อาณาจกั รสิ่งมีชีวติ
https://srk.thai.ac นายชาญณรงค์ มมุ ทอง กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อาณาจกั รสิ่งมีชีวติ
• อาณาจกั รโมเนอรา (Kingdom Monera): แบคทเี รีย
สาหร่ายสีเขยี วแกมนา้ เงิน
• อาณาจกั รโพรทิสตา (Kingdom Protista): โพรโตซัว
• อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae): พืชชนิดต่าง ๆ
• อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia): สัตว์ต่าง ๆ
• อาณาจกั รฟังไจ (Kingdom Fungi): เห็ด และรา
https://srk.thai.ac นายชาญณรงค์ มุมทอง กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ไวรัส (Virus) และอนุภาคทมี่ ชี ีวติ (Praticle living)
• ไม่มสี ่วนทเ่ี ป็ นเยื่อหุ้มเซลล์ของตวั เอง
• ไม่มเี มตาบอลซิ ึมเม่ืออยู่นอกเซลล์อาศัย (host cell)
• สามารถแพร่พนั ธ์ุ และเพม่ิ จานวนได้รวดเร็ว
• ไวรัสจึงเป็ นเพยี ง “อนุภาคทมี่ ชี ีวติ ”
• จัดอยู่ในอาณาจักรไวรา (Kingdom Vira) ซ่ึงการแบ่ง
อาณาจกั รนีข้ ณะนีย้ งั ไม่เป็ นที่ยอมรับกนั
การจดั ลาดบั หมวดหมู่ของสิ่งมชี ีวติ
อาณาจกั ร (Kingdom)
ดวิ ชิ ัน (Division) หรือ ไฟลมั (Phylum)
ช้ัน (Class)
อนั ดบั (Order)
วงศ์ (Family)
สกลุ (Genus)
ชนิด (Species)
การบญั ญตั ิชื่อวทิ ยาศาสตร์พืช
• ต้งั ช่ือตามลกั ษณะทป่ี รากฎ
• ต้งั ช่ือตามถนิ่ กาเนิด
• ต้งั ช่ือตามผู้ค้นพบหรือผู้ทเี่ กยี่ วข้อง
• พรรณไม้ทม่ี คี วามสาคญั มากอาจมหี ลายช่ือ
ประโยชน์ของการบัญญัติชื่อวทิ ยาศาสตร์
• ลดความซ้าซ้อนของช่ือ เพราะจะมเี พยี งช่ือเดยี ว
• ลดปัญหาการส่ือความหมายผดิ พลาด
• เป็ นช่ือสากลทใ่ี ช้ได้ในทุกประเทศ ทุกภาษา
หลกั การต้งั ชื่อวทิ ยาศาสตร์
• ในแต่ละหมวดหมู่จะต้องมชี ื่อทถ่ี ูกต้องเพยี งช่ือเดยี ว
• ต้องเป็ นภาษาลาตนิ ไม่ว่าจะมรี ากศัพท์จากภาษาใดกต็ าม (เพื่อ
ไม่ให้เพยี้ น เพราะปัจจุบนั ลาตนิ ไม่ใช้พดู กนั แล้ว)
• ต้งั ช่ือตามระบบทวนิ าม ประกอบด้วย 2 คา (genus species)
• ชื่อ genus จะขนึ้ ต้นด้วยอกั ษรตวั ใหญ่ และช่ือ species จะขนึ้ ต้น
ด้วยอกั ษรตวั เลก็
• ต้องมลี กั ษณะแตกต่างจากอกั ษรอ่ืน เช่นใช้ตวั เอน หรือขดี เส้นใต้
• ช่ือย่อหรือช่ือเตม็ ของผู้ต้งั ชื่อให้ใส่ไว้ท้ายสุดโดยใช้ตัวอกั ษรตวั แรก
เป็ นตัวใหญ่
ตวั อย่างการเขียนช่ือวทิ ยาศาสตร์
มะม่วง
Mangifera indica L. หรือ Mangifera indica L.
มะยม
Phyllantus acidus Skeels หรือ Phyllantus acidus Skeels
เผือกยกั ษ์
Xanthosoma sagittifolium (L.) Schott. หรือ
Xanthosoma sagittifolium (L.) Schott.