The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภูเขาไฟระเบิด (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tun32782, 2021-08-10 06:28:14

ภูเขาไฟระเบิด (1)

ภูเขาไฟระเบิด (1)

ภู เ ข า ไ ฟ ร ะ เ บิ ด

จดั ทาํ โดย เสนอ

1. ญาริดา ฐิตาธนธัช เลขที่ 18 คณุ ครู จรยิ า จรสั พนั ธ์
2. น.ส.มนต์นภา วรรณรังษี เลขที่ 19
3. น.ส.พรชนก ปรีดาทวีสุข เลขที่ 20
4. น.ส.ธนภรณ์ แซ่ฉั่ว เลขท่ี 29

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/5

โรงเรียนสตรศี รีสรุ ิโยทยั

สารบัญ 01
03
กระบวนการระเบดิ 04
ประเภทของภูเขาไฟ 06
รูปแบบการปะทุของภูเขาไฟ 07
ผลกระทบจากภเู ขาไฟระเบิด 08
ประโยชนข องภเู ขาไฟระเบดิ 09
ขอควรปฏบิ ตั ิเม่ือภูเขาไฟเร่ิมปะทุ 10
ภเู ขาไฟแบงตามรปู รา ง
ภเู ขาไฟในไทย

Page 01

กระบกวรนะบกวนากรารรระะเเบบิดขดิองภูเขาน้ันยังไม่

เป็นท่ีเข้าใจกระจ่างชัดนัก นัก
ธ ร ณี วิ ท ย า ค า ด ว่ า มี ก า ร ส ะ ส ม ข อ ง ค ว า ม
ร้อนอย่างมากบริเวณน้ัน ทาํ ให้มีแมกมา
ไอนํ้า และแก๊ส สะสมตัวอยู่มากข้ึน
เร่ือยๆ ซ่ึงก่อให้เกิดความดัน ความร้อน
สูง เม่ือถึงจุดหนึ่งมันจะระเบิดออกมา

" Page 02

การปะทุของภูเขาไฟทาํ ให้เกิด ลาวาหลาก(Lava flow)
นอกจากนี้การปะทุของภูเขาไฟยังพ่นสิ่งต่างๆออกมาด้วยดังนี้

1. ลาวา 2. แก็ส 3. มูลภูเขาไฟ 4. กรวดภูเขาไฟ
5. บอมบ์ภูเขาไฟ 6. เถ้าธุลีภูเขาไฟ

ประเภทของภเู ขาไฟ Page 03

แบง ตามระยะเวลาการเกิด

ภู เ ข า ไ ฟ ท่ี มี พ ลั ง ภู เ ข า ไ ฟ ส ง บ ภู เ ข า ไ ฟ ดั บ ส นิ ท
(Active volcano) (dormant) (extinct volcano)

เปน็ ภูเขาไฟที่คุกรุ่นอยตู่ ลอดเวลา เปน็ ภูเขาไฟท่เี คยปะทุแลว้ แต่ยังคง เปน็ ภเู ขาไฟทีไ่ ม่มกี ารปะทุอีกต่อ
อาจะปะทหุ รอื ระเบิดข้นึ มาอีกเมื่อ สงบอยู่ เมอื่ มีพลงั เพิม่ พูนขนึ้ ใหม่ ไป ไมป่ รากฎความร้อนใตพ้ ื้นที่
ไหร่กไ็ ด้ มากพอกอ็ าจเกิดการปะทขุ ้นึ มาอกี ได้ บรเิ วณน้ัน

รปู แบบการปะทขุ องภเู ขาไฟ Page 04

1. การปะทแุ บบประเทศไอซ์แลนด์ 2. การปะทแุ บบฮาวาย
(Icelandic eruption) (Hawaiian eruption)
เป็นการปะทตุ ามรอยแยก (fissure eruption) ของ เปน็ การปะทขุ องแมกมาบะซอลตค์ วามหนดื ตาํ่ จาก
แมกมาบะซอลต์ความหนดื ต่าํ และไม่มีปากปลอ่ ง ปล่องภเู ขาไฟ มีกา๊ ซระเบิดเล็กน้อย แมกมาไหลเออ่ ล้น
แนช่ ดั ลาวาไหลหลากเหมือนกับน้ําท่วม ครอบคลมุ พ้นื ที่กวา้ ง สร้างภูเขาไฟขนาดใหญ่ เช่น
ภเู ขาไฟเมานาโลอา บนหมูเ่ กาะฮาวาย
3. การปะทุแบบวัลเคเนียนหรือวสิ เุ วยี น
(Vulcanian หรือ Vesuvian eruption) 4. การปะทแุ บบสตรอมโบเลียน
เกิดจากกา๊ ซในแมกมามคี วามดนั สูง แทรกดนั หินแข็งที่ (Strombolian eruption)
ปิดทบั ด้านบน ไดว้ สั ดุสลบั ชัน้ กนั ระหว่างเศษหินสลับ ตง้ั ช่อื ตามภูเขาไฟสตรอมโบลใี นประเทศอติ าลี เกดิ จากแมก
แมกมาบะซอลตห์ รอื แอนดไี ซตท์ ไ่ี หลเออื่ ย เช่น การ มาไรโอไรท์หรือแอนดไี ซต์ซ่ึงมคี วามหนืดสงู ปะทคุ ล้ายกบั
ปะทุของภูเขาไฟวิสุเวยี ส (Vesuvius) ในประเทศอติ าลี น้าํ พุพ่งุ สงู 10-100 เมตร โดยจะปะทุเปน็ ชว่ งๆ ชว่ งละ 10-20
นาที เชน่ ภูเขาไฟเอตนา (Etna) ในประเทศอิตาลี

รปู แบบการปะทุของภเู ขาไฟ Page 05

5. การปะทแุ บบพลเิ นยี น 6. การปะทุแบบพรโี ตพลิเนยี น
(Plinian eruption) (Phreatoplinian eruption)

เปน็ การปะทุตามรอยแยก (fissure eruption) ของ ในกรณีของภูเขาใต้ทะเลหรอื ใตธ้ ารนา้ํ แขง็ หากมนี ้าํ
แมกมาบะซอลต์ความหนดื ตา่ํ และไม่มีปากปลอ่ ง ไหลซึมเขา้ ไปในปลอ่ งภูเขาไฟ อาจทาํ ให้เกดิ การปะทุ
แนช่ ดั ลาวาไหลหลากเหมือนกบั น้าํ ท่วม ทีม่ นี าํ้ รอ้ นร่วมดว้ ย เช่น การปะทุของภูเขาไฟพินาตู
โบ ในประเทศฟลิ ปิ ปินส์ และภเู ขาไฟอาสก์ จา
(Askja) ในประเทศไอซ์แลนด์

ผลกระทบจากภูเขาไฟระเบิด Page 06

1. แรงสั่นสะเทอื นท่ี 2. การเคล่อื นท่ขี อง 3. เกดิ เถา ภูเขาไฟ 4.พ้ืนทใี่ กลเ คยี งถูก
สนั่ มาก ลาวา
ทําลาย
ทาํ ใหป้ ระชาชนทต่ี ัง้ ถิ่นฐานอยู่ ลาวาอาจไหลออกมาจากปาก
บนเชงิ ภเู ขาไฟอาจหนีไม่ทัน ปลอ่ งภเู ขาไฟเคลอ่ื นท่รี วดเร็ว เมอื่ เถา้ ภูเขาไฟระเบดิ ข้นึ สู่ หลังจากภเู ขาไฟระเบิด เถ้า
เกิดความสูญเสียชวี ติ และ ถึง 50 กิโลเมตรต่อชว่ั โมง บรรยากาศ ครอบคลมุ อาณา ภูเขาไฟจะถลม่ ลงมา ทาํ ให้
ทรพั ย์สนิ มนุษย์และสตั วอ์ าจหนภี ยั ไมท่ นั บรเิ วณใกลภ้ ูเขาไฟ และลมอาจ พืน้ ทใ่ี กล้เคยี งถกู ทําลาย
เกิดความสญู เสยี พัดพาไปไกลจากแหล่งภูเขาไฟ

ระเบิดหลายพนั กิโลเมตร เช่น

ทําให้เกดิ มลภาวะทางอากาศและ

แหล่งนา้ํ กินนํา้ ใชข้ องประชาชน

ประโยชนข์ องภเู ขาไฟระเบิด Page 07

1. การระเบิดของภูเขาไฟชวยปรับระดับของเปลือกโลกใหอยูในภาวะสมดุล
2. การเคลื่อนที่ของลาวาจากการระเบิดของภูเขาไฟ ทําใหหินอัคนีและหินช้ันใตท่ีลาวาไหลผานเกิด
การแปรสภาพ เชน หินแปรที่แข็งแกรงข้ึน
3. แหลงภูเขาไฟระเบิด ทําใหเกิดแหลงแรที่สาํ คัญขึ้น เชน เพชร เหล็ก และธาตุอ่ืนๆ อีกมาก
4. แหลงภูเขาไฟจะเปนแหลงดินดีเหมาะแกการเพาะปลูก เชน ดินที่อาํ เภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี
เปนตน
5. แหลงภูเขาไฟ เปนแหลงทองเที่ยวท่ีสําคัญ เชน อุทยานแหงชาติฮาวาย ในอเมริกา หรือแหลงภู
กระโดง ภูอังคาร ในจังหวัดบุรีรัมยของไทย เปนตน
6. ฝุน เถาภูเขาไฟท่ีลองลอยอยูในอากาศชั้นสตราโตสเฟยร ทาํ ใหบรรยากาศโลกเย็นลง ปรับระดับ
อุณหภูมิของบรรยากาศช้ันโทรโพสเฟยรของโลกที่กาํ ลังรอนข้ึน แกสคารบอนไดออกไซด หรือการเกิด
ปฏิกิริยาเรือนกระจกและการเปลี่ยนแปลงของกระแสนาํ้ แอลนิโน

ขอ้ ควรปฏบิ ตั เิ มอ่ื ภเู ขาไฟเริ่มปะทุ Page 08

1. ก่อนเกิดเหตุ ควรสร้างช่องทางติดต่อสื่อสารฉุกเฉิน ตกลงกันใน
ครอบครัวว่าจะติดต่อกันอย่างไรด้วยวิธีไหน ถ้าเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน
จ ะ ไ ป เ จ อ กั น ท่ี ไ ห น

2 . ติ ด ต า ม ข่ า ว ส า ร จ า ก ท า ง ร า ช ก า ร แ ล ะ เ มื่ อ ท า ง ก า ร ส่ั ง อ พ ย พ ใ ห้
อ พ ย พ อ อ ก จ า ก พ้ื น ท่ี ทั น ที อ า จ ไ ป ร ว ม ตั ว กั น ท่ี ส ถ า น ท่ี ห ล บ ภั ย ทั น ที

3 . ไ ม่ ค ว ร ห ล บ อ ยู่ ใ น อ า ค า ร สิ่ ง ก่ อ ส ร้ า ง เ พ ร า ะ อ า จ ถ ล่ ม ล ง ม า
จ า ก แ ผ่ น ดิ น ไ ห ว ห รื อ เ ถ้ า ภู เ ข า ไ ฟ ไ ด้

4 . เ ต รี ย ม อุ ป ก ร ณ์ ยั ง ชี พ ใ ห้ พ ร้ อ ม เ ช่ น ไ ฟ ฉ า ย ย า ส า มั ญ
ป ร ะ จาํ บ้ า น นํ้า อ า ห า ร แ ห้ ง

ภเู ขาไฟแบ่งตามรูปร่าง ได้ 4 ลักษณะดังนี้ Page 09

1. ภูเขาไฟแบบกรวยสูง (Steep cone) 2

เกิดจากการทบั ถมของลาวาที่เปน กรด ลาวามีความเขมขนและเหนียว จงึ ไหลและ . 4.
เคลอ่ื นตัวไปอยา งชาๆ แตจะแขง็ ตวั เรว็ ทําใหไหลเ ขาชันมาก ภูเขาไฟแบบน้จี ะเกดิ จาก
การระเบดิ อยางรุนแรง

กรวยภูเขาไฟสลับช้ัน (Composite Cone Volcano หรอื Stratovolcano) เปน
ภูเขาไฟซง่ึ เกดิ จากการสลับหมนุ เวียนของชนั้ ลาวาและเศษหนิ ภูเขาไฟชนิดน้อี าจจะ
ดันลาวาไหลออกมาเปนเวลานาน และจะเปล่ยี นแปลงรปู แบบการประทุอยางกะทันหนั
ตวั อยา งเชน ภเู ขาไฟฟจู ิ

3.
ภเู ขาไฟรปู โล (Shield Volcano) เปนภเู ขาไฟทีม่ ขี นาดใหญ เกิดจากลาวาชนดิ บา
ซอลททไ่ี หลดวยความหนืดตา่ํ ลาวาทไี่ หลมาจากปลองกลาง และไมกองสงู ชนั
เหมอื นภูเขาไฟชนดิ กรวยสลับช้ัน

กรวยกรวดภูเขาไฟ (Cinder Cone) ภูเขาไฟชนดิ นีจ้ ะสูงชนั มาก เกิดจากลาวาทพ่ี งุ
ออกมาทับถมกัน ลาวาจะมคี วามหนืดสูง การไหลไมต อเนอื่ ง และมลี ักษณะเปนลาวา
ลูกกลมๆ ท่ีพงุ ออกมาจากปลอ งเดยี่ ว และทบั ถมกันบรเิ วณรอบปลอง ทาํ ใหภ เู ขาไฟ
ชนิดนไ้ี มคอ ยกอใหเ กิดความสูญเสียชวี ติ มากมาย

ภเู ขาไฟในไทย Page 10

ภเู ขาไฟดอยผาคอกจําปาแดด ภเู ขาพระองั คาร ตําบลเจรญิ สุข ภเู ขาหลวง
และปลอ่ งภเู ขาไฟดอยผาคอกหิน อําเภอเฉลมิ พระเกียรติ จังหวดั สโุ ขทัย
จงั หวัดบุรีรัมย์
ฟู
จงั หวดั ลาํ ปาง

ภเู ขาไฟในไทย Page 11

ภเู ขาพนมสวาย เขากระโดง
(วนอุทยานแหง่ ชาตพิ นม จังหวดั บุรรี ัมย์

สวาย) ภเู ขาพนมรุ้ง เขาท่าเพชร
จงั หวดั สรุ ินทร์ จังหวดั บรุ ีรมั ย์ จงั หวดั สุราษฎร์ธานี


Click to View FlipBook Version