The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เนื้อหา_merged

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by narumon1911_, 2022-05-04 04:33:25

เนื้อหา_merged

ความรู้เกย่ี วกับเดก็ ท่ีมคี วามตอ้ งการจาเป็นพิเศษ

การศึกษาพเิ ศษ [Special Education]
คือ การจดั การเรียนการสอนและการบริการที่เป็นรูปแบบเฉพาะและต้องจัดให้ตรงกับ

ความตอ้ งการของเดก็ ทม่ี ีความตอ้ งการจาเป็นพิเศษทุกประเภท ท้งั นี้ ตอ้ งคานงึ ถึงความสามารถ
และความแตกต่างระหว่างบุคคลด้วย การศึกษาพิเศษมีความสาคัญต่อหลายฝุายต่อตัวเด็กท่ีมี
ความต้องการพิเศษเองในด้านการพัฒนาตนและส่งเสริมพัฒนาการให้ดีขึ้น ทั้งต่อครอบครัว
ในด้านการเห็นคณุ คา่ ในพฒั นาศกั ยภาพของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ การลดภาระในการดูแล
เดก็ และตอ่ สังคม ในแง่ของการสร้างสังคมให้การเรียนรู้ร่วมกัน เสริมสร้างเจตคติในทางบวกต่อ
ผู้ทม่ี คี วามบกพร่องและการช่วยให้ประเทศมคี นท่ีมคี ณุ ภาพ

ความหมายของเดก็ ท่ีมีความต้องการพเิ ศษ
การให้นิยามของเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษนั้นมีการพิจารณาถึงสภาพความบกพร่อง

หรือความพิการจากลักษณะดงั ตอ่ ไปน้ี
Cripple หมายถงึ ลักษณะความพกิ ารทางกาย ไมส่ ามารถเคลอื่ นไหวได้เหมือนคนปกติ

เนอ่ื งจากมอี วัยวะบางส่วนของรา่ งกายผิดปกติ

สมรรถนะทางการศึกษาพิเศษ
ความรูเ้ กีย่ วกับเด็กท่มี คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ

Handicap หมายถึง ผู้ที่มีความบกพร่องทางร่างกาย มีลักษณะความพิการท่ีเป็น
ความเสียเปรียบเปน็ จุดออ่ น มผี ลทาใหไ้ ม่สามารถปฏิบัติงานไดเ้ หมือนคนปกติ แตห่ ากมีการแก้ไข
อวัยวะท่ีบกพร่องให้สามารถใช้งานได้ดังเดิม ก็ไม่ใช่เป็นผู้ที่มีความบกพร่องอีกต่อไป เช่น คนท่ี
ประสบอุบัติเหตุถูกตัดขาไม่สามารถเดินได้ เม่ือได้ใส่ขาเทียมและฝึกฝนจนสามารถเดินได้
สภาพความบกพร่องกจ็ ะหมดไป

Disability หมายถึง ลักษณะความพิการที่เป็นความไร้ความสามารถหรือด้อย
ความสามารถ หรือสูญเสยี ความสามารถท่ีมีอยู่หรือไรส้ มรรถภาพ ศัพท์คานี้ ใช้กับอวยั วะที่ต้องใช้
ในการทากิจกรรม เช่น การพูด การฟัง การเห็น การเรียน ลักษณะความพิการทาให้อวัยวะ
สว่ นนนั้ ทางานไม่ได้เตม็ ที่หรอื ตามทค่ี วรจะเป็น

Retardation เป็นศพั ท์ทใี่ ช้กบั ความพกิ ารทางสติปญั ญา หมายถงึ ลกั ษณะความพิการ
ท่เี ปน็ ความชา้ ความหน่วง ความเส่อื มหรือความสูญเสีย

Impairment หมายถึง สภาพความบกพร่อง ความไม่สมบูรณ์ ทางกาย สติปัญญา
เน้อื เยือ่ หรือระบบประสาท เชน่ แขนด้วน หรอื เปน็ โรคหัวใจ เปน็ ตน้

Deficiency หมายถึง ลักษณะความพกิ าร เนื่องจากมคี ุณสมบตั ขิ าดหายไป
Children with special needs หมายถงึ เดก็ ท่ีมีความตอ้ งการพเิ ศษ หรือเด็กพิเศษ
นอกจากน้ีการให้นิยามว่าเด็กคนใดเป็นเด็กที่มีความต้องการพิเศษจะพิจารณาจากหลักเกณฑ์
ต่อไปน้ี
เดก็ ทมี่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษประกอบด้วยลกั ษณะดงั ต่อไปน้ี
1. มคี วามผดิ ปกติเกิดขน้ึ
2. ความผดิ ปกติน้ันต้องเบ่ียงเบนไปจากตวั แทนของกลุ่ม (Norm)
3. ความผิดปกตินนั้ จะตอ้ งเกิดขนึ้ ในตวั เดก็ เอง คือ ด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ ซึ่ง
อาจจะเกิดดา้ นใดดา้ นหนึ่ง หรือหลายด้าน
4. ความผดิ ปกตจิ ะตอ้ งอยใู่ นระดับที่สามารถประเมินได้ตามเกณฑ์ของแบบทดสอบแต่
ละด้านของความบกพร่องและความผิดปกตินี้มีผลกระทบกระเทือนต่อชีวิตความเป็นอยู่
พฒั นาการ ความเจริญเติบโตของเด็กในทกุ ด้าน

สมรรถนะทางการศึกษาพิเศษ
ความรเู้ ก่ียวกับเดก็ ทีม่ ีความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ

ลักษณะของเด็กทมี่ ีความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ

เด็กทม่ี คี วามตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ
หมายถงึ เดก็ ทม่ี คี วามบกพรอ่ งไม่วา่ จะเป็นด้านรา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมและ

จิตใจ จนขาดความสามารถในการเรียนและรวมถึงเด็กที่มีความสามารถพิเศษ โดยเด็กทั้งหมดน้ี
ตา่ งก็ตอ้ งการการจดั การศกึ ษาทพ่ี ิเศษและมีรูปแบบเฉพาะตา่ งจากเด็กปกตทิ ่วั ไป
ประเภทของเดก็ ท่มี คี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ

แบง่ ออกเป็น 9 ประเภท ไดแ้ ก่

1. เดก็ ทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางการเหน็
เดก็ ทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางการเหน็ (Children with Visual Impairments) หมายถึง

เด็กสญู เสยี การเห็นต้งั แต่ ระดับเลก็ นอ้ ยจนถึงตาบอดสนิท อาจแบง่ ได้เป็น 2 ประเภท

สมรรถนะทางการศึกษาพเิ ศษ
ความรู้เกยี่ วกับเด็กท่ีมีความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ

1. ตาบอด (Blindness) หมายถึง เด็กทส่ี ญู เสยี การเห็นมากจนต้องใชอ้ ักษรเบรลล์ หรอื
ใชว้ ิธกี ารฟงั เทปหรือแผน่ เสยี งในการเรยี นการสอน หรอื ผลการตรวจวดั ความชัดของสายตาขา้ งดี
เม่ือแกไ้ ขแล้วอยใู่ นระดับ 6/60 หรือ 20/200 ลงมาจนตาบอดสนทิ (หมายถงึ คนตาบอดสามารถ
มองเห็นวตั ถุไดร้ ะยะห่างน้อยกว่า 6 เมตรหรือ 20 ฟตุ ในขณะทคี่ นปกติสามารถมองเหน็ วตั ถุ
เดยี วกันในระยะ 60 เมตร หรอื 200 ฟตุ ) หรือมลี านสายตาแคบกวา่ 20 องศา (หมายถึง สามารถ
มองเห็นได้กว้างนอ้ ยกว่า 20 องศา)

2. เหน็ เลอื นราง (Low Vision) หมายถงึ เด็กทีส่ ญู เสยี การเหน็ แต่ยงั สามารถอา่ น
ตวั อกั ษรตวั พิมพ์ท่ขี ยายใหญ่ได้ หรอื ต้องใช้แวน่ ขยายอา่ น หากตรวจวดั ความชัดของสายตาข้างดี
เม่ือแกไ้ ขแล้วอยใู่ นระดับระหวา่ ง 6/18 หรือ 20/70 ถงึ 6/60 หรือ20/200 หรือมลี านสายตา
แคบกวา่ 30 องศา

ลักษณะของเดก็ ทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการเหน็
ลกั ษณะทัว่ ไป

1. มีอาการคนั ตาเร้อื รงั น้าตาไหลอยเู่ สมอ หรือมอี าการตาแดงบ่อยๆ
2. มผี นื่ หรือตุม่ บนหนงั ตาและขอบตา ตาอกั เสบ หรือ ฝกี ุ้งยิงบอ่ ยๆ
3. กลอกกลงิ้ ลูกตาไปมาบอ่ ยๆ ตาดามลี ักษณะผิดปกติ ตาเอยี ง ตาเข หรอื ตาเหล่
4. สายตาส้แู สงสว่างไม่ไดม้ กั ขยตี้ าบ่อยๆ และ กะพริบตาบอ่ ยๆ จนผดิ สงั เกต
5. มักมองเหน็ ภาพซ้อน วิงเวียนศีรษะ มองเหน็ ไม่ชดั ในบางครง้ั
6. เวลามองวัตถุระยะไกลๆต้องขยี้ตาหรือทาหน้ามุ่นขมวดค้ิวเวลาเดินต้องมองอย่าง
ระมัดระวัง หรือเดินชา้ ๆโดยกลัวจะสะดุดสิง่ ใดส่ิงหน่งึ ทข่ี วางหนา้
7. ไม่มคี วามสนใจดูภาพทต่ี ดิ ฝาผนัง หรือข้อความท่ีเขียนบนกระดานดาไม่ชอบทางาน
ท่ีตอ้ งใช้สายตา หยิบวางของผดิ ทอ่ี ยเู่ สมอ
8. เวลาเขียนหนงั สอื มักจะเว้นบรรทัดไม่ถูก หรือเขียนไม่ตรงกับบรรทดั ทีต่ ีไว้
9. อา่ นหนงั สือได้ระยะเวลาสน้ั และ ใบหนา้ บดู เบีย้ วเวลาอา่ นหนังสอื
10. ปิดตาหรือหลับตาข้าหน่ึง เมอื่ เวลาอา่ นหนังสือหรอื ดูสิง่ อื่นๆ

สมรรถนะทางการศกึ ษาพเิ ศษ
ความรู้เก่ียวกบั เดก็ ที่มีความต้องการจาเปน็ พิเศษ

11. เวลาอ่านหนงั สอื มพี ฤติกรรม ก้มและเงยตลอดเวลา
12. เวลาอา่ นหนงั สอื มกั สับสน เมือ่ อ่านตัวหนังสือที่มีลักษณะคลา้ ยกัน เชน่ อ ฮ บ ข

ลกั ษณะทางจิตวิทยา
- คนปกติท่ัวไปมักเข้าใจว่าเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นมีความสามารถพิเศษ

ทางด้านอน่ื
- อัตมโนทัศน์ (self- concep) เป็นเรื่องเก่ียวกับความคิดเก่ียวกับตนเอง ส่งผลต่อ

คุณภาพชีวิต ในด้านความทะเยอทะยาน การไปให้ถึงความสาเร็จ ความสุขสงบในชีวิตและ
สมั พนั ธภาพของตนกับบคุ คลอ่นื

- ภาษาค่อนข้างจากัด ท้ังนี้เน่ืองจาก ภาษาเกิดจากการค้นพบโดยการเห็น สัมผัสและ
ลงมือกระทา

- สติปัญญา เด็กประเภทนจี้ ะมคี วามลา่ ช้าในดา้ นความสามารถทางการเรียน เนื่องจาก
การขาดการกระต้นุ ทางการเหน็ จึงทาใหเ้ ด็กขาดการสารวจสงิ่ ต่างๆ

- กล้ามเน้ือ การพัฒนากลา้ มเน้ือก็ย่อมต้องอาศยั ทักษะทางการเหน็ ร่วมด้วย

2. เด็กทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการไดย้ ิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน (Children with Hearing Impairments)

หมายถึง เดก็ ที่สญู เสียการไดย้ นิ ตง้ั แต่ระดบั หตู ึงนอ้ ยถึงระดับหูหนวก อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท
คือ

สมรรถนะทางการศกึ ษาพิเศษ
ความรูเ้ กี่ยวกบั เด็กที่มีความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ

1. หูหนวก (Deaf) หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยินมากจนไม่สามารถรับ
ข้อมลู ผ่านทางการได้ยินไม่ว่าจะใส่หรือไม่ใส่เคร่ืองช่วยฟังก็ตาม โดยมาตรฐานสากล คนหูหนวก
คือ ผู้ที่มีการได้ยินที่ 90 เดซิเบล ข้ึนไป (เดซิเบล เป็นหน่วยวัดความดังของเสียง หมายถึง เม่ือ
เปรียบเทียบระดบั เรม่ิ ไดย้ ินเสียงของ เดก็ ปกติ เมือ่ เสียงดงั ไม่เกิน 25 เดซเิ บล คนหูหนวกจะ
เริ่มได้ยนิ เสียงดงั มากกว่า 90 เดซิเบล)

2. หตู ึง (Hard of Hearing) หมายถงึ เดก็ ท่มี กี ารไดย้ นิ เหลืออยู่พอเพียงท่ีจะ
รับข้อมูลผ่านการได้ยินไม่ว่าจะใช้เคร่ืองช่วยฟังหรือไม่ก็ตาม โดยท่ัวไปจะใช้เคร่ืองช่วยฟัง และ
หากตรวจการได้ยนิ จะพบว่ามกี ารสญู เสยี การได้ยินน้อยกว่า 90 เดซิเบล ลงมาจนถึง 26 เดซิเบล
แบ่งเปน็ กลุ่มย่อย ได้ดงั นี้

2. 1 ตึงเลก็ นอ้ ย (Mild hearing loss) การได้ยินเฉลี่ยระหว่าง 26-
40 เดซิเบล

2. 2 ตึงปานกลาง (Moderate hearing loss( การได้ยินเฉลี่ย
ระหว่าง 41 – 55เดซเิ บล

2. 3 ตึงมาก (Server hearing loss( การได้ยินเฉลี่ยระหว่าง 56 –
70 เดซเิ บล

2. 4 ตึงรุนแรง (Profound hearing loss( การได้ยินเฉลี่ยระหว่าง
71 – 90 เดซเิ บล

สมรรถนะทางการศกึ ษาพิเศษ
ความรเู้ กี่ยวกับเด็กท่มี คี วามตอ้ งการจาเป็นพิเศษ

ลกั ษณะของเดก็ ทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการไดย้ ิน
ลักษณะทัว่ ไป

1. อายปุ ระมาณ 3 เดอื น เมอื่ มเี สียงมากระตุ้นเด็กไม่กรอกตาหาเสียง
2. อายุประมาณ 8 เดือน ถึง 1 ปี เมื่อเรียกเบาๆ ไม่หันหาเสียง ไม่ตอบสนองต่อเสียง
เขย่าของเล่นหรอื เสียงเคาะช้อนกบั แก้ว
3. อายุ 2 ปี ไมส่ ามารถชบี้ อกตามคาสง่ั ได้ถ้าให้เด็กพูดตามเปน็ คา ถ้าพูดเพียงคร้ังเดียว
เดก็ พูดตามไม่ได้ ไมส่ ามารถพูดตามเมอ่ื พูดเป็นพยางค์ ไมส่ ามารถพูดเปน็ วลสี ั้นๆ ได้
4. ไม่ตอบสนองต่อเสียงแมม้ ีเสยี งดังๆ มากระต้นุ เรียกไมห่ ัน
5. มปี ระวัตเิ ป็นหวัดบ่อยๆ มหี ูอักเสบเรอ้ื รงั
6. ไม่มีอาการตอบสนองเม่ือเรียกหรือเสียงปรบมือดังๆ ในระยะห่างประมาณ 6 -3
ฟุต
7. มกั ตะแคงหฟู งั ไมพ่ ดู ชอบใชท้ ่าทางในการสอื่ ความหมาย พดู ไม่ชดั เสยี งผิดปกติ
8. พูดไม่ถูกหลักไวยากรณ์ พูดมีเสียงแปลก มักเปล่งเสียงสูง พูดด้วยเสียงต่าหรือด้วย
เสยี งท่ดี งั เกินความจาเปน็ เวลาฟงั มกั จะมองปากของผู้พดู หรือจ้องหนา้ ผู้พดู
9. ไม่มปี ฏิกริ ยิ าตอ่ เสยี งดงั เสยี งพดู เสยี งดนตรีหรือมีบ้างบางครัง้
10. ไมช่ อบรอ้ งเพลง ไม่ชอบฟงั นทิ าน แตแ่ สดงการตอบสนองอย่างสม่าเสมอต่อเสยี งดงั
ในระดบั ทเี่ ด็กไดย้ ิน มักทาหน้าเดอ๋ เม่อื มกี ารพดู ด้วย
11. ซน ไม่มีสมาธิ ไม่สามารถปฏิบัติตามคาสั่งได้ อาจมีปัญหาทางอารมณ์และสังคม
รว่ มด้วย
12. ไม่ตอบคาถาม

ลักษณะทางจติ วทิ ยา
- มกั มปี ัญหาทางด้านการอา่ นและการเขียน ความสามารถในการอ่านในระดับที่ต่ากว่า

อายุ และการเขียนก็ยังมีความสับสนในด้านของการลาดับคาในประโยคตลอดจนคาศัพท์ที่ใช้
คอ่ นข้างจากดั

สมรรถนะทางการศกึ ษาพเิ ศษ
ความรู้เกยี่ วกับเดก็ ท่ีมคี วามตอ้ งการจาเป็นพิเศษ

- การพูด มคี วามบกพรอ่ งดา้ นจังหวะและสานวนมากกวา่ การเปล่งเสยี งแบบเสยี งเดียว
และมคี วามยากลาบากในการเปล่งเสยี งตามระดับเสียง

- มีความสามารถจากการอ่านริมฝีปากของคู่สนทนาร่วมกับการสังเกตการแสดงออก
ทางสหี น้าท่าทาง และภาษากาย ในการแปลความ

- เดก็ ขาดทกั ษะทางดา้ นภาษา ทาให้ถกู ตีความว่า มสี ติปัญญาต่า
- เด็กขาดการรับรู้ต่อการแสดงออกทางสังคมทีเ่ หมาะสม

3. เด็กท่มี คี วามบกพร่องทางสตปิ ญั ญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา (Children with Intellectual Disabilities)

หมายถึง เด็กที่มีพัฒนาการช้ากว่าคนปกติท่ัวไป เม่ือวัดสติปัญญา โดยใช้แบบทดสอบมาตรฐาน
แล้ว มีสติปัญญาตา่ กวา่ คนปกติ และความสามารถในการปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมตา่ กว่าเกณฑ์ปกติ
อย่างนอ้ ย 2 ทกั ษะหรือมากกวา่ ซึ่งลักษณะความบกพร่องทางสตปิ ัญญา จะแสดงอาการกอ่ นอายุ
18 ปี อาจแบง่ ความบกพร่องของสติปญั ญา 4 ระดับ ดงั น้ี

1. บกพรอ่ งระดบั เล็กน้อย ระดบั เชาวป์ ัญญา (IQ) ประมาณ 50- 70 E. M. R.
2. บกพร่องระดับปานกลาง ระดับเชาว์ปญั ญา (IQ) ประมาณ 35- 55
3. บกพรอ่ งระดับรุนแรง ระดบั เชาว์ปัญญา (IQ) ประมาณ 20- 40
4. บกพร่องระดับรนุ แรงมาก ระดบั เชาวป์ ัญญา (IQ) ประมาณ 20- 25

สมรรถนะทางการศึกษาพิเศษ
ความรูเ้ กีย่ วกับเดก็ ทมี่ ีความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ

ลักษณะของเด็กท่ีมีความบกพร่องทางสตปิ ัญญา
ลักษณะท่วั ไป

1. มคี วามรดู้ ้านคาศพั ท์ในวงจากัด
2. มีพฒั นาการช้า
3. ไมค่ อ่ ยมปี ฏกิ ริ ยิ าโตต้ อบกบั ส่งิ ทอ่ี ย่รู อบตัว
4. เคล่อื นไหวชา้ งมุ่ ง่าม
5. มีชว่ งความสนใจส้นั ไมม่ สี มาธใิ นการเรยี นและการทางาน
6. ไมเ่ ข้าใจบทเรยี นต้องสอนซ้าแลว้ ซ้าอีก
7. ชอบเล่นกบั เดก็ ที่มีอายุนอ้ ยกว่า
8. ตอบสนองต่อส่ิงตา่ งๆ ชา้ และในลกั ษณะท่ไี ม่เหมาะสม
9. มอี ารมณโ์ กรธ ฉุนเฉียวบ่อยๆ สับสนง่าย
10. มักปฏิบตั ติ ามคาสั่งไม่ค่อยได้ สรุปความไมค่ อ่ ยได้
11. ชอบลอกเลียนแบบ ไม่ใช้ความคิดของตนเองและต้องอยู่ภายใต้การควบคุม
ตลอดเวลา ชอบทาอะไรซ้าๆ

ลกั ษณะทางจิตวิทยา
- ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง พ่ึงพาผู้อ่ืนในการแก้ไขปญั หาต่างๆ
- ขาดความสนใจในบทเรียนท่ียาวนานเกินไป ลืมง่าย หันเหนความสนใจต่อสิ่งอ่ืน

นอกเหนือจากเรยี นไดง้ า่ ย ชอบเสยี งเพลงและการแสดงออก
- มปี ญั หาการเรยี นรูใ้ นส่ิงที่เป็นนามธรรม
- มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นต่า
- มักมีโรคประจาตัวร่วมด้วย เช่น โรคหัวใจ ตลอดจนมีกล้ามเนื้อที่ไม่แข็งแรง ท้ัง

กล้ามเน้ือมัดใหญ่และมดั เล็ก
- มีปัญหาในเร่ืองของการประสานสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมือกบั สายตา
- บางรายอาจมีอาการของสายตาผิดปกติ เชน่ ตาเหล่ร่วมดว้ ย
- มกั พดู ไม่ชดั บางรายพูดลน้ิ คบั ปาก ใช้ภาษาทต่ี ่ากวา่ อายุ

สมรรถนะทางการศึกษาพเิ ศษ
ความร้เู กย่ี วกับเด็กที่มีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ

4. เด็กทมี่ ีความบกพรอ่ งทางรา่ งกายหรือสุขภาพ
เด็กท่ีมีความบกพร่องทางร่างกายหรือสุขภาพ(Children with Physical

Disabilities/Health Impairments) หมายถึง เด็กที่มีอวัยวะไม่สมส่วน อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่ง
หรือหลายส่วนขาดหายไป กระดูกและกล้ามเน้ือพิการ เจ็บปุวยเรื้อรังรุนแรง มีความพิการของ
ระบบประสาท แบง่ ได้เป็นประเภท ดังนี้

1. ซีพี หรือ ซีรีบรัล พัลซี (Cerebral Palsy) หมายถึง การเป็นอัมพาตเน่ืองจากระบบ
ประสาทสมองพกิ าร ซึ่งทาให้เกิดกลุ่มอาการผิดปกติ เช่น การเคล่ือนไหว การพูดการฟังผิดปกติ
พฒั นาการล่าช้า ความบกพรอ่ งทางสตปิ ัญญา เด็กซีพีท่พี บส่วนใหญ่มี 4 ประเภทคือ

ก. อัมพาตเกร็ง (Spastic) ของแขนขาหรือครงึ่ ซีก
ข. อัมพาตของลีลาการเคล่ือนไหวผิดปกติ (Athetoid) จะควบคุมการ
เคล่อื นไหวและบงั คบั ให้ไปในทศิ ทางท่ีตอ้ งการไมไ่ ด้
ค. อัมพาตสูญเสยี การทรงตวั (Ataxic) การประสานงานของอวัยวะไม่ดี
ง. อัมพาตตึงแข็ง (Rigid) การเคลอื่ นไหวแขง็ ช้า ร่างกายมีอาการสัน่ กระตุก
อยา่ งบังคบั ไมไ่ ด้
2. มัสคิวลาร์ ดิสโทรฟี (Muscular Dystrophy) เกิดจากสมองประสาทส่วนนั้นเสื่อม
สลายตัวโดยไม่ทราบสาเหตุ กล้ามเน้ือและแขนขาจะคอ่ ยๆ อ่อนกาลัง เด็กจะเดินหกล้มบ่อย เดิน
เขย่งปลายเท้า ขาไมม่ ีแรง

สมรรถนะทางการศกึ ษาพิเศษ
ความรู้เกี่ยวกบั เดก็ ทมี่ คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ

3. โรคทางระบบกระดกู กลา้ มเนอ้ื (Orthopedic) ที่พบบ่อยไดแ้ ก่
ก. พิการแตก่ าเนิด เชน่ เทา้ แป(Club foot) กระดกู ขอ้ สะโพกเคล่ือน อมั พาต

ครงึ่ ทอ่ น
ข. พิการด้วยโรคติดเชื้อ(Infection) เช่น วัณโรคกระดูกหลังโกง กระดูกผุ

เปน็ แผลเรอื้ รงั มีหนอง เศษกระดูกผุ ทาให้กระดกู ส่วนน้ันพกิ าร
ค. กระดกู หกั ข้อเคล่ือน ข้ออักเสบ มีความพิการเน่ืองจากไม่ได้รับการรักษา

ทถี่ กู ต้องหรือทนั ท่วงทีภายหลังไดร้ บั บาดเจบ็
4. โปลิโอ (Poliomyelitis) อัมพาตชนิดกล้ามเน้ืออ่อนแรง ไม่มีกาลังในการเคลื่อนไหว

ตอ่ มาทาใหม้ อี าการกลา้ มเนอื้ ลบี เล็ก
5. แขนขาด้วนแต่กาเนิด (Limb Deficiency) รวมท้ังเด็กท่ีเกิดมาด้วยลักษณะของ

อวัยวะทม่ี ีความเจรญิ เติบโตผิดปกติ เด็กทีแ่ ขนขาด้วนเนือ่ งจากอุบัตเิ หตุ ภยั อนั ตราย
6. โรคกระดูกอ่อน (Osteogenesis Imperfect) เด็กไม่เจริญเติบโตสมวัย ตัวเตี้ย มี

ลักษณะขอ้ กระดูกผดิ ปกติ
7. โรคลมชัก (Epilepsy) เป็นลักษณะอาการท่ีเน่ืองมาจากความผิดปกติของระบบ

สมองทพ่ี บบ่อย มี 3 ประเภท คือ
ก. ลมบ้าหมู (Grand mal) เป็นชนิดรุนแรง เม่ือเป็นหมดสติและความรู้สึก

ในขณะชกั กล้ามเนอ้ื เกร็ง หรอื แขนขากระตุก กดั ฟัน กดั ลน้ิ
ข. พิทิต มอล (Petit mal) เปน็ อาการชกั ชว่ั ระยะเวลาสั้นๆ 5- 10 วินาที
ค. พาร์เชียล คอมเพลกซ์ (Partil complex) หรือ ไซโคมอเตอร์

(Peychomotor) หรอื เทมปอรลั โลบ (Temporal lobe) เกดิ อาการเป็นระยะๆ ต้ังแตไ่ มก่ ่ีวนิ าที
จนถึงหลายๆ ชว่ั โมง

8. โรคระบบทางเดินหายใจ โดยมีอาการเรอื้ รังของโรคปอด (Asthma)
9. โรคเบาหวานในเด็ก เกิดจากร่างกายไม่สามารถใช้กลูโคสได้อย่างปกติเพราะขาด
อินซลู ิน
10. โรคข้ออกั เสบรูมาตอย มีอาการปวดตามขอ้ เข่า ขอ้ ศอก ข้อนว้ิ มอื

สมรรถนะทางการศกึ ษาพเิ ศษ
ความรเู้ ก่ียวกับเดก็ ที่มีความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ

11. โรคศรี ษะโต เนอ่ื งจากนา้ คงั่ ในช่องสมอง
12. โรคหัวใจ (Cardiac Conditions) ส่วนมากเป็นต้ังแต่กาเนิด เด็กจะตัวเล็ก เติบโต
ไม่สมอายุ
13. โรคมะเร็ง (Cancer) ส่วนมากเป็นมะเร็งเม็ดโลหิต และเนื้องอกในดวงตา สมอง
กระดูก และไต
14. บาดเจ็บแลว้ เลือดไหลไม่หยุด (Hemophilia)

ลักษณะของเด็กที่มีความบกพร่องทางรา่ งกายและสขุ ภาพ
ลกั ษณะทว่ั ไป

1. ลาตวั ไม่ตรง เท้างุ้ม คด ผิดปกติ
2. หลังโกง เดนิ ไมไ่ ด้ เดนิ ไม่ตรง เดินลาบาก เดินโดยใชไ้ มค่ ้า หรือสายรดั เท้า
3. เทา้ โตหรือเล็กกว่าปกติ กลา้ มเนอ้ื แขนขาไม่มีแรง
4. แสดงอาการเจ็บปวด ขณะเดนิ หรือออกกาลังกาย
5. กระดูก ขอ้ ต่อ และกลา้ มเนอ้ื มลี กั ษณะผดิ ปกตอิ ย่างเห็นไดช้ ดั เม่ือมองดจู ากภายนอก
6. มีท่าทางเหนอ่ื ยง่าย ไม่กระฉับกระเฉง เฉื่อยชา
7. มีท่าทางกระสบั กระส่ายอย่างเหน็ ไดช้ ัด
8. มีขนาดและสว่ นสงู แตกตา่ งไปจากเดก็ อ่ืนมาก
9. หนา้ แดงบอ่ ย คลา้ ยคนขอี้ าย สีแดงเรื่อๆ จะปรากฏที่แกม้ รมิ ฝปี าก และเล็บมือ
10. เปน็ หวัดบ่อยๆ
11. หกลม้ บอ่ ย

ลกั ษณะทางจิตวทิ ยา
- การตอบสนองแบบไม่ได้คาดการณ์ไว้ เช่น การยิ้ม อาจเกิดจากการกระตุกของ

กล้ามเนอื้ ดังนน้ั จึงอาจทาใหค้ นอืน่ เขา้ ใจผดิ ว่า เด็กแสดงพฤตกิ รรมที่ไม่เหมาะสม
- การเคลอ่ื นไหวทไ่ี ม่สมบูรณ์

สมรรถนะทางการศกึ ษาพิเศษ
ความรูเ้ ก่ียวกบั เดก็ ที่มีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ

- การเจบ็ ปวดของอวัยวะขณะทีต่ อบสนอง
- การตอบสนองทล่ี า่ ช้า
- การตอบสนองทีไ่ ม่ถูกตอ้ ง
- พฤติกรรมของผทู้ ี่ดแู ลเด็ก สง่ ผลต่อความเชอ่ื มน่ั ในตนเองของเดก็
- พฤตกิ รรมเงียบขรมึ เนอ่ื งจากมักถูกล้อเลียนจากเพอ่ื น
- พฤติกรรมขาดความสนใจในงานและกิจกรรม อันเนื่องมาจากความเบื่อหน่ายใน
อาการของตน
- การเคลื่อนไหวกล้ามเน้ือและการควบคุมการหายใจขณะท่ีพูด ส่งผลต่อการพูดของ
เดก็
- ปัญหาในการควบคมุ การขบั ถ่าย

5. เดก็ ที่มคี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้
เดก็ ท่ีมคี วามบกพร่องทางการเรยี นรู้ (Children with Learning Disabilities) หรือ LD

หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่องอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างในในกระบวนการพ้ืนฐาน
ทางจติ วิทยาทเ่ี ก่ยี วกับความเข้าใจหรือการใช้ภาษา อาจเป็นภาษาพดู และ/หรือ ภาษาเขียน

สมรรถนะทางการศึกษาพเิ ศษ
ความร้เู กีย่ วกับเดก็ ที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ

ลกั ษณะของเดก็ ทม่ี ีความบกพร่องทางการเรยี นรู้
ลักษณะทัว่ ไป
1. แยกความแตกต่างของขนาดและรูปทรงไม่ได้จาตัวเลขไม่ได้นับเลขไม่ได้ใช้

เคร่อื งหมาย บวก ลบ คูณ หาร ไมไ่ ด้เมือ่ เรยี นแลว้ คานวณผิด แม้จะใช้เครื่องหมายถูก มีปัญหา
ในการเรยี นคณิตศาสตร์

2. ปฏบิ ตั ติ ามคาส่ังไมไ่ ด้ เพราะไมเ่ ขา้ ใจคาสัง่ ไมต่ ง้ั ใจฟงั ครจู าส่ิงที่ครพู ดู ไม่ได้เลา่ เรือ่ ง/
ลาดับเหตกุ ารณ์ไมไ่ ด้

3. มีปัญหาด้านการอ่าน เช่น อ่านข้ามบรรทัด อ่านไม่ออก อ่านไม่ชัดเจน ไม่เข้าใจ
ความหมายของ สิ่งที่อ่าน เข้าใจคาศัพท์นอ้ ยมาก

4. มีปัญหาด้านการเขียน เช่น เขียนหนังสือไม่เป็นตัว จาตัวอักษรไม่ได้ สะกดคาไม่ได้
เขียนบรรยายภาพไม่ได้เลย

5. สบั สนเรอ่ื งเวลากะ ขนาดไมไ่ ด้ ไมเ่ ขา้ ใจเกยี่ วกับระยะทาง เรยี งลาดับมากนอ้ ยไมไ่ ด้
เรียงลาดับเหตุการณ์ไม่ได้ สับสนเรื่องซ้าย- ขวา หรือบน- ล่าง มองเห็นภาพแต่บอกความ
แตกตา่ งของภาพไม่ได้

6. จาสิ่งที่เห็นไม่ได้ จาสิ่งที่ได้ยินไม่ได้ และแยกเสียงไม่ได้ เคลื่อนไหวช้าผิดปกติ
เดนิ งุ่มงา่ มหกลม้ บ่อยกระโดดสองเท้าพร้อมกนั ไมไ่ ด้ มปี ัญหาในการทรงตัวขณะเดนิ

7. หยิบจับสิ่งของไมค่ ่อยไดจ้ งึ ทาของหลดุ มอื บ่อย ซมุ่ ซ่ามเคล่ือนไหวเร็วอยู่ตลอดเวลา
(เรว็ ผดิ ปกติ)

8. อยู่น่ิงเฉยไม่ได้ รับลูกบอลไม่ได้ ติดกระดุมไม่ได้ เอาแต่ใจตนเองไม่ยอมรับฟัง
ความคิดเหน็ ของเพือ่ น เพอ่ื นไมช่ อบ ไมอ่ ยากใหเ้ ข้ากลมุ่ ด้วย ช่วงความสนใจสั้นมาก (ไม่เกิน 1
นาที) แต่งตวั ไมเ่ รยี บร้อยเป็นประจา ทางานสกปรกไม่เป็นระเบียบ ชอบหลบหน้าไม่ค่อยมีเพื่อน
หวงของ ไม่แบ่งปัน ขาดความรับผิดชอบเลี่ยงงาน มักทางานท่ีได้รับมอบหมายไม่สาเร็จ ส่งงาน
ไมต่ รงเวลา

สมรรถนะทางการศึกษาพิเศษ
ความรู้เกีย่ วกับเด็กทมี่ คี วามตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ

ลักษณะทางจติ วทิ ยา
ลกั ษณะของเด็กประเภทน้ีมคี วามหลากหลาย ท้งั ในดา้ นของวิชาการ สงั คมและอารมณ์

เด็กมคี วามบกพรอ่ งในหลายดา้ นไดแ้ ก่
ปญั หาดา้ นการพูดและการฟัง เด็กที่มีปัญหาเช่นนี้เรียกว่า อเฟเชีย (Aphasia) เด็กจะ

ไดย้ นิ แต่ไมส่ ามารถรวบรวมขอ้ มูลหรือแปลความหมายของสงิ่ ทไ่ี ดย้ ินใหเ้ ป็นข้อความทมี่ ีประโยชน์
หรอื ความหมายได้

ปัญหาด้านการอ่าน เด็กกลุ่มนี้ศัพท์ทางวิชาการเรียกว่า ดิสเล็กเซีย (Dyslexia)
เด็กอ่านคาโดยสลับตัวอักษร เช่น กบ เป็น บก มอง เป็น ของ ยอด เป็น ดอย เป็นต้น
ไม่เข้าใจว่าตัวอักษรใดมาก่อนมาหลัง ตัวอักษรใดอยู่ซ้ายหรือขวา ไม่สามารถแยกแยะเสียงสระ
ในคาได้ เดก็ มกั อ่านคา แมลง ว่า แม- ลง หรอื มะ- แล- ลง เปน็ ตน้

ปัญหาด้านการเขียนและการสะกดคา เด็กกลุ่มน้ีเรียกว่า ดิสกราเฟีย (Dysgraphia)
เด็กมักจะเขยี นตวั หนังสือตดิ กันโดยไม่แยกเป็นคาและประโยค การใช้คาศัพท์ท่ีต่ากว่าระดับอายุ
เขียนตวั หนงั สอื ตกหล่น มคี าผดิ มาก เด็กไม่สามารถเขียนหนังสือได้ จับดินสอไม่ได้ ลอกคาศัพท์
หรือตวั อกั ษร หรือตัวเลข หรือรูปทรงเรขาคณิตจากกระดานลงบนสมุดของตนเองไม่ได้ หรือทา
ไดแ้ ตล่ ายมอื อ่านยาก

ปัญหาดา้ นคณิตศาสตร์ เด็กกลมุ่ นเี้ รยี กวา่ ดสิ แคลคเู ลยี (dyscalculia) มีปญั หาในการ
จัดเรียงลาดับ ทาเลขไม่ได้ ไม่ว่าจะบวก ลบ คูณ หาร เพียงอย่างเดียวหรือท้ัง 4 อย่าง ไม่เข้าใจ
ความหมายของสญั ลกั ษณท์ างคณติ ศาสตร์ มีปญั หาในการทาเลขโจทย์ปัญหา เพราะเด็กไม่เข้าใจ
ความหมายของปัญหาที่เปน็ โจทย์ จงึ แปลความหมายไม่ได้วา่ เมอ่ื ใดจะบวก ลบ คูณ หรอื หาร

สมรรถนะทางการศกึ ษาพเิ ศษ
ความรู้เก่ียวกบั เดก็ ทมี่ ีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ

6. เด็กทมี่ คี วามบกพร่องทางการพดู และภาษา
เดก็ ท่ีมีความบกพร่องทางการพูดและภาษา (Children with Speech and Language

Disorder) หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่องในเร่ืองของการออกเสียงพูด เช่น เสียงผิดปกติ อัตรา
ความเรว็ และจงั หวะการพดู ผิดปกติ หรอื เดก็ ทมี่ คี วามบกพรอ่ งในเรือ่ งความเข้าใจและหรอื การใช้
ภาษาพดู การเขยี น และหรอื ระบบสญั ลักษณอ์ ื่นท่ีใช้ในการติดต่อส่ือสาร ซ่ึงอาจเกี่ยวกับรูปแบบ
ของภาษา เน้อื หาของภาษาและหนา้ ทข่ี องภาษา

ความบกพร่องอาจแบ่งได้เป็น 3 ลกั ษณะคือ
1. ความผดิ ปกติดา้ นการออกเสียง (Disorder of Articulation เช่น ออกเสียงเพี้ยนไป

จากมาตรฐานของภาษาเดิม เช่น พูดเสียงขึ้นจมูกเน่ืองจากอิทธิพลของภาษาถ่ิน เพิ่มหน่วยเสียง
เขา้ ไปในคาโดยไม่จาเปน็ เอาเสียงหนึ่งมาแทนอกี เสยี งหน่ึง เชน่ กวาด เปน็ ฝาด

2. ความผิดปกติด้านจังหวะเวลาการพูด (Disorders of Time) ได้แก่ การพูดรัว
พูดติดอ่าง

3. ความผิดปกติด้านเสียง (Voice Disorders) ได้แก่ ระดับเสียง เช่น การพูดเสียงสูง
เกินไป ต่าเกินไป หรือพูดระดับเสียงเดียวกันหมด ความดัง เช่น พูดเสียงดังมาก หรือเบามาก
จนเกนิ ไป คุณภาพของเสียง เชน่ พูดเสียงแตกพร่า เสียงแหบ เสียงหอบ เสียงขึน้ จมกู เสยี งแปรง่

สมรรถนะทางการศกึ ษาพิเศษ
ความรูเ้ ก่ียวกบั เดก็ ที่มีความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ

ลักษณะของเดก็ ทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการพูดและภาษา
ลกั ษณะทว่ั ไป
1. พูดไม่ถกู ตามลาดับขั้นตอน ไมเ่ ป็นไปตามโครงสรา้ งของภาษา
2. การเวน้ วรรคตอนไมถ่ กู ตอ้ ง
3. อัตราการพูดเร็วหรอื ช้าเกนิ ไป
4. จงั หวะของเสยี งพูดผดิ ปกติ
5. พูดตะกุกตะกัก พูดซ้าๆ พูดวกวนทาให้ผู้ฟังจับใจความไม่ได้ หรือใช้คาที่ไม่จาเป็น

มากเกนิ ไป
6. พูดติดอ่าง
7. เสยี งบางส่วนของคาขาดหายไป เช่น “ความ”เปน็ “ควม” “วิทยาลัย”เปน็ “วทิ ลัย”

“คลาย”เปน็ “คาย”
8. ออกเสียงของตัวอ่ืนแทนตัวท่ีถูกต้อง เช่น “กิน”เป็น“จิน” “กวาด”เป็น“ฝาด”

“ลา”เปน็ “งา” “ฟัง”เปน็ “พงั ”
9. เพมิ่ เสียงทไี่ ม่ใชเ่ สยี งท่ีถูกตอ้ งลงไปด้วย เช่น “หกล้ม”เป็น“หก- กะ- ล้ม” “สาคัญ

เป็น“สา- มะ- คัน”
10. พูดไม่ชดั

ลักษณะทางจิตวทิ ยา
ดา้ นการปรับตัวในสงั คม พบว่า เด็กท่ีมีภาษาผิดปกติจะใช้รูปแบบหรือความหมายของ

ภาษาไม่เหมาะสม เด็กอาจมีปัญหาพฤติกรรมในห้องเรียน เน่ืองจากเด็กจะได้ยินและแปล
ความหมายของประโยคตามตัวอกั ษรเท่าน้ัน

ด้านอัตมโนทัศน์ มักจะอายเม่ือถูกเพื่อนล้อเลียนการพูดของตน ส่งผลให้ไม่อยากพูด
หรือมองตัวเองในแง่ลบ มกั มอี ารมณ์หงดุ หงิดง่าย

สมรรถนะทางการศกึ ษาพิเศษ
ความรเู้ กี่ยวกับเด็กที่มคี วามตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ

7. เดก็ ทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางพฤติกรรม อารมณ์ สงั คม
เด็กท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรม อารมณ์ สังคม(Children with Behavioural

Emotional and Social disorder) หมายถึง เด็กที่มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากปกติอย่างมาก
และพฤติกรรมเบี่ยงเบนนี้ส่งผลกระทบตอ่ การเรียนรขู้ องเด็กและผ้อู น่ื เปน็ ผลมาจากความขัดแย้ง
ของเด็กกบั สภาพแวดลอ้ ม หรือความขัดแย้งทีเ่ กิดขึ้นในตวั เด็ก

ลกั ษณะของเด็กท่ีมคี วามบกพร่องทางพฤตกิ รรม อารมณ์ สังคม
1. การก้าวร้าว (Aggression) ความคับข้องใจ ก้าวร้าว จะเกิดข้ึนเมื่อบุคคลน้ันถูก

ขัดขวาง ทาให้เกิดความวิตกกังวล คับข้องใจ ตลอดจนการโกรธจนทาให้เกิดการอยากต่อสู้
และแสดงการกา้ วร้าวออกมา เชน่ ทาลายของ

2. การถอยหนี (Regression) การข้องคับใจอาจทาให้เกิดพฤติกรรมถอยหนี เป็นการ
หนั กลบั ไปแสดงพฤตกิ รรมแบบเดก็ ๆ เช่น แกล้งพดู ไม่ชัด รอ้ งไห้ เลน่ แบบไรค้ วามหมาย

3. การปล่อยตัว (Resignation (การปล่อยตัวเป็นลักษณะหนึ่งของปฏิกิริยาท่ี
แสดงออกเมอื่ เกดิ ความคับข้องใจ การขาดแรงจงู ใจ เป็นพฤตกิ รรมที่ต้องการหลบหนีจากการตก
อยู่ในภาวะของความคบั ขอ้ งใจ

สมรรถนะทางการศึกษาพเิ ศษ
ความรู้เกี่ยวกบั เดก็ ที่มคี วามต้องการจาเป็นพเิ ศษ

4. การฝันกลางวันและการฟุูงซ่าน (Day Dreaming & Fantasy) เด็กได้คิดถึงส่ิงท่ี
เขาต้องการโดยการคดิ สร้างวมิ านในอากาศ แม้จะเปน็ เร่อื งไมจ่ ริงกต็ าม เด็กเกิดความพอใจ

5. เกเร (Delinquence) เช่น ลักขโมย เกะกะระรานผู้อื่น พดู จาหยาบคาย ทาตัว
ให้เด่นในทางผิดๆ เช่น การต่อต้านกฎหรือข้อห้ามต่างๆ ของสังคม ขาดความเป็นระเบียบ
ชอบหนเี รียน ประพฤติตนไปในทางเสียหาย เชน่ เล่นการพนัน ตดิ ยาเสพตดิ ตลอดจนการทา
ผดิ กฎหมาย เปน็ ตน้

6. การเคล่ือนไหวท่ีผิดปกติ (Hyperactivity) หมายถึง การไม่อยู่นิ่ง เคล่ือนที่อยู่
ตลอดเวลา โดยปราศจากจดุ หมาย และไมไ่ ดร้ ับอนญุ าตจากครู

ลักษณะทางจิตวิทยา
การปรับตัวทางสังคม มีการปรับตัวทางสังคมไม่ถูกต้อง การฝุาฝืนกฎเกณฑ์ท่ีเป็นที่

ยอมรบั ของสังคม เช่น แกง๊ อนั ธพาล การทาลายสาธารณสมบัติ การลักขโมย การหนโี รงเรียน
การต่อสขู้ องนักเรียนระหวา่ งโรงเรียนทเ่ี ป็นคอู่ ริ การประทษุ รา้ ยทางเพศ

ความวิตกกงั วลและปมดอ้ ย ไมก่ ลา้ พูดกล้าแสดงในชั้นเรยี น บางคนมีความประหม่า
อยา่ งเหน็ ไดช้ ัดเมื่อจาเป็นออกไปรายงานหน้าชั้น บางคนมีอาการตัวร้อนและเป็นไข้เมื่อถึงเวลา
ไปโรงเรียน บางคนขาดความเช่อื มั่นในตนเองอยา่ งเห็นไดช้ ดั บางคนรอ้ งไห้บอ่ ย

การหนีสงั คม สงั เกตได้จากการท่ีเด็กไม่พูดคุยไม่เล่นกับเพ่ือน ไม่ร่วมกิจกรรมนักเรียน
ที่ทางโรงเรียนจัดข้ึน เด็กประเภทนี้มีลักษณะเป็นคนข้ีอาย พูดไม่เก่ง ไม่กล้าพูดต่อหน้า
สาธารณะชน ไม่กล้าพดู ในทปี่ ระชมุ บางคนเปน็ คนเจา้ อารมณ์ ขาดทกั ษะที่จาเป็นในการตดิ ตอ่
กับผู้อ่ืน ขาดความเช่ือม่ันในตนเองในด้านการพูด ชอบอยู่คนเดียวทางานคนเดียว ไม่มีวุฒิ
ภาวะ หรือไม่กแ็ สดงพฤติกรรมทางสังคมที่ไมเ่ หมาะสม

ความผดิ ปกตใิ นการเรียน มีผลการเรียนต่า โดยเฉพาะอย่างย่ิงในด้านการอ่าน การ
สะกดคา และคณติ ศาสตร์ สง่ ผลตอ่ พฤติกรรมทแี่ สดงในชัน้ เรียน มที ัศนคติท่ีไม่ดีกบั ตนเอง

สมรรถนะทางการศึกษาพิเศษ
ความรูเ้ กี่ยวกบั เดก็ ท่ีมีความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ

8. เด็กออทสิ ติค
เด็กออทิสติค(Children with Autism) หมายถึง เด็กท่ีความบกพร่องทางพัฒนาการ

ด้านสังคม ภาษาและการส่ือความหมาย พฤติกรรมอารมณ์ และจินตนาการ ซ่ึงมีสาเหตุ
เนอ่ื งมาจากการทางานในหน้าทบ่ี างส่วนของสมองทผ่ี ิดปกติไป และความปกติน้ีพบได้ก่อนวัย 30
เดอื น

ประเภทของเดก็ ออทสิ ติค
อาจจาแนกระดับอาการกว้างๆ ได้ 3 ระดับ ดงั นี้
1. ระดบั กลุ่มที่มอี าการเพียงเลก็ นอ้ ย
เรียกว่า กลุ่ม Mild autism หรือบางคร้ังเรียก กลุ่มออทิสติคที่มีศักยภาพสูง (high-

function ing autism) ซง่ึ จะมรี ะดบั สตปิ ญั ญาปกติ หรือสูงกวา่ ปกติ
2. ระดบั กลมุ่ ที่มอี าการปานกลาง
เรียกว่า กลมุ่ Moderate autism ในกลุ่มนี้จะมคี วามลา่ ช้าในพัฒนาการด้านภาษาการ

สื่อสาร ทักษะสังคม การเรียนรู้ รวมท้ังด้านการช่วยเหลือตนเองและมีปัญหาพฤติกรรมกระตุ้น
ตนเอง พอสมควร

3. ระดบั กลุ่มทม่ี อี าการมาก/รุนแรง
เรียกว่ากลุ่ม Severe autism ในกลุ่มน้ีจะมีความล่าช้าในพัฒนาการเกือบทุกด้านและ
อาจเกิดร่วมกับภาวะอื่น เชน่ ปญั ญาอ่อนรวมท้งั มีปัญหาพฤตกิ รรมท่ีรุนแรง

สมรรถนะทางการศกึ ษาพเิ ศษ
ความรู้เก่ียวกบั เด็กท่ีมีความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ

ลักษณะของเดก็ ออทิสติค
1. มีความบกพรอ่ งทางปฏิสัมพนั ธ์ทางสังคม เช่น ไมม่ องสบตาบคุ คลอ่นื ไมม่ ี

การแสดงออกทางสหี นา้ กิรยิ าหรอื ท่าทาง
2. มีความบกพร่องด้านการสอื่ สาร ท้ังด้านการใช้ภาษาพูด ความเขา้ ใจภาษา การ

แสดงกรยิ าสอื่ ความหมาย บางคนพูดโทนเสียงเดยี ว บางคนเพ้อเจอ้ เร่ือยเปอ่ื ย
3. มีความบกพรอ่ งด้านพฤตกิ รรมและอารมณ์ บางคนมีพฤติกรรมซ้าๆ ผิดปกติ

เช่น เล่นมือ โบกมือไปมา หรือหมุนตัวไปรอบๆ เดินเขย่งปลายเท้า ท่าทางเดินงุ่มง่าม ยึดติดไม่
ยอมรับการเปลยี่ นแปลง การแสดงออกทางอารมณไ์ มเ่ หมาะสมกับวยั

4. มีความบกพรอ่ งด้านการรับรู้ทางประสาทสมั ผัส การใช้ประสาทสัมผัสท้ังห้า บางคน
ตอบสนองชา้ หรือไวหรอื แปลกกว่าปกติ เช่น ดมของเลน่

5. มคี วามบกพร่องดา้ นการใชอ้ วัยวะต่างๆ อยา่ งประสานสมั พันธ์ การใชส้ ่วนตา่ งๆ ของ
รา่ งกาย รวมถงึ การประสานสัมพนั ธข์ องกลไกกลา้ มเนื้อมัดใหญแ่ ละมดั เล็ก

6. มีความบกพร่องด้านการจินตนาการ ไม่สามารถแยกเร่ืองจริงเร่ืองสมมุติหรือ
ประยกุ ต์วิธีการจากเหตุการณห์ น่ึงไปยงั อกี เหตุการณไ์ ด้ เข้าใจในสง่ิ ทเี่ ป็น
นามธรรมได้ยาก

7. มีความบกพรอ่ งดา้ นสมาธิ มคี วามสนใจท่ีสัน้ วอกแวกงา่ ย

สมรรถนะทางการศกึ ษาพเิ ศษ
ความรู้เกี่ยวกบั เดก็ ทมี่ คี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ

9. เดก็ พิการซอ้ น
เด็กพิการซ้อน (Children with Multiple Disabilities) หมายถึง เด็กท่ีมีสภาพความ

บกพร่องหรือความพิการมากกว่าหน่ึงประเภทในบุคคลเดียวกัน เช่น เด็กท่ีมีความบกพร่องทาง
สติปัญญาทสี่ ญู เสยี การได้ยิน เดก็ ทม่ี ีความบกพรอ่ งทางสตปิ ัญญาและบกพร่องทางการเห็น เด็กที่
มคี วามบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ และการเห็น เปน็ ตน้

ลกั ษณะของเดก็ ที่มคี วามบกพร่องซอ้ น
เด็กท่ีมีความบกพร่องซ้อนจานวนมากมีระดับความบกพร่องอยู่ในขั้นรุนแรง ซ่ึงมี

ลกั ษณะดังต่อไปน้ี
1. มีปัญหาในการช่วยตัวเอง เด็กท่ีมีความบกพร่องในข้ันรุนแรงมักมีปัญหาในการ

ช่วยตัวเอง กลา่ วคือไมส่ ามารถชว่ ยตัวเองในชีวติ ประจาวนั ได้หรือช่วยได้แต่ไม่ดี เช่น การแต่งตัว
การรับประทานอาหาร การขับถ่ายอย่างถูกต้อง การควบคุมปัสสาวะ การดูแลความสะอาดของ
ร่างกาย เปน็ ต้น มปี ญั หาในการสอ่ื สาร

2. การส่ือสาร เปน็ ปัญหาที่สาคัญที่สุดประการหน่ึงของเดก็ ทม่ี ีความบกพรอ่ งขั้นรนุ แรง
กลา่ วคือ เด็กเหล่านไ้ี มส่ ามารถสอื่ สารกบั ผอู้ ืน่ ได้ เชน่ ไมส่ ามารถบอกความตอ้ งการของตนเองได้
ไม่เขา้ ใจเม่อื ผ้อู ่นื ต้องกรส่อื สารด้วย บางคนไม่สามารถพูดได้ ไม่สามารถใช้ท่าทางประกอบความ
พยายามในการส่ือสาร เน่ืองจากข้อจากัดเหล่านี้ ทาให้การจัดการศึกษาให้กับเด็กเป็นไปด้วย
ความลาบาก

สมรรถนะทางการศึกษาพิเศษ
ความรู้เกย่ี วกับเด็กทม่ี ีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ

3. มปี ัญหาในการเคล่ือนไหว เด็กท่ีมีความบกพร่องซ้อนบางคนไม่สามารถเดินหรือวิ่ง
ได้ดว้ ยตนเอง หลายคนมีปัญหาในการใช้มือหยิบจับส่ิงของต่างๆ หรืออาจจาเป็นต้องนอนอยู่บน
เตียงตลอดชีวิต

4. มีปัญหาทางพฤติกรรม เด็กเหล่าน้ีอาจแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
เมอ่ื เปรียบเทียบกบั เด็กปกตใิ นวัยเดยี วกัน มีพฤตกิ รรมท่ไี รค้ วามหมายและเป็นพฤติกรรมซ้าๆ ใน
ลักษณะเดิม เช่น การโยกตัวไปมา การกางน้ิวมือแล้วเคลื่อนท่ีไปมาใกล้ๆ ใบหน้า การบิดตัวไป
มา มีพฤติกรรมในการกระต้นุ ตนเอง เชน่ การกัดฟัน การลบู ไลต้ ามร่างกายตนเอง มีพฤติกรรมใน
การทาร้ายตนเอง เช่น การโขกศีรษะตนเอง การดึงผมตนเอง การชกต่อย ข่วนหรือกัดตนเอง
เป็นตน้

5. มีปัญหาทางสังคม มีปัญหาในการสร้างปฎิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ไม่แสดงปฏิกิริยา
ใดๆ ต่อสงิ่ ที่อยูร่ อบตวั ไมย่ นิ ดยี ินรา้ ยกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ไมม่ ีปฏิกิรยิ าตอบสนองตอ่ สงิ่ ที่เปน็ อันตราย
ไม่สนใจและไม่เอาใจใสต่ ่อส่ิงใด

ในเด็กท่ีมีความบกพร่องซ้อน 1 คน ไม่ได้หมายความว่าจะมีลักษณะทุกข้อที่กล่าว
ขา้ งต้น บางคนอาจมีเพียง 2- 3 ลกั ษณะ ซ่ึงขึน้ อยู่กับระดับความรนุ แรง

สมรรถนะทางการศึกษาพิเศษ
ความรู้เกย่ี วกบั เดก็ ท่ีมคี วามตอ้ งการจาเป็นพิเศษ

เดก็ ปญั ญาเลิศ
เด็กปัญญาเลิศ (Gifted Children ) หมายถงึ เด็กซง่ึ ผู้เชยี่ วชาญในวงการเกย่ี วข้องไดร้ บั

รองแล้วว่าเป็นเด็กท่ีมีความสามารถเป็นยอดเยี่ยมด้านใดด้านหนึ่งหรือรวมกันหลายด้าน ได้แก่
ดา้ นภูมิปัญญา ความถนดั ทางการเรยี นดา้ นใดด้านหน่งึ ความคิดอ่านทางสร้างสรรค์ในด้านที่เป็น
ประโยชน์ ความสามารถในการเป็นผู้นา ทางดนตรีและศลิ ปะ ทางกลา้ มเนื้อและประสาทสัมพันธ์
เป็นที่ประจักษ์ เป็นผู้ต้องการแผนการศึกษาพิเศษและบริการซึ่งนอกเหนือจากเด็กปกติ เพื่อ
ส่งเสรมิ เดก็ เหล่านไี้ ด้พฒั นาขดี ความสามารถให้ถึงขีดสงู สุด

ลกั ษณะของเด็กปัญญาเลิศ
1. มปี ระสาทรบั รอู้ นั ว่องไวเปน็ พเิ ศษ ชา่ งสังเกต ตื่นตัวอยเู่ สมอ
2. มีความอยากรู้อยากเห็นอย่างเข้มข้น พากเพียรที่จะหาคาตอบให้ได้โดยวิธีการ

แสวงหา สารวจ คน้ คว้าโดยลาพงั
3. มีความสามารถในการแก้ปัญหาและมีความเข้าใจสิ่งต่างๆ ในระดับสูง สามารถคิด

อย่างมเี หตุผล ประยกุ ตค์ วามเขา้ ใจกับสถานการณ์ใหม่ๆได้
4. มีแรงผลักดันและวิริยะอุตสาหะ มีความรับผิดชอบในงานท่ีตัวเองเลือกทาอย่างสูง

ทมุ่ เทโดยไมร่ ู้จกั เหน็ดเหน่อื ย

สมรรถนะทางการศึกษาพเิ ศษ
ความร้เู ก่ยี วกับเดก็ ทม่ี คี วามตอ้ งการจาเป็นพิเศษ

5. ตอ้ งการทางานใหส้ มบรู ณป์ ราศจากทีต่ ิ มกั มุ่งทางานโดยเนน้ คณุ ภาพ
6. ชอบทางานที่ท้าทายความคิด เลือกงานท่ีซับซ้อนพิสดาร ไม่ยอมที่จะมีคนปูอน
คาตอบให้ ชอบเลน่ สนุกกับความคิดแปลกๆ
7. มคี วามคิดแปลกใหมไ่ มเ่ หมอื นใคร มีอารมณข์ นั
8. มอี สิ ระ เสรใี นการคดิ คดิ พงึ่ ตนเอง
9. สนใจรายละเอยี ดตา่ งๆ มคี วามละเอียดลกึ ซง้ึ ว่องไว มีสมาธิดีเยยี่ ม
10. มีความสามารถในการพูด ใช้ศัพท์สูงเกินวัย สามารถพูดหรือเขียนอธิบายความคิด
ของตนเองได้ชดั เจน

สมรรถนะทางการศึกษาพเิ ศษ
ความร้เู กีย่ วกบั เดก็ ทมี่ คี วามตอ้ งการจาเป็นพิเศษ

สาเหตแุ ละการป้องกันความพิการ

1. สาเหตุของความบกพร่องทางการมองเห็น
1. ทางกรรมพันธุ์ โรคทางกรรมพันธุ์มีผลทางตามาก เกิดมาจากความปกติของโคโมโซม

ซึง่ มกี ารเปลย่ี นแปลงของยนี ในรา่ งกายเด็กหรอื อาจเกิดมาจากพันธุ์กรรมในลักษณะเด่น ลักษณะ
ดอ้ ยตามกฎของพันธกุ รรม พ่อแม่ตาเหล่ลูกเกดิ มามีโอกาสท่ีจะตาเหล่ได้สูงมากขึ้นเช่นกัน พ่อแม่
เป็นโรคบางอย่างซึ่งสาเหตุถ่ายทอดไปยังเด็ก ทาให้เด็กเกิดมามีตาท่ีไม่สมประกอบ ไม่สามารถ
มองเห็นได้

2. มารดามีโรคในระยะตั้งครรภ์ ชว่ ง1 2 สปั ดาห์แรกของการตั้งครรภ์มีความสาคัญยิ่ง
ต่อตาและสมองของเด็ก หากมารดามีปัญหาสุขภาพเช่น หัดเยอรมัน หรือมีการติดเชื้อกามโรค
เชน่ ซฟิ ลิ สิ เบาหวานหรือเอดส์ ก็จะสง่ ผลต่อเด็กได้

3. เด็กคลอดก่อนกาหนด เด็กที่คลอดไม่ครบกาหนดมีโอกาสตาบอดสูงเน่ืองจาก
รา่ งกายไม่เจรญิ เติบโตเตม็ ที่ ดวงตายังไม่สมบรู ณ์ ตาไม่สมประกอบ

4. ตาบอดในเดก็ ขณะคลอด เนื่องจากการอกั เสบทางช่องคลอดของมารดา เช่น มารดา
เปน็ หนองใน เมอ่ื เด็กคลอดผา่ นชอ่ งคลอด เชอื้ หนองในจะเข้าตาเกิดหนองในที่ตา ถ้ารักษาไม่ทัน
จะทาให้ตาบอด

5. ตาบอดเน่ืองจากการอักเสบของดวงตา เช่น มะเร็งดวงตา โรคริดสีดวงตา ทาให้
แกว้ ตาเป็นแผล และมีฝูาขาว ทาใหต้ ามัว

สมรรถนะทางการศกึ ษาพเิ ศษ
ความรู้เกี่ยวกับเดก็ ท่มี ีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ

6. เกิดจากโรคต่างๆ เชน่ เบาหวาน ความดนั โลหติ สูง พยาธเิ ขา้ ตา ต้อกระจก ต้อหิน
ชนิดเฉียบพลัน มา่ นตาอักเสบ ตาดาอักเสบหรอื ตาดาเป็นแผลโรคเก่ยี วกบั เส้นประสาทตาหรือจอ
ประสาทตา

7. การขาดสารอาหารโดยเฉพาะวิตามินเอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กทารกที่ไม่ได้กินนม
แม่และได้รบั นมท่ีมคี ณุ ภาพตา่ เด็กจะมีอาการ คือ อาจมีเกร็ดกระดี่เกิดที่เยื่อตาขาวทาให้เยื่อตา
แหง้ ไมม่ ีน้าตา ทาใหแ้ ก้วตาขุ่น เปน็ สขี าว เป็นแผล ทาใหต้ าฟางมองไม่ชัดเจนในท่ีมีแสงสลัวบาง
คนเปน็ มากทาให้ตาบอดได้

8. ได้รับอบุ ตั ิเหตุ เช่น ของแหลมทิม่ ตา อบุ ัตจิ ากรถ สารพิษ หรอื สารเคมีเขา้ ตา

การปอ้ งกันความบกพรอ่ งทางการเหน็
1. มารดาควรฉดี วคั ซนี ปอู งกนั หัดเยอรมันก่อนแตง่ งาน
2. ในเด็กท่ีคลอดก่อนกาหนด ควรให้ออกซิเจนแต่พอประมาณ เพื่อให้เด็กมีชีวิตอยู่ได้

อย่าใหม้ ากเกนิ ไปจนเปน็ พิษต่อประสาท
3. เดก็ เล็กก่อนเข้าโรงเรียนอนุบาล ควรตรวจสุขภาพของตา เด็กตาเหล่ มีหนงั ตาตกปิด

กระจกตา หรือมีสายตาผิดปกติ ตอ้ งไดร้ ับการแก้ไขแต่เร่มิ แรก
4. รับประทานอาหารประเภทท่ีมีวติ ามนิ เอมากๆ เช่น ผักบุง้ ตาลึง
5. ระมัดระวงั อบุ ตั ิเหตตุ ่างๆ และหากได้รับอบุ ตั เิ หตทุ ี่กระทบตอ่ ตารบี ไปหาจกั ษุแพทย์
6. หากเป็นโรคทอ่ี าจทาใหต้ าบอด เชน่ โรคเบาหวาน โรคความดนั โลหิตสงู โรครดิ สดี วง

ตา ต้องรีบไปหาจักษุแพทย์

2. สาเหตขุ องความบกพร่องทางการไดย้ นิ
ความบกพร่องทางการได้ยินอาจเนอ่ื งมาจากหลายสาเหตุ ทสี่ าคัญไดแ้ ก่
1. หูหนวกก่อนคลอด) Congenital Deafness (หมายถึงทารกที่จะเกิดมาน้ันมีความ

พิการ ของอวัยวะรับเสียงตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา เม่ือคลอดออกมาแล้วก็ปรากฏอาการหูหนวก
แตแ่ รกเกิดทเี ดียว ซึง่ อาจแบ่งได้เปน็ 2 ประเภท คือ

สมรรถนะทางการศกึ ษาพเิ ศษ
ความรเู้ กยี่ วกับเด็กทีม่ คี วามตอ้ งการจาเป็นพิเศษ

1.1 หูหนวกตามกรรมพันธ์ุ) Hereditary Deafness (เป็นอาการหูหนวกของทารกท่ีมี
อาการหูหนวกของทารกท่ีมีความพิการสืบพันธ์ุจากบิดาหรือมารดาหรือบรรพบุรุษ เช่น พ่อแม่
หหู นวก ลกู อาจหหู นวกหรือหลานหหู นวก

1.2 หหู นวกท่ีไม่ใช่กรรมพันธ์ุ) Sporadic Deafness (มหี ลายสาเหตุ คือ
- หูหนวกจากอันตรายต่อทารก เช่น ขณะมารดาต้งั ครรภบ์ ังเอิญหกล้มถูกกระทบ
กระแทกอย่างแรง ทารกท่ีอยู่ในครรภ์และกาลังเจริญเติบโต อาจถูกบีบ ถูกกด หรือถูกกระแทก
หรอื เลอื ดไปหลอ่ เล้ียงไม่สะดวกทาใหอ้ วัยวะการไดย้ นิ พกิ ารได้
- หหู นวกจากการคลอด คือถกู บีบศีรษะขณะคลอดเนอื่ งจากกระดกู เชงิ กรานเล็กหรือ
คมี จับศีรษะทารกไม่ถกู ที่ เปน็ ตน้
- หหู นวกจากการเติบโตของอวัยวะหผู ดิ ปกติ
- หูหนวกจากพษิ ยาต่อมารดาขณะตง้ั ครรภ์ เช่น ยาควนิ ิน ยาแอสไพรนิ ยาสเตรป็ โต
มยั ซนิ และยาเพนนซิ ลนิ เป็นต้น หญงิ มคี รรภค์ วรระมัดระวังในการใช้ยาให้มากที่สุด โดยเฉพาะ
ระยะ 3 เดอื นแรกของการตง้ั ครรภ์
- หหู นวกจากโรคตดิ ต่อขณะตง้ั ครรภ์ เช่น โรคหดั เยอรมัน ทารกท่ีไดร้ บั เชื้อไวรัสชนิดนี้
จากมารดาขณะทอ่ี ยู่ในครรภ์
2. หูหนวกหลังคลอด) Acquired Deafness (หมายถึง ทารกท่ีเกิดมีอวัยวะและ
ประสาทหูปกติ แตต่ อ่ มาภายหลงั ปรากฏวา่ หูหนวกขึ้น เราเรียกว่าหูหนวกหลังคลอด โอกาสท่ีจะ
ทาใหห้ ูหนวกจงึ มีมากมายหลายอย่าง ดงั น้คี อื
- หูหนวกจากโรคระบบประสาท เช่น ปุวยเปน็ เยือ่ ห้มุ สมองอกั เสบ
- หูหนวกจากโรคติดต่อ เช่น ภายหลังจากการปุวยด้วยโรคหัด ไข้หวัดใหญ่ คางทูม
หดั เยอรมนั อาจมกี ารหูหนวกได้
- หูหนวกจากพิษยาและสารเคมี เม่ือผู้ปุวยได้รับยาที่เป็นพิษต่ออวัยวะหูส่วนในและ
ประสาทหู เชน่ ควินนิ ยาสเตร็ปโตมัยซนิ และยาคานามัยซนิ เปน็ ตน้
- หูหนวกจากโรคหู คอ จมูก อวัยวะของหู คอ จมูก ติดต่อถึงกันและอยู่ใกล้เคียงกัน
มาก เมอ่ื อวยั วะดงั กลา่ วเกิดโรคมักกระทบกระเทอื นถึงกนั และกนั จะทาใหห้ หู นวกได้

สมรรถนะทางการศึกษาพิเศษ
ความรูเ้ กี่ยวกับเดก็ ท่ีมีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ

- หหู นวกจากภยนั ตรายตอ่ อวยั วะหแู ละประสาทหู เช่น การตกเปล ตกบันได ตกจากท่ี
สูง กระดูกขมับแตกร้าวหรือถูกตบที่หูอย่างรุนแรง เสียงดังต่างๆ เช่น เสียงฟูาผ่า เสียงระเบิด
เสียงปนื เสียงเครื่องบิน เสยี งเคร่ืองยนต์ เสียงเครื่องจักรในโรงงาน

การป้องกันความบกพร่องทางการไดย้ ิน
1. ควรตรวจสุขภาพเม่ือตัดสินใจว่าจะต้ังครรภ์และฉีดวัคซีนปูองกันหัดเยอรมันอย่าง

น้อย 3 เดือนก่อนจะตงั้ ครรภห์ รือฝากครรภก์ บั แพทย์ และไม่ทานยาพรา่ เพรือ่
2. อย่าแคะหดู ว้ ยของแหลม อยา่ แคะหูบ่อยๆ เมอ่ื มีข้ีหูมากและแข็งไมค่ วรแคะเอง
3. การปูองภัยจากสาเหตุอื่นเช่น จากเสียงดัง เสียงแหลมเป็นระยะเวลายาวนาน ถ้ามี

อาการอักเสบ ควรใชย้ าทถ่ี กู ต้อง รกั ษาหนู ้าหนวก เร้อื รังใหห้ ายโดยเร็ว
4. เม่อื สังเกตเหน็ เดก็ มอี าการบง่ ชีว้ า่ มีความพกิ ารทางหู ควรรบี พาไปปรึกษาแพทย์
5. เมือ่ มอี าการอักเสบเรอื้ รังของอวยั วะใกลเ้ คียง เชน่ ตอ่ มน้าลาย ต่อมน้าเหลืองบริเวณ

คอฟันกรามผุ ควรรีบรกั ษาใหห้ ายโดยเร็ว
6. ระวงั อยา่ ให้ใครตบหูแรงๆ หรือฟงั เสยี งดงั มากๆ
7. ถ้าสงสัยว่าแมลงเข้าหูให้ยอดหูด้วยน้าสะอาดและตะแคงหูให้น้าออกและเช็ดช่องหู

ให้น้าออกและเชด็ ชอ่ งหตู อนนอกให้แห้ง ถา้ สงสยั แมลงไมอ่ อกต้องไปหาแพทย์

3. สาเหตุของความบกพรอ่ งทางสติปญั ญา
สาเหตุที่สาคัญประกอบด้วยปัจจัย 2 ประการ คือ พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม และ

ทย่ี งั ไมท่ ราบสาเหตุอกี ประมาณ 30-50%
1. ปัจจัยทางพันธกุ รรม แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1.1 ความผิดปกติของโครโมโซม โครโมโซมซง่ึ เปน็ แทง่ สารพันธุกรรมในคนเราจะมี 46

แท่ง ในหน่ึงเซลล์ หากจานวนโครโมโซมมากหรือน้อยไป ความผิดปกติของโครโมโซม คือ กลุ่ม
อาการดาวน์ (Down Syndrome) ที่เกิดจากโครโมโซมค่ทู ่ี 21 เกินมา 1 แท่ง

สมรรถนะทางการศกึ ษาพเิ ศษ
ความรเู้ กย่ี วกับเด็กทม่ี ีความต้องการจาเป็นพิเศษ

1.2 ความผิดปกติของยีน เน่ืองมาจากการเผาผลาญของสารประเภทต่างๆ ผิดปกติ
ทาใหม้ ผี ลเสยี บางอย่างเกิดขนึ้ และไมส่ ามารถกาจดั ออกจากร่างกายได้ จงึ เป็นพิษตอ่ สมอง ไดแ้ ก่
โรคพีเคยู (pku) เด็กกล่มุ น้จี ะมีสีผมและสตี าออ่ นคลา้ ยเด็กฝรง่ั สามารถรับการวินิจฉัยไดก้ อ่ นอายุ
6 สปั ดาห์ เดก็ กลมุ่ นี้จะไมม่ ีภาวะเดก็ ปญั ญาออ่ น

2. ปัจจัยทางส่ิงแวดลอ้ ม แบง่ ออกเป็น
2.1 สารพษิ เกิดจากพอ่ แมด่ ่ืมสุรามากหรือสบู บุหรม่ี ากขณะตง้ั ครรภ์
2.2 การตดิ เชือ้ การติดเชื้อเกิดข้ึนขณะตั้งครรภ์ เชน่ แมเ่ ปน็ หดั เยอรมันในช่วงตงั้ ครรภ์
2.3 ภาวะทสี่ มองขาดเลือดหรือขาดออกซิเจน
2.4 การขาดอาหาร เช่น การขาดสารไอโอดนี ขณะทารกอยู่ในครรภ์
2.5 อุบตั เิ หตตุ ่างๆท่ที าให้สมองได้รับความกระทบกระเทอื น เช่น ตกเปล รถชน

การปอ้ งกนั ความบกพร่องทางสติปญั ญา
1. คู่สมรส ควรวางแผนครอบครัว มีลูกในวัยระหว่าง 19-35 ปี จานวน 2-3 คน

ห่างกันคนละอยา่ งน้อย 2 ปี ควรพบแพทย์ เพอ่ื ตรวจสขุ ภาพกอ่ นต้งั ครรภ์
2. ในระหว่างต้ังครรภ์ตรวจสุขภาพอย่างสม่าเสมอ รวมทั้งหลีกเลี่ยงปัจจัยเส่ียงต่างๆ

เชน่ ไม่สูบบุหร่ี ไมด่ ืม่ เหล้า ไมซ่ อ้ื ยากินเอง
3. คลอดในสถานพยาบาลหรือกับแพทยผ์ ดงุ ครรภ์
4. พงึ ระลึกว่าในการเล้ยี งดูที่ไม่เหมาะสม อาจสง่ ผลกระทบให้เดก็ มพี ัฒนาการล่าชา้
5. หลีกเลี่ยงการติดเชื้อ เช่น ไวรัส แบคทีเรีย หัดเยอรมัน ซิฟิลิส วัณโรค การกินยา

ขับเลือด ยาแก้ปวดตา่ งๆ เอง
6. หลีกการกระทบกระเทือนต่างๆ ขณะตั้งครรภ์ การหลีกเลี่ยงรังสีเอ็กซเรย์

ขาดอาหาร โรคเบาหวาน โรคตับ โรคไต

สมรรถนะทางการศกึ ษาพิเศษ
ความรเู้ ก่ียวกับเด็กทีม่ ีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ

4. สาเหตุของความบกพร่องทางรา่ งกายหรอื สุขภาพ
1. สาเหตุจากพันธกุ รรม
โรคบางอย่างได้รับการถ่ายทอดจากยีน เช่น โรคเลือดไหลไม่หยุด โรคกล้ามเน้ืออ่อน

แรงท่เี กดิ จากมารดาหรือบิดาเป็นพาหะ
2. สาเหตุจากส่ิงแวดลอ้ ม
ได้แก่ การคลอดก่อนกาหนด คลอดยาก ขาดออกซิเจนระหว่างคลอด ได้รับความ

กระทบกระเทือนต่อสมองในช่วงวัยทารก การได้รับสารพิษระหว่างตั้งครรภ์ หรือเชื้อโรคหัด
เยอรมนั ซิฟิลิส ได้รับรังสี สารตะกว่ั การไดร้ บั อบุ ตั ิเหตุ

การปอ้ งกนั ความบกพรอ่ งทางร่างกายหรือสขุ ภาพ
ดา้ นพนั ธุกรรม
พ่อแม่ควรให้ความสาคัญในการตรวจร่างกายก่อนมีบุตร เพื่อให้การมีบุตรประสบ

ความสาเรจ็ และบุตรท่ีกาเนดิ มามีความสมบูรณ์ไมม่ ีความบกพร่องในด้านตา่ งๆ
ดา้ นสิ่งแวดล้อม
- พ่อแม่ควรจัดสภาพแวดล้อมท่ีอยู่รอบตัวเด็กให้มีความปลอดภัย ไม่มีอันตรายจาก

สิ่งใด เชน่ สารเคมี ยาท่มี พี ิษ อุปกรณ์ทแ่ี หลมคม เป็นตน้
- เมอ่ื แม่มีการต้ังครรภ์ ก่อนคลอดควรไปพบแพทย์ เพ่ือตรวจความสมบูรณ์ของเด็กที่

อยู่ในครรภ์ รวมถึงตัวของแม่เองที่จะต้องตรวจสุขภาพร่างกาย ควรระมัดระวังอุบัติเหตุต่างๆ
- ถา้ แมท่ ่ตี ง้ั ครรภ์ เกิดโรคต่างๆ หรอื ไมส่ บาย ควรจะพาไปพบแพทย์ทันทีเมือ่ มีอาการ
- เม่ือเด็กโตขึ้นแล้ว ควรดูแลในเร่ืองการเล่นส่ิงต่างๆ เพราะเด็กอาจจะได้รับอันตราย

จากสงิ่ ต่างๆ เช่น สารพษิ ตะก่วั หรอื สารปรอท

สมรรถนะทางการศึกษาพเิ ศษ
ความรู้เกีย่ วกับเด็กที่มคี วามต้องการจาเป็นพิเศษ

5. สาเหตุของความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้
1. การได้รับบาดเจ็บทางสมอง เนื่องมาจากการได้รับบาดเจ็บทางสมอง (brain

damage) อาจจะเป็นการไดร้ บั บาดเจบ็ ก่อนคลอด ระหว่างคลอด หรือหลังคลอดกไ็ ด้
2. กรรมพันธุ์ จากการศึกษาเป็นรายกรณีพบว่าเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้

บางคน อาจมพี ่ีนอ้ งที่เกดิ จากท้องเดยี วกัน มปี ัญหาทางการเรียนรเู้ ช่นกันหรืออาจมีพอ่ แม่ พี่ น้อง
หรือญาติใกล้ชิดมีปัญหาทางการเรียนรู้เช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาในการอ่าน การเขียน
การเขา้ ใจภาษา

3. สารพิษ การรับประทานอาหาร ดื่มน้า ท่ีมีสารตะก่ัวเจือปนอยู่ เช่น สีทาบ้าน
เกา่ ๆ ไอเสยี จากรถยนต์ ท่อน้าประปาเก่า ท่ีมีสารสนิม ล้วนมีสารตะกั่วเจือปนอยู่ทั้งสิ้น เมื่อสาร
ตะก่วั เขา้ สรู่ า่ งกายเด็ก สารจะไปทาลายเซลลส์ มองบางสว่ น

4. อุบัติเหตุ ได้รับความกระทบกระเทอื นท่สี มองอยา่ งรนุ แรง
5. ส่ิงแวดลอ้ ม เดก็ เติบโตข้นึ มาในสภาพแวดล้อมท่ีก่อให้เกิดความเส่ียง เช่น การท่ีเด็ก
มีพัฒนาการทางร่างกายล่าช้าด้วยสาเหตุบางประการ การที่ร่างกายได้รับสารบางประการ
อันเนอ่ื งจากสารมลพษิ ทางส่งิ แวดล้อม การขาดสารอาหารในวัยทารกและในวยั เดก็ การสอนท่ีไม่
มีประสิทธภิ าพของครู ตลอดจนการขาดโอกาสทางการศึกษา เปน็ ต้น

การป้องกนั ความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้
1. คู่สมรสควรมีการวางแผนครอบครัวล่วงหน้า ด้วยการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงอยู่

เสมอ ตรวจสขุ ภาพกอ่ นตั้งครรภ์ .ระหวา่ งตัง้ ครรภ์ ควรฝากครรภ์อย่างสมา่ เสมอ
2. ดูแลสุขภาพและหลีกเลยี่ งปจั จยั เสยี่ งต่างๆ ไมส่ ูบบุหรี่ ไม่ดมื่ เหล้า ไมซ่ ื้อยาทานเอง
3. ควรปูองกันไม่ให้สมองเด็กได้รบั ความกระทบกระเทือนหรอื ได้รบั อันตราย
4. ผู้ปกครองควรใหก้ ารส่งเสรมิ พัฒนาการทางดา้ นการเรียนรใู้ ห้แก่เดก็ อย่างครบถ้วนใน

ทุกดา้ น ไมว่ ่าจะเป็นการฟงั การพดู การอา่ น การเขยี น รวมไปถึงการคดิ คานวณทางคณิตศาสตร์
5. หากพบหรือสงสัยว่าเด็กมคี วามบกพรอ่ งทางดา้ นการเรียนรู้หรือมีพัฒนาการช้า ควร

รีบไปปรึกษาแพทยท์ ี่เก่ียวข้อง เพอ่ื เปน็ แนวทางในการปูองกันและแกไ้ ขต่อไป

สมรรถนะทางการศกึ ษาพิเศษ
ความรู้เก่ียวกับเดก็ ทม่ี คี วามตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ

6. สาเหตขุ องความบกพร่องทางการพูดและภาษา
.1ความผดิ ปกตทิ างร่างกาย
- ความผิดปกติของอวยั วะที่ใชพ้ ูด เช่น ปากแหว่ง -เพดานโหว่ เส้นยึดใต้ลน้ิ ส้นั สมอง

บางส่วนบกพรอ่ ง อัมพาตของสมองส่วนควบคมุ การพดู
- ความผิดปกติของการรับฟังเสียง จากภาวะสมองพิการ เช่น ความผิดปกติในระบบ

สง่ั งานของกลา้ มเน้ือที่เก่ยี วกบั การพูด และความผดิ ปกตใิ นส่วนของการรบั รู้
- ความผิดปกติของสมองและระบบประสาท เชน่ ปญั ญาอ่อน อมั พาต ภาวะออทสิ ติก

ซ่ึงเดก็ จะมีสมาธิสน้ั พดู ช้าหรือไมพ่ ดู หรือพดู ส่ือความหมายไมไ่ ด้
2. ปัญหาด้านสังคม อารมณ์ จติ ใจและการเรยี นรู้
- ถกู เลยี้ งดูอยา่ งตามใจ หรือเข้มงวดเกนิ ไป ถูกทอดท้ิงและถูกทารณุ กรรม

การปอ้ งกันความบกพรอ่ งทางการพดู และภาษา
1. ควรระมัดระวังในการใช้ยาต่างๆ ควรปรึกษาแพทย์ระวังอุบัติเหตุที่จะส่งผลกระทบ

ตอ่ ทารกในครรภ์
2. การรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ หลีกเล่ียงอาหารที่มีสารพิษ และเครื่องด่ืม

แอลกอฮอล์
3. ควรได้รบั การฉดี วัคซนี ท่จี าเปน็ เช่น วัคซนี ปอู งกันโรคหัดเยอรมนั
4. ควรเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ให้ความรักความอบอุ่นกับลูก เช่น การโอบกอด และการ

สัมผัส5.ระมดั ระวังอุบัติเหตุทีจ่ ะทาใหส้ มองกระทบกระเทือน
5. กระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการทางด้านภาษา โดยเฉพาะในช่วงอายุ 6-0 ปี เมื่อพบ

ความบกพรอ่ งทางดา้ นการพูดและภาษา ควรรีบปรกึ ษาแพทย์และผ้เู ช่ียวชาญทันที

สมรรถนะทางการศึกษาพิเศษ
ความร้เู กี่ยวกบั เดก็ ทม่ี ีความต้องการจาเปน็ พิเศษ

7. สาเหตุของความบกพร่องทางพฤตกิ รรม อารมณ์ สงั คม
ปัญหาทางพฤตกิ รรมอาจเน่อื งมาจากหลายสาเหตุ ดังนี้
1. สาเหตจุ ากครอบครวั หากเดก็ อยใู่ นครอบครวั ที่บดิ ามารดาทะเลาะววิ าทอยู่เสมอ

แยกกันอยู่ เดก็ ไม่ไดร้ ับความรัก หรอื เดก็ ทีม่ าจากครอบครวั ที่บิดามารดาทอดทิ้งบุตร ไม่มีอาชีพ
เป็นหลักฐาน ว่างงาน หรือพิการ จะทาให้เด็กประสบกับความหิวโหย อดอยาก ยากแค้น
ตอ้ งหาทางชว่ ยตัวเอง เดก็ ก็อาจทาผดิ ไดง้ ่ายเชน่ เดยี วกัน

2. สาเหตุทางเศรษฐกิจ ความยากจนอาจเป็นสาเหตุได้ เพราะต้องต่อสู้ด้ินรนเพ่ือ
ความอยู่รอด หรือความยากจนทาให้บิดามารดาไม่มีเวลาดูแลลูก มักปล่อยให้ลูกอยู่กันตาม
ลาพัง ขาดการศึกษา ปล่อยให้หิวโหยอยู่ตลอดเวลา ทาให้เด็กแก้ปัญหาโดยการไปลักขโมย
การที่เด็กต้องประสบกับความยากจน จะทาให้เด็กคิดว่าตนเองไม่ได้รับความยุติธรรม ทาให้
เกลยี ดชงั สงั คม กา้ วรา้ ว และคับขอ้ งใจ

3. สาเหตุจากปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อม สภาพถ่ินที่อยู่เป็นสิ่งสาคัญท่ีมีส่วน
สง่ เสริมให้เด็กมปี ญั หาทางอารมณ์และสงั คมได้ เชน่ ความแออัดในเรื่องท่ีอยู่อาศัย ในถ่ินชุมชน
แออดั ที่เดก็ ต้องอาศยั อยู่น้ี ไมไ่ ดร้ บั ตัวอย่างที่ดี มีเพื่อนท่ีชักจูงให้กระทาผิดได้ง่าย ไม่มีโอกาส
ศกึ ษาเล่าเรยี น
การปอ้ งกันความบกพร่องทางอารมณ์และสังคม

1. ในด้านพันธุกรรม พฤติกรรมบางอย่างอาจจะเป็นผลมาจากการถ่ายทอดทาง
พนั ธุกรรม เช่น ระดบั สติปัญญา อารมณ์ ในการปูองกัน คือ ก่อนท่ีจะแต่งงานหรือมีบุตรควร
ได้รับการตรวจร่างกาย การเอาใจใส่บุตรในครรภ์ โดยกินอาหารที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของ
เด็กในครรภ์

2. ความไมส่ มดุลของสารเคมใี นรา่ งกาย ทาใหเ้ กิดความผดิ ปกตทิ างดา้ นความคิด การ
รบั รูแ้ ละอารมณ์ ถา้ เด็กได้รับการกระทบกระเทือนทางสมองอย่างรุนแรงหลังจากไดร้ บั อบุ ตั เิ หตุ
จะสง่ ผลในดา้ นความคิด การรับรู้ และด้านอารมณ์ผิดไปจากปกติ การปอู งกัน คือ บิดามารดา
ผู้ปกครองหรือผู้ที่อยู่ใกล้ชิดควรอบรมเล้ียงดูและดูแลไม่ปล่อยปละละเลยให้เด็กตกอยู่ใน
อนั ตรายหรืออย่ใู นสถานท่ีเสยี่ งต่อการไดร้ บั บาดเจ็บทางสมอง

สมรรถนะทางการศึกษาพเิ ศษ
ความร้เู กี่ยวกบั เด็กที่มีความต้องการจาเปน็ พิเศษ

3. สภาพทางครอบครัว มีบทบาทสาคัญต่อพฤติกรรมของเด็กมาก หากเด็กอยู่ใน
ครอบครัวท่ีบิดามารดาอารมณ์ร้าย ปัญหาเหล่านี้จะส่งผลต่อพฤติกรรมของเด็กโดยตรง ในการ
ปูองกันและแก้ปัญหา คือ ครูควรมีบทบาทในการให้คาแนะนาแก่เด็กและผู้ปกครอง ส่วน
ผู้ปกครองผู้มีส่วนสาคัญท่ีสุดจะต้องร่วมมือกับหลายฝุายในการหาทางปูองกันและแก้ไข
เปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมของเด็ก

4. สภาพทางสังคมและสงิ่ แวดล้อม มผี ลตอ่ พฤตกิ รรมของเดก็ เชน่ กัน การปูองกัน คือ
คนในสังคมน้นั ควรสามัคคี มนี ้าใจ ช่วยเหลอื ซง่ึ กนั และกัน พูดจาไพเราะ เดก็ ทีอ่ ย่ใู นสังคมน้ัน
กจ็ ะซึมซบั พฤตกิ รรมของคนในสงั คมไปเป็นแบบอยา่ ง

8. สาเหตขุ องออทสิ ติค
ปัจจัยหลายประการท่ีส่งผลให้ การทางานในหน้าท่ีต่างๆ ของสมองไม่สมบูรณ์แบบ

หลายประการ เช่น ทางชีววทิ ยา ปจั จยั ด้านความไมส่ มดุลของสารเคมีในสมอง ความผิดปกติของ
สมองด้าน การทางาน การติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ หรือขณะคลอด การเกิดอุบัติเหตุในวัยเด็ก
ปัจจัยทางสารสอ่ื ประสาท (สารชีวเคมี) มรี ะดับผิดปกติ เป็นตน้

1. สาเหตุทางพันธุกรรม จากการศึกษาในคู่แฝดท่ีเป็นออทิซึม พบว่าในคู่แฝดท่ีมาจาก
ไข่ใบเดียวกนั หากเด็กคนหน่ึงเป็นออทซิ ึม คแู่ ฝดจะมีโอกาสเป็นภาวะน้ีด้วยถึง ร้อยละ 40 แต่ใน
แฝดท่มี าจากไข่คนละใบ จะเปน็ เพยี งรอ้ ยละ 10 เทา่ น้ัน

2. ความผดิ ปกตขิ องสมอง พบวา่ สมองของเดก็ ออทิสติคมีเซลล์ของสมองผิดปกติอยู่ 2
แห่ง คือ บริเวณที่ควบคุมด้านความจา อารมณ์ และ แรงจูงใจ ส่วนอีกบริเวณหน่ึงจะควบคุม
เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย ซ่ึงลักษณะของเซลล์สมองท้ัง 2 แห่ง จะเป็นเซลล์ที่ยังไม่
พัฒนา เทยี บไดเ้ ทา่ กับเซลล์สมองเดก็ อายุเพียง 38 อาทติ ย์ทอี่ ยใู่ นครรภม์ ารดา

3. ความผิดปกติของสารส่ือประสาท (Neurotransmitters)อาจพบความผิดปกติ ของ
ระดับสารส่ือประสาทชนดิ ตา่ งๆไดแ้ ก่ Serotonin Catecolamine, Endophin fraction

สมรรถนะทางการศึกษาพเิ ศษ
ความร้เู กย่ี วกับเดก็ ท่ีมคี วามตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ

4. มารดาท่ีเป็นหัดเยอรมันในระยะต้ังครรภ์คลอดออกมา แล้วพบว่ามีส่ิงแทรกซ้อน
จากหัดเยอรมัน อาจมตี าบอด หหู นวกหวั ใจพกิ ารแตก่ าเนดิ และมีลกั ษณะของออทซิ มึ ด้วย

5. ในเดก็ ออทสิ ตคิ ระบบภูมติ ้านทาน กลบั ไปทาลายระบบประสาทของตนเอง
6. ส่ิงแวดลอ้ มซ่ึงรวมไปถึงการอบรมเลี้ยงดูของพ่อแม่ การขาดความรักเป็นสาเหตุหน่ึง
ของเด็กออทิสติค วิธีการปฏิบัติต่อเด็กของผู้ปกครอง พ่อแม่บางคนอาจเป็นคนเย็นชา ไม่สร้าง
ความสมั พนั ธอ์ ันดีกับเด็ก ความเก็บกดที่เกิดข้ึนในเด็กที่เป็นเวลาติดต่อกันอย่างยาวนาน อาจทา
ให้เด็กปกตกิ ลายเป็นเด็กออทสิ ติคได้

การป้องกนั ภาวะออทิสซมึ
การปูองกันควรปูองกันเด็กตั้งแต่ในระยะท่ีอยู่ในครรภ์มารดา มารดาท่ีตั้งครรภ์

ควรได้รับการดูแลอย่างดีจากผู้ใกล้ชิด ให้มีสุขภาพดีทั้งกายและใจ รับประทานอาหารท่ีมี
สารอาหารครบถว้ น ระมัดระวงั โรคติดเชอื้ ตา่ งๆ เช่น หดั เยอรมัน ไม่ควรรับประทานยาเองเม่ือมี
อาการเจ็บปวุ ย ถ้ามีความไม่สบายใจวิตกกังวลเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ ปรึกษาแพทย์ และควรฝาก
ครรภ์ตั้งแตใ่ นระยะต้น

9. สาเหตขุ องความบกพร่องซ้อน
สาเหตุของการเกิดสภาพความบกพร่องซ้อนของเด็กอาจมีหลายประการ เด็กบางคน

อาจมีสาเหตุของความบกพร่องมาต้ังแต่ก่อนคลอด ระหว่างคลอด หรือหลังคลอด สาเหตุก่อน
คลอดอาจเป็นความผิดปกติของโครโมโซมหรือความผิดปกติของระบบเมตาโบลิซึม มารดาปุวย
เป็นโรคหดั เยอรมนั มารดาติดยาหรือส่ิงเสพติด การขาดสารอาหารระหวา่ งตั้งครรภ์ เป็นต้น ส่วน
สาเหตรุ ะหว่างคลอดอาจรวมไปถงึ การขาดออกซเิ จน สมองได้รับบาดเจบ็ ระหวา่ งคลอดและอ่ืนๆ
เด็กทมี่ ีความบกพร่องขน้ั รนุ แรงมักสังเกตเห็นแรกได้ชัดตั้งแต่แรกเกิด ซ่ึงสังเกตได้ง่ายกว่าเด็กท่ีมี
ความบกพร่องในข้ันเล็กน้อยหรือมีความบกพร่องปานกลาง ส่วนสาเหตุหลังคลอดอาจรวมไปถึง
อบุ ตั เิ หตุ การไดร้ ับสารพิษ เป็นตน้

สมรรถนะทางการศกึ ษาพิเศษ
ความรเู้ ก่ียวกบั เดก็ ทมี่ คี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ

การป้องกัน
1. หลีกเล่ียงการติดเชื้อ เช่น ไวรัส แบคทีเรีย หัดเยอรมัน ซิฟิลิส วัณโรค ยาแก้ปวด

ตา่ งๆ หลีกเลยี่ งการกระทบกระเทือนตา่ งๆ ขณะตั้งครรภ์ การหลกี เลี่ยงรงั สีเอก็ ซเรย์
2. ขณะท่ีคลอดหรือระหว่างทาการคลอด เด็กทารกอาจพิการจากสาเหตุอุบัติเหตุ

จากการใช้เคร่ืองมือในการทาคลอด การคลอดที่ไม่ถูกวิธี ดังน้ัน ควรฝากครรภ์และคลอดกับ
แพทยท์ างผดุงครรภ์

10. สาเหตุของปัญญาเลศิ
อาจพบวา่ การมปี ญั ญาเลิศอาจเกิดไดจ้ าก 2 สาเหตุดังน้ี
1. พันธุกรรม เด็กท่ีมีพ่อแม่เป็นผู้มีสติปัญญาดี มักพบว่าลูกก็จะมีแนวโน้มที่จะปัญญา

เลิศด้วย
2. สิ่งแวดล้อม การดูแลตนเองของแม่ก่อนท่ีจะตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด

ในขณะให้นมบุตรก็จะมีส่วนส่งเสริมให้ลูกมีสุขภาพแข็งแรง เด็กท่ีด่ืมนมแม่จะมีภูมิต้านทานโรค
ดีกวา่ เด็กทไี่ ม่ดม่ื นมแม่ ส่งผลใหเ้ ด็กมสี ุขภาพดี สง่ ผลต่อพัฒนาการที่ดีด้วย การดูแลเอาใจใส่จาก
ครอบครัว ก็มสี ่วนส่งเสริมใหเ้ ดก็ มีปัญญาเลิศได้อกี ดว้ ย

การสง่ เสริมปัญญาเลิศ
1. การดูแลในขณะท่ีตั้งครรภ์และขณะคลอด จะช่วยลดโอกาสของการเกิดความ

บกพร่อง เช่น หากขณะต้ังครรภ์แม่สูบบุหรี่ หรือติดยาเสพติด ก็เป็นการยากท่ีจะมีลูกที่มีปัญญา
เลศิ ได้ การฝากครรภ์และพบแพทย์อยา่ งสมา่ เสมอก็จะช่วยใหเ้ ดก็ มโี อกาสพัฒนาไปในทางที่ดี

2. การดูแลรบั ประทานอาหารให้เหมาะสม มีคุณค่า ย่อมทาให้เด็กได้รับสารอาหารท่ีมี
คณุ ค่า สง่ ผลต่อการมรี า่ งกายทแี่ ข็งแรง มภี มู คิ ้มุ กนั โรค ไมเ่ ป็นอปุ สรรคต่อการเรียนรู้

3. การส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย ก็จะช่วยให้เด็กมีโอกาสพัฒนาการไปสู่
ความเปน็ ปญั ญาเลศิ ได้ เชน่ การพดู คยุ เพอื่ ส่งเสริมความคดิ และจนิ ตนาการ

4. สภาพแวดล้อมที่ดี เช่น อากาศบริสุทธ์ิปราศจากควันพิษ ย่อมส่งผลต่อการพัฒนา
สมองและการคิด

สมรรถนะทางการศกึ ษาพิเศษ
ความรู้เกย่ี วกับเดก็ ท่มี ีความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ

5. การจัดสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนก็มีส่วนส่งเสริมให้เด็กมีความกระตือรือร้น
ที่จะแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง การสนับสนุนจากครู อาจารย์ ด้วยความเอาใจใส่ก็มีส่วน
สง่ เสรมิ ความกา้ วหน้าทางสติปญั ญาของเดก็ ได้

สมรรถนะทางการศกึ ษาพิเศษ
ความร้เู กยี่ วกบั เดก็ ทม่ี ีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ

การปฏบิ ัตติ นตอ่ เด็กที่มีความต้องการพิเศษ/สิทธเิ ด็ก

ความต้องการพิเศษมีหลายลักษณะ จึงทาให้เด็กที่มีความต้องการพิเศษในแต่ละคนมี
บคุ ลิก ลักษณะ การแสดงออกทีแ่ ตกตา่ งกนั ข้นึ อยูก่ ับสภาพความตอ้ งการพเิ ศษ และความรุนแรง
ของภาวะน้ันๆ เช่น เด็กออทิสติก บางคนมีการหลีกหนีสังคม ไม่สามารถเล่นกับเพื่อนได้
เด็กสมาธิสั้นบางคนไม่สามารถจัดการกับพฤติกรรมหุนหันพลันแล่นของตนเองได้ แต่บางคน
สามารถจัดการไดด้ ี เปน็ วิธีการดูแลเด็กทมี่ ีความต้องการพิเศษ ดงั น้ี

1. ยอมรับ เข้าใจ และให้ความร่วมมือ เบื้องต้นต้องยอมรับว่าเด็กเป็นเด็กท่ีมีความ
ต้องการพิเศษ และเชื่ออยู่เสมอว่าเด็กที่มีความต้องการพิเศษสามารถเรียนรู้และพัฒนาได้ เม่ือ
ยอมรับแลว้ จะเกิดความเข้าใจ และครอบครัวให้ความร่วมมือ มองเห็นภาพในการพัฒนาเด็กไป
ในทิศทางเดียวกนั

2. หาความรู้เพ่ิมเติม ในปัจจุบันแหล่งข้อมูลเก่ียวกับเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษมีเพิ่ม
มากขึ้น และการเข้าถึงแหล่งข้อมูลก็สามารถทาได้ง่ายข้ึน โดยเฉพาะแหล่งข้อมูลแบบออนไลน์
สามารถเข้าไปศึกษา หาความรู้เพิ่มเติม เพื่อให้มีความเข้าใจในโรค ภาวะต่างๆ หรือพฤติกรรม
ของเดก็ เป็นแนวทางในการประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้

3. จัดตารางกิจกรรม การพัฒนาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ควรทาให้เป็นกิจวัตร
ทาซ้าๆ ฝึกบ่อยๆ ทบทวนส่ิงเดิม เพิ่มเติมสิ่งใหม่ จะช่วยให้เห็นพัฒนาการของเด็กได้ชัดเจนขึ้น
การจัดตารางก็ควรมคี วามยดื หยุน่ และมชี ่วงเวลาทีเ่ หมาะสม ไมม่ ากหรอื นอ้ ยเกนิ ไป

สมรรถนะทางการศกึ ษาพิเศษ
ความรเู้ กีย่ วกบั เดก็ ที่มีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ

4. จัดกิจกรรมเสริมง่ายๆ นอกจากการฝึกประจาที่เด็กจะได้ฝึกกับนักสหวิชาชีพแล้ว
ควรหากิจกรรมเสริมง่ายๆ มาใช้เล่นกับเด็กเพื่อเป็นการเสริมพัฒนาการ และเป็นการเสริม
ความสัมพนั ธใ์ นครอบครัวไปพรอ้ มๆ กัน

5. ใช้การเสริมแรง การเสริมแรงจะช่วยให้เด็กมีความถ่ีในการปฏิบัติกิจกรรม
เพ่ิมมากขึน้ หรอื มพี ฤติกรรมทีด่ เี พิม่ มากข้นึ การให้การเสรมิ แรงมีอยู่หลากหลายวธิ ี ที่งา่ ยท่ีสุดคือ
การให้คาชม การสัมผัสเบาๆ หรือการแสดงท่าทางเพื่อบอกว่าเราพอใจ เช่น เมื่อลูกป้ันดินน้ามัน
สัตว์บกได้ การชมเด็กว่า “เก่งมากเลยลูก” พร้อมกับทายกนิ้วโปูง เป็นสัญลักษณ์ว่าทาได้ดี
เป็นต้น ต้องจัดให้อย่างเหมาะสม ไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกินไป และถ้าเป็นสิ่งท่ีเด็กชอบเด็ก
จะต้องการและพยายามทากิจกรรมมากข้ึน

6. ให้กาลังใจ ส่ิงสาคัญที่จะช่วยพัฒนาเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษให้ดีข้ึนหรือมี
พฒั นาการท่ีเหน็ ชดั คอื การใหก้ าลงั ใจกันและกนั

ตามพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ.2534 และพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542

เด็กท่ีมีความต้องการพิเศษและครอบครัว สามารถได้รับบริการและการช่วยเหลือจาก
รัฐ ได้แก่ บริการที่จัดให้ตามกฎหมาย ซึ่งแบ่งเป็น บริการด้านการแพทย์ บริการด้านอาชีพ
บริการดา้ นการจัดการศกึ ษา และบรกิ ารทางสังคม โดยมีกฎหมายและกฎกระทรวง เป็นแนวทาง
ให้รัฐดาเนินการ นอกจากน้ีแล้วครอบครัวยังสามารถได้รับบริการและความช่วยเหลือจากรัฐใน
ด้านต่างๆ เชน่ การไดร้ ับโอกาสในการรับการแนะนาการอบรมเล้ียงดูเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
หรือการมีสทิ ธใิ นการจัดการศกึ ษาและมีสว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา

บริการดา้ นสง่ิ อานวยความสะดวก สือ่ บรกิ ารและความชว่ ยเหลอื ทางการศึกษาสาหรับ
เด็กท่ีมีความต้องการแต่ละประเภท มีทั้งที่คล้ายคลึงกันและแตกต่างกัน ท้ังนี้ขึ้นอยู่กับความ
ต้องการจาเป็นและความรุนแรงของความพิการของเด็กเป็นเกณฑ์ ซึ่งการให้บริการดังกล่าว
นับเป็นการส่งเสริมและช่วยให้กระบวนการเรียนรู้ของเด็กเป็นไปได้อย่างสะดวกมากข้ึน อันจะ
สง่ ผลต่อการพัฒนาเด็กที่มีความตอ้ งการพิเศษได้อย่างเต็มศักยภาพ

สมรรถนะทางการศึกษาพเิ ศษ
ความรูเ้ กี่ยวกับเดก็ ท่มี ีความต้องการจาเปน็ พิเศษ


Click to View FlipBook Version