The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการพัฒนากระบวนการทำงานของผู้ช่วยคนพิการจังหวัดกระบี่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by policykrabi, 2022-09-05 05:13:42

คู่มือการพัฒนากระบวนการทำงานของผู้ช่วยคนพิการจังหวัดกระบี่

คู่มือการพัฒนากระบวนการทำงานของผู้ช่วยคนพิการจังหวัดกระบี่

สารบญั หนา้

เร่ือง 1
2
บทนำ 2
วัตถุประสงค์ 3
ผลทค่ี ำดวำ่ จะได้รบั 5
ผชู้ ว่ ยคนพิกำรคอื ใคร ? 5
เปำ้ หมำยกำรใช้บรกิ ำรผชู้ ว่ ยคนพิกำร 6
บทบำทหนำ้ ที่ของผชู้ ่วยคนพิกำร 7
บทบำทหน้ำทแ่ี ละขอบเขตในกำรทำงำน 8
ใครมสี ิทธขิ อใช้บริกำรผชู้ ว่ ยคนพกิ ำรบ้ำง ? 9
บทบำทหนำ้ ทข่ี องคณะทำงำนจดั บรกิ ำรผ้ชู ว่ ยคนพิกำร 10
กำรขอใช้บริกำรผ้ชู ว่ ยคนพกิ ำร 11
แผนผังขั้นตอนกำรขอใชบ้ ริกำรผชู้ ว่ ยคนพิกำร 11
กำรส้ินสดุ กำรใหบ้ รกิ ำร 12
กระบวนกำรดำเนนิ งำนผู้ชว่ ยคนพิกำร 13
ข้นั ตอนกำรจดแจ้งเปน็ ผชู้ ว่ ยคนพิกำร 15
ขน้ั ตอนกำรให้บรกิ ำรผู้ชว่ ยคนพิกำร 16
กำรประเมนิ กำรปฏิบตั ิงำนภำคปฏิบตั ิของผู้ชว่ ยคนพิกำร
สิทธิผู้ดูแลคนพกิ ำร

1

บทนา

ผู้ ช่ ว ย ค น พิ ก า ร เ ป็ น บุ ค ค ล ที่ ใ ห้ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ ค น พิ ก า ร เ ฉ พ า ะ บุ ค ค ล

เ พื่ อ ใ ห้ ส า ม า ร ถ ป ฏิ บั ติ กิ จ วั ต ร ที่ ส า คั ญ ใ น ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต ไ ด้ แ ก่ ก า ร ป ฏิ บั ติ ภ า ร กิ จ

ในชีวิตประจาวัน หรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมของคนพิการซึ่งมีความจาเป็นมาก

ต่อการดารงชีวิตประจาวัน หรืออยู่ร่วมกับบุคคลท่ัวไปในสังคม คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนา

คุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ จึงได้มีการจัดทาระเบียบว่า ด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปรับ

สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้แก่คนพิการ การมีผู้ช่วยคนพิการ การช่วยเหลือคนพิการท่ีไม่มีผู้ดูแล

แ ล ะ สิ ท ธิ ข อ ง ผู้ ดู แ ล ค น พิ ก า ร ข้ึ น ซ่ึ ง ไ ด้ ป ร ะ ก า ศ ใ น ร า ช กิ จ จ า นุ เ บ ก ษ า

เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2552 โดยคนพิการที่จาเป็นต้องมีผู้ช่วยคนพิการจะต้องเป็นบุคคล

ทีม่ สี ภาพความพิการมากจนไมส่ ามารถปฏบิ ัตกิ จิ วตั รท่ีสาคญั ในการดารงชวี ิตได้ด้วยตนเอง หากไม่ได้

ปฏิบตั กิ ิจวัตรเหล่าน้ี จะส่งผลกระทบอย่างสาคัญและเด่นชัดต่อการดารงชีวิต สุขภาพอนามัย ภาวะ

จติ ใจ อารมณ์ พฤติกรรม สภาพความเปน็ อยู่ และศกั ด์ิศรี ความเปน็ มนุษย์

รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2550 ได้กาหนดสิทธิและเสรีภาพของกลุ่ม

บุคคล ในสังคมทุกกลุ่มอย่างท่ัวถึงและชัดเจน โดยเฉพาะอย่างย่ิงคนพิการซ่ึงในมาตรา 30 ระบุว่า

“บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ชายและหญิงมี

สิทธิ เทา่ เทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเร่ืองถ่ิน

กาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรอื สขุ ภาพฯ”

และในมาตรา 54 บุคคลซึ่งพิการ หรือทุพพลภาพ มีสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสวัสดิการ
ส่ิงอานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ บุคคลวิกลจริตย่อม
ได้รับความช่วยเหลือท่ีเหมาะสมจากรัฐ นอกจากนี้จากการประกาศใช้พระราชบัญญัติส่งเสริมและ
พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 เป็นผลให้คนพิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
การจัดสวัสดิการการส่งเสริมศักยภาพ พิทักษ์สิทธิ การสนับสนุนให้คนพิการสามารถดารงชีวิตอิสระ
มีศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ และเสมอภาคกับบุคคลท่ัวไป มีส่วนร่วมทางสังคมอย่างเต็มท่ีและมี
ประสทิ ธภิ าพ ภายใต้สภาพแวดล้อมท่ีคนพิการสามารถใช้ประโยชน์ได้ ตลอดจนสังคม มีการปรับเจต
คติทด่ี ตี อ่ คนพกิ ารและเปดิ โอกาสใหค้ นพกิ ารเขา้ รว่ มกจิ กรรมต่างๆ เพิม่ มากข้นึ โดยเฉพาะมาตรา 20
(10) กาหนดให้มกี ารปรบั สภาพแวดลอ้ ม ทอี่ ย่อู าศยั การมผี ูช้ ่วยคนพิการ

2

ดงั นนั้ งานด้านผชู้ ่วยคนพกิ ารจึงเปน็ งานที่สาคัญของกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
คนพิการ ซ่ึงเป็นกลไกสาคัญในการดูแลคนพิการในพ้ืนท่ีท่ีจาเป็นต้องมีผู้ช่วย สานักงานพัฒนา
สงั คมและความมั่นคงของมนุษยจ์ งั หวดั กระบี่ ได้ดาเนนิ งานด้านการใหบ้ รกิ ารผู้ชว่ ยคนพิการ ซ่ึงมี
ศูนย์บริการคนพิการจังหวัดกระบี่ เป็นผู้กากับดูแล แต่เน่ืองด้วยปัจจุบันผลการดาเนินงานด้าน
ผู้ช่วยคนพิการที่ผ่านมาของสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดกระบ่ี
ไม่ได้เกิดประสิทธิภาพเท่าท่ีควร กล่าวคือ ผู้ช่วยคนพิการไม่ได้รับการพัฒนาทักษะในการ
ช่วยเหลือคนพิการอย่างต่อเน่ือง ส่งผลให้กระบวนการทางานให้บริการผู้ช่วยคนพิการไม่มี
ประสทิ ธภิ าพเทา่ ทีค่ วร

ดังน้ัน เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
และเพื่อเป็นการพัฒนากระบวนการทางานของผู้ช่วยคนพิการให้มีคุณภาพ สานักงานพัฒนา
สังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดกระบี่ จึงตั้งใจที่พัฒนางานให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
โดยพัฒนาจัดทาเป็นคู่มือการพัฒนางานด้านกระบวนการทางานของผู้ช่วยคนพิการ
เพื่อกาหนดทิศทาง หลักเกณฑ์ วิธีการให้บริการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการดาเนินงานการพัฒนา
กระบวนการทางานของผู้ช่วยคนพิการ เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อคนพิการและสังคม
และเพ่ือกาหนดแนวทางการปฏิบัติงานของผู้ช่วยคนพิการ ให้ชัดเจนมากย่ิงข้ึนและสามารถ
ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเกิดประโยชน์สูงสุดแก่คนพิการ ตลอดจนเป็นข้อมูลสาคัญใน
การนาไปสู่การปฏิบัติงานของผู้ช่วยคนพิการท่ีมีประสิทธิภาพ อันจะเกิดประโยชน์สูงสุดแก่คน
พิการตอ่ ไป

วัตถุประสงค์

1. เพ่อื ส่งเสริมศักยภาพของผู้ช่วยคนพิการ ให้ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อพัฒนาและจัดทาคู่มือการพัฒนากระบวนการทางานของผู้ช่วยคนพิการจังหวัดกระบี่
เพ่ือให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ ต่อคนพกิ ารและสังคม

ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ

1. เ พ่ิ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร ท า ง า น ข อ ง ผู้ ช่ ว ย ค น พิ ก า ร ใ ห้ ดี ย่ิ ง ขึ้ น
2. คู่มือการพัฒนากระบวนการทางานของผู้ช่วยคนพิการ สามารถใช้เป็นแนวทางในการ
ปฏิบัติงานของผู้ช่วยคนพิการให้ชัดเจนมากยิ่งข้ึนและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพเกิดประโยชนส์ งู สดุ แก่คนพกิ าร

3

ผู้ช่วยคนพิการคอื ใคร ?

คาว่า "ผู้ช่วยคนพิกำร" เป็นคาศัพท์ที่บัญญัติข้ึนใหม่ ซึ่งในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติ
สง่ เสรมิ และพฒั นาคุณภาพชีวติ คนพกิ ารแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ได้ให้ความหมายวา่

"ผู้ช่วยคนพิกำร" หมายถึง บุคคลซ่ึงให้ความช่วยเหลือคนพิการเฉพาะบุคคล เพ่ือให้สามารถ
ปฏบิ ตั กิ ิจวตั รทส่ี าคัญในการตารงชีวติ

คาว่า "ผู้ช่วยคนพิกำร" ตรงกับคาในภาษาอังกฤษว่า Personal Assistant หรือเรียกย่อ
วา่ "พ-ี เอ“ ซึ่งแปลตามตัวอักษรว่า "ผู้ช่วยเหลือส่วนตัว" หรือ "ผู้ช่วยเหลือส่วนบุคคล" ซ่ึงสภา
ศูนย์การดารงชีวิตอิสระของคนพิการประเทศไทย ในฐานะองค์กรกลางในการเผยแพร่แนวคิด
การดารงชวี ติ อิสระแกก่ ล่มุ คนพกิ ารทีส่ นใจในประเทศไทย ได้ให้ความหมายว่า
ผู้ช่วยเหลือส่วนตัว (Personal Assistant หรือ PA) หมายถึง "ผู้ท่ีให้การช่วยเหลือคนพิการใน
การทากิจธุระส่วนตัว หรือพาคนพิการเข้ามีส่วนร่วมทางสังคม ในกรณีท่ีคนพิการไม่สามารถทาได้
ด้วยตนเอง“ ซึ่งผู้ช่วยเหลือตามแนวคิดการดารง ชีวิตอิสระของคนพิการ จะต้องช่วยเหลือตาม
ความต้องการและการตัดสินใจของคนพิการ ไม่ตัดสินใจแทนคนพิการ ไม่ช่วยตามท่ีตนคิด....แต่
ชว่ ยตามคาบอกของคนพิการ

นอกจากน้ี ในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ
พ.ศ. 2550 และในช้อ 3 ของระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
แห่งชาติ ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปรับสภาพแวด ล้อมท่ีอยู่อาศัยให้แก่คนพิการ การมีผู้ช่วย
คนพิการ การช่วยเหลือคนพิการที่ไม่มีผู้ดูแล และสิทธิของผู้ดูแลคนพิการ พ .ศ. 2552
ยงั ไดก้ าหนดนยิ าม/ความหมาย ของคาศพั ท์ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั "บรกิ ำรผูช้ ่วยคนพิกำร" ไว้ดงั นี้

"ผู้ดูแลคนพิกำร" หมายความว่า บิดา มารดา บุตร สามี ภรรยา ญาติ พ่ีน้อง หรือบุคคลอ่ืนใด
ทรี่ บั ดูแลหรืออุปการะคนพกิ าร

"คนพกิ ำรท่ีไม่มีผู้ดูแล" หมายความว่า คนพิการท่ีไม่มีบิดา มารตา บุตร สามี ภรรยา ญาติ พ่ีน้อง
หรอื บคุ คลในครอบครวั ทีร่ ับคนพิการไวด้ แู ล หรอื อุปการะเล้ียงดู

4

"กิจวัตรท่ีสำคัญในกำรดำรงชีวิต" หมายความว่า การปฏิบัติภารกิจในชีวิตประจาวันหรือเข้าไปมี
ส่วนร่วมทางสังคมของคนพิการซ่ึงมีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตประจาวันหรืออยู่ร่วมกับบุคคล
ท่ัวไปในสงั คม

"หน่วยบริกำรในพื้นที่" หมายความว่า องค์การบริหารส่วนตาบล เทศบาล เมืองพัทยา หรือองค์กร
อืน่ ตามทผี่ วู้ า่ ราชการจังหวดั กาหนด

"สถำนสงเครำะห์เอกชน" หมายความว่า สถานทร่ี ับคนพิการไว้อปุ การะเลีย้ งดซู ึ่งไม่ใช่หน่วยงานของ
รัฐ ความแตกตา่ งระหวา่ ง ผ้ดู แู ลคนพกิ าร/อาสาสมคั ร/ผู้ช่วยคนพิการ

คาว่า "ผู้ช่วยคนพิกำร" เป็นคาซ่ึงค่อนข้างยากในการทาความเข้าใจกับผู้เกี่ยวข้องภายใต้บริบท
สังคมไทยเนื่องจากเป็นคาใหม่ท่ีไม่เคยมีมาก่อนในสังคมไทย คนส่วนใหญ่จึงยังนึกภาพไม่ออกว่า
"บุคคลซ่ึงให้ควำมช่วยเหลือคนพิกำรเฉพำะบุคคล เพื่อให้สำมำรถปฏิบัติกิจวัตรที่สำคัญในกำร
ดำรงชีวิต" คือ ใคร ? ใช่ พ่อแม่ ญาติพ่ีน้องหรือไม่ ? ถ้า ไม่ใช่ ทาหน้าที่เหมือนหรือแตกต่างจาก
อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) หรืออาสาสมัครพัฒนาสังคมฯ เพ่ือช่วยเหลือคนพิการ
(อพมก.) อย่างไร ?

ดังนั้น การทาความรู้จักและสร้างเข้าใจท่ีถูกต้องในบทบาทหน้าท่ีของผู้เกี่ยวซ้องแต่ละฝ่าย
เป็นส่ิงสาคัญ ท่ีทุกคนควรทราบเพ่ือให้การจัดให้บริการผู้ช่วยคนพิการแก่คนพิการที่มีความ
จาเป็นตอ้ งใช้ผชู้ ่วยฯ เป็นไปอย่างถกู ตอ้ งและมปี ระสิทธิภาพ

5

เป้ าหมายการใช้บรกิ ารผู้ช่วยคนพิการ

เปา้ หมายหลกั ในการใชบ้ รกิ ารผ้ชู ่วยคนพิการ คอื การเสริมพลังอานาจ (Empowerment)
ในตัวเองใหแ้ กค่ นพกิ าร การมีผชู้ ่วยคนพิการคอยช่วยเหลือ หรือกระทาในส่ิงต่าง ๆ ท่ีคนพิการทา
เองไม่ได้ ด้วยวิธีการและจังหวะเวลาที่คนพิการเป็นผู้กาหนด จะทาให้คนพิการรู้สึกว่าตนมีคุณค่า
และสามารถจัดการวิถีชีวิตของตนเองได้ตามศักยภาพ โดยเปลี่ยนจากคนที่มีความรู้สึกว่า
ตนเองไร้ค่า ไร้พลังอานาจที่จะกระทา ควบคุมส่ังการ หรือสร้างความเปล่ียนแปลงใด ๆ มาเป็น
ผู้ที่มั่นใจที่จะเลือกและตัดสินใจในเร่ืองที่มีผลกระทบกับชีวิตของตนด้วยตัวเอง แม้ว่าสภาพความ
พิการจะยังคงเดิมกต็ าม

นอกจากนี้ การใช้บริการผู้ช่วยคนพิการ ยังเป็นการช่วยสนับสนุนให้คนพิการสามารถทา
กจิ วัตรประจาวนั บางอยา่ งได้สาเรจ็ โดยไมต่ ้องเสียเวลาและพลังงานมากจนเกนิ ไป และสามารถใช้
เวลาท่ีมีอยู่ในชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่ามากยิ่งข้ึน ตัวอย่างเช่น คนพิการทางกายและ
การเคลื่อนไหวบางคนอาจต้องใช้เวลานานมากกว่า 2-3 ชั่วโมง ในการทากิจกรรมง่าย ๆ เช่น
การสวมใสเ่ สอ้ื ผา้ การใสถ่ งุ เทา้ /รองเทา้ ดว้ ยตวั เอง แต่หากมีผู้ช่วยคนพิการคอยช่วยเหลือจะทาให้
กิจกรรมดังกล่าวแล้วเสร็จภายในเวลาไม่กี่นาที เหลือเวลาและพลังไปใช้ในการทากิจกรรมที่ยาก
และสาคัญอื่น ๆ ได้อย่างคุ้มค่า เช่น การเรียนหนังสือ การทางานอดิเรก การไปพบแพทย์เพ่ือ
ตรวจสขุ ภาพ หรอื การประกอบอาชีพหาเล้ียงตนเอง ฯลฯ

บทบาทหน้าทข่ี องผู้ชว่ ยคนพิการ

กรอบแนวคดิ ในกำรทำงำน/กำรใชบ้ ริกำรผู้ชว่ ยคนพกิ ำร
การให้ความช่วยเหลือคนพิการ ตามแนวคิดการดารงชีวิตอิสระของคนพิการ ผ่านบริการ

ผู้ช่วยคนพิการ (Personal AssistantService) จะเป็นการช่วยเหลือแบบ "เสริมพลังอำนำจ“
(Empowerment) ของบุคคล (พิการ) โดยให้ความสาคัญกับการเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
การเคารพการตัดสินใจของคนพิการ มุ่งส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนพิการในกระบวนการคิดและ
ตัดสินใจในเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับวิถีชีวิตของตนเอง ทั้งน้ี เพ่ือสร้างเสริมพลังอานาจในตัวเองแก่คน
พกิ ารใหก้ า้ วพ้นจากขอ้ จากดั อนั เน่ืองมาจากความพิการและอุปสรรคด้านสภาพแวดล้อมรอบตัวคน
พกิ าร ซงึ่ เป็นตวั บนั่ ทอนพลังอานาจของเขาเหลา่ นั้นออกไป

ข้อพึงระวังในการทางานให้ความช่วยเหลือคนพิการ ตามแนวคิดน้ี คือ การเฝ้าระวังตนเอง
ในการควบคุมหรือช้ีนาคนพิการ ในกระบวนการให้ความช่วยเหลือ ไม่ว่าจะโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตาม
กล่าวคือ ผชู้ ่วยคนพิการตามแนวคิดการดารงชีวิตอสิ ระของคนพกิ าร

6

บทบาทหนา้ ที่และขอบเขตในการทางาน

บทบาทหน้าที่ของ "ผู้ช่วยคนพิกำร" คือ การให้ความช่วยเหลือคนพิการเฉพาะบุคคล
เพ่อื ใหส้ ามารถปฏบิ ตั กิ ิจวตั รทสี่ าคัญในการดารงชีวิตได้ ซ่ึงอาจแบ่งได้เป็น 2 เร่ืองใหญ่ คือ

ช่วยเหลือคนพิการในการปฏิบัติภารกิจในชีวิตประจาวัน ในกรณีคนพิการมีสภาพความ
พิการมากจนไม่สามารถปฏบิ ตั กิ จิ วัตรที่สาคัญในการดารงชีวิตได้ด้วยตนเอง เช่น อาบน้า ล้างหน้า
แปรงฟัน เช็ดตัว การสวมใส่เสื้อผ้า หวีผม ใส่ถุงเท้าและรองเท้า รวมถึงการจัดระเบียบ
ความเรียบร้อยของเคร่ืองแต่งกายของคนพิการ การป้อนอาหาร การจัดเตรียมยา ทายา และให้ยา
แกค่ นพกิ ารตามเวลาท่กี าหนด การขับถา่ ยและการทาความสะอาดหลงั ขบั ถา่ ย เปน็ ตน้

ช่วยเหลือคนพิการในการเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมของคนพิการ ซึ่งมีความจาเป็นต่อการ
ดารงชวี ิตประจาวนั หรืออยรู่ ่วมกบั บุคคลท่วั ไป เชน่ ชว่ ยติดต่อจดั หายานพาหนะมารับ-ส่งคนพิการ
ช่วยจัดเตรียมสิ่งของเคร่ืองใช้ส่วนตัว ยารักษาโรค และสิ่งของจาเป็นสาหรับการเดินทาง
ชว่ ยยก/อุ้มคนพิการขน้ึ -ลงยานพาหนะ หรอื ช่วยในการนาทางไปยังจุดนัดหมาย เป็นต้น

นอกจากนี้ ในสัญญาการให้บริการผู้ช่วยคนพิการแก่คนพิการ ยังได้กาหนดรายละเอียด
การให้ความช่วยเหลือคนพิการ เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน หรือเข้าไปมีส่วนร่วมทาง
สังคมในเรอ่ื งต่างๆ ตามความจาเป็นของแตล่ ะบคุ คลออก เปน็ 7 หมวด ไดแ้ ก่

1. การดแู ลสขุ ภาพส่วนบคุ คล
2. การดูแลสขุ ภาพท่ัวไป
3. การเดินทาง
4. อาหารและโภชนาการ
5. งานบ้าน
6. การส่อื สาร
7. การชว่ ยเหลอื อนื่ ๆ ซ่งึ ค่อนข้างครอบคลุมทุกกจิ กรรมท่ีจาเป็นสาหรับคนพกิ าร

7

ใครมีสทิ ธิขอใชบ้ รกิ ารผชู้ ว่ ยคนพิการบ้าง ?

คนพกิ ำรท่มี ีควำมจำเปน็ ตอ้ งใช้ผชู้ ว่ ยคนพกิ ำร คอื ใคร
ระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์และ
วิธีการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้แก่คนพิการ การมีผู้ช่วยคนพิการ การช่วยเหลือคนพิการ
ที่ไม่มีผู้ดูแลและสิทธิของผู้ดูแลคนพิการ พ.ศ. 2552 ระบุหลักเกณฑ์ในการพิจารณาคนพิการ
ทีม่ คี วามจาเป็นต้องมีผชู้ ่วยคนพกิ าร ไวด้ ังนี้

1. จะต้องปรากฎข้อเท็จจริงว่า บุคคล (พิการ) นั้นมีสภาพความพิการมากจนไม่สามารถ
ปฏิบตั กิ จิ วตั รทสี่ าคัญในการดารงชีวิตได้ดว้ ยตนเอง
2. หากคนพิการใน ข้อ.1 ไม่ได้ปฏิบัติกิจวัตรดังกล่าว จะส่งผลกระทบอย่างมากต่อการ
ดารงชีวิตสุขภาพอนามัย ภาวะจิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สภาพความเป็นอยู่ และศักดิ์ศรี
ความเป็นมนษุ ย์ ท้งั น้ี โดยคานงึ ถงึ ฐานะและความยากจนของคนพกิ ารเป็นสาคัญ

หากจะตีความตามกฎหมาย คนพิการท่ีมีความจาเป็นต้องมีผู้ช่วยคนพิการ คือ คนพิการทุก
ประเภทท่มี ีสภาพความพกิ ารมากจน

1. ไม่สามารถช่วยเหลือตัว เองในการปฏบิ ัตภิ ารกจิ ในชีวิตประจาวันได้ หรอื
2. ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองในการเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้ ซ่ึงการไม่สามารถ
ชว่ ยเหลอื ตัวเองของคนพิการ

ท้ัง 2 ข้อ ถูกตีกรอบเฉพาะกิจกรรมท่ีมีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตประจาวันหรืออยู่
ร่วมกับบุคคลทัว่ ไปในสังคม เท่านั้น หำกคนพกิ ำรคนใดสำมำรถช่วยเหลือตัวเองได้ ทั้ง 2 ขอ้ ก็ไม่
จำเปน็ ต้องมผี ูช้ ว่ ยคนพิกำร แตห่ ากไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้เพียงข้อใดข้อหนึ่ง หรือทั้ง 2 ข้อ
คนพกิ ารคนนน้ั กม็ ีความจาเปน็ ต้องมีผู้ชว่ ยคนพกิ าร ตรงนก้ี ฎหมายเขียนไว้ค่อนข้างยืดหยุ่นและเปิด
โอกาสให้คนพิการท่ีมีข้อจากัดและมีความจาเป็น ทุกคนมีสิทธิได้รับหลักประกันสิทธิข้ันพื้นฐาน
โดยเสมอภาคกนั

8

บทบาทหน้าทข่ี องคณะทางานจดั บรกิ ารผู้ชว่ ยคนพิการ

นอกจากน้ี สานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ยังกาหนดให้มี
การแตง่ ตัง้ "คณะทำงำนจัดบริกำรผู้ช่วยคนพกิ ำรประจำจงั หวัด" อันประกอบด้วย พัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด เป็นประธานคณะทางาน นายแพทย์โรงพยาบาลของรัฐ
ผ้แู ทนองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ผแู้ ทนโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลในพน้ื ที่ ผู้แทนคนพิการ
ทเี่ ปน็ คณะอนุกรรมการฯ จังหวัด และเจ้าหน้าท่ีสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
เปน็ คณะทางาน โดยมีอานาจหน้าท่ี ดงั นี้

1. วางแผนและกาหนดแนวทาง 2. ติดตามการฝึกภาคปฏิบัติใน
สนบั สนนุ การดาเนินงานของผู้ช่วย พื้ น ท่ี ข อ ง ผู้ ผ่ า น ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม
คนพกิ ารระดับจังหวดั ภาคทฤษฎี

3. พิจารณากล่ันกรองคนพิการ 4. ติดตามประเมินผลการ
ทจี่ าเป็นต้องมีผูช้ ่วยคนพิการ ปฏบิ ตั ิงานของผชู้ ่วยคนพกิ าร

5. ปฏบิ ัติหนา้ ท่อี น่ื ตามทคี่ ณะอนุกรรมการฯ
จงั หวัด มอบหมาย

สาหรับในพนื้ ทีก่ รงุ เทพมหานคร ให้ศนู ยค์ ้มุ ครองสวัสดภิ าพชมุ ชน (ศคส.) ทัง้ 12 เขต สังกัด
กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ดาเนินการจัดตั้ง "คณะทำงำนจัดบริกำรผู้ช่วยคนพิกำรประจำ
เขต" โดยมีผู้อานวยการศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชน เขต 1-12 เป็นประธานคณะทางาน และมี
อานาจหน้าทีเ่ ชน่ เดียวกับ "คณะทำงำนจดั บรกิ ำรผูช้ ว่ ยคนพกิ ำรประจำจังหวดั "

9

การขอใช้บริการผชู้ ่วยคนพิการ

วิธกี ำรย่นื คำขอใชบ้ รกิ ำรผูช้ ่วยคนพิกำร
คนพิการที่ประสงค์จะยื่นคาขอมีผูช้ ว่ ยคนพกิ าร ต้องมคี ุณสมบตั ิเบอ้ื งตัน ดังนี้

1. มีบัตรประจาตัวคนพิการ
2. เป็นคนพิการท่ีมีความจาเป็นต้องใช้ผู้ช่วยคนพิการ เพ่ือให้สามารถ
ปฏบิ ตั ิกิจวตั รที่ สาคัญในการดารงชวี ติ ได้
3. ไม่ได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานของรัฐอื่น หรือได้รับ
แตไ่ ม่เพียงพอ

หลกั เกณฑก์ ำรพจิ ำรณำใหม้ ีผูช้ ่วยคนพิกำร

1. บุคคลพิการนั้น มีสภาพความพิการมากจนไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรท่ีสาคัญ
ในการดารงชวี ิตไดด้ ว้ ย
2. หากไม่ได้ปฏิบัติกิจวัตรดังกล่าวจะส่งผลอย่างมากต่อการดารงชีวิต สุขภาพอนามัย
ภาวะจิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สภาพความเป็นอยู่และศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ โดยให้
คานงึ ถึงฐานะและความยากจนของคนพิการเป็นสาคัญ

หลกั ฐำนทใ่ี ช้ในกำรยนื่ คำขอ

คนพิการทปี่ ระสงคจ์ ะยื่นคาขอมผี ูช้ ว่ ยคนพกิ าร จะต้องเตรยี มหลกั ฐานดงั ตอ่ ไปน้ี ไปแสดง
ตอ่ เจา้ หนา้ ท่ี ณ หน่วยรับคาขอ หรือหนว่ ยบรกิ ารในพ้นื ที่

1. สาเนาบัตรประจาตวั คนพกิ าร พร้อมเซน็ รับรองสาเนาถกู ตอ้ ง
2. รูปถ่าย 1 น้วิ หรอื 2 นว้ิ จานวน 2 ใบ
3. แบบคาขอมีผูช้ ว่ ยคนพกิ าร (แบบ ผช.1) จานวน 1 ชุด

ในกรณีท่ีคนพิการเป็นผู้เยาว์หรือมีความพิการถึงขั้นท่ีไม่สามารถยื่นคาขอด้วยตนเองได้
ใหผ้ ู้ดแู ลคนพกิ ารย่ืนคาขอแทนได้

สถำนทย่ี ืน่ คำขอใชบ้ ริกำรผู้ชว่ ยคนพกิ ำร

1. ในกรุงเทพมหำนคร : ใหย้ ่ืนคาขอต่อ ศนู ย์คมุ้ ครองสวสั ดิภาพชุมชน เขต 1-50 หรอื หน่วยงาน
ในสังกัดกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ตามที่อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการประกาศ
กาหนด
2. ในจังหวัดอ่ืน : ให้ยื่นต่อสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด หรือหน่วย
บรกิ ารในพ้ืนที่ ทผี่ วู้ ่าราชการจดั หวัดประกาศกาหนด

10

แผนผังขนั้ ตอนการขอใช้บริการผู้ช่วยคนพิการ

คนพิการท่ีจาเป็ นตอ้ งมีผู้ชว่ ยคนพิการ ยืน่ คาขอมีผู้ชว่ ยคนพิการ (แบบ ผช.1)

จนท. หน่วยรบั คาขอ (พมจ./ศคส.) ตรวจความครบถ้วนของเอกสาร

ครบ ไม่ครบ/ขอเอกสารเพิ่มเตมิ

คณะทางานจดั บริการผู้ช่วยคนพิการ พิจารณาคาขอมีผู้ชว่ ยคนพิการ

ไมอ่ นมุ ตั ิ อนุมัติ

หน่วยรับคาขอ (พมจ./ศคส.) แจ้งผลการพิจารณาไปยงั คนพิการ
ประสานจัดหาผู้ช่วยคนพิการ พรอ้ มจัดทาแผนการปฏิบัติงาน

ประสานผู้ชว่ ยคนพิการและคนพิการ ทาสัญญาการให้บริการผู้ชว่ ยคนพิการ
จดั ส่งผู้ช่วยคนพิการไปปฏิบัตหิ น้าที่ตามแผนปฏิบัติงาน

11

การสน้ิ สุดการให้บรกิ าร

ภายหลังการทาสัญญาให้บริการผู้ช่วยคนพิการแก่คนพิการท่ีมีความจาเป็น ต้องมีผู้ช่วย
คนพกิ ารแลว้ การใหบ้ ริการผ้ชู ว่ ยคนพกิ ารสิ้นสดุ ลง เม่ือ

1. คนพกิ ารถงึ แก่ความตาย หรือขาดคณุ สมบตั ติ ามทกี่ าหนดไวใ้ นระเบยี บฯ
2. คนพิการหรือผู้ดแู ลคนพิการขอยกเลกิ การให้บรกิ าร
3. สัญญาการใหบ้ รกิ ารส้นิ สดุ ลง
4. กรณีผู้มีอานาจพิจารณาอนุมัติเห็นว่า การมีผู้ช่วยคนพิการไม่ก่อให้เกิด
ประโยชน์ต่อคนพิการเทา่ ทค่ี วร

กระบวนการดาเนินงานผู้ชว่ ยคนพิการ

เกณฑก์ ารพิจารณาคัดเลือกบุคคลเพ่ือเข้ารับการฝึกอบรมการเป็นผู้ช่วยคนพิการ
โดยคัดเลือกบุคคลท่ีมีประสบการณ์ให้การดูแล การช่วยเหลือ หรือฟ้ืนสมรรถภาพ
คนพกิ าร ซ่งึ ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมต้องมคี ุณสมบัติ ดงั น้ี

• มีสัญชาติไทย
• อายุ ๑๘ ปีขึ้นไป
• มคี วามรอู้ ่านออกเขียนได้
• สขุ ภาพร่างกายแขง็ แรงไม่มโี รคตดิ ต่อร้ายแรง
• ผา่ นการอบรมในหลักสตู รผูช้ ว่ ยคนพิการเบ้อื งตัน (พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๕) /

หลักสูตรผชู้ ว่ ยคนพกิ ารระดับพน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๕
• มเี จตนคติทีด่ ีต่อคนพิการ
• มคี วามพร้อมและสนใจท่ีจะจดแจง้ เปน็ ผ้ชู ่วยคนพกิ าร

12

ขั้นตอนการจดแจง้ เป็ นผ้ชู ่วยคนพิการ

๑. ผู้ผำ่ นกำรฝกึ อบรม ยืน่ คาขอจดแจ้งเป็นผู้ช่วยคนพิการ พร้อมหลกั ฐาน ดังนี้

• สาเนาบตั รประจาตัวประชาชน
• สาเนาทะเบยี นบ้าน
• รูปถา่ ย ๑ นิ้ว ๒ ใบ
• ใบรบั รองแพทย์
• สาเนาใบประกาศนียบัตร (พร้อมแสดงตัวจรงิ ประกอบ)

สาหรบั สถานท่ียน่ื คาขอเป็นผู้ชว่ ยคนพิการ
กรุงเทพมหำนคร - หน่วยงานในสังกัดกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ที่อธิบดีกรมพัฒนา
สังคมและสวัสดิการประกาศกาหนด

จังหวัดอื่น - สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด หรือหน่วยบริการ
ในพื้นท่ี

๒. เจ้ำหน้ำที่หน่วยรับคำขอ ตรวจสอบคุณสมบัติผู้ยื่นคาขอเป็นผู้ช่วยคนพิการ ซึ่งจะต้อง
มคี ุณสมบัตดิ ังน้ี

• มีสญั ชาตไิ ทย
• อายุ ๑๘ ปี ข้ึนไป
• มีความรอู้ า่ นออกเขียนได้
• สุขภาพรา่ งกายแข็งแรงไม่มโี รคตดิ ตอ่ ร้ายแรง
• ผ่านการอบรมในหลักสูตรผู้ช่วยคนพิการเบ้ืองตัน (พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๕) /

หลักสูตร
• ผชู้ ว่ ยคนพิการระดบั พนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๕
• มีเจตนคตทิ ่ีดตี อ่ คนพิการ
• มคี วามพรอ้ มและสนใจที่จะจดแจง้ เป็นผู้ชว่ ยคนพกิ าร

๓. เสนอควำมเหน็ ต่อหัวหน้ำหน่วยงำนเพอื่ พิจำรณำรบั จดแจง้ เปน็ ผชู้ ่วยคนพิกำร
๔. แจ้งรำยช่ือพร้อมสถำนที่ติดต่อของผู้ช่วยให้แก่สำนักงำน หน่วยงำน และองค์กรที่
เกีย่ วข้องทำงเว็บไซตแ์ ละช่องทำงอื่น
๕. หน่วยรบั คำขอจดั ทำเอกสำรกำรเป็นผชู้ ่วยคนพกิ ำรตำมแบบฟอรม์ เพือ่ แสดงตน
ในกำรปฏิบัติงำน (๓ ปี)

13

ข้ันตอนการใหบ้ รกิ ารผู้ช่วยคนพิการ

๑. หน่วยรบั คาขอ (พมจ.) เปดิ รบั คาขอมีผู้ชว่ ยจากคนพิการที่มีความจาเป็นต้องใช้ผู้ช่วยคน
พิการในพื้นที่นาร่องตามแบบฟอร์ม ในกรณีที่คนพิการเป็นผู้เยาว์หรือมีความพิการถึงขั้น
ที่ไม่สามารถยื่นคาขอด้วยตนเองได้ ให้ผู้ดูแลคนพิการยื่นคาขอแทนได้ แต่ต้องนาหลักฐานไปแสดง
ตอ่ เจ้าหนา้ ท่ดี ว้ ย โดยคนพิการท่สี ามารถยนื่ คาขอมีผู้ชว่ ยคนพิการตอ้ งมีคุณสมบตั ิ ดงั น้ี

๑) มีสาเนาบัตรประจาตวั คนพิการ
๒) เปน็ คนพิการท่มี คี วามจาเปน็ ต้องใช้ผู้ชว่ ยคนพกิ าร เพ่ือให้สามารถปฏิบัติ
กจิ วตั รท่ีสาคญั ในการดารงชวี ติ
๓) ไม่ได้รบั ความชว่ ยเหลือจากหน่วยงานของรัฐอืน่ หรอื ไดร้ บั แตไ่ มเ่ พยี งพอ

๒. หลังจาก พมจ./ศคส. รับเอกสารคาขอมีผู้ช่วยคนพิการ พร้อมเอกสารประกอบข้างต้น
แล้วให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วน พร้อมเซ็นรับรองสาเนาถูกต้องทุกฉบับ กรณีคาขอ
ไมถ่ กู ตอ้ งหรือ
เอกสารไมค่ รบถว้ นให้แจ้งผู้ยนื่ คาขอดาเนินการเพม่ิ เตมิ แกไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ งตามระยะเวลาทกี่ าหนด

๓. หนว่ ยรบั คาขอพิจารณาคาขอมผี ้ชู ่วยคนพิการ โดยคณะทางานจัดบริการผู้ชว่ ยคนพกิ าร
ประจาจงั หวัด

โดยหลักเกณฑ์กำรพิจำรณำใหม้ ีผู้ชว่ ยคนพิกำร ดังน้ี
๑) บุคคลพิการ นั้นมีสภาพความพิการมากจนไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรท่ีสาคัญในการ
ดารงชวี ิตได้ด้วยตนเอง
๒) หากไม่ได้ปฏิบัติกิจวัตรดังกล่าวจะส่งผลอย่างมากต่อการดารงชีวิต สุขภาพอนามัย
ภาวะจติ ใจ อารมณ์ พฤติกรรม สภาพความเป็นอย่แู ละศักดิศ์ รีความเปน็ มนษุ ย์

สำหรับกำรจดั หำผูช้ ่วยคนพกิ ำรให้กบั คนพกิ ำรเพือ่ ให้
๑) คนพกิ ารดารงชวี ติ ประจาวนั ได้
๒) คนพกิ ารมสี ่วนรว่ มทางสงั คมภายในระยะเวลาหนง่ึ ตามความจาเปน็

14

๔. แจง้ ผลการพจิ ารณาการขอมีผูช้ ่วยคนพกิ ารให้คนพกิ าร
๕. จัดหาผู้ช่วยให้คนพิการ โดยผู้ช่วยคนพิกรต้องจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาเดือนและตารางการ
ปฏบิ ตั ิงาน
๖. ผู้ช่วยคนพกิ ารและคนพกิ ารทาสัญญาการให้บริการผ้ชู ่วยคนพกิ าร
๗. เสนอสัญญาใหห้ วั หนา้ หนว่ ยรบั คาขอมผี ู้ชว่ ยคนพิการพจิ ารณาอนุมัติ
๘. สง่ ผชู้ ว่ ยคนพิการไปปฏบิ ัตหิ น้าที่
๙. หนว่ ยบรกิ ารในพืน้ ทห่ี รือสานักงานควบคมุ การปฏบิ ัติงานของผชู้ ่วยคนพกิ าร โดยจะ
แตง่ ต้งั บคุ คลที่นาชื่อถอื ในชมุ ชนหรอื หมบู่ ้านซง่ึ เป็นสถานทป่ี ฏบิ ัตงิ านนนั้ เป็นผูค้ วบคมุ ดแู ลดว้ ยก็ได้
๑๐. เม่ือผู้ช่วยคนพิการได้ให้ความช่วยเหลือแก่คนพิการแล้ว ให้รายงานผลการปฏิบัติงาน
ประจาเดือนหรือเป็นรายครั้งตามลักษณะของงาน โดยให้คนพิการหรือบุคคลที่กระทาการ
แทนคนพิการ และบุคคลท่ีได้รบั การแตง่ ต้ังให้เปน็ ผู้ควบคมุ รับรอง
๑๑. ให้หน่วยบริการในพ้ืนท่ีจัดทารายงานสรุปผลการปฏิบัติงานของผู้ช่วยคนพิการและจานวน
คา่ ตอบแทนใหส้ านักงานเพ่อื เบิกจ่ายค่าตอบแทนใหผ้ ู้ช่วยคนพิการ
๑๒. ให้พมจ./ศคส. รวบรวมรายงานตามแบบฟอร์มต่าง ๆอาทิ รายงานสรุปผลการปฏิบัติ งานผู้ช่วย
คนพิการแบบรายเดือน รวมท้ังรายงานสรุปการเบิกจ่ายค่าตอบแทนให้ผู้ช่วยคนพิการในแต่ละเดือน
โดยจดั สง่ ให้พก. ทกุ ๓ เดอื น / คร้ัง

ท้ังนี้ สานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ สนับสนุนงบประมาณใน
การติดตามและประเมินผลการดาเนินงานผชู้ ่วยคนพกิ ารจังหวัดละ 2,000.- บาท

15

การประเมินการปฏิบตั งิ านภาคปฏิบตั ิของผูช้ ่วยคนพิการ

การปฏิบัติงาน

๑. สามารถปฏิบัติงานช่วยเหลือคนพิการในพ้ืนท่ีได้อย่างน้อย ๓ ราย รวมเวลาปฏิบัติงาน
อยา่ งนอ้ ย ๓๐ ชว่ั โมง
๒. มาปฏิบัติงานตรงตามเวลาท่ีกาหนดไว้ในแผน และปฏิบัติงานได้ตามแผนท่ีตกลงกันไว้
(กาหนดให้มีการจัดทาแผนการดาเนนิ งาน)
๓. การปฏิบัติงานตรงตามความตอ้ งการของคนพกิ าร
๔. มกี ารพดู คยุ ด้วยวาจาที่นมุ่ นวล
๕. มกี ริ ิยาทา่ ทางท่สี ภุ าพ และกระทาตามภารกิจอยา่ งละมนุ ละม่อม
๖. ปฏบิ ัตงิ านชว่ ยเหลอื ได้อยา่ งถูกวธิ ี
๗. ดูแลปอ้ งกันความปลอดภยั ที่คนพิการอาจเผชิญได้
๘. จัดเตรยี ม วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เคร่ืองใชท้ ี่เกย่ี วกับภารกจิ ได้ครบถว้ น
๙. สามารถกระตุ้น ส่งเสริมให้คนพกิ ารสามารถฝึกกิจวตั รประจาวนั ได้ด้วยตนเองในระดับหนงึ่
๑๐. สามารถใหข้ อ้ มูลเร่อื งสทิ ธิคนพิการไดต้ ามทคี่ นพกิ ารซักถาม
๑๑. สามารถจัดเตรียมอุปกรณ์ เครื่องช่วยคนพิการต่างๆ ได้ครบถ้วน ก่อนให้
ความชว่ ยเหลอื คนพิการ
๑๒. สามารถอมุ้ เคล่อื นยา้ ยคนพกิ ารได้ถกู วิธี ฯลฯ

ความพึงพอใจของคนพิการและครอบครวั

๑. ไม่มีข้อตาหนิ หรือ ข้อร้องเรียนต่อ พมจ. หรือ อปท. ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการทาร้าย
คนพกิ าร การขโมยของ
๒. สามารถเกบ็ รกั ษาความลับของคนพิการไดด้ ี
๓. ศึกษา ใฝ่รู้ วธิ ีการดูแลคนพกิ ารอยา่ งสม่าเสมอ
4. สามารถจัดเตรียมวสั ดุ เครื่องมอื ต่างๆ ท่ีเหมาะสมกบั กจิ กรรมในสงั คมอย่างครบถ้วน
5. มีสมั พนั ธภาพท่ีดีกับสมาชกิ ในครอบครัวคนพกิ าร
๖. คนพิการและครอบครัวมีความพึงพอใจในการให้บริการและทักษะในการดูแล ช่วยเหลือ
คนพิการในพื้นท่ี

สทิ ธิผดู้ แู ลคนพิการ 16

ผดู้ ูแลคนพิกำรซง่ึ จะมสี ทิ ธิตำมหมวดน้ีตอ้ งมีคุณสมบตั ิ ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) เป็นผดู้ ูแลคนพิการโดยตรงและคนพิการนัน้ มบี ตั รประจาตวั คนพิการ
(๒) ไดร้ ับความเดือดรอ้ นหรือยากลาบากเน่อื งจากตอ้ งดแู ลคนพิการ
(๓) มีภูมลิ าเนาหรือถน่ิ ท่อี ยู่ในทอ้ งท่ยี ื่นคาขอ
(๔) ไม่ได้รับความชว่ ยเหลือจากหนว่ ยงานของรัฐอ่ืนหรอื ได้รบั แตไ่ ม่เพียงพอ

เอกสำรหลักฐำนประกอบกำรยื่นคำขอใช้สิทธิตำมหมวดนี้ ได้แก่
(๑) สาเนาบัตรประชาชนของผดู้ แู ลคนพิการ
(๒) สาเนาบัตรประจาตวั คนพิการ
(๓) สาเนาทะเบยี นบา้ นของผ้ดู แู ลคนพกิ ารและคนพิการ
(๔) ไดร้ ับการรบั รองเป็นหนังสือจากผแู้ ทนองค์กรด้านคนพกิ าร กานันผูใ้ หญบ่ ้าน ผู้บริหาร องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีผู้น้ันมีภูมิลาเนา ข้าราชการระดับปฏิบัติการหรือเทียบเท่าขึ้นไป หรือมี
หลักฐานเช่ือได้ว่าเป็นผู้อุปการะเล้ียงดูคนพิการจริง แบบและวิธีการย่ืนคาขอรับการส่งเสริม
สนับสนุนให้เป็นไปตามท่ีเลขาธกิ ารกาหนด

สทิ ธขิ องผู้ดแู ลคนพกิ ำรตำมหมวดนี้ ไดแ้ ก่
(๑) การบริการให้คาปรึกษา แนะนา หรือฝึกอบรมทักษะการเล้ียงดูคนพิการให้ได้มาตรฐานตาม
หลักวชิ าการและวชิ าชีพ
(๒) การจัดการศึกษาโดยส่งเสริมการเรยี นรู้และพฒั นาทักษะเพ่อื การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพิการ
(๓) การส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระ การทางานในสถานประกอบการ การฝึกอาชีพ
การสนับสนุนเงินทุนประกอบอาชีพ การมีงานทา การให้สัมปทานหรือสถานท่ีจาหน่ายสินค้า
การจัดจ้างแบบเหมางาน หรือการอ่ืนท่ีเป็นประโยชน์ต่อผดู้ แู ลคนพิการ
(๔) การให้ความช่วยเหลืออื่นใด เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
ตามท่คี ณะอนกุ รรมการกาหนด

ให้สานักงานขอต้ังงบประมาณประจาปี เพ่ือเป็นค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายในวิธีการปรับ
สภาพแวดล้อมท่ีอยู่อาศัยให้แก่คนพิการ การมีผู้ช่วยคนพิการ การช่วยเหลือคนพิการท่ีไม่มีผู้ดูแล
และสทิ ธิของผ้ดู แู ลคนพิการ รวมทัง้ คา่ ใชจ้ ่ายอน่ื ท่ีเก่ยี วขอ้ งในการปฏิบตั ิตามระเบยี บนี้

ในกรณีมีสิทธิขอรับความช่วยเหลือคนพิการตามระเบียบนี้แล้ว และมีสิทธิได้รับ
คา่ ตอบแทนอื่นของทางราชการสาหรบั การปฏิบัตงิ านนั้นแล้วให้เบกิ ไดท้ างเดยี ว

วธิ กี ารปฏิบตั ิอ่ืนใดทไ่ี มไ่ ด้กาหนดไว้ในระเบยี บน้ี ให้นาระเบียบของทางราชการว่าด้วยการ
นนั้ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

สำนักงำนพัฒนำสงั คมและควำมม่นั คงของมนุษยจ์ ังหวดั กระบ่ี
กลุ่มนโยบำยและวิชำกำร
Tel. 075-611958
http://krabi.m-society.go.th/


Click to View FlipBook Version