิ ยั คร้ังนีเ้ ปน็ การวจิ ยั เพือ่ การเพ่ิมผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี น ระดับช้นั ปวช. 1 สาขางาน
อิเล็กทรอนิกส์วิทยาลยั เทคนคิ เชียงคาในรายวิชา 20105-2009 เคร่ืองรับวทิ ยุ ดว้ ยกระบวนการจดั การเรยี นรู้
แบบใช้ปญั หาเป็นฐาน ไดว้ ิเคราะห์ขอ้ มูลทางด้านสถติ ไิ ดด้ ังน้ี

ตารางท่ี 1 ตารางแสดงความก้าวหนา้ ทางการเรียน รายวิชา 20105-2009 เครือ่ งรบั วทิ ยุ 2/2562
จากตารางที่ 1 พบว่าคะแนนเฉล่ียครั้งที่ 1 ช่วงสัปดาห์ท่ี 1 – 6 ผลการเรียนของกลุ่มตัวอย่างมี
คะแนนเฉลี่ยเทา่ กับ 8.92 คะแนน คะแนนเฉลย่ี ครั้งที่ 2 ช่วงสปั ดาห์ที่ 7 – 12 ผลการเรยี นของกลมุ่ ตวั อย่าง
มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 10 คะแนน และ คะแนนเฉล่ยี คร้งั ท่ี 3 ช่วงสปั ดาห์ท่ี 13 – 17 ผลการเรียนของกลุ่ม
ตัวอยา่ งมีคะแนนเฉล่ยี เท่ากบั 10.5 คะแนน

15

ตารางที่ 2 ตารางแสดงผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น รายวชิ า 20105-2009 วชิ าเครอ่ื งรบั วิทยุ
จากตารางที่ 2 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น รายวชิ า 20105- 2009 วิชาเครอ่ื งรับวทิ ยุ พบว่ามีนักเรียนท่ี
มีผลการเรียนในระดับ 2 ( พอใช้ ) ขึ้นไปจานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 50 และ มีผู้ท่ีมีผลการเรียนต่ากว่า
ระดับ 2 จานวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 50

16

บทท่ี 5
สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

5.1. สรปุ ผลการวิจัย
การวจิ ัยในครง้ั นเี้ ปน็ วิจัยเรื่อง เพ่อื การเพ่มิ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรยี น ระดับช้ัน

ปวช. 1 สาขางานอเิ ล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคเชยี งคาในรายวชิ า 20105-2009 เครอื่ งรบั วทิ ยุ
ด้วยกระบวนการจัดการเรยี นรแู้ บบใช้ปญั หาเป็นฐาน
โดยประชากรในการทาวิจยั คอื ของนักเรยี นระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชัน้ ปที ่ี 1 สาขาวชิ าช่าง
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ จานวน 12 คน ซง่ึ ใช้ระยะเวลาในการทาวิจยั 1 ภาคเรยี นคือ ภาคเรียนท่ี 2 ปี
การศึกษา 2562

5.2. อภปิ รายผล
จากผลการวิจัยในบทที่ 4 พบว่าก่อนใช้ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน

ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 8.92 คะแนน และหลังจากปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบใช้
ปัญหาเป็นฐาน ( ตั้งแต่ สัปดาห์ท่ี 7 -17 ) พบว่าคะแนนเฉล่ียของผู้เรียนเพ่ิมขึ้น โดยค่าเฉลี่ยใน
สัปดาหท์ ี่ 7 -12 มีค่าเท่ากบั 10.00 คะแนน และค่าเฉลีย่ ในสัปดาห์ที่ 13 – 17 มีค่าเทา่ กับ 10.50
คะแนน

และผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น รายวิชา 20105- 2009 วิชาเครื่องรับวิทยุ พบว่ามีนกั เรียนท่ีมี
ผลการเรียนในระดับ 2 ( พอใช้ ) ข้นึ ไปจานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 50 และ มีผ้ทู ่ีมีผลการเรียนต่า
กว่าระดับ 2 จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 50 และผ้เู รียน ทง้ั หมดมีคะแนนเฉลย่ี รวม 42.66 คะแนน

จากผลการวจิ ยั พบว่า กระบวนการจัดการเรียนรแู้ บบใช้ปัญหาเปน็ ฐาน สามารถเพม่ิ
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนดีขน้ึ

5.3. ขอ้ เสนอแนะในการทาวิจัย
5.3.1. ทดลองเทียบกบั กระบวนการเรียนรแู้ บบอนื่ ๆ ในภาคเรยี นตอ่ ไป
5.3.2. เผยแพรใ่ หค้ รูในกลมุ่ PLC

17

ภาคผนวก

18

ภาพการเรียนรู้ในวิชาเครอ่ื งรบั วิทยุ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562
ภาพการเรยี นรู้ในวชิ าเคร่อื งรบั วิทยุ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562

19

ภาพการเรียนรู้ในวิชาเครอ่ื งรบั วิทยุ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562
ภาพการเรยี นรู้ในวชิ าเคร่อื งรบั วิทยุ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562


Click to View FlipBook Version