The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดกระบี่ปี 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by policykrabi, 2022-08-22 02:15:25

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดกระบี่ปี 2565

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดกระบี่ปี 2565

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวัดกระบี่ ประจำปี 2565

คำนำ

สังคมไทยในปจั จุบนั เปลย่ี นแปลงไปอย่างรวดเร็ว ด้วยความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี กระแสโลกาภิวตั น์
ตลอดจนการเปล่ียนแปลงทางสังคมจากสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรม แนวทางการพัฒนาประเทศ
ท่ีเปล่ียนไปเป็นการขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม และเทคโนโลยี จนเกิดผลกระทบต่อสภาพสังคม วิถีชีวิต
และความเป็นอยู่ในสังคมไทย เช่น การอพยพเข้าสู่เมืองเพื่อหางานทำ การเปลี่ยนแปลงเป็นสังคมเมือง
และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ทำให้เกิดปัญหาต่าง ๆ เช่น ความยากจน ยาเสพติด การใช้ความรุนแรง
ในสังคม การค้ามนุษย์ ซ่ึงนบั วนั จะทวคี วามรุนแรงและมีความซับซ้อนเพ่ิมขนึ้ เพื่อใหส้ ังคมรู้เทา่ ทันสถานการณ์
ปัญหา กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ได้มีนโยบายให้จังหวัดจัดตั้งศูนย์เฝ้าระวัง
และเตือนภัยทางสังคมจังหวัด โดยการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการเฝ้าระวังสถานการณ์ทางสังคม
เพ่ือป้องกันผลกระทบกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็ก เยาวชน สตรี ครอบครัว ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส
ในระดับจังหวัด ด้วยการนำข้อมูลสถานการณ์ทางสังคม เทคโนโลยีสารสนเทศ มาปรับใช้และพัฒนา
ดา้ นการส่ือสาร ให้กับหนว่ ยงานที่เก่ยี วข้อง เพอ่ื ขับเคลอื่ นการดำเนนิ งานในการเฝ้าระวงั สถานการณ์ทางสังคม

สำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดกระบี่ ได้ดำเนินการสำรวจข้อมูลด้าน
ประชากรผู้ประสบปัญหาทางสังคม สถิติการให้ความช่วยเหลือ ภายในจังหวัด รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์
ข้อมูลด้านสังคมที่เป็นปัจจุบัน ทันต่อสถานการณ์ ซ่ึงได้จัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคม นำข้อมูล
มาเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ เพ่ือให้เกิดการบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้อง นำไปสู่การใช้ข้อมูล
ขับเคล่ือนการดำเนินงานในการเฝ้าระวังสถานการณ์ทางสังคมภายในจังหวัดกระบี่ สร้างความเข้มแข็ง
และพัฒนาศูนย์เฝ้าระวงั และเตือนภัยทางสังคมในระดบั จังหวัด เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคมทเ่ี กดิ ข้ึน
ภายในจังหวัดกระบ่ี

สำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดกระบ่ี ขอขอบคุณส่วนราชการจังหวัด
เครือข่ายภาคประชาสังคม อาสาสมัครต่าง ๆ ตลอดจนผู้เก่ียวข้องทุกท่าน ท่ีให้ความร่วมมือในการจัดทำ
รายงานสถานการณ์ทางสังคม และหวังว่าทุกภาคส่วนจะนำไปใช้ประโยชน์ในการสร้างสังคมที่สงบสุข อยู่ ดี
กนิ ดี ม่ังคัง่ และยั่งยนื ของพ่ีน้องประชาชนจังหวัดกระบ่ี ตอ่ ไป

จัดทำโดย
สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ ังหวัดกระบี่

8 มถิ นุ ายน 2565

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวดั กระบี่ ประจำปี 2565

สารบญั

บทท่ี 1 บทนำ........................................................................................................................................... 1
1.1 หลักการและเหตผุ ล...............................................................................................................................1
1.2 วตั ถปุ ระสงค์..........................................................................................................................................2
1.3 วธิ กี ารดำเนินงาน...................................................................................................................................2
1.4 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รับ.....................................................................................................................2

บทที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานในพน้ื ทจ่ี งั หวดั กระบี่ ............................................................................................... 3
2.1 ข้อมลู พน้ื ฐานทางกายภาพ.....................................................................................................................3
2.2 ดา้ นประชากร กลุ่มประชากรเฉพาะของจังหวัด ....................................................................................8
2.3 ดา้ นศาสนาประเพณี วฒั นธรรม ............................................................................................................8
2.4 ดา้ นสาธารณสุข...................................................................................................................................13
2.5 ดา้ นการศึกษา .....................................................................................................................................14
2.6 ดา้ นแรงงาน.........................................................................................................................................16
2.7 ด้านทอ่ี ยู่อาศยั .....................................................................................................................................17
2.8 ดา้ นเศรษฐกิจและรายได้ .....................................................................................................................17
2.9 ด้านภาคีเครือขา่ ย................................................................................................................................19
บทท่ี 3 สถานการณก์ ลุ่มเปา้ หมายทางสังคมระดับจงั หวัด..........................................................................20
3.1 กลุ่มเด็ก...............................................................................................................................................20
3.2 กลมุ่ เยาวชน ........................................................................................................................................21
3.3 กลมุ่ สตรี..............................................................................................................................................22
3.4 กลมุ่ ครอบครัว .....................................................................................................................................22
3.5 กลุม่ ผู้สูงอายุ........................................................................................................................................23
3.6 กลุ่มคนพกิ าร.......................................................................................................................................25
3.7 กลุ่มผู้ดอ้ ยโอกาส.................................................................................................................................25

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวัดกระบี่ ประจำปี 2565

บทที่ 4 สถานการณ์เชิงประเด็นทางสงั คมในระดับจังหวัด.......................................................................31
4.1 สถานการณ์กลุ่มเปราะบางรายครัวเรอื น .............................................................................................31
4.2 สถานการณภ์ ายใต้การแพร่ระบาดของเช้อื Covid-19 ........................................................................35

บทที่ 5 การวิเคราะห์และจดั ลำดบั ความรนุ แรงของสถานการณท์ างสงั คมจังหวัด...................................37
5.1 สถานการณ์เชงิ กลมุ่ เปา้ หมายในพ้ืนทีจ่ ังหวัด.......................................................................................37

บทท่ี 6 ข้อเสนอแนะ...............................................................................................................................39
6.1 การขบั เคล่ือนนโยบายสังคมสู่การปฏิบัติในพืน้ ที่ .................................................................................39
6.2 ขอ้ เสนอแนะ........................................................................................................................................40

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจังหวัดกระบี่ ประจำปี 2565

1

บทท่ี 1

บทนำ
1.1 หลักการและเหตผุ ล

ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546
มีสาระสำคัญเก่ียวข้องกับการบูรณาการ โดยกำหนดว่า “ในกรณีท่ีภารกิจใดมีความเก่ียวข้องกับหลายส่วน
ราชการหรอื เป็นภารกิจทใี่ กล้เคียงหรือต่อเนื่องกนั ใหส้ ่วนราชการทเี่ กย่ี วข้องนนั้ กำหนดแนวทางปฏบิ ัติราชการ
เพื่อให้เกิดการบริหารราชการแบบบูรณาการร่วมกัน โดยมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ”
(มาตรา 10 วรรค 1) ในทางปฏิบัติแม้ว่าจะมีความพยายามในการบริหารแบบบูรณาการในภารกิจที่มี
ความสำคัญหลายเร่ือง แต่ยังเกิดปัญหาความซ้ำซ้อนในการปฏิบัติในหลายๆ ภารกิจ เป็นผลให้เป็นการ
สิ้นเปลืองทรพั ยากรเป็นอย่างมาก การปฏิรูปงบประมาณประเทศจาก “ระบบงานงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์”
สู่ “ระบบงบประมาณเชิงพื้นที่” (Area-Based Budgeting : ABB) ซึ่งเป็นแนวคิดของการทำงบประมาณ
แบบมีส่วนร่วม (Participatory Budgeting) โดยมีการฟังเสียงประชาชนในพื้นที่ มีกระบวนการทำแผนพัฒนา
จากล่างข้ึนบนต้ังแต่แผนชุมชนจนถึงแผนจังหวัด และให้หน่วยงานทั้งภูมิภาคและท้องถิ่นร่วมกันกล่ันกรอง
ทำให้งบประมาณสามารถใช้ให้ตรงกับปัญหาความต้องการของคนในพ้ืนที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ซ่งึ เป็นท้ังกระบวนการเพิม่ ประสทิ ธิภาพประสิทธิผลการใชง้ บประมาณแผ่นดิน การมีส่วนร่วมของประชาชนใน
การบริหารจัดการตนเอง การสร้างความโปร่งใสและธรรมาภิบาล การควบคุมพฤติกรรมนักการเมืองโดย
ประชาชนในพ้ืนที่และการบูรณาการการทำงานของหน่วย Function และหน่วย Area ที่อยู่ในพ้ืนที่ร่วมกัน
ซึ่งตามแผนปฏริ ปู กำหนดให้เรม่ิ ต้งั แตป่ งี บประมาณ 2548

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดกระบี่ ในฐานะหน่วยงานด้านสังคม
ที่สำคัญในการขับเคล่ือนงานด้านสังคม พิทักษ์และคุ้มครองสิทธิแก่กลุ่มเป้าหมาย เช่น เด็ก เยาวชน สตรี
คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส เป็นต้น เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการด้านสังคมจากหน่วยงานรัฐ และ
ภาคเอกชน และสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีศักดิศรีรวมท้ังผลักดันให้เกิดการป้องกันและแก้ไขปัญหา
สังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เพื่อมุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพ้ืนฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด กระบ่ี จึงได้จัดทำรายงานสถานการณ์
ทางสังคมจังหวัดกระบี่ ประจำปี 2565 ข้ึน เพ่ือรวบรวม วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลด้านสังคม
ในจังหวัดประกอบด้วยสถิติการให้บริการที่เป็นปัจจุบัน ทันต่อสถานกา รณ์ ครอบคลุมท้ังข้อมูล
เชงิ กลุม่ เป้าหมาย ข้อมลู เชิงประเด็น ข้อมูลจากระบบสารสนเทศของกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คง
ของมนุษย์ข้อมูลด้านสังคมจากหน่วยงานแวดล้อมกระบวนงาน ข้อมูลที่บ่งช้ีถึงสถานการณ์ทางสังคมตัวชี้วัด
ที่เป็นสากล รวมท้ังสถานการณ์ทางสังคมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และข้อเสนอแนะในการป้องกัน แก้ไขปัญหา
ทัง้ ในเชงิ นโยบายและปฏบิ ตั ิอยา่ งมีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจังหวดั กระบี่ ประจำปี 2565

2
1.2 วัตถุประสงค์

1.2.1 เพื่อรวบรวม วิเคราะห์ และจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้น ในเขตพ้ืนที่
รบั ผิดชอบของจงั หวัดกระบี่

1.2.2 เพ่ือคาดการณ์แนวโนม้ สถานการณท์ างสังคมและผลกระทบในเขตพ้ืนที่รับผดิ ชอบของจังหวดั กระบี่
1.2.3 เพือ่ เสนอแนะแนวทางในการแกไ้ ขปญั หาทางสงั คมในเขตพื้นที่รบั ผิดชอบของจังหวดั กระบ่ี
1.3 วิธกี ารดำเนนิ งาน
1.3.1 มีหนังสือช้ีแจงแนวทางและกำหนดรูปแบบการจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมในระดับจังหวัด
ประจำปี 2565
1.3.2 สำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด ดำเนินการจัดทำรายงานสถานการณ์
ทางสังคมจงั หวดั
1.3.3 นำเสนอรายงานฯ ให้สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 – 11 เพื่อนำข้อมูลไปจัดทำ
รายงานสถานการณ์ทางสังคมระดับกลุ่มจังหวัดและขับเคลื่อนโครงการระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัด
รวมถึงนำเสนอรายงานฯ ให้กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เพ่ือนำข้อมูลไปจัดทำ
รายงานสถานการณท์ างสงั คมระดบั ประเทศ
1.3.4 ประชมุ ถอดบทเรียนการจดั ทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั ประจำปี 2565
1.3.5 เผยแพร่และประชาสมั พันธก์ ารนำไปใช้ประโยชน์ผ่านช่องทางต่าง ๆ
1.4 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั
1.4.1 มีข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมระดับพ้ืนท่ีที่ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถใช้ประโยชน์
ในการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาสงั คม
1.4.2 หน่วยงานระดับท้องถ่ินและระดับจังหวัด สามารถนำข้อมูลในพื้นท่ีไปใช้ในการกำหนดนโยบาย
แผนงาน โครงการ ในการคุ้มครอง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาทางสังคมในระดับพ้ืนท่ี และหน่วยงานระดับ
กระทรวง สามารถนำข้อมูลในภาพรวมไปใช้ประโยชน์วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาทางสังคมท่ีสำคัญและ
กำหนดนโยบาย แผนงานในการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาสงั คมภาพรวมตอ่ ไป

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวดั กระบี่ ประจำปี 2565

3

สว่ นที่ 2

ข้อมูลพน้ื ฐานในพืน้ ทีจ่ ังหวัดกระบ่ี
2.1 ข้อมูลพืน้ ฐานทางกายภาพ

1) ประวตั คิ วามเป็นมา
จังหวัดกระบ่ี ต้ังข้ึนประมาณปี พ.ศ. 2515 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5
ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกฐานะข้ึนเป็นเมืองปกาสัย และทรงพระราชทานนามว่า “เมืองกระบ่ี”
เมื่อได้ประกาศต้ังข้ึนเป็นเมืองแล้ว โปรดเกล้าฯให้ต้ังที่ทำการอยู่ท่ีตำบลกระบ่ีใหญ่ (บ้านตลาดเก่า)
ต่อมาในปี พ.ศ. 2418 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แยกเมืองกระบี่ ออกจากการปกครองของเมือง
นครศรีธรรมราช เป็นเมืองจัตวาข้ึนตรงต่อกรุงเทพฯ และในปี พ.ศ. 2443 ได้ย้ายที่ตั้งเมืองไปอยู่ตำบลปากน้ำ
อยู่ใกล้ปากอ่าวเป็นร่องน้ำลึก เรอื ใหญ่สามารถเข้าเทียบท่าได้สะดวก เป็นที่ต้ังศาลากลางจังหวัดจนถึงปัจจุบันนี้
เดิมประชาชนชาวกระบ่ีมีอาชีพทำการเกษตรท่ัวไป ทำประมง และค้าขาย และในปี พ.ศ. 2512 ได้มีการ
บกุ เบิกปลูกปาล์มน้ำมันด้วย สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศท่ีเหมาะสมทำให้มกี ารขยายการปลูกปาล์มน้ำมัน
อย่างต่อเนื่องและเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดในปัจจุบัน ต่อมาในปีพ.ศ.๒๕๒๘ จังหวัดกระบ่ีเข้าสู่
ยุคการเปลี่ยนแปลงจากเดิมท่ีเป็นเมืองเล็ก ๆ สงบเงียบอยู่กับธรรมชาติและทำการเกษตร เริ่มมีนักท่องเที่ยว
ชาวต่างชาติเดนิ ทางเข้ามาเยือนเพื่อชมแหล่งทอ่ งเทยี่ วทางทะเลที่สวยงามและอุดมสมบูรณ์ นกั ธรุ กจิ ในจังหวัด
เล็งเห็นศักยภาพของการท่องเท่ียวดังกล่าว จึงเร่ิมประกอบการท่องเที่ยว เช่น โรงแรมที่พัก ร้านอาหาร ร้าน
ขายของที่ระลึกเป็นต้นขณะเดียวกันภาครัฐได้พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและส่ิงอํานวยความสะดวกควบคู่กันไป
เพื่อรองรับการท่องเที่ยวเช่น ท่าอากาศยาน ท่าเทียบเรือ ถนน เมื่อการท่องเท่ียวของจังหวัดกระบ่ีสามารถ
รองรับและให้บริการนักท่องเท่ียวได้ทั้งการบริการ สิ่งอํานวยความสะดวก และโครงสร้างพื้นฐาน ส่งผลให้
นกั ทอ่ งเที่ยวได้รับความสะดวกสบาย เกิดความประทบั ใจ จึงเดินทางเข้ามาท่องเท่ยี วจำนวนมากและมีแนวโน้ม
สูงขึ้นทุกปี จนเป็นจังหวัดที่สามารถสร้างรายได้ทางการท่องเท่ียวเข้าสู่ประเทศได้สูงเป็นลำดับท่ี 5 รองจาก
กรุงเทพมหานคร ภูเก็ต ชลบุรี และเชียงใหม่ ขณะเดียวกัน ในภาคเกษตรกรรมการปลูกปาล์มน้ำมัน
ทเ่ี ป็นพืชเศรษฐกิจหลักก็ขยายพื้นที่ปลูกมากเป็นลำดับต้นของประเทศและมผี ลผลิตท่ีมปี รมิ าณและคุณภาพสูง
ท่ีสุดของประเทศ ส่งผลให้เกิดภาคอุตสาหกรรมตามมา คือ อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันโดยมีโรงงานสกัดน้ำมัน
ปาล์มดิบและลานเทซ่ึงดำเนินกิจการในแนวทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ภาคเกษตรและภาคอุตสาหกรรมมี
การบูรณาการความร่วมมือในการผลิตและอุตสาหกรรมทเ่ี น้นคุณภาพครบวงจรต้ังแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
บนพื้นฐานขององค์ความรู้และนวัตกรรมส่งผลให้ผลผลิตปาล์มน้ำมันของจังหวัดมีคุณภาพ กลายเป็น
“เมืองแห่งปาล์มน้ำมัน” ของประเทศ จังหวัดกระบ่ีในปัจจุบันจึงมีการพัฒนาเศรษฐกิจอยู่บน 2 ฐาน
คือ การเกษตร ควบคู่กับการท่องเท่ียว

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวัดกระบี่ ประจำปี 2565

4

2) ที่ตั้งและอาณาเขต
จังหวัดกระบ่ีเป็นจังหวัดขนาดเล็กที่อุดมไปด้วยทรัพยากรท่องเท่ียวทางธรรมชาติ และมรดก

ทางวัฒนธรรมอันเก่าแก่ การผสมผสานการดำรงชีวิตของผู้คนที่ต่างเช้ือชาติ ต่างศาสนา และความเช่ือที่
แตกต่างอย่างกลมกลืนตั้งอยู่ทางด้านฝ่ังทะเลตะวันตกของภาคใต้ติดกับทะเลอันดามัน อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ
ไปตามทางหลวงแผ่นดินประมาณ 814 กิโลเมตร มีพ้ืนท่ี ท้ังหมด 4,708.512 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ
2,942,820 ไรม่ ีอาณาเขตตดิ ตอ่ กบั จังหวัดใกล้เคยี ง ดังนี้

ทศิ เหนือ จดจังหวัดพงั งา และจงั หวัดสุราษฎร์ธานี
ทศิ ใต้ จดจงั หวัดตรงั และทะเลอนั ดามัน
ทศิ ตะวนั ออก จดจังหวดั นครศรีธรรมราช และจงั หวัดตรงั
ทศิ ตะวนั ตก จดจงั หวดั พงั งา และทะเลอันดามนั

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั กระบี่ ประจำปี 2565

5

ตารางแสดงท่ตี ั้งและอาณาเขตพน้ื ที่จงั หวัดกระบี่

จงั หวัด พน้ื ที่ จำนวนประชากร ความหนาแนน่
(คน) ของประชากร
ตารางกิโลเมตร ไร่ (ตร.กม./คน)

กระบี่ 4,708.512 2,942,820 486,091 101.251

ทีม่ า กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ข้อมลู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564

3) ลักษณะภูมิประเทศ

จังหวัดกระบ่ี มีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาหินปูนที่มีลักษณะเป็นภูเขาโดด ๆ เต้ียๆ
มีเขาหินปูน มีบ่อน้ำร้อน และแอ่งน้ำท่ีเกิดจากการยุบตัวของผืนดิน สลับกับพ้ืนที่แบบลูกคลื่นลอนลาด
และที่ราบเชิงเขาบริเวณทางตอนบนของพื้นที่ ตอนกลางของพ้ืนที่มีแนวภูเขาท่ีสำคัญทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้
ได้แก่ ภูเขาพนมเบญจา นอกจากน้ีบริเวณด้านตะวันตกของพื้นที่มีลักษณะเป็นท่ีราบแคบ ๆ ตามชายฝั่งทะเล
มคี วามยาวประมาณ 160 กโิ ลเมตร มลี ักษณะเปน็ ชายฝัง่ ทะเลจมตัวจงึ ทำใหช้ ายฝั่งทะเลมลี กั ษณะเวา้ แหวง่ สูง
ชันต่างกัน บางบริเวณมีภูเขาติดกับชายฝั่งทะเล เช่น เขากาโรส นอกจากน้ีกระบ่ียังประกอบด้วยหมู่เกาะน้อย
ใหญ่ ประมาณ 154 เกาะ โดยเป็นเกาะที่มีประชากรอาศัยอยู่เพียง 13 เกาะ เกาะที่สำคัญ ได้แก่
เกาะศรบี อยา เกาะลนั ตา และเกาะพีพี ซง่ึ เปน็ สถานทที่ ่องเทยี่ วที่สวยงามติดอนั ดับของโลก

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจังหวัดกระบี่ ประจำปี 2565

6

4) ลักษณะภมู ิอากาศ
จังหวัดกระบี่ มีภูมิอากาศแบบมรสุมในเขตร้อน และได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้

และลมมรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนือ ทำใหม้ ีฝนตกชกุ ตลอดปี และมีเพยี ง ๒ ฤดู
ฤดูรอ้ น เรม่ิ ต้งั แต่เดอื นมกราคมจนถงึ เดอื นเมษายน
ฤดฝู น เริม่ ต้ังแตเ่ ดอื นพฤษภาคมจนถงึ เดอื นธันวาคม

5) การคมนาคม
ทางรถยนต์ จากกรุงเทพฯ ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 ผ่านจังหวัดเพชรบุรี

– ประจวบคีรีขันธ์ – ชุมพร – ระนอง – พังงา – กระบ่ี รวมระยะทางประมาณ 946 กิโลเมตร
หรือใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ถึงจังหวัดชุมพรต่อด้วยทางหลวงหมายเลขแผ่นดินหมายเลข 41
ผ่านอำเภอ หลังสวน จังหวัดชุมพร เข้าอำเภอ ไชยา อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จากน้ัน
ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 4035 ผ่านอำเภออ่าวลึก และใช้ทางหลวงหมายเลข 4 อีกครั้งเข้าสู่จังหวัดกระบี่
รวมระยะทาง 814 กิโลเมตร ถ้าเดินทางจากภูเก็ต ใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402 ต่อด้วยทางหลวง
แผ่นดิน หมายเลข 4 ผ่านตำบล โคกกลอย อำเภอตะกั่วทุ่ง อำเภอทับปุด จังหวัดพังงา เข้าอำเภออ่าวลึก
จังหวัดกระบรี่ วมระยะทางประมาณ 185 กิโลเมตร

ทางน้ำ จังหวัดกระบ่ี มีท่าเรือขนส่งสินค้า/ท่าเทียบเรือการท่องเที่ยว รวมจำนวน 22 แห่ง
ท่าเรอื นำ้ ลึก 4 แห่ง แบง่ เป็น ท่าเทียบเรือเพือ่ การขนสง่ สินค้า 3 แห่งได้แก่

1. ทา่ เทยี บเรอื ขนส่งสนิ คา้ น้ำลึกกระบ่ี ปากคลองจิหลาด ตำบลไสไทย อ.เมือง
2. ท่าเรอื ขนสง่ สินค้าบริษัทเจยี รวานชิ ย์ ตำบลหนองทะเล อ.เมือง
3. ท่าเทียบเรือขนส่งสินค้าบริษัทเซาเทิร์นพอร์ท จำกัด ตำบลหนองทะเล อ.เมือง และมีท่า
เทยี บเรือเพ่ือการท่องเทยี่ ว 1 แห่งได้แก่ ทา่ เทียบเรอื โดยสารท่องเท่ียวปากคลองจหิ ลาด ตำบลไสไทย อำเภอเมือง
ทางอากาศ จงั หวัดกระบ่ีมีสนามบินนานาชาติ 1 แห่ง คือ ท่าอากาศยานนานาชาติจังหวดั กระบ่ี สังกัด
กรมท่าอากาศยาน กระทรวงคมนาคม ตั้งอยู่ในเขต อำเภอเหนือคลอง ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศตะวันออก
เป็นระยะทางประมาณ 13 กิโลเมตร ท่าอากาศยานกระบ่ีมีบทบาทสำคัญที่สามารถรองรับกิจการการขนส่ง
ทางอากาศของจังหวัดกระบี่ เพื่อให้เส้นทางสู่จังหวัดกระบ่ี มีความสะดวกสบายและเป็นการส่งเสริมและการ
พัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวดั กระบีอ่ ีกด้วย
6) คำขวัญจังหวดั กระบ่ี
“กระบี่ เมืองน่าอยู่ ผคู้ นน่ารกั ”
7) คำขวัญการท่องเท่ียวจังหวดั กระบี่
แหล่งถา่ นหนิ ถิน่ หอยเกา่ เขาตระหง่าน
ธารสวย รวยเกาะ เพาะปลูกปาล์ม
งามหาดทราย ใต้ทะเลสวยสด มรกตอันดามนั
สวรรค์เกาะพีพี

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวัดกระบ่ี ประจำปี 2565

7

8) วสิ ัยทศั น์จงั หวดั กระบี่

เมอื งทอ่ งเทยี่ วคุณภาพระดับนานาชาติเกษตรอตุ สาหกรรมยั่งยนื
สงั คมนา่ อยู่มีการปรับตัวเท่าทันตอ่ บรบิ ทการเปลยี่ นแปลง
10) ยทุ ธศาสตรจ์ ังหวดั กระบ่ี

1. พัฒนาการท่องเท่ียวให้เป็นการท่องเที่ยวสีเขียว (Green Tourism) และเพิ่มศักยภาพ
ใหไ้ ด้มาตรฐานในระดับสากล

2. ยกระดับขีดความสามารถในการผลิตด้านการเกษตรและแปรรูปสินค้าเกษตร อย่างครบ
วงจร ควบคู่กบั การพฒั นาอตุ สาหกรรมสะอาดและพลงั งานทางเลอื ก

3. เสริมสรา้ งคุณภาพชีวติ ประชาชนสสู่ ังคมน่าอยู่ และปรบั ตัวรองรับกระแสการเปลย่ี นแปลง
4. อนุรักษ์และฟน้ื ฟทู รัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมอย่างยงั่ ยนื
11) ข้อมลู การปกครอง

ตาราง แสดงจำนวนเขตการปกครองพน้ื ทจี่ งั หวัดกระบ่ี (หน่วย:แห่ง)

จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน อบจ. เทศบาลเมือง เทศบาล อบต.

ตำบล

กระบ่ี 8 53 389 1 1 12 48

ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564
จากตารางที่ 2.2 แสดงจำนวนเขตการปกครองพื้นที่จังหวัดกระบ่ี ประกอบด้วย 8 อำเภอ
53 ตำบล 389 หมู่บ้าน มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 62 แห่ง ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด
1 แห่งเทศบาลเมือง 1 แห่ง เทศบาลตำบล 12 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล 48 แห่ง
ตาราง แสดงพืน้ ท่ีจำแนกตามเขตการปกครองรายอำเภอ

อำเภอ พ้นื ที่ (ตร.กม.) หา่ งจากจังหวัด ตำบล หมบู่ ้าน เทศบาล อบต.
(กม.) เมือง ตำบล

เมอื งกระบ่ี 648.552 - 10 59 1 1 7

อ่าวลกึ 772.989 47 9 52 - 2 9

ปลายพระยา 433.367 75 4 35 - 1 4

คลองท่อม 1,042.531 42 7 68 - 4 5

เกาะลันตา 339.843 109 5 36 - 1 5

ลำทบั 320.708 67 4 28 - 1 4

เหนอื คลอง 362.00 17 8 57 - 1 8

เขาพนม 788.522 39 6 54 - 1 6

รวม 4,708.512 - 53 389 1 12 48

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวดั กระบี่ ประจำปี 2565

8

2.2 ดา้ นประชากร กลุ่มประชากรเฉพาะของจังหวัด

ขอ้ มูลประชากรจงั หวัดกระบี่

ตาราง แสดงจำนวนประชากรแยกตามช่วงอายุ และจำแนกตามเพศ (หนว่ ย : คน)

อายุ ๐-๑๗ ปี อายุ ๑๘ – ๒๕ ปี อายุ ๒๖ – ๕๙ ปี อายุ ๖๐ ปขี ้นึ ไป

จงั หวัด ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม

กระบี่ 64,495 61,016 125,511 27,127 26,320 53,447 117,778 119,768 237,546 32,238 37,349 69,587

ท่ีมา: ระบบสถติ ิทางทะเบียน กรมการปกครอง ข้อมูล ณ 31 ธนั วาคม 2564
จากตารางที่ 2.4 ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในระหว่าง ๒๖ – ๕๙ ปี จำนวน 237,546 คน

เป็นเพศชาย 117,778 คน เพศหญิง 119,768 คน อายุอยู่ระหว่าง ๐-๑๗ ปี จำนวน 125,511 คน

เป็นเพศชาย 64,495 คน เพศหญิง 61,016 คน อายุอยู่ระหว่าง ๖๐ ปีข้ึนไป จำนวน 69,587 คน เป็นเพศชาย คน

32,238 เพศหญิง 37,349 คน และอายุอยู่ระหว่าง ๑๘ – ๒๕ ปี น้อยที่สุด จำนวน 53,447 คน

เป็ น เพ ศ ช าย 2 7 ,1 2 7 เพ ศ ห ญิ ง 2 6 ,3 2 0 ค น โด ย มี จ ำน ว น ป ระ ช าก รทั้ งส้ิ น 4 8 6 ,0 9 1 ค น

แบ่งเปน็ ประชากรเพศชาย จำนวน 241,638 คน ประชากรเพศหญิง จำนวน 244,453 คน แบง่ ตาม ช่วงอายุดังตาราง

2.3 ด้านศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม และข้อมลู ชาติพันธ์
๑) ขอ้ มลู ดา้ นศาสนา

ประชากรในจังหวัดกระบี่ นับถือศาสนาพุทธ 61.66 % ศาสนาอิสลาม ๓8.06 %
ศาสนาคริสต์ 0.21 % ศาสนาซิกข์ 0.05 % ศาสนาอื่น ๆ 0.02 % โดยมีวัด 82 แห่ง ที่พักสงฆ์ 45 แห่ง มัสยิด
187 แห่ง โบสถค์ รสิ ตจักร 2 แหง่ ศูนย์อบรมจรยิ ธรรมฯ 116 แห่ง และศูนยพ์ ระพุทธศาสนาฯ 6 แห่ง
ตาราง แสดงจำนวนศาสนสถานและศนู ย์เรยี นรูท้ างศาสนา

จำนวนศาสนสถานและศนู ย์เรียนรทู้ างศาสนา

อำเภอ วดั มสั ยดิ ทีพ่ ัก โบสถค์ รสิ ต์ ศนู ยอ์ บรม ศนู ย์ฯพระพทุ ธ
สงฆ์ จริยธรรมฯ ศาสนาฯ

เมอื งกระบ่ี 18 51 5 2 37 3

อา่ วลึก 13 28 7 - 24 -

ปลายพระยา 15 - 5 - - -

คลองท่อม 9 35 10 - 16 1

เกาะลนั ตา 1 40 2 - 31 -

ลำทับ 2-7 - - -

เหนือคลอง 9 31 7 - 7 2

เขาพนม 15 2 2 - 1 -

รวม 82 187 45 2 116 6

ทีม่ า:ทที่ ำการปกครองจงั หวัดกระบี/่ สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวดั กระบี่ /สำนักงานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวดั กระบี่

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวัดกระบ่ี ประจำปี 2565

9

2). ข้อมูลประเพณี และวัฒนธรรม

ลิเกป่า เป็นการแสดงพื้นบ้านท่ีดัดแปลงมาจาก
ลิเกสิบสองภาษาเริ่มต้นจะเล่นเร่ืองราวของแขกแดง
วา่ มาจากเมืองลักกะตา (กัตกัลตา) มาค้าขายบนฝ่ังทะเล
ตะวันตก แล้วมาได้ภรรยาเป็นคนพื้นเมืองชื่อ “ยายี”
หรือ “ยาหยี”และพากลับบ้านเมือง จากน้ันจะแสดง
เรื่องอ่ืนต่อไป ลิเกป่าเป็นการแสดงที่ประสานวัฒนธรรม
หลากหลายเข้าด้วยกัน อาทิ ดนตรีจะใช้รำมะนา
ทับ โหม่ง กลองฉ่ิง บทกลอนจะมีการประสมทำนองมโนราห์กับเพลงบุรันยาวา “ลิเกป่า” เรียกอีกช่ือว่า
“ลิเกแขกแดง” เป็นการละเล่นพ้ืนบ้านประเภทหนึ่งของภาคใต้ท่ีแพร่หลายในพื้นที่ของจังหวัดชายฝั่งทะเล
ตะวันตก (อันดามัน) เช่น ตรงั พังงา กระบี่ เป็นต้น การแสดงประเภทนเี้ ร่ิมมีมาสมัยใดไม่ปรากฏหลักฐานที่แน่
ชัด แต่กล่าวกันว่าเมื่อประมาณปี พ.ศ.2444 ตรงกับสมัยพระยาอิศราธิชัยเป็นเจ้าเมืองกระบ่ี ได้ส่งเสริมให้มี
การละเล่นลิเกป่ากันอย่างกว้างขวางในงานเทศกาลและงานอ่ืน ๆโดยท่ัวไปจากนั้นจึงแพร่หลายไปสู่จังหวัด
ใกล้เคียง แหล่งที่มีคณะลิเกป่าในจังหวัดกระบ่ีในปัจจุบันอยู่ในอำเภอเหนือคลองและอำเภอเขาพนม ปัจจุบัน
ลิเกป่าในจังหวัดกระบ่ีที่มีชื่อเสียง คือ คณะรวมมิตรบันเทิงศิลป์ของนายตรึก ปลอดฤทธ์ิ ซ่ึงได้รับรางวัลผู้มี
ผลงานดีเด่นทางวฒั นธรรม

หนังตะลุง แสดงให้เห็นการผสมผสานกับวัฒนธรรม
อินเดีย เป็นศิลปะการเล่นเงา (Shadow Play) ที่สืบต่อกันมา
ช้านาน เป็นการเล่าเรือ่ งผสมผสานกับเงาของรูปหนังตะลุงผ่าน
ผ้าขาวบางประกอบดนตรี ในปัจจุบันยังมีการเล่นหนังตะลุงอยู่
ตามงานเทศกาลต่าง ๆ ในจังหวัดกระบี่มีศลิ ปนิ หนงั ตะลงุ หลาย
คณ ะ โดยคณ ะท่ีมีช่ือเสียง คือ ครูเคล้า โรจนเมธากุล
ครูศิลปะการแสดงหนังตะลุง เจ้าของรางวัลครูสอนดี และศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดงหนังตะลุง

ประจำปี พ.ศ. 2555 ในพ้ืนท่ีอำเภอเหนือคลอง โดยปัจจุบัน
ได้จัดต้ังศูนย์การเรียนรู้ศิลปะวัฒนธรรมการแสดงหนังตะลุง
และมโนราห์ เพื่อให้เยาวชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เป็น
การสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมและสามารถนำวิชาความรู้การ
แสดงหนงั ตะลงุ ไปสรา้ งรายได้เป็นอาชพี อีกด้วย

มโนราห์ การแสดงมโนราห์เป็นศิลปะการแสดง
พื้นเมืองอย่างหน่ึงของภาคใต้ มีแม่บทท่ารำอย่างเดียวกับละคร
ชาตรีบทรอ้ งเป็นกลอนสด ผู้ขับรอ้ งต้องใช้ปฏิภาณไหวพริบสรรหาคำใหส้ มั ผัสกันได้อย่างฉับไว มีความหมายทั้ง

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจังหวดั กระบ่ี ประจำปี 2565

10

บทร้องและท่ารำ ซึ่งเป็นกิจกรรมความบันเทิงทางวัฒนธรรมที่เก่าแก่ท่ีสร้างความสัมพันธ์ทางความคิดและจิต
วิญญาณต่อผู้ชมได้อย่างดีเป็นเครื่องแสดงปฏิกิริยาต่อความต้องการของสังคมแสดงให้เห็นปัญหาในสังคม
มโนราห์จึงมีบทบาทในการถ่ายทอดประวัติศาสตร์สังคม ในจังหวัด
กระบ่ีมีการจัดแสดงมโนราห์จะจัดให้มีในงานเทศกาล งานแก้บน
รำโรงครู (ไหว้ครู) เป็นต้น มโนราห์ท่ีมีชื่อเสียงของจังหวัดกระบ่ี คือ
นางแขม เครือวัลย์ ศิลปินผู้ประพันธ์ขับกลอนและรำมโนราห์ สอน
เยาวชนรำมโนราห์ อนุรักษ์วัฒนธรรมพื้นบ้าน ในพื้นท่ีอำเภอเหนือ
คลอง โดยมีการถ่ายทอดความรู้ให้เยาวชนท่สี นใจ เพอ่ื เป็นการสบื ทอดประเพณีวฒั นธรรมของชาวใต้

รองเง็งและเพลงตันหยง ได้รับอิทธิพลจากมลายูซ่ึงดัดแปลงมาจากโปรตุเกสอีกทอดหนึ่งเดิมเพลง
รองเง็งนิยมแสดงในบ้านขุนนาง ภายหลังชาวบ้านนำมาเล่นและพัฒนาดัดแปลงมาเป็นเนื้อร้องภาษาไทย
เรยี กวา่ “เพลงตันหยง”

ประเพณีลอยเรือชาวเล ประเพณีลอยเรือเป็น
ประเพณที ี่สืบทอดมาจากบรรพบุรษุ ดงั้ เดิมของชาวอูรักลาโว้ย
ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดกระบี่และจังหวัดใกล้เคียง เม่ือถึงเวลาที่
กำหนดสมาชิกในชุมชนและญาติพ่ีน้องท่ีแยกย้ายถิ่นไปทำมา
หากินในแถบทะเลและหมู่เกาะต่าง ๆ ในทะเลอนั ดามันจะพา
กันเดินทางกลับมายังถ่ินฐาน เพ่ือประกอบพิธีนี้จัดตรงกับ
วันเพ็ญเดือน 6 และวันเพ็ญเดือน 11 ของทุกปีในจังหวัด
กระบ่ีประเพณีจัดขึ้นทุกปีท่ีชุมชนชาวเลอูรักลาโว้ย ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา เป็นประเพณีท่ีสืบทอด
กันมาตั้งแต่ครั้งบรรพบุรุษอันเก่ยี วเนื่องกับตำนานความเชอื่ ความเป็นมาและวิถีชีวิตทุกอย่างของชาวเลอูรักลาโว้ย
เพื่อการสะเดาะเคราะห์ส่งวิญญาณกลับสู่บ้านเมืองเดิม โดยใช้เรือปาจั๊กลอยทะเลออกไป ซึ่งนับเป็นงาน
ประเพณีเก่าแก่ของชาวเลที่หาดูได้ยาก โดยกลุ่มชาวเลในบริเวณเกาะลันตาและเกาะใกล้เคียงจะมาชุมนุมกัน
ทำพิธีลอยเรือเพื่อสะเดาะเคราะห์ ณ ชายหาดใกล้ๆ กับบ้านศาลาด่าน ในพิธีจะมีการร้องรำทำเพลง มีการร่ายรำ
รอบลาเรือด้วยจงั หวะและทำนองเพลงรองเง็ง ผู้ทีผ่ ่านพิธีลอยเรือถือว่าเป็นผู้ที่ผ่านทุกข์โศกโรคภัยไปหมดแล้ว
ทำให้ชวี ิตต่อไปข้างหน้าจะประสบแต่ความสขุ และโชคดใี นการทำมาหากิน

งานประเพณีสารทเดือนสิบ เป็นงานบุญประเพณี
ของคนภาคใต้ ได้รับอิทธิพลด้านความเชื่อจากศาสนา
พราหมณ์โดยมีการผสมผสานกับความเชือ่ ทางพระพุทธศาสนา
ซึ่งเข้ามาในภายหลัง มีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นการอุทิศส่วนกุศล
ให้แก่ดวงวิญญาณของบรรพชนและญาติท่ีล่วงลับที่ได้รับการ
ปล่อยตัวมาจากนรกที่ในทุกวันแรม 1 ค่ำ เดือน 10 เพ่ือมายัง

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวัดกระบี่ ประจำปี 2565

11

โลกมนุษย์โดยมีจุดประสงค์ในการมาขอส่วนบญุ จากลูกหลานญาติพ่นี ้องที่ไดเ้ ตรียมการอุทิศไว้ให้เป็นการแสดง
ความกตัญญูกตเวทีต่อผู้ล่วงลับ หลังจากนั้นก็จะกลับไปยังนรก ในวันแรม 15 ค่ำเดือน 10 ช่วงระยะเวลาใน
การประกอบพิธีกรรมของประเพณีสารทเดือนสิบจะมีข้ึนในวันแรม 1 ค่ำ ถึงแรม 15 ค่ำ เดือนสิบของทุกปี
ส่วนใหญ่แลว้ จะตรงกับเดือนกันยายน สำหรับในจังหวัดกระบี่จัดให้มีประเพณีแห่จาดเดือนสิบเป็นประจำทุกปี
โดยจะมกี าร "แห่หมบั " ท่ีประดับประดาด้วยขนมลา ขนมพอง และขนมอ่นื ๆ ตามความเชอ่ื แต่โบราณ เพื่อเซ่น
ไหว้บรรพบุรุษทีล่ ่วงลบั ไปแล้ว

เทศกาลถือศีลกินเจ เป็นพิธีท่ีมีการบำเพ็ญศีลสมาทาน
กินเจ บริโภคแต่อาหารผักและผลไม้ เป็นการละเว้นการทำบาป
ไม่ฆ่าสัตว์ตัดชีวิต รักษาศีลทำจิตใจให้บริสุทธิ์ งดการเท่ียวเตร่
ไม่ดื่มของมึนเมา ผู้ศรัทธาที่กินเจจะสวมเส้ือผ้าสีขาวและสวด
มนต์ทำสมาธิภาวนาแผ่เมตตาจิต ขอพรให้ตนเองและครอบครัว
เป็นการสะเดาะเคราะห์ปัดเป่าความชั่วร้าย โรคภัยไข้เจ็บให้
ออกไปจากตัวผู้ที่ถือศีลและเกิดความสามัคคีในหมู่ผู้ที่ศรัทธาท่ีเข้าร่วมพิธีถือศีลกินเจ ต่างก็ยิ้มแย้มเป็นมิตร
มีไมตรีต่อกัน มีการบริจาคทรัพย์สำหรับเป็นค่าอาหารและค่าใช้จ่ายในโรงครัว เพื่อให้มีอาหารเพียงพอ
มีอาสาสมัครมาช่วยงานทำงานครัวเป็นจำนวนมาก ระยะเวลาการจัดงานของการถือศีลกินเจตรงกับวันขึ้น
1 ค่ำ ถึง 9 ค่ำ เดือน 9 ของจีน (ตรงกับเดือน 11 ของไทย ช่วงเดอื นกันยายน ถึงเดือนตุลาคมทุกปี) ในจงั หวัด
กระบ่ีโรงศาลเจ้าทุกโรงจะกำหนดการกินเจพร้อมกัน ซึ่งการประกอบพิธีกรรมจะใช้สถานท่ีบริเวณโรงศาล
เจ้าของแต่ละแห่งและมีการจัดกิจกรรมพิเศษ คือ การจัดขบวนแห่พระของทุกศาลเจ้าในจังหวัดกระบี่
ประมาณ 40 ศาลเจ้า ไดแ้ ห่ขบวนมาร่วมทำพธิ ีเสริมดวงเมืองกระบีพ่ รอ้ มกนั ณ ศาลหลักเมืองกระบี่
งานเมาลิดกลางจังหวัดกระบ่ี จัดโดยสำนักงาน
คณะกรรมการจัดงานเมาลิดกลางจังหวัดกระบ่ี เป็นงาน
ประเพ ณี ท างศาสน าของชาวมุสลิมในจังหวัดกระบี่
มีวัตถุประสงค์เพ่ือร่วมเฉลิมฉลองวันคล้ายวันประสูติของ
ศาสดามูฮัมหมัด เชิดชูคำสอน และจริยวัตรอันดีงามของ
ศ าส ด า แ ห่ งศ าส น าอิ ส ล าม แ ล ะ เป็ น ก าร ส่ งเส ริ ม
ความสัมพันธ์ระหว่างพี่น้องมุสลิม ระหว่างพี่น้องต่างศาสนาให้เข้าใจถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวมุสลิม
ซ่ึงกิจกรรมภายในงานประกอบด้วย พิธีเมาลิดดินนบี การบรรยายธรรมและบรรยายพิเศษจากบุคคลท่ีมี
ชื่อเสียง กิจกรรมเยาวชนโดยสมาคมโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจังหวัดกระบ่ีกิจกรรมเยาวชนภาคฟัรดูอีน
(ส่งิ ท่ีเยาวชนมุสลิมจำเป็นตอ้ งรู้ต้องปฏิบัต)ิ การแสดงผลงานทางวิชาการ การทดสอบความสามารถของเยาวชน
และการจำหน่ายผลผลิตและอาหารฮาลาล ซงึ่ จัดขน้ึ เปน็ ประจำทกุ ปีในช่วงเดอื นมกราคม ถงึ กมุ ภาพนั ธข์ องทุก
ปี ณ มัสยิดกลางประจำจังหวดั กระบี่

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวัดกระบี่ ประจำปี 2565

12

3) ข้อมูลประชากรเฉพาะกลุ่ม (ชาตพิ ันธ์)
ตาราง แสดงข้อมลู ชนเผ่าพืน้ เมอื งในจงั หวัดกระบ่ี

ชนเผา่ พื้นเมอื งในจงั หวดั กระบ่ี ประชากร

Lat Long ช่ือชนเผา่ หมู่บา้ น ตำบล อำเภอ ครัวเรือน รวม ชาย หญิง
7.4556 85 350 165 185
7.6307 99.1083 อรู กั ลาโว้ย บ้านสังกาอู้ เกาะลันตาใหญ่ เกาะลันตา Na Na Na Na
7.6337 Na* Na Na Na
7.6456 99.0343 อูรักลาโวย้ บ้านคลองดาว เกาะลนั ตาใหญ่ เกาะลนั ตา 34 179 84 95
7.5118 114 222 198 420
7.8065 99.0327 อูรักลาโวย้ บา้ นในไร่ ศาลาดา่ น เกาะลันตา 48 308 95 213

7.8037 99.035 อรู กั ลาโว้ย บ้านโตะ๊ บาหลิว ศาลาดา่ น เกาะลนั ตา 23 103 53 50
99.0826 อูรักลาโว้ย บา้ นหัวแหลม เกาะลนั ตา เกาะลันตา
7.8438 98.9764 อูรกั ลาโว้ย เกาะจำ เกาะศรีบอยา เหนือ 10 37 19 18
คลอง
7.8153 98.9711 อรู ักลาโวย้ เกาะมตู ู เกาะศรบี อยา เหนือ 6 36 19 17
คลอง
7.7444 98.961 อรู ักลาโว้ย กลาโหม เกาะศรบี อยา เหนอื 47 182 87 95
คลอง
98.9659 อรู ักลาโว้ย ตงิ ไหล เกาะศรบี อยา เหนือ
คลอง
98.7761 อรู ักลาโวย้ แหลมตง อ่าวนาง เมือง
กระบ่ี

Na* = รวมศาลาด่านหมู่ 1
ทมี่ า : มูลนธิ ิชนเผา่ พืน้ เมอื งเพอื่ การศึกษา นครินทร์ ดา่ รงภคสกลุ ณ เดอื น ตลุ าคม 2562

ชาวพ้ืนเมืองอูรักลาโว้ยซึ่งเป็นชนเผ่าที่ดำรงชีพด้วยการประมงชายฝั่งแบบพื้นบ้านในแถบทะเลอันดามัน
มีประวัติศาสตร์บอกเล่าผ่านบันทึกของนกั ประวัติศาสตร์ตะวันตก และนิทานประจำถิ่นระบุว่า ชาวอูรักลาโว้ย
มีถ่ินฐานอยู่แถบเกาะมะละกา เกาะลังกาวี อูรักลาโว้ยมีความผูกพันอยู่กับทะเล มีเรือเป็นเสมือนเพื่อนรู้ใจ
เรือจึงมีความสำคัญกับชาวอูรักลาโว้ยในอดีตซึ่งเปรียบเสมือนได้กับเป็นบ้านหลังแรกท่ีอยู่อาศัยต้ังแต่
ยคุ ด้ังเดมิ ทพ่ี วกเขานำเรอื ท่องไปตามหม่เู กาะตา่ ง ๆ

ชาวอูรักลาโว้ยมีวิถีชีวิตออกเรือประมงไปตามช่วงเวลามรสุม ประกอบกับไม่นิยมอยู่ร่วมกับกลุ่มคน
ที่มีวัฒนธรรมแตกต่าง จากเดิมชาวอูรักลาโว้ยบนเกาะลันตาท่ีได้รับการสำมะโนประชากรเป็นคนไทยในช่วงปี
พ.ศ.2500 ไดม้ กี ารเคลื่อนย้ายกระจายตวั ชมุ ชนออกไปยังเกาะต่าง ๆ ในแถบทะเลอันดามนั ดงั น้ี

เกาะลันตา จังหวัดกระบี่มีลักษณะทางกายภาพของเกาะลันตาเป็นภูเขาตามแนวยาวอยู่กลางเกาะ
ทำใหพ้ ้ืนทีเ่ กาะแบง่ อกเป็นสองสว่ นตามธรรมชาติ ด้านตะวันออกเรียกว่า “หน้าเกาะ” มีลักษณะเปน็ เว้ิงชาวฝั่ง
ท่ีเป็นหาดเลนตลอดแนวภูเขาและสามารถบังลมคลื่นมรสุมได้ จึงเป็นที่ปักหลักตั้งถิ่นฐานของชาวอูรักลาโว้ย
ตั้งแต่อดีตมาและเป็นที่ตั้งบ้านเรือนเป็นชุมชนตั้งแต่บ้านทุ่งหยีเพ็ง มาจนถึงบ้านสังกาอู้ชาวอูรักลาโว้ยถือเป็น

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวดั กระบี่ ประจำปี 2565

13

กลุ่มคนแรกเร่ิมที่บุกเบิกเกาะลันตา ทำให้เป็นแหล่งต้ังชุมชนเริ่มแรก ต่อมาผู้ท่ีเข้ามาตั้งหลักแหล่งในช่วงหลัง
มีบทบาททางประวัติศาสตร์ การเมือง และการปกครอง รวมถงึ เศรษฐกิจในปจั จบุ ัน

ชุมชนชาวอูรักลาโว้ยบนเกาะศรีบอยาอำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ มีชุมชนของชาวอูรักลาโว้ย
ต้งั ถิ่นฐานอยู่ 5 ชุมชน

ชุมชนชาวอูรักลาโว้ยบนเกาะพีพีอำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบ่ี มีชุมชนของชาวอูรักลาโว้ย
ตง้ั ถิ่นฐานอยู่ 1 ชุมชน บนเกาะพีพตี ำบลอ่าวนาง คือ บ้านแหลมตง

2.4 ด้านสาธารณสุข

ตาราง แสดงจำนวนหนว่ ยบรกิ ารสาธารณสขุ ภาครัฐและภาคเอกชน จังหวัดกระบี่

(หน่วย:แห่ง)

จงั หวดั โรงพยาบาลสงั กัดภาครัฐ (แหง่ ) โรงพยาบาลสงั กดั เอกชน (แหง่ )

รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. อนื่ ๆ

กระบี่ 9 1 8 72 4 3

รวม 9 1 8 72 4 3

ทีม่ า HDC Report กระทรวงสาธารณสขุ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2565

หมายเหต.ุ รพศ.=โรงพยาบาลศนู ย์

รพท. = โรงพยาบาลท่ัวไป

รพ.สต. = โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบล

รพช. = โรงพยาบาลชุมชน อนื่ ๆ

จังหวัดกระบ่ี มีสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ จำนวน 94 แห่ง คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

จำนวน 72 แห่ง โรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 9 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 8 แห่ง และอื่นๆ (หน่วยควบคุม

โรคนำโดยแมลง 4 แห่ง) มโี รงพยาบาลสังกดั เอกชน จำนวน 3 แหง่ ดังตาราง

ตาราง แสดงจำนวนประชากรต่อแพทยจ์ งั หวดั กระบี่ (หน่วย : คน)

จงั หวดั แพทย์ ประชากร ประชากรต่อแพทย์

กระบี่ 109 486,091 1 : 4,460

รวม 109 486,091 1 : 4,460

ทีม่ า : ฐานขอ้ มูลสารสนเทศ กระทรวงสาธารณสุข https://hdcservice.moph.go.th/ ข้อมลู ณ วนั ที่ 31 มีนาคม 2565

จังหวัดกระบี่ มีบุคลากรทางการแพทย์ จำนวน 109 คน โดยจังหวัดกระบ่ีมีประชากรทั้งส้ิน จำนวน 486,091 คน

ดงั นน้ั สัดสว่ นประชากรต่อแพทย์ 1 : 4,460 ดังตาราง

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั กระบ่ี ประจำปี 2565

14

ตาราง แสดงสาเหตุการตาย 5 อนั ดับแรกจากโรคต่างๆ จงั หวัดในเขตพนื้ ที่จงั หวดั กระบี่

(หนว่ ย:คน)

จังหวดั โรคมะเรง็ โรคหลอดเลือด โรคหวั ใจขาด โรคเบาหวาน โรคความดัน

ในสมอง เลอื ด โลหิตสูง

กระบ่ี 64.5 คนตอ่ 34.7 คนตอ่ 24.7 คนตอ่ 9.6 คนต่อ 6.6 คนต่อ

ประชากร ประชากรแสนคน ประชากรแสนคน ประชากรแสนคน ประชากรแสนคน

แสนคน

ท่ีมา : ฐานข้อมูลสารสนเทศ กระทรวงสาธารณสขุ https://hdcservice.moph.go.th/ ข้อมูล ณ วนั ที่ 31 มีนาคม 2565

สำหรับสาเหตุการตายของคนในจังหวัดกระบ่ี 5 อันดับแรก โดยโรคท่ีเป็นสาเหตุการตายมากที่สุด คือ
โรคมะเร็ง มีอัตราการตาย 64.5 คนต่อประชากรแสนคน อันดับ 2 โรคหลอดเลือดในสมอง มีอัตราการตาย
34.7 คนต่อประชากรแสนคน อันดับ 3 โรคหัวใจขาดเลือด มีอัตราการตาย 24.7 คนต่อประชากรแสนคน
อันดับ 4 โรคเบาหวาน มีอัตราการตาย 9.6 คนต่อประชากรแสนคน และลำดับ 5 โรคความดันโลหิตสูง
มีอัตราการตาย 6.6 คนตอ่ ประชากรแสนคน ดงั ตาราง

2.5 ดา้ นการศึกษา
ตาราง แสดงสถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จำแนกรายสังกัด รายจังหวดั ปีการศึกษา 2564

(หน่วย:จำนวน:แหง่ )

จังหวดั รายการสถานศกึ ษา (แห่ง)

ในระบบ นอกระบบ รวม

สพฐ. เอกชน อาชีวศึกษา อุดมศึกษา ทอ้ งถิ่น สำนักพุทธ ฯ กศน.

กระบ่ี 226 47 5 1 12 1 8 300

ทม่ี า : สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ขอ้ มลู ณ วันที่ 31 มนี าคม 2565
จ าก ต ารางแ ส ด งจ ำน ว น ส ถ าน ศึ ก ษ าใน ระ บ บ น อ ก ร ะ บ บ จ ำแ น ก ราย สั งกั ด ราย จั งห วั ด
ปีการศึกษา 2564 พบว่า มีจำนวนสถานศึกษาในเขตพื้นที่จังหวัดกระบี่ ท้ังสิ้น 300 แห่งสถานศึกษาในสังกัด
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) มีจำนวนมากท่ีสุด คือ 226 แห่ง รองลงมา
เป็นสถานศึกษาท่ีสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จำนวน 47 แห่ง สังกัดกรมส่งเสริม
การปกครองท้องถ่ิน จำนวน 12 แห่ง สังกัดสำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
(กศน.) จำนวน 8 แห่ง สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศกึ ษา จำนวน 5 แห่ง สำนกั งานคณะกรรมการอุดมศึกษา
จำนวน 1 แหง่ สงั กดั สำนักพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ จำนวน 1 แห่ง ตามลำดับ

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจังหวัดกระบ่ี ประจำปี 2565

15

ตาราง แสดงจำนวนนักเรยี นนกั ศกึ ษาในระบบ จำแนกตามระดบั ชน้ั ปี พ.ศ. 2564

(หน่วย:คน)

จงั หวดั อนบุ าล ประถม ระดับการศึกษา (คน) ป.ตรี รวม
ม.ต้น ม.ปลาย ปวช. ปวส.

กระบ่ี 26,110 56,832 25,318 12,967 3,361 1,553 936 127,077

ท่มี า : ศนู ย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ข้อมูล ณ วันท่ี 31 มีนาคม 2565

จากตารางแสดงจำนวนนักเรียนนักศึกษาในระบบ จำแนกตามระดับช้ันปีการศึกษา 2564 พบว่า มีจำนวน

นกั เรียน/นักศึกษา ในเขตพ้ืนที่จังหวัดกระบี่ ท้ังสิ้น 127,077 คน ระดับประถมศึกษา มีจำนวนมากที่สุด คือ 56,832 คน

รองลงมา เป็นระดับบอนุบาล จำนวน 26,110 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 25,318 คน ระดับมัธยมศึกษาตอน

ปลาย จำนวน 12,967 คน ระดบั ปวช. 3,361 คน ระดบั ปวส. 1,553 คน และระดับปริญญาตรี 936 คน ตามลำดบั

ตาราง จำนวนผเู้ รยี นนอกระบบโรงเรียน จำแนกตามระดับการศกึ ษา ปีการศึกษา 2560 – 2564

(หน่วย:คน)

จังหวัด ปกี ารศึกษา

2560 2561 2562 2563 2564

กระบี่ 4,882 4,949 4,790 4,740 4,848

รวม 24,290 คน

ทม่ี า : ศนู ยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร ข้อมูล ณ วันที่ 31 มนี าคม 2565

จากตารางแสดงจำนวนผู้เรียนนอกระบบ จำแนกตามระดับการศึกษา ปีการศึกษา 2560 - 2564

พบว่าในปีการศึกษา 2560 - 2564 มีจำนวนผู้เรียนนอกระบบในเขตพื้นท่ีจังหวัดกระบี่ ท้ังสิ้น 24,290 คน

โดยในปีการศึกษา 2561 มีจำนวนผู้เรียนนอกระบบมากที่สุด คือ 4,949 คน รองลงมา ในปีการศึกษา 2560

มีจำนวน 4,882 คน ในปีการศึกษา 2564 จำนวน 4,848 คน ในปีการศึกษา 2562 จำนวน 4,790 คน และ

มจี ำนวนผ้เู รียนนอกระบบน้อยทสี่ ุด คือ ในปีการศกึ ษา 2563 จำนวน 4,740 คน ตามลำดบั

ตาราง จำนวนนกั เรียนออกกลางคันระดับประถมศึกษา - มัธยมศึกษาตอนปลาย สังกดั สำนกั งาน

คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ปีการศกึ ษา 2560 - 2564

(หน่วย:คน)

จงั หวดั ปีการศกึ ษา

2560 2561 2562 2563 2564

รวม 22 23 6 9 3
ท่มี า : ศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ข้อมูล ณ วนั ที่ 31 มีนาคม 2565

จากตารางแสดงจำนวนนักเรียนออกกลางคันระดับประถมศึกษา – มัธยมศึกษาตอนปลาย

สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปีการศึกษา 2560 - 2564 พบว่าในปีการศึกษา 2561

มีจำนวนนักเรียนออกกลางคันมากที่สุด คือ 23 คน รองลงมา ในปีการศึกษา 2560 มีจำนวน 22 คน

ในปีการศึกษา 2563 จำนวน 9 คน ในปีการศึกษา 2562 จำนวน 6 คน และมีจำนวนนักเรียนออกกลางคัน

น้อยทส่ี ดุ คอื ในปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวน 3 คน ตามลำดบั

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดกระบ่ี ประจำปี 2565

16

2.6 ด้านแรงงาน

การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 (COVID-19) ส่งผลต่อสภาวการณ์ด้านแรงงานทำให้แรงงาน
ถูกเลิกจ้าง ท้ังด้านแรงงานภาคการท่องเท่ียวซ่ึงได้รับผลกระทบจากการลดลงของนักท่องเที่ยวต่างชาติและ
การท่องเท่ียวในประเทศ แรงงานในภาคอุตสาหกรรมที่ได้รบั ผลกระทบจากสงครามการค้าต้ังแต่ก่อนโรคโควิด 19
(COVID-19) ระบาดและต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน จากการลดลงของอุปสงค์ท้ังในและต่างประเทศ แรงงานจาก
การจา้ งงานในภาคบริการอ่ืน ๆ ที่ไม่ใชก่ ารท่องเที่ยวได้รับผลกระทบจากมาตรการควบคุมการแพร่ระบาด เช่น
การปิดสถานที่ต่าง ๆ เพื่อยับยั้งการแพร่ระบาดที่มีคนแออัดแนวทางการใช้ SocialDistancing และ
Lock Down ซ่ึงทำให้หลายธุรกิจในสาขาบริการถูกขอให้หยุดกิจการชั่วคราวรวมไปถึงแรงงานนอกระบบ
ซึง่ จะได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง เนอื่ งจากขาดรายไดท้ ่ีมน่ั คงและไม่ได้รับการคุ้มครองทางสงั คม
ตาราง แสดงภาวการณ์มีงานทำของประชากรในจังหวดั กระบี่ ไตรมาส ไตรมาส 1 (มกราคม – มีนาคม 2565)

(หน่วย:คน)

จงั หวดั กำลงั แรงงานในปจั จบุ ัน กำลังแรงงานที่รอฤดูกาล ผู้ไม่อยใู่ นกำลังแรงงาน

ผมู้ งี านทำ ผวู้ า่ งงาน ทำงาน เรยี นหนังสือ อื่นๆ

บา้ น

กระบี่ 214,255 6,400 - 29,835 21,646 27,212

ทม่ี า : สำนกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ ข้อมูล ณ วนั ท่ี 31 มนี าคม 2565

จากตารางแสดงจำน วนสภ าวการณ์ มีงานท ำของป ระชากรใน เขตพื้ น ท่ี จังห วัดกระบ่ี
ไตรมาส 1 (มกราคม – มีนาคม 2565) พบว่า ผู้ที่อยู่ในกำลังแรงงานในปัจจุบัน รวม 220,655 คน แบ่งเป็น
ผู้มีงานทำ 214,255 คน และผู้ว่างงาน 6,400 คน กำลังแรงงานท่ีรอฤดูกาล 0 คน ผู้ที่ไม่อยู่ในกำลังแรงงาน
รวม 78,693 คน แบง่ เปน็ ทำงานบา้ น 29,835 คน เรยี นหนังสอื 21,646 คน และอื่น ๆ 27,212 คน ดังตาราง

ตาราง แสดงจำนวนคนตา่ งดา้ วที่ไดร้ ับอนุญาตทำงานคงเหลอื พ.ศ.2560 - 2564 ของจังหวัดกระบี่

จงั หวัด 2560 2561 256๒ 2563 2564

รวม 20,132 16,993 14,188 11,208 13,439

ทม่ี า : สำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ ข้อมูล ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2564
จากตารางแสดงจำนวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทำงานคงเหลือ พ.ศ.2560 - 2564 ในเขตพ้ืนที่
จังหวัดกระบ่ี พบว่ามีจำนวนคนต่างด้าวท่ีได้รับอนุญาตทำงานคงเหลือมากท่ีสุด คือ จำนวน 20,132 คน
ในพ.ศ. 2560 รองลงมา จำนวน 16,993 คน ในพ.ศ. 2561 จำนวน 14,188 คน พ.ศ. 2562 จำนวน 13,439
คน พ.ศ. 2564 และจำนวน 11,208 คน ในพ.ศ. 2563 ตามลำดับ โดยจังหวัดกระบี่ มีแรงงานต่างด้าว
จำนวน 14,329 คน เป็นสัญชาติเมียนมามากสุด จำนวน 11,486 คน สัญชาติลาว 1,177 คน และสัญชาติ
กมั พูชาน้อยทสี่ ดุ จำนวน 363 ราย และชาตอิ ืน่ ๆ 1,303 คน

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั กระบี่ ประจำปี 2565

17

2.7 ดา้ นที่อยอู่ าศัย (หน่วย:แหง่ :คน)
ตาราง แสดงจำนวนชมุ ชนผู้มรี ายไดน้ อ้ ยของจงั หวดั กระบี่ พ.ศ. 2560

จงั หวัด จำนวน ชุมชนแออดั ชุมชนเมอื ง ชุมชนชานเมือง จำนวน จำนวน จำนวน
ชมุ ชน ชมุ ชน ครัวเรอื น ชมุ ชน ครัวเรอื น ชุมชน ครัวเรอื น บ้าน ครัวเรอื น ประชากร

กระบี่ 2 ๑ 30 1 24 0 0 42 54 216
ทีม่ า : กองยุทธศาสตรแ์ ละสารสนเทศทอ่ี ยู่อาศยั ฝ่ายวชิ าการพัฒนาทอ่ี ยู่อาศัยการเคหะแห่งชาติ ขอ้ มูลณ 31มนี าคม2565

จากตารางแสดงจำนวนชุมชนผู้มีรายได้น้อยในพื้นที่จังหวัดกระบี่ พบว่า จำนวนชุมชน

2 แห่ง ดังนี้ คือ ชุมชนแออัด 1 ชุมชน 30 ครัวเรือน ชุมชนเมือง 1 ชุมชน 24 ครัวเรือน และชุมชนชานเมือง

0 ชมุ ชน 0 ครวั เรือน มีจำนวนบา้ น 42 หลงั คาเรือน มจี ำนวนครัวเรือน 54 ครัวเรือน และมีจำนวนประชากร 216 คน

2.8 ดา้ นเศรษฐกจิ และรายได้

ผลจากการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ซ่ึงส่งผลกระทบในทุกภาคธุรกิจ โดยเฉพาะภาคบริการ
ท่ีเก่ียวเน่ืองกับธุรกิจการท่องเที่ยว ผลจากมาตรการจำกัดการเดินทางเข้าออกระหว่างประเทศ เพ่ือป้องกัน
การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ส่งผลให้นักท่องเท่ียวต่างชาติชะลอการเดินทางเข้ามาในจังหวัดขณะที่
นกั ท่องเท่ยี วไทยมีสญั ญาณปรบั ตวั ดีข้นึ ตอนปลายปี เป็นผลจากการผอ่ นคลายมาตรการปิดเมืองและมาตรการ
กระตุ้นการท่องเท่ียวภายในประเทศของภาครัฐ แต่อย่างไรก็ตามประชาชนยังคงระมัดระวังและชะลอการ
เดินทาง เนื่องจากยังคงกังวลต่อการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ส่งผลให้ภาคบริการในปี 2563 ยังคงหดตัวสูง
การบริโภคภาคเอกชนหดตัวตามกำลังซื้อของภาคครัวเรือนที่ลดลงโดยเฉพาะกำลังซื้อในกลุ่มภาคบริการ
การลงทุนภาคเอกชนหดตัวจากผู้ประกอบการยังไม่มีแผนการลงทุนเพ่ิม เนื่องจากต้องการรักษาสภาพคล่อง
หลังได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 สำหรับการจ้างงานยังคงหดตัวตามการจ้างงาน
ในภาคบรกิ าร เป็นสำคัญ สำหรับเศรษฐกิจใน ปี 2564 คาดวา่ ยังคงหดตัว โดยมีปัจจัยเส่ียง จากการแพร่ระบาดของโรค
COVID-19 ในหลายประเทศ ซง่ึ จะสง่ ผลกระทบในทกุ ภาคธุรกจิ โดยเฉพาะธรุ กจิ การทอ่ งเท่ยี ว”

ผลิตภณั ฑ์มวลรวม
ตาราง แสดงการขยายตัวของผลิตภัณฑม์ วลรวมจงั หวัดกระบ่ี

(หนว่ ย:ร้อยละ)

จังหวดั อตั ราการขยายตัว GPP (ร้อยละ)

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

กระบี่ -0.5 -48.6 -21.2

ท่ีมา: สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ขอ้ มูล ณ 31 มีนาคม 2565

จากข้อมูลแสดงการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดกระบี่ พบว่า การขยายตัวของผลิตภัณฑ์
มวลรวมสูงสุดอยู่ที่ร้อยละ –0.5 ในปี พ.ศ.2562 รองลงมา อยู่ท่ีร้อยละ -21.2 ในปี พ.ศ.2562 และผลิตภัณฑ์
มวลรวมตำ่ ที่สุด อยูท่ ร่ี ้อยละ -48.6 ในปี พ.ศ.2563

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวดั กระบี่ ประจำปี 2565

18

ตาราง แสดงผลติ ภณั ฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP per capita) ปี 2564

จังหวัด บาทต่อปี

กระบ่ี 81,556

ที่มา: ผลติ ภณั ฑ์ภาคและจังหวัด แบบปริมาณลกู โซ่ ฉบับ พ.ศ. 2564 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ
และสังคมแห่งชาติ

จากข้อมูลแสดงผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP per capita) ในเขตพื้นที่จังหวัดกระบี่ในปี พ.ศ.2564
พบว่า ผลติ ภัณฑจ์ ังหวดั ต่อหัว อย่ทู ี่ 81,556 บาทตอ่ ปี

ตาราง แสดงรายได้โดยเฉลย่ี ตอ่ เดือนต่อครัวเรอื นของจงั หวัดกระบี่ พ.ศ.2560 –2564

(หน่วย:บาท)

จงั หวดั 2560 2562 2564

กระบ่ี 34,052.87 28,521.96 21,659.44

ทม่ี า สำนักงานสถติ ิแหง่ ชาติ

จากข้อมูลแสดงรายได้โดยเฉล่ียต่อเดือนต่อครัวเรือนของจังหวัดกระบ่ี ปี พ.ศ.2560–2564

มีรายได้โดยเฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือนสูงที่สุด คือ ปี 2560 เฉลี่ย 34,052.87 บาท รองลงมา ปี 2562

เฉล่ีย 28,521.96 บาท และปี 2564 เฉล่ยี 21,659.44 บาท ตามลำดับ

ตาราง แสดงหน้สี นิ เฉลีย่ ต่อครัวเรือน จำแนกตามวัตถปุ ระสงค์ของการกูย้ มื พ.ศ. 2560 –2564

(หน่วย:บาท)

จงั หวัด วตั ถปุ ระสงค์ของการกยู้ ืม ๒๕๖๐ ๒๕๖๒ ๒๕๖๔

กระบ่ี หนส้ี นิ ท้งั สน้ิ 289,237.36 216,585.68 373,325.2

เพ่อื ใช้จา่ ยในครัวเรือน 158,934.51 104,561.32 166,529.6

เพอื่ ใช้ทำธุรกจิ ท่ีไมใ่ ช่ 70,105.53 20,928.67 85,333.6

การเกษตร

เพอ่ื ใช้ทำการเกษตร 19,111.74 41,809.52 25,180.8

เพอ่ื ใชใ้ นการศึกษา 5,312.58 2,889.09 6,812.5

เพอ่ื ใช้ซอื้ /เช่าซื้อบ้านและทีด่ ิน 35,759.23 46,163.51 89,468.6

อนื่ ๆ 13.79 233.57 -

ท่มี า สำนกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ

หมายเหต:ุ หนี้อ่ืนๆ ไดแ้ ก่ หน้ีจากการค้ำประกนั บคุ คลอ่ืน หนี้คา่ ปรบั หรอื จ่ายชดเชยคา่ เสยี หายเป็นตน้

จากตารางแสดงหนี้สินเฉล่ียต่อครัวเรือนจำแนกตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืมของจังหวัดกระบ่ี
พ.ศ.2560 - 2564 พบว่าในปี 2564 มีหนี้สินเฉล่ียต่อครัวเรือนจำแนกตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืม
สูงที่สุด โดยวัตถุประสงค์ของการกู้ยืม 3 อันดับแรก คือ 1. เพ่ือใช้จ่ายในครัวเรือน 2. เพื่อใช้ซื้อ/เช่าซ้ือบ้าน
และทดี่ ิน และ 3. เพอ่ื ใชท้ ำธุรกจิ ที่ไมใ่ ชก่ ารเกษตร

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวดั กระบ่ี ประจำปี 2565

19

2.9 ดา้ นภาคีเครอื ขา่ ย

ตาราง แสดงจำนวนองค์กรภาคเี ครือขา่ ย (หน่วย : แหง่ )
องค์กร
จำนวน

องค์กรสาธารณประโยชน์ ตาม พ.ร.บ. 24 แหง่
ส่งเสริมการจดั สวสั ดกิ ารสังคม

องค์กรสวัสดกิ ารชุมชน ตาม พ.ร.บ. 36 แหง่
สง่ เสริมการจัดสวัสดิการสงั คม

กองทนุ สวสั ดกิ ารสงั คม 1 แห่ง

สภาเด็กและเยาวชน 1 แห่ง

สภาองค์กรคนพิการ 12 แหง่

ศนู ย์บริการคนพิการท่ัวไป 18 แหง่

ศนู ย์พฒั นาคุณภาพชวี ิต และส่งเสริม 17 แห่ง
อาชพี ของผสู้ ูงอายุ (ศพอส.)

ศูนย์พัฒนาครอบครวั ในชมุ ชน (ศพค.) 58 แหง่

ศูนยช์ ่วยเหลือสังคมตำบล (ศชส.ต.) 41 แหง่

อาสาสมคั รพฒั นาสงั คมและความม่นั คง 1,209 คน
ของมนษุ ย์ (อพม.)

ข้อมูลคลงั ปญั ญาผสู้ งู อายุ 52 คน

ท่มี า สำนักงานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวดั ขอ้ มูล ณ วันท่ี 31 มนี าคม 2565

จากตารางแสดงจำนวนองค์กรภาคีเครือข่ายในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบสำนักงานพัฒนาสังคมและ

ความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดกระบ่ี ประกอบด้วย องค์กรสาธารณประโยชน์ มีจำนวน 24 องค์กร

องค์กรสวัสดิการชุมชนมีจำนวน 36 องค์กร กองทุนสวัสดิการสังคม มีจำนวน 1 แห่งสภาเด็กและเยาวชน

มีจำนวน 1 แห่ง สภาองค์กรคนพิการ มีจำนวน 12 องค์กร ศูนย์บริการคนพิการท่ัวไป 18 แห่ง ศูนย์พัฒนา

คุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (ศพอส.) มีจำนวน 16 ศูนย์ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.)

มีจำนวน 58 แห่ง และศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล (ศชส.ต.) 41 แห่ง อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคง

ของมนษุ ย์ (อพม.) มีจำนวน 1,209 คน และขอ้ มูลคลังปัญญาผู้สูงอายุ จำนวน 52 คน ตามตารางข้างต้น

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั กระบ่ี ประจำปี 2565

20

สว่ นที่ 3

สถานการณก์ ลุม่ เปา้ หมายทางสังคมระดับจังหวัด
3.1 กลุ่มเด็ก (อายตุ ่ำกวา่ 18 ปี บริบูรณ์)
ตาราง แสดงสถานการณเ์ ดก็ จังหวดั กระบ่ี

(หน่วย:คน)

จงั หวัด จำนวน (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)

กระบี่ กลุ่มเป้า เด็กท่ีไดร้ ับ *เดก็ ท่มี ี เดก็ ทถี่ กู เดก็ ทอี่ ยู่ เดก็ ท่ี ** ***เดก็ ไร้

หมาย เงนิ อดุ หนนุ พฤติกรรม ทารุณกรรม ในครอบ ตั้งครรภ์ เด็กนอก สญั ชาติ

ทั้งหมด เพอ่ื การเลย้ี ง ไม่ ทางรา่ งกาย ครัวเล้ยี ง กอ่ นวัย ระบบ

ดเู ด็กแรกเกิด เหมาะสม จติ ใจและทาง เดี่ยว อนั ควร

เพศท่ีมกี าร

ดำเนินคดี

รวม 125,511 27,039 336 12 487 604 95 254

จากตารางแสดงสถานการณ์เด็ก จังหวัดกระบี่ จำนวน 125,511 คน ประกอบด้วย โดยเด็กทไี่ ด้รบั เงิน

อุดหนุนเพ่ือการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด จำนวน 27,039 คน เด็กที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม จำนวน 336 คน

เดก็ ท่ีถูกทารุณกรรมทางรา่ งกาย จิตใจและทางเพศทมี่ ีการดำเนินคดี จำนวน 12 คน เด็กทอ่ี ยู่ในครอบครัวเล้ียงเดี่ยว

จำนวน 487 คน เด็กท่ีต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควร จำนวน 604 คน เด็กนอกระบบ จำนวน 95 คน และเด็กไร้สัญชาติ

จำนวน 254 คน ดงั ตาราง

หมายเหตุ *เด็กที่มีพฤตกิ รรมไม่เหมาะสม หมายถึง
1) ดม่ื เครื่องดื่มทม่ี ีแอลกอฮอล์ สูบบหุ รแี่ ละตดิ สารเสพตดิ ร้ายแรง เชน่ ยาบ้า ยาอี สารระเหย

กัญชา เปน็ ตน้
2) มว่ั สมุ และทาํ ความรำคาญใหก้ บั ชาวบ้าน
3) ติดเกมส์ และเลน่ การพนนั ตา่ ง ๆ
4) มพี ฤตกิ รรมทางเพศ

**เด็กนอกระบบ หมายถึง เด็กที่มีอายุอยู่ในช่วงท่ีต้องเข้าเรียนในสถานศึกษา แต่ไม่มีโอกาสเข้า
เรยี นหรอื เคยเขา้ เรียนแลว้ มเี หตตุ อ้ งออกจากสถานศกึ ษาไปกลางคนั และไม่ได้กลบั เขา้ มาเรยี นอกี (UNESCO, 2019)

***เด็กไร้สัญชาติ หมายถึง เด็กที่ไม่มีสัญชาติใดเลย (ไม่ว่าจะเป็นสัญชาติไทยหรือสัญชาติรัฐใดๆ)
แต่อาจได้รับการระบุตัวตนทางกฎหมายในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เช่น ได้รับการจดทะเบียนการเกิด ได้ข้ึน
ทะเบียนเปน็ บุคคลไร้สญั ชาตใิ นกลมุ่ ต่าง ๆ

แหล่งที่มาของข้อมูล ณ วนั ที่ 25 กรกฎาคม 2565
(1) เด็กทไ่ี ด้รบั เงนิ อดุ หนนุ เพื่อการเล้ียงดเู ดก็ แรกเกดิ ข้อมูลจากสำนักงานพฒั นาสังคมและ

ความมนั่ คงของมนุษย์จังหวดั .

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวัดกระบ่ี ประจำปี 2565

21

(2) เด็กที่มพี ฤตกิ รรมไม่เหมาะสม ข้อมลู จากสำนักงานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์จังหวัด .
(3) เด็กที่ถูกทารณุ กรรมทางร่างกายจิตใจและทางเพศท่ีมีการดำเนินคดี ข้อมูลจากสำนักงาน
พัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์จังหวัด .
(4) เด็กทอ่ี ยใู่ นครอบครัวเลี้ยงเด่ียว ข้อมูลจากสำนกั งานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
. (5) เดก็ ทีต่ ้งั ครรภ์กอ่ นวัยอนั ควรและไม่พรอ้ มในการเลี้ยงดู ท่มี าจากสำนกั งานสาธารณสุขจังหวัด
(6) เด็กนอกระบบ ข้อมลู จากสำนักงานสำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัด

(7) เดก็ ไรส้ ัญชาติ ขอ้ มูลจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

3.2 กลุ่มเยาวชน (อายุ 18-25 ปี)
ตาราง แสดงสถานการณเ์ ยาวชนจงั หวดั กระบ่ี

(หนว่ ย:คน)

จังหวัดกระบ่ี จำนวนกลมุ่ เปา้ หมาย (๑) (๒)
รวม ทั้งหมด **เยาวชนที่มีพฤติกรรม เยาวชนทีถ่ ูกทารุณกรรม
ทางร่างกายจติ ใจและทาง
53,447 ไม่เหมาะสม
เพศ
336 13

หมายเหตุ *เยาวชนทมี่ ีพฤติกรรมไมเ่ หมาะสม หมายถึง
1) ด่ืมเคร่ืองดื่มท่มี ีแอลกอฮอล์ สบู บหุ รีแ่ ละติดสารเสพตดิ ร้ายแรง เชน่ ยาบ้า ยาอี สารระเหย

กัญชา เป็นต้น
2) มั่วสุมและทาํ ความรำคาญให้กับชาวบ้าน
3) ติดเกมส์ และเล่นการพนนั ต่าง ๆ
4) มีพฤติกรรมทางเพศ

แหล่งที่มาของข้อมลู ณ วนั ที่ 31 มนี าคม 2565
(1) เยาวชนท่มี ีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ข้อมูลจากสำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจ์ ังหวดั

(2) เยาวชนที่ถูกทารุณกรรมทางรา่ งกายจิตใจและทางเพศ ข้อมูลจากสำนักงานพัฒนาสังคม

และความมน่ั คงของมนุษยจ์ งั หวดั

จากตารางแสดงสถานการณ์เยาวชน จังหวัดกระบ่ี จำนวนกลุ่มเป้าหมายท้ังหมด 53,447 คน โดยมี

เยาวชนที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม จำนวน 336 คน เยาวชนที่ถูกทารุณกรรมทางร่างกายและทางเพศ

จำนวน 13 คน ดังตาราง

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวดั กระบ่ี ประจำปี 2565

22

3.3 กลมุ่ สตรี (หญงิ ทมี่ อี ายุ 25 ปี – 59 ปี)
ตาราง แสดงสถานการณก์ ลมุ่ สตรี จงั หวดั กระบี่

จังหวัดกระบ่ี จำนวน (๑) (๒) (๓) (หนว่ ย:คน)
รวม แมเ่ ล้ยี งเดี่ยว (๔)
กลุ่มเป้าหมาย สตรที ี่ถูกละเมดิ ทางเพศ สตรีทถ่ี ูกทํา ฐานะยากจน สตรที ถี่ กู เลกิ
จา้ ง/ตกงาน
ท้ังหมด รา้ ยร่างกาย 487
2,068
จติ ใจ

146,088 0 33

หมายเหตุ แหล่งที่มาของข้อมูล ณ วนั ที่ 31 มีนาคม 2565
(1) สตรีท่ถี กู ละเมดิ ทางเพศ ที่มาจากสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
(2) สตรีทถี่ กู ทำร้ายรา่ งกาย จติ ใจ ที่มาจากสำนักงานพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์จงั หวดั
(3) แม่เลี้ยงเดย่ี วฐานะยากจนทีต่ ้องเลยี้ งดูบุตรเพียงลำพัง ท่มี าจากสำนักงานพัฒนาสังคมและ

ความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั
(4) สตรที ีถ่ กู เลิกจ้าง/ตกงาน ที่มาจากสำนักงานจดั หางานจังหวัด

จากตารางแสดงสถานการณ์กลุม่ สตรี จังหวัดกระบ่ี จำนวนกลุ่มเป้าทั้งหมด 146,088 คน โดยมีสตรีท่ี
ถูกทำร้ายร่างกาย จิตใจ จำนวน 33 คน แม่เลี้ยงเดี่ยวที่มีฐานะยากจน จำนวน 487 คน สตรีท่ีถูกเลิกจ้าง/ตกงาน
จำนวน 2,068 คน และไมม่ สี ตรที ีถ่ ูกละเมดิ ทางเพศ ดงั ตาราง

3.4 กลุ่มครอบครัว
ตาราง แสดงสถานการณก์ ลุ่มครอบครวั จังหวดั กระบี่

(หนว่ ย:ครอบครัว)

จงั หวัด จำนวน (1) (2) (3) (4)

กระบี่ กลมุ่ เปา้ หมาย ครอบครัวที่ ครอบครัวหย่ารา้ ง ครอบครัวท่ีมีคนใน ครอบครวั

ทัง้ หมด จดทะเบยี น ครอบครวั กระทำ ยากจน

สมรส ความรุนแรงต่อกนั

รวม 75,714 2,196 854 38 11,566

หมายเหตุ แหล่งทม่ี าของข้อมูล ณ วันท่ี 31 มนี าคม 2565
(1) ครอบครวั ท่จี ดทะเบยี นสมรส ท่ีมาจากกรมการปกครอง
(2) ครอบครัวหย่าร้าง ท่มี าจากกรมการปกครอง
(3) ครอบครัวท่ีมีคนในครอบครัวกระทำความรุนแรงต่อกัน ที่มาจากสำนักงานพัฒนาสังคมและ

ความมั่นคงของมนุษย์จงั หวดั
(4) ครอบครวั ยากจน ทมี่ าจากสำนักงานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ งั หวดั

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวัดกระบี่ ประจำปี 2565

23

จาก ต ารางแ ส ด งส ถ าน ก ารณ์ ก ลุ่ ม ค รอ บ ค รัว จังห วัด ก ระบี่ จั งห วัด ก ระบ่ี มี ค รอ บ ค รัว
ทั้งส้ิน 75,714 ครอบครัว เป็นครอบครัวท่ีจดทะเบียนสมรส 2,196 ครอบครัว ครอบครัวหย่าร้าง 854
ครอบครัว ครอบครัวที่มีคนในครอบครัวกระทำความรุนแรงต่อกัน 38 ครอบครัว และมีครอบครัวยากจน
11,566 ครอบครัว ดงั ตาราง

3.5 กลุ่มผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปขี น้ึ ไป)
ตาราง แสดงสถานการณ์ผสู้ ูงอายุ จังหวดั กระบี่

(หน่วย:คน)

(1) (2) (3) (4) (5)

ผ้สู ูงอายุท่ี ผูส้ งู อายจุ ำแนกตามความสามารถ ผู้สงู อายุท่ี ผูส้ งู อายุ ผสู้ ูงอายุ

จังหวัด จำนวน ได้รับเบ้ีย ในการทำกิจวัตรประจำวนั (ADL) ตอ้ งดำรง มที ่ีอยู่ ท่ีบรจิ าค
กระบี่ กลุ่มเปา้ หมาย ยงั ชีพ ตดิ บา้ น ตดิ สงั คม ชว่ ยเหลือ ชพี ด้วย อาศยั ไม่ เบ้ียยงั ชีพ

ท้ังหมด ตวั เองไมไ่ ด้ การ เหมาะสม

(ติดเตยี ง) เร่ร่อน

ขอทาน

รวม 69,587 43,309 1,038 55,008 494 5 1,235 1

หมายเหตุ แหล่งทม่ี าของขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 31 มีนาคม 2565
(1) ผู้สูงอายุท่ีไดร้ ับเบ้ยี ยังชพี ท่มี าจากสำนักงานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวดั
(2) ผู้สูงอายจุ ำแนกตามความสามารถในการทำกิจวตั รประจำวัน (ADL) ทม่ี าจากสำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั
(3) ผ้สู ูงอายทุ ต่ี ้องดำรงชีพด้วยการเรร่ ่อน ขอทานท่ีมาจากสำนักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวดั
(4) ผสู้ ูงอายุมที ี่อยอู่ าศัยไมเ่ หมาะสม ท่ีมาจากสำนักงานพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ยจ์ ังหวัด
(5) ผสู้ งู อายุทบ่ี ริจาคเบี้ยยงั ชีพ ทม่ี าจากสำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจ์ งั หวัด
จากตารางแสดงสถานการณ์ผู้สูงอายุจังหวัดกระบ่ี โดยมีผู้สูงอายุ ท้ังหมด 69,587 คน มีผู้สูงอายุท่ี

ได้รับเบี้ยยังชีพ จำนวน 43,309 คน มีผู้สูงอายุที่จำแนกตามความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (ADL)
โดยแบ่งเป็น ผู้สูงอายุติดบ้าน จำนวน 1,038 คน ผู้สูงอายุติดสังคม จำนวน 55,008 คน และผู้สูงอายุที่
ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ (ติดเตียง) จำนวน 494 คน ดังตาราง ผู้สูงอายุท่ีต้องดำรงชีพด้วยการเร่ร่อน ขอทาน
จำนวน 5 คน ผ้สู งู อายุมที ี่อยอู่ าศยั ไม่เหมาะสม จำนวน 1,235 คน ดงั ตาราง

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวดั กระบี่ ประจำปี 2565

24

3.6 กลุ่มคนพกิ าร
ตาราง แสดงสถานการณ์คนพกิ ารจงั หวดั กระบ่ี

(หนว่ ย:คน)

จังหวดั กระบ่ี จำนวน คนพกิ ารทีม่ บี ตั ร คนพกิ ารที่ได้รบั เบยี้ ยงั ชีพ

ประจำตัวคนพิการ เบ้ียยงั ชีพ เบย้ี ยงั ชีพ

คนพกิ าร ผู้สงู อายุ

รวม 10,763 10,763 10,763 No data

ทีม่ า ข้อมลู จากศูนย์บรกิ ารคนพกิ ารจังหวัด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2565

จากตารางแสดงสถานการณ์คนพิการ จังหวัดกระบ่ี จังหวัดกระบ่ีมีคนพิการจำนวน 10,763 คน

โดยมีคนพิการที่มีบัตรประจำตัวคนพิการ จำนวน 10,763 คน โดยคนพิการที่ได้รับเบี้ยยังชีพคนพิการ

จำนวน 10,763 คน ดังตาราง

ตาราง แสดงจำนวนคนพิการจำแนกตามสาเหตคุ วามพิการ จังหวัดกระบี่

(หน่วย:คน)

จงั หวัด สาเหตุความพกิ าร รวม

พันธกุ รรม โรคติด อุบัติเหตุ โรคอื่น ไม่ทราบ มากกวา่
เช้อื ๆ สาเหตุ 1 สาเหตุ

รวม 180 433 1,943 3,030 3,399 1,778 10,763

ที่มา ข้อมลู จากศูนย์บรกิ ารคนพิการจงั หวัด ณ วันท่ี 31 มีนาคม 2565
จากตารางแสดงจำนวนคนพิการในจังหวัดกระบ่ี รวมท้ังส้ิน 10,763 คน โดยจำแนกตามสาเหตุ
ความพิการ ดังน้ี พิการจากพันธุกรรม จำนวน 180 คน พิการจากโรคติดเชื้อ จำนวน 433 คน พิการจาก
อุบัติเหตุ จำนวน 1,943 คน โรคอื่นๆ จำนวน 3,030 คน พิการโดยไม่ทราบสาเหตุ จำนวน 3,399 คน และ
มากกวา่ 1 สาเหตุ จำนวน 1,778 คน ดงั ตาราง

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจังหวัดกระบ่ี ประจำปี 2565

25

ตาราง แสดงจำนวนคนพิการจำแนกตามประเภทความพิการ จงั หวดั กระบี่

(หน่วย:คน)

จังหวดั ความพิการ

พกิ าร พกิ ารทางการ พิการ พิการทาง พิการทาง พิการ ออทิสตกิ พิการ

ทางการ ได้ยนิ หรอื ทางการ จิตใจหรือ สตปิ ญั ญา ทางกา มากกวา่

เห็น สอ่ื เคลอ่ื นไหว พฤตกิ รรม รเรียนรู้ 1

ความหมาย หรือ ประเภท

ทางร่างกาย

รวม 690 1,682 5,449 684 783 92 72 1,311

ที่มา ข้อมลู จากศูนย์บริการคนพิการจงั หวดั ณ วนั ที่ 31 มีนาคม 2565

จากตารางแสดงจำนวนคนพิการโดยจำแนกตามประเภทความพิการได้ดังน้ี ประเภทความพิการท่ีพบ

มาทสี่ ุด คอื พิการทางการเคลอื่ นไหวหรอื ทางร่างกาย จำนวน 5,449 คน รองลงมาคือ พิการทางการได้ยินหรือ

ส่ือความหมาย จำนวน 1,682 คน พิการทางสติปัญญา จำนวน 783 คน พิการทางการเห็น จำนวน 690 คน

พิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม จำนวน 684 คน ตามลำดับ และมีคนพิการที่มีความพิการมากกว่า 1 ประเภท

จำนวน 1,311 คน ดงั ตาราง

3.7 กลุ่มผดู้ ้อยโอกาส
ตาราง แสดงสถานการณก์ ลุ่มผู้ด้อยโอกาส จงั หวดั กระบ่ี

(หนว่ ย:คน)

จังหวดั กระบี่ คนยากจน คนเร่ร่อน/ไรท้ ่ีอยู่อาศยั ไม่มสี ถานะทาง ผู้พน้ โทษ ผตู้ ิดเชอ้ื HIV
รวม 7 13
ทะเบียนราษฎร

11,566 39 11

ท่มี าขอ้ มลู จากสำนกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จังหวดั กระบี่ ณ วนั ที่ 31 มนี าคม 2565

หมายเหตุ นิยาม ผู้ด้อยโอกาส หมายถึง ผู้ที่ประสบปัญหาความเดือดร้อน และได้รับผลกระทบ
ในด้านเศรษฐกิจสังคม การศึกษา สาธารณสุข การเมือง กฎหมาย วัฒนธรรม ภัยธรรมชาติและภัยสงคราม
รวมถึงผู้ท่ีขาดโอกาสที่จะเข้าถึงบริการข้ันพ้ืนฐานของรัฐ ตลอดจนผู้ประสบปัญหาท่ียังไม่มีองค์กรหลัก
รับผิดชอบอันจะส่งผลให้ไม่สามารถดำรงชีวิตได้เท่าเทียมกับผู้อื่น” โดย กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ (พม.)

จังหวัดกระบี่ มีการดำเนินงานด้านการคุ้มครองคนไร้ท่ีพึ่ง ในจังหวัด โดยผลการดำเนินการประจำปี
2564 - ปัจจุบัน ตามพระราชบัญญัติการคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ.2557 กำหนดให้ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พ่ึง
มีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินมาตรการเชิงรุกในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบเพ่ือป้องกันไม่ให้ประชาชนกลุ่มเส่ียงหรือ
บุคคลท่ีอยู่ในสภาวะยากลำบากเข้าสู่วิถีการเป็นคนไร้ที่พ่ึง และให้การคุ้มครองคนไร้ท่ีพึ่งตามที่สถานคุ้มครอง
คนไรท้ ี่พงึ่ มอบหมายหรือตามทศี่ ูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พง่ึ เห็นสมควร

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั กระบ่ี ประจำปี 2565

26

สถิติการใหบ้ รกิ ารคุ้มครองคนไรท้ พี่ ่ึงของศนู ย์คุ้มครองคนไร้ท่พี ึ่งจงั หวดั กระบี่

๑. จำแนกตามปีงบประมาณ

-ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 จำนวน 155 ราย

-ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 - ปัจจุบนั จำนวน 65 ราย

๒. จำแนกตามประเภท

-ผูร้ บั บริการภายนอก จำนวน 213 ราย

-ผู้รบั บรกิ ารภายใน (เขา้ พัก ศคพ.กระบ)่ี จำนวน 7 ราย

๓. จำแนกตามเพศ

- เพศชาย จำนวน 90 ราย

-เพศหญงิ จำนวน 130 ราย

๔. จำแนกตามชว่ งอายุ

-อายทุ ต่ี ่ำกว่า 18 ปี จำนวน 1 ราย

-ช่วงอายุ 18 ปี – 25 ปี จำนวน 29 ราย

-ช่วงอายุ 26 ปี - 59 ปี จำนวน 150 ราย

-ช่วงอายุ 60 ปีขนึ้ ไป จำนวน 32 ราย

-ไมร่ ะบอุ ายุ จำนวน 8 ราย

๕. จำแนกตามชอ่ งทางให้บริการ

- มาด้วยตนเอง (Walk In) จำนวน 3 ราย

- แจ้งจากหน่วยงานในสังกดั พม. จำนวน 21 ราย

- แจ้งจากช่องทางอ่นื ๆ

(โรงพยาบาล/ตำรวจ//ภาคีเครอื ขา่ ย/สายด่วน1300/สอื่ ออนไลน์)

จำนวน 196 ราย

จำแนกตามปัญหาและการใหค้ วามช่วยเหลือ

- ปญั หาทีพ่ บ

1) ปญั หาเรร่ อ่ น/ไมม่ ีทีอ่ ยู่อาศัย จำนวน 42 ราย

2) ปญั หารายไดไ้ ม่เพียงพอ จำนวน 87 ราย

3) ปญั หาการว่างงาน จำนวน 39 ราย

4) ปญั หาตอ้ งการกลบั ภมู ลิ ำเนา จำนวน 17 ราย

5) ปัญหาคนจิตเวชสิ้นสุดการรกั ษา จำนวน 28 ราย

6) ปัญหาอ่ืนๆ (เมาสรุ า/ความรุนแรงในครอบครัว/ไม่ขอรับบริการ)

จำนวน 18 ราย

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวดั กระบ่ี ประจำปี 2565

27

- การให้ความช่วยเหลือ

1) สง่ กลบั ภมู ลิ ำเนา จำนวน 29 ราย

2) ให้คำปรกึ ษาโดยนกั สังคมสงเคราะห์ จำนวน 103 ราย

3)มอบเงินสงเคราะหค์ รอบครวั ผมู้ รี ายได้นอ้ ยและไรท้ ี่พง่ึ จำนวน 55 ราย

4) ส่งสถานคุ้มครองตามกฎหมายคมุ้ ครองเฉพาะ จำนวน13ราย

5) ให้การชว่ ยเหลืออื่นๆ (เยีย่ มบ้าน/ตดิ ตามหาญาต/ิ ไมร่ ับการช่วยเหลือ)

จำนวน20ราย

สถิตกิ ารให้บริการคุ้มครองคนไรท้ ีพ่ ่ึงในจังหวัดกระบี่ 2562 2563 2564

จำนวนกลุ่มเปา้ หมายท่ีไดร้ ับการคุ้มครอง 53 91 155

ผใู้ ชบ้ ริการ ภายนอก 84 84 152
ภายใน 773

ด้วยตนเอง 992

หน่วยงานในสังกัด พม. 15 15 13

ส่งผา่ นหนว่ ยงาน/ชอ่ งทางอื่นๆ 38 67 140

-โรงพยาบาล 9 10 7

ช่องทางการรบั เร่อื ง -ตำรวจ 555

-ศนู ย์ดำรงธรรม 4 10 3

-สายดว่ น 1300 2 5 105

-สอ่ื ออนไลน์ 1 14 4

-ภาคเี ครอื ขา่ ย 17 23 16

ชาย 30 40 66
เพศ 23 51 89

หญงิ

อายุ ตำ่ กวา่ 18 ปี 250

18 – 25 2 5 18

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวดั กระบ่ี ประจำปี 2565

28

26 – 59 34 60 114

60 ปีข้ึนไป 15 21 20

ไม่สามารถระบุอายุได้ 3

เรร่ อ่ น/ไม่มที ีอ่ ยูอ่ าศยั 27 16 24

รายได้ไม่เพียงพอ - 28 60

ว่างงาน/ตกงาน/ไม่มีงานทำ - 11 32

ประเด็นปญั หา ต้องการกลบั ภูมิลำเนา - 14 12

ผูป้ ่วยจิตเวชสิน้ สุดการรักษา 15 11 21

อ่ืนๆ(ตามหาญาติ/ความรนุ แรง/ 11 11 15
เม า สุ ร า /ไม่ มี ส ถ า น ะ ท า ง
ทะเบียนราษฎร)์

สง่ กลับครอบครวั /ชมุ ชน 14 23 22

ให้ ค ำป รึ ก ษ าโด ยนั ก สั งค ม 7 27 68

สงเคราะห์

การให้ ความช่วยเหลือและ เงนิ สงเคราะหค์ รอบครัวฯ 5 20 48
ประสานส่งต่อ

ประสานส่งต่อสถานคุ้มครอง 18 7 9

ตามกฎหมายเฉพาะ

ปฏเิ สธการช่วยเหลือ 9 14 8

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวดั กระบี่ ประจำปี 2565

29

สถิตกิ ารให้บริการคมุ้ ครองคนไร้ท่พี ่งึ ในจงั หวดั กระบี่
ระหวา่ งปี พ.ศ.2562 - 2564

27

20 19 21

14 12 1101 11 13 14 11
10
758 10
5 5 35 13 5 6 6 34 5 4
3 2
2

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

2562 2563 2564

จากสถิติผู้ใช้บริการต้ังแต่ปี 2562 – 2564 มีคนไร้ท่ีพ่ึงได้รับบริการจำนวนรวม
299 ราย เฉล่ียปีละ 100 ราย โดยมีผู้รับบริการจำนวนมากท่ีสดุ ชว่ งเดอื นเมษายน พ.ศ.2563 จำนวน 27 ราย แยกเป็น
ค น ไร้ท่ี พ่ึ งเพ ศ ช า ย จ ำน ว น 136 ร า ย ค น ไร้ ที่ พ่ึ งเพ ศ ห ญิ ง 163 ร าย ห รื อ สั ด ส่ ว น 45 : 55
ช่วงอายุที่พบมากท่ีสุดคือ อายุระหว่าง 26 – 59 ปี จำนวน 208 ราย รองลงมาคืออายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 56 ราย
สภาพปัญหาท่ีเข้ารับบริการพบมากที่สุด คือ รายได้ไม่เพียงพอในการครองชีพ รองลงมาคือไม่มีที่อยู่อาศัย
ใชช้ วี ติ เรร่ อ่ นอาศยั หลับนอนในพ้นื ที่สาธารณะ

การดำเนินการให้ความช่วยเหลือและประสานส่งต่อ ระหว่างปี 2562 – 2564
ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พ่ึงจังหวัดกระบ่ี ให้ความสำคัญกับการให้ความช่วยเหลือคนไร้ท่ีพึ่งกลับคืนสู่ครอบครัว/
ชุมชนมากกว่าการส่งเข้าสถานคุ้มครองคนไร้ที่พ่ึงหรือหน่วยงานตามกฎหมายเฉพาะ จะเห็นได้จากดำเนินการ
ช่วยเหลือส่งกลับครอบครัวและส่งกลับภูมิลำเนา จำนวน 59 ราย คิดเป็นร้อยละ 63.44 ซ่ึงมากกว่าการ
ส่งเข้ารับการคุ้มครองสวัสดิภาพ ภายในสถานคุ้มครองคนไร้ท่ีพ่ึงและหน่วยงานตามกฎหมายเฉพาะ จำนวน 34 ราย
คิดเป็นร้อยละ 36.56 จากการดำเนินการให้ความช่วยเหลือคนไร้ที่พ่ึงพบว่า คนไร้ทพ่ี ่ึงท่ีพบในพ้ืนทปี่ ฏิเสธการ
ช่วยเหลือ จำนวน 31 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.37 ซึ่งตามพระราชบัญญัติการคุ้มครองคนไร้ที่พ่ึง พ.ศ. 2557
คนไร้ที่พึ่งสามารถปฏิเสธการช่วยเหลือได้ เพราะต้องยึดหลักความสมัครใจและยินยอมให้การช่วยเหลือจึงไม่
สามารถบังคับใหเ้ ข้ารบั การคมุ้ ครองได้

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดกระบี่ ประจำปี 2565

30

3.1.2 ผลการดำเนินงานโครงการสรา้ งเสริมสวัสดิการสังคม ประจำปีงบประมาณ
๒๕๖๔ – ปจั จบุ นั

ศูนย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพึ่งจังหวัดกระบี่ มีบทบาทขับเคล่ือนภารกิจเก่ียวกับการ
พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคม การพัฒนาสังคม การสังคมสงเคราะห์ รวมถึงให้การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิ
ให้บริการสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมาย ในระดับพื้นท่ี โดยกองคุ้มครองสวัสดิภาพและเสริมสร้างคุณภาพ
ชีวิต ได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสวัสดิการสังคม และมอบหมายให้ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดทุกแห่ง
ขับเคล่ือนโครงการในระดับพ้ืนท่ี เพ่ือขับเคลื่อนการดำเนินงานช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง ครอบครัวยากจน
ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-๑๙ (COVIC-19) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถพ่ึงพาตนเองได้ และ
อยู่ในสังคมได้อย่างปกติ มีกลไกในการเคลื่อนงานพัฒนาชีวิตกลุ่มเป้าหมาย บูรณาการการทำงานร่วมกับภาคี
เครือข่าย เพือ่ ให้ทุกภาคสว่ นรว่ มในการแก้ไขปัญหารว่ มกันมงุ่ สู่การเป็นสงั คมสวัสดกิ าร

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ดำเนินการในพ้ืนที่องค์การบริหารส่วน
ตำบลอ่าวนาง อำเภอเมือง จงั หวดั กระบ่ี กลมุ่ เป้าหมายไดแ้ ก่เด็ก เยาวชน และประชาชนท่ัวไป จำนวน 45 คน
ศูนย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพึ่งจังหวัดกระบ่ีได้ดำเนินการ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเวทีจุดประกายขายความคิด
เมื่ อวัน ท่ี 23 มีน าคม 2564 ณ ห้ องป ระชุมองค์การบ ริห ารส่วน ตำบ ลอ่าวน าง แต่โครงการฯ
ได้ชะลอออกไปเน่ืองจากมีประกาศคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดกระบ่ี ฉบับท่ี 15/2564 ให้งดการจัด
กิจกรรมที่มีคนรวมกลุ่มเกิน 20 คน เว้นแต่เป็นกิจกรรมท่ีดำเนินการโดยพนักงานเจ้าหน้าท่ี หรือกิจกรรมใน
พ้ืนท่ีท่เี ปน็ สถานที่กักกนั โดยให้ดำเนินการตามมาตรการป้องกันโรค

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ดำเนินการในพ้ืนที่องค์การบริหารส่วน
ตำบลอ่าวนาง อำเภอเมือง จังหวัดกระบ่ี กลุ่มเป้าหมายได้แก่ผู้แทนหน่วยงานจากศูนย์อำนวยการขจัดความ
ยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ศพจ.อ.) ผู้แทนหน่วยงานในสังกัดกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดกระบี่ (One Home) ผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน
ภาคประชาสังคมและองค์การสาธารณประโยชน์ (CSR) ในพื้นท่ี อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษย์ (อพม.) และเครือข่ายชุมชนในพ้ืนท่ี จำนวน ๔๕ คน ทั้งน้ีศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดกระบ่ี
ได้บูรณาการดำเนินการร่วมกับสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดกระบ่ี ในการดำเนิน
โครงการชุมชนเข้มแข็ง เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2565 ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการตามโครงการสร้างเสริม
สวัสดิการสังคม เพื่อวางแผนให้การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำและปลายน้ำ
และจะดำเนินการจัดประชุมติดตามความก้าวหน้าการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมของภาคีเครือข่าย
พร้อมทั้งถอดบทเรียนในโครงการฯ ดังกล่าว ช่วงเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม พ.ศ. 2565 โดยมีเป้าหมาย
จำนวน 45 คน

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวัดกระบี่ ประจำปี 2565

31

บทท่ี 4

สถานการณ์เชิงประเดน็ ทางสังคมในระดับจังหวัด
4.1 สถานการณ์กลุม่ เปราะบางรายครัวเรือน

4.1.1 ตาราง แสดงกลมุ่ คนเป้าหมายตามฐานข้อมูลระบบการพฒั นาคนแบบช้ีเปา้ TP MAP แยกรายมติ ิ
จังหวัดกระบ่ี

(หนว่ ย:คน)

จงั หวัด *จำนวนคน ด้านความ ดา้ น ด้านสุขภาพ ดา้ นรายได้ ดา้ นการเข้าถงึ
เปราะบาง เป็นอยู่ การศึกษา บริการภาครฐั

รวม 66,559 5,443 1,284 1,452 1,731 27

ท่มี า ฐานขอ้ มลู ระบบการพฒั นาคนแบบช้ีเปา้ TP MAP สำนกั งานการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ

หมายเหตุ กลุ่มคนเปราะบาง หมายถึง บุคคลท่ีต้องการได้รับการพึ่งพิงจากผู้อ่ืน ไม่สามารถแสดงความคิดเห็น

ได้อย่างอิสระหรอื ตัดสินใจได้ด้วยตัวเอง โดยสามารถแบ่งกลุม่ คนเปราะบางได้ ดังน้ี

1.กลุม่ ท่มี คี วามเสี่ยงสูงกวา่ บคุ คลทวั่ ไป อาทิ หญิงตง้ั ครรภ์ ผู้สูงอายุ

2.กลมุ่ ทุพพลภาพ อาทิ ผพู้ กิ าร ผู้ปว่ ยจิตเวช ผปู้ ่วยเดก็ ผู้ปว่ ยสมองเสอ่ื ม

3. กล่มุ ทไี่ มม่ ีอิสระพอในการตัดสนิ ใจ อาทิ นกั โทษ ทหารเกณฑ์

4.1.2 ตาราง แสดงข้อมูลครัวเรอื นเปราะบาง จังหวัดกระบ่ี

(หนว่ ย:ครัวเรอื น)

จังหวดั *จำนวน ครัวเรือนทอ่ี ยู่ **ระดบั ความเปราะบางของครวั เรอื น
ครวั เรอื น อาศัยไมม่ น่ั คง ระดบั 0 ระดบั ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓
เปราะบาง

รวม 48,009 3,143 44,683 709 1,988 629

ทมี่ า กองตรวจราชการ กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ ข้อมลู ณ 31 มนี าคม 2565
*นิยาม ครัวเรือน หมายถึง บุคคลหรือกลุ่มคนท่ีอยู่ร่วมกันและกินอยู่ร่วมกันในสถานที่เดียวกันจำนวน 6

เดือน เปน็ อยา่ งนอ้ ย โดยจำแนกออกไดเ้ ป็น 2 ชนิด คอื

1. ครัวเรือนคนเดียว ได้แก่ ครัวเรือนซ่ึงประกอบด้วยบุคคลคนเดียวโดยไม่เก่ียวข้องเป็นสมาชิกของ

ครวั เรอื นอื่นใดที่อยใู่ นบา้ นเดยี วกันหรอื บุคคลคนเดยี วอาศัยอยู่ตามลำพังในบ้านหลงั หน่งึ

2. ครัวเรือนที่ไม่มีความสัมพันธ์ทางเครือญาติ ได้แก่ ครัวเรือนท่ีมีบุคคลต้ังแต่ 2 คนข้ึนไป อยู่รวมกัน

ในบ้านเดียวกนั หรอื สว่ นหน่ึงของบ้าน และร่วมกันในการจัดหาและใช้สิ่งอุปโภค บรโิ ภคอันจำเปน็ แก่การครอง

ชพี ของบุคคลกลุ่มน้ัน บุคคลเหลา่ นี้อาจเป็นญาติกนั หรอื ไมเ่ ปน็ ญาตกิ นั เลย

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวดั กระบ่ี ประจำปี 2565

32

ครัวเรือนเปราะบาง ครัวเรือนที่มีรายได้น้อยและมีบุคคลที่อยู่ในภาวะพ่ึงพิงที่ต้องการได้รับความ
ช่วยเหลือ เช่น ครอบครัวยากจนที่มีเด็กเล็ก แม่เล้ียงเดี่ยว ผู้สูงอายุ คนพิการ สามารถแบ่งระดับความ
เปราะบางได้ ดงั น้ี

ครวั เรือนระดบั ๐ หมายถึง ครวั เรือนท่ไี ม่ตกมติ เิ ร่อื งรายได้และมีบคุ คลทมี่ ีภาวะพงึ่ พิง
ครวั เรอื นระดับ 1 หมายถงึ ครวั เรือนทม่ี ีรายไดน้ อ้ ย ครวั เรือนทม่ี รี ายได้นอ้ ยและมปี ัญหาทีอ่ ยู่อาศัย
ครวั เรือนระดบั 2 หมายถงึ ครัวเรือนทีม่ รี ายได้น้อยและมบี คุ คลท่ีอยใู่ นภาวะพ่งึ พิง 1 – 2 คน
ครัวเรอื นระดบั 3 หมายถึงครวั เรอื นที่มรี ายได้นอ้ ยและมบี ุคคลท่ีอยใู่ นภาวะพึง่ พงิ มากกวา่ 2 คน
ครัวเรอื นที่มีรายไดน้ อ้ ย คอื ครวั เรือนทีม่ รี ายไดเ้ ฉลี่ยตอ่ ปไี ม่เกิน 100,000 ต่อคน ตอ่ ปี
ภาวะพึ่งพิง หมายถึง คนที่ต้องได้รับการดูแล/ช่วยเหลือจากคนอื่น (อาทิ เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ
และผู้ป่วยติดเตียง เปน็ ต้น)

4.1.3 ผลการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาคุณภาพชวี ิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรอื น
ผลการดำเนนิ งานของหน่วยงาน พม.

ด้าน จำนวน ผลการดำเนินงาน
ดา้ นสขุ ภาพ (ครวั เรือน)
110 ครวั เรอื น 1. มอบหน้ากากอนามยั (ป้องกนั การแพร่ระบาด COVID-19 ในเบ้ืองตน้ )
2.มอบส่งิ ของจำเป็นต่อการดูแลสขุ ภาพ (ยารักษาโรค)
3.แนะนำการรักษาความสะอาด และสุขลักษณะในท่ีอยูอ่ าศัยรวมทั้ง
สงิ่ ของเคร่อื งใช้
4.ประสาน รพสต. อพม. อสม. อปท. แนะนำการดแู ลตนเอง
การพบแพทย์ตามนดั
5.ให้คำปรกึ ษาในด้านการดแู ลสขุ ภาพ การดแู ลตนเองในช่วง
สถานการณ์โควิด-19
6.ประสานกับหนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ งเพอื่ พบแพทย์ และออกใบรบั รอง
ความพิการ

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวดั กระบ่ี ประจำปี 2565

33

ดา้ นท่อี ยู่อาศัย 720 ครัวเรือน 1 .โ ค ร ง ก า ร ป รั บ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ สิ่ ง อ ำ น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก
ด้านการศึกษา 251 ครวั เรือน ของผู้สูงอายุให้เหมาะสมและปลอดภัย หลังละ 40,000 บาท
ด้านรายได้ 3,382 ครัวเรือน จำนวน 22 หลัง
2. โครงการบ้านพอเพียงชนบทจังหวัดกระบ่ี ในพ้ืนท่ี 15 ตำบล
จำนวน 281 หลัง เป็นกลไกความร่วมมือแก้ปัญหาความยากจน
สร้างความม่ันคงของมนุษย์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างการ
พัฒนาทางสังคมแบบองค์รวม เพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
และภาคประชาสังคม
3.รับคำร้องขอความช่วยเหลือ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ในการปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ มและท่อี ยูอ่ าศัย จำนวน 407 ครัวเรือน
4.ช่วยเหลือซ่อมแซมบ้านผู้พิการ ประสานส่งต่ออบต. ในพ้ืนท่ีเพื่อ
เก็บข้อมูลประชากรท่มี ีปัญหาทอี่ ย่อู าศยั
1.พิจารณาด้านเงินสงเคราะห์เพื่อเป็นทุนการศึกษา ประสานส่งต่อ
กระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือจัดหาทุนการศึกษาให้กับนักเรียน
จำนวน 229 ราย
2.ประสานโรงเรียนเมืองกระบี่ให้เด็กได้เข้ารับการศึกษาต่อในระดับ
มธั ยมศึกษา จำนวน 1 ราย
3.ประสานสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกระบ่ี มอบทุนการศึกษา
จำนวน 2,000 บาท 1 ราย
4.ให้คำแนะนำด้านการศึกษาของบุตรที่จะเข้าโรงเรียนประจำของ
ภาครฐั เพอื่ ลดค่าใช้จ่าย
สนับสนนุ เงินสงเคราะห์ทุกประเภท ประกอบดว้ ย
1.เงนิ สงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน 1,000-3,000 บาท/ปี
จำนวน 201 ราย
2.เงินสงเคราะหผ์ ู้มีรายไดน้ ้อยและผไู้ รท้ ี่พง่ึ 3,000 บาท/ปี
จำนวน 366 ราย
3.เงินสงเคราะหผ์ ูส้ งู อายุในภาวะยากลำบาก 2,000 บาท
จำนวน 41 ราย
4.เงินชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสงั คมกรณีฉกุ เฉนิ 2,000 บาท
จำนวน 14 ราย

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจังหวัดกระบ่ี ประจำปี 2565

34

ด้าน จำนวน ผลการดำเนินงาน
(ครัวเรอื น)
ดา้ นการเขา้ ถงึ บริการ 5.เงนิ สงเคราะห์ผู้ติดเช้ือเอดส์และครอบครัว จำนวน 11 ราย
ภาครัฐ 3,369 6.เงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวอปุ ถัมถ์ 14 ครอบครวั
ครัวเรือน รวมท้งั ส้ิน 647 ราย
- การกูย้ ืมเงนิ ทนุ เพื่อประกอบอาชีพสำหรับผสู้ ูงอายุ
รายบุคคลรายละไม่เกิน 30,000 บาท กยู้ ืมรายกลมุ่ ๆ ละ
ไมน่ ้อยกวา่ 5 คน กลุ่มละไม่เกิน 100,000 บาท โดยทั้ง
รายบุคคลและรายกลุ่ม ต้องชำระเงินคืนเป็นรายงวด ทุกเดือน
ระยะเวลา 3 ปี โดยไม่คิดดอกเบี้ย ปีงบประมาณ 2565 ได้
ชว่ ยเหลือจำนวน 40 ราย
-เงินกยู้ ืมกองทนุ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
จำนวน 192 ราย
-คณะกรรมการเงนิ ทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจนให้
การช่วยเหลือโดยใหย้ ืมเงนิ กข.คจ. จำนวน 3,000 บาท พร้อม
สมทบเพิ่มอีก 1,500 บาท จำนวน 1 ครัวเรือน
-รับคำร้องขอความชว่ ยเหลือ เรง่ ดำเนินการพจิ ารณาการให้
ความช่วยเหลือด้านเงินสงเคราะห์ เพื่อเป็นตน้ ทนุ ในการ
ประกอบอาชีพ และใชจ้ ่ายในครวั เรือน
-มอบถุงยังชพี /เคร่ืองอุปโภค บรโิ ภค
1.ให้คำแนะนำโครงการของภาครัฐ สิทธิ ช่องทางการเข้าถึง
สวัสดกิ ารแห่งรฐั
2.ประสานหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้องทำความเขา้ ใจกลุ่มเป้าหมาย
และส่งเสรมิ ให้ไดร้ ับสิทธิและสวสั ดิการต่างๆของรฐั

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวดั กระบ่ี ประจำปี 2565

35

ผลการดำเนนิ งานของหน่วยงานทเี่ ก่ียวข้องในการให้ความชว่ ยเหลือและพัฒนาคุณภาพชวี ติ กลุ่ม

เปราะบางรายครัวเรอื นใน 5 มติ ิ

ด้าน จำนวน ผลการดำเนนิ งาน

(ครวั เรอื น)

ดา้ นสขุ ภาพ 151 ครวั เรือน หน่วยงานดา้ นสาธารณสขุ เข้ามาดูแล ชว่ ยเหลอื ใหค้ ำแนะนำ

กับครัวเรือนเปราะบาง

ด้านท่อี ยอู่ าศัย 39 ครัวเรือน กองอำนวยการรักษาความม่ันคงภายในจงั หวดั กระบี่

สนบั สนนุ ทหารช่างมาร่วมในการซอ่ มแซมบา้ น

สภาพแวดลอ้ มท่ีอยู่อาศยั ใหเ้ หมาะสม

ดา้ นการศกึ ษา 247 ครัวเรือน หนว่ ยงานดา้ นการศึกษาจัดหาทุนการศึกษา เพ่ือใหเ้ ดก็ ได้เข้า

รบั การศกึ ษาตามเกณฑ์

ด้านรายได้ 16 ครวั เรือน สภากาชาด มูลนธิ ใิ นพืน้ ท่ี มอบถุงยังชพี / เครื่องอปุ โภค

บริโภค

ด้านการเข้าถงึ บรกิ าร 28 ครวั เรอื น เครอื ข่ายในพืน้ ทใ่ี ห้คำแนะนำโครงการของภาครฐั สทิ ธิ ชอ่ ง
ภาครัฐ ทางการเข้าถึงสวัสดกิ ารแห่งรัฐ

ทีม่ า กองตรวจราชการ กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ ข้อมูล ณ 31 พฤษภาคม 2565

4.2 สถานการณ์ภายใตก้ ารแพร่ระบาดของเชอื้ COVID-19

ตาราง แสดงสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ COVID-19 พ้ืนที่จงั หวดั กระบ่ี

(หนว่ ย:คน)

จงั หวัดกระบี่ ติดเชอื้ สะสม กำลงั รกั ษา รกั ษาหาย เสียชีวิต

รวม 76,413 1,309 74,894 87

ท่ีมา รายงานสถานการณ์ COVID-19 สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัด ขอ้ มูล ณ วันท่ี ๓๑ พฤษภาคม 2565

จากตาราง แสดงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 พ้ืนท่ีจังหวัดกระบี่ ซึ่งมีผู้ติดเชื้อสะสม

จำนวน 76,413 คน โดยมผี ทู้ ก่ี ำลงั รักษา 1,309 คน รกั ษาหายแล้ว 74,894 คน และมีผเู้ สียชีวติ จำนวน 87 คน

ตาราง แสดงขอ้ มูลการไดร้ บั วัคซนี ปอ้ งกันโรค โควดิ 19 ประชาชนในพ้ืนทจี่ งั หวัดกระบ่ี (หนว่ ย:คน)

จังหวดั เขม็ ท่ี 1 เข็มท่ี 2 กระตุ้นเขม็ ท่ี 3 กระต้นุ เข็มท่ี 4

รวม 296,918 272,822 78,707 7,194

ทม่ี า MOPH-Immunization Center (IC) กระทรวงวาธารณสขุ ข้อมูล ณ ข้อมลู ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2565

จากตาราง แสดงข้อมูลการได้รับวัคซีนป้องกันโรค โควิด 19 ประชาชนในพ้ืนที่จังหวัดกระบ่ี โดยมีประชาชนท่ี

ได้รับวัคซีนเข็มท่ี 1 จำนวน 296,918 คน เข็มท่ี ๒ จำนวน 272,822 คน กระตุ้นเข็มที่ ๓ จำนวน 78,707 คน

และกระตุน้ เขม็ ที่ 4 จำนวน 7,194 ดงั ตาราง

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวัดกระบี่ ประจำปี 2565

36

ตาราง แสดงข้อมูลการให้ความช่วยเหลอื ผไู้ ด้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19

พ้ืนทจี่ งั หวดั กระบี่

จังหวดั ผู้ป่วย COVID- ครอบครวั ผไู้ ดร้ บั ผลกระทบ ครอบครัวผูไ้ ด้รับ
19 ผูเ้ สียชวี ติ จาก ทไ่ี ด้รบั การ ผลกระทบทีไ่ ด้รับ
(คน) COVID-19 ชว่ ยเหลอื การที่ชว่ ยเหลอื
(ครอบครวั ) (คน)
(ครอบครวั )

รวม 76,413 87 1,316 407

ทม่ี า รายงานข้อมูลการใหค้ วามช่วยเหลือผไู้ ด้รบั ผลกระทบจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรค COVID-19

กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ ข้อมูล ณ วันท่ี 31 พฤษภาคม 2565

จากตาราง แสดงข้อมูลการให้ความช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคCOVID-19

พื้นที่จังหวัดกระบี่ ซึ่งจังหวัดกระบี่มีผู้ป่วย COVID-19 จำนวน 76,413 คน โดยมีครอบครัวผู้เสียชีวิตจาก

COVID-19 จำนวน 87 ครอบครัว มีผู้ที่ได้รับผลกระทบที่ได้รับการช่วยเหลือ จำนวน 1,316 คน และมี

ครอบครวั ผู้ได้รับผลกระทบทไ่ี ดร้ ับการช่วยเหลอื จำนวน 407 ครอบครัว

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจังหวัดกระบี่ ประจำปี 2565

37

บทที่ 5
การวิเคราะห์สถานการณ์ทางสังคมในพื้นทจี่ งั หวัดกระบ่ี

5.1 สถานการณ์เชิงกลุ่มเป้าหมายในพืน้ ทจี่ ังหวดั

1) กลุ่มเยาวชน

ตาราง แสดงสถานการณ์เด็กจงั หวัดกระบี่ (หนว่ ย:คน)
มจี ำนวนเด็กในจังหวดั กระบี่ ท้งั สน้ิ 125,511 คน

ลำดับที่ ประเด็นสถานการณ์ จำนวนกลุ่มเปา้ หมาย คิดเปน็ รอ้ ยละ
กลมุ่ เปา้ หมาย ตามประเดน็ ของประชากรเดก็ ท้ังหมด

ในเขตพ้ืนท่ีจงั หวดั

1 เด็กทตี่ งั้ ครรภ์ก่อนวยั อันควรและ 604 0.48
ไมพ่ ร้อมในการเลี้ยงดู

2 เด็กที่อยูใ่ นครอบครัวเล้ียงเด่ียว 487 0.39

3 เดก็ ท่ีมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม 336 0.27

3 เดก็ ไรส้ ญั ชาติ 254 0.20

4 เด็กนอกระบบ 95 0.08

เด็กท่ถี ูกทารุณกรรมทางร่างกาย 12 0.01
5 จิตใจและทางเพศทมี่ ีการ

ดำเนินคดี

2) กลุ่มเยาวชน (หน่วย:คน)

ตาราง แสดงสถานการณ์เยาวชนจงั หวัดกระบี่ คิดเป็นรอ้ ยละ
มจี ำนวนเยาวชนในจังหวัดกระบี่ ท้ังสิ้น 53,447 คน ของจำนวนครอบครวั
ท้ังหมดในเขตพนื้ ทจ่ี ังหวัด
ลำดบั ที่ ประเด็นสถานการณ์กลุ่มเปา้ หมาย จำนวนกลุม่ เปา้ หมาย
1 เยาวชนทม่ี พี ฤติกรรมไม่เหมาะสม ตามประเดน็ 0.63

336

2 เยาวชนที่ถกู ทารุณกรรมทางร่างกาย 13 0.02
จติ ใจและทางเพศ

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวดั กระบ่ี ประจำปี 2565

38

3) กลมุ่ สตรี (หญงิ ท่มี ีอายุ 25 ปี – 59 ปี) (หน่วย:คน)
ตาราง แสดงสถานการณ์กลุ่มสตรีจงั หวัดกระบี่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ
ของจำนวนครอบครวั
มีจำนวนสตรใี นจังหวัดกระบี่ ทง้ั สน้ิ 146,088 คน ทัง้ หมดในเขตพื้นที่จงั หวัด

ลำดบั ที่ ประเด็นสถานการณก์ ล่มุ เป้าหมาย จำนวนกลมุ่ เปา้ หมาย 1.42
ตามประเด็น

1 สตรที ่ถี ูกเลิกจ้าง/ตกงาน 2,068

2 แม่เลี้ยงเดี่ยวฐานะยากจน 487 0.33
3 สตรีที่ถูกทำรายรา่ งกายจติ ใจ 33 0.02

4) กลมุ่ ครอบครัว (หน่วย:ครอบครัว)
ตาราง แสดงสถานการณ์กลมุ่ ครอบครวั จังหวัดกระบ่ี
คดิ เปน็ ร้อยละ
มจี ำนวนครอบครัวในจังหวดั กระบี่ ท้งั สน้ิ 75,714 ครอบครัว ของจำนวนครอบครวั
ทั้งหมดในเขตพื้นที่จงั หวดั
ลำดับท่ี ประเด็นสถานการณ์กลุ่มเป้าหมาย จำนวนกลุ่มเปา้ หมาย
ตามประเด็น 12.28

1 ครอบครัวยากจน 11,566 1.13
854
2 ครอบครวั หย่ารา้ ง 38 0.05

3 ครอบครวั ที่มคี นในครอบครัวกระทำ
ความรุนแรงต่อกัน

5) กล่มุ ผสู้ งู อายุ (หน่วย:คน)
ตาราง แสดงสถานการณก์ ลมุ่ ผ้สู ูงอายุจังหวัดกระบี่ คดิ เป็นรอ้ ยละ
ของจำนวนครอบครัว
มีจำนวนผู้สูงอายใุ นจงั หวดั กระบ่ี ทงั้ ส้นิ 69,587 คน ทง้ั หมดในเขตพ้ืนทจี่ ังหวัด

ลำดับท่ี ประเดน็ สถานการณก์ ลุม่ เป้าหมาย จำนวนกลุม่ เป้าหมาย 1.77
ตามประเด็น

1 ผู้สงู อายมุ ีที่อย่อู าศยั ไมเ่ หมาะสม 1,235

2 ผสู้ งู อายทุ ่ีชว่ ยเหลือตวั เองไมได้ (ตดิ เตยี ง) 494 0.71
3 ผู้สงู อายุที่ต้องดำรงชีพด้วยการเรร่ ่อนขอทาน 5 0.01

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวัดกระบ่ี ประจำปี 2565

39

บทท่ี 6
ข้อเสนอแนะ

6.1 การขับเคลื่อนนโยบายสังคมสูก่ ารปฏบิ ัตใิ นพนื้ ท่ี
การขับเคล่ือนนโยบายสังคมสู่การปฏิบัติในพ้ืนที่จากสถานการณ์ทางสังคมของจังหวัดชัยนาท พบว่า

กลุ่มเป้าหมายตามภารกิจกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ทุกกลุ่มเป้าหมายยังคงประสบ
ปัญหาทางสังคม ทั้งทางเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพ ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินและการดูแลสมาชิก
ในครอบครัวจังหวัดกระบ่ี ได้ระดมสรรพกำลังในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคม โดยอาศัยความร่วมแรง
ร่วมมือร่วมใจในหลายระดับ เช่น ปฏิบัติการ ONE HOME ความร่วมมือของภาคราชการ ภาคเอกชน รวมท้ัง
การบูรณาการแผนงานโครงการ บคุ ลากร และงบประมาณ ตลอดจนการถ่ายทอดเช่ือมโยงภารกิจ ในกลไกการ
ปฏบิ ัติงานลักษณะประชารฐั

นอกจากน้ี ยังมีภารกิจด้านสังคมท่ีขับเคลื่อนด้วยกลไกคณะกรรมการคณ ะอนุกรรมการ
และคณะทำงานดา้ นต่าง ๆ ตามประเด็นงานและกลุ่มเป้าหมาย เชน่

- คณะกรรมการสง่ เสรมิ การจัดสวสั ดกิ ารสงั คมจงั หวดั
- คณะกรรมการคมุ้ ครองและพัฒนาอาชีพจังหวดั กระบ่ี
- คณะอนกุ รรมการสง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนพกิ าร
- คณะอนุกรรมการศูนยป์ ฏิบตั ิการปอ้ งกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์
- คณะอนุกรรมการสง่ เสรมิ การพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ระดบั จงั หวัด
- คณะอนุกรรมการคุ้มครองคนไร้ทพ่ี ่ึงจังหวดั กระบ่ี
- คณะอนุกรรมการควบคมุ การขอทานจงั หวดั
ทั้งนี้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ยังมีกองทุนต่าง ๆ ท่ีสนับสนุนการดำเนิน
โครงการการจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ ดงั นี้
1. กองทนุ ส่งเสรมิ และพฒั นาคุณภาพชวี ิตคนพกิ าร
2. กองทุนส่งเสริมการจดั สวสั ดกิ ารสังคม
3. กองทนุ ผสู้ ูงอายุ
4. กองทุนค้มุ ครองเด็ก
5. กองทนุ เพอ่ื ป้องกนั และกราบปรามการค้ามนษุ ย์
อีกทั้งยังมีกิจกรรมเพื่อการรวบรวมข้อมูลด้านสังคมเพ่ือการส่งเสริมการพัฒนาสังคม เช่น การรณรงค์
เพื่อสร้างความตระหนักและกระตุ้นการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมในประเด็นต่าง ๆ
การจัดสมัชชาสวัสดกิ ารสงั คม สมัชชาผู้สงู อายุ สมัชชาสตรี สมชั ชาเดก็ เปน็ ตน้

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวดั กระบี่ ประจำปี 2565

40
ทุนทางสังคมท่ีสำคัญในการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาสังคม คือ อาสาสมัครการพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย์ ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ที่มีพลังจิตอาสา โดยอาจเป็นอาสาสมัครที่ปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ ในชุมชน
อยู่แล้วและสนใจเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์เพื่อท้องถ่ินของตนเอง ร่วมกัน
ช้ีเป้า – เฝ้าระวัง สำรวจและรวบรวมข้อมูลกลุ่มเป้าหมายและผู้รับบริการ การเฝ้าระวังการส่งเสริมและแก้ไข
ปญั หาด้านสังคมเบ้ืองต้น และการรายงานสถานการณ์ทางสังคมของชุมชน ช่วยกนั เช่ือมกลุ่มเดิม – เสรมิ สร้าง
กลุ่มใหม่ ทั้งด้านการประสานงาน การส่งต่อผู้รับบริหารและการให้ความร่วมมือและสนับสนุนการปฏิบัติงาน
ตามภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ส่วนราชการและเอกชนท่ีเกี่ยวข้องและ
รว่ มใจทำแผนชุมชน เป็นผ้ผู ลักดนั หรือกระตุ้น ใหช้ ุมชนรว่ มมือ รว่ มใจกนั ระดมความคิดเพ่ือจดั ทำแผนของชุมชน
6.2 ข้อเสนอแนะ
ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น เพ่ื อ ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ แ ก้ ไข ปั ญ ห า ท า ง สั งค ม แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ บุ ค ล า ก ร
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว ชุมชน และการพัฒนาสังคมนั้น ต้องอาศัยพลังเพ่ือให้แรงผลักดัน
ในการช่วยเหลือผู้อื่นต่อไป ดงั น้ันจงึ มีขอ้ เสนอแนะ ดังน้ี
1. การเพม่ิ ศักยภาพและสมรรถนะบคุ ลากรและระบบการบริการเพ่ือการบริหารการพฒั นาสังคม
2. การมีข้อมูลที่ครบถ้วน ทนั สมยั เพอ่ื เป็นฐานในการวางนโยบายและการปฏิบตั ิในด้านกลมุ่ เป้าหมาย
ประเด็นปญั หาพน้ื ท่ีประสบปัญหา
3. การวิจยั และพัฒนาเพอื่ สรา้ งองคค์ วามรูเ้ พ่อื การพฒั นาสังคม
4. การเพิ่มและพัฒนาศักยภาพกลุ่มเป้าหมาย เครือข่ายทางสังคม ให้มีความรู้ ความเข้าใจ
แนวนโยบายองค์ความร้แู ละการปฏบิ ตั ิงาน ใหส้ ามารถรว่ มงานกันได้อยา่ งมีเอกภาพ
5. เสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ให้แกค่ รอบครัว กลมุ่ องค์กร
6. รณรงคใ์ ห้สาธารณชนตระหนักในการรับผิดชอบด้านสงั คมร่วมกัน

******************************************

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวัดกระบ่ี ประจำปี 2565

41

หนว่ ยงานที่สนับสนนุ ข้อมลู ในส่วนของข้อมูลทัว่ ไประดบั จังหวัด ดงั น้ี
1. ท่ที ำการปกครองจังหวัดกระบ่ี
2. สำนกั งานสง่ เสรมิ การปกครองสว่ นท้องถ่นิ จงั หวัดกระบ่ี
3. สำนักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดกระบี่
4. ตำรวจภูธรจังหวัดกระบี่
5. สำนักงานแรงงานจังหวดั กระบี่
6. สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั กระบ่ี
7. ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและตามอัธยาศยั จงั หวัดกระบ่ี
8. สำนักงานสถิตจิ งั หวัดกระบี่
9. สำนักงานพัฒนาชมุ ชนจงั หวดั กระบี่
10. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกระบี่
11. สำนักงานวฒั นธรรมจงั หวัดกระบี่
12. สำนักงานทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มจังหวดั กระบี่
13. สำนักงานคุมประพฤตจิ ังหวดั กระบ่ี
14. สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาจงั หวัดกระบี่
15. บา้ นพักเด็กและครอบครัวจงั หวัดกระบ่ี
16. ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ทพ่ี ่งึ จังหวดั กระบ่ี

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวัดกระบี่ ประจำปี 2565

42

คณะผจู้ ดั ทำ

ท่ปี รึกษา

นายศริ ศรีเมฆชยั กลุ พฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์กระบี่

วิเคราะห์และประมวลผล

นางสาววรรณิภา สระศรี นกั พัฒนาสังคมชำนาญการ
นางสาวภทั รวดี อน้ เพ็ชร์ นกั พัฒนาสงั คมปฏิบัตกิ าร

เรียบเรียง/พิมพ์ทาน นกั พฒั นาสังคมปฏิบัตกิ าร
นางสาวภัทรวดี อน้ เพช็ ร์

เรยี บเรียง/ตรวจทาน นกั พฒั นาสงั คมชำนาญการพเิ ศษ
นางสาววรรณิภา สระศรี

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวดั กระบี่ ประจำปี 2565

43

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั กระบ่ี ประจำปี 2565


Click to View FlipBook Version