Page 1
บทที่ 1
ความหมาย ความสาคญั ลาดบั ชัน้ ความสาคญั ความเป็นมา โครงสร้างเนื้อหา และ
วเิ คราะห์สมนั ตปาสาทิกา (อรรถกถา) ภาค 3 คกู่ บั พระวนิ ยั ปิฎก เล่ม 4
วัตถุประสงค์การเรียนประจาบท
เมื่อได้ศึกษาเน้ือหาในบทน้แี ล้ว ผ้ศู กึ ษาสามารถ
1. อธิบายความหมายคมั ภีร์อรรถกถาได้
2. อธิบายความสาคญั คัมภีรอ์ รรถกถาได้
3. อธบิ ายลาดับชัน้ ความสาคัญของแตล่ ะคมั ภรี ์อรรถกถาได้
4. อธบิ ายความเป็นมาของคัมภรี ์อรรถกถาได้
5. อธบิ ายโครงสร้างเนื้อหาสมันตปาสาทกิ า (อรรถกถา) ภาค 1-3
คู่กับ เล่ม 1-8 พระวินยั ปฎิ ก (ภาพรวม)
6. วิเคราะหส์ มันตปาสาทกิ า (อรรถกถา) ภาค 3 คกู่ บั เล่ม 4 พระวินยั ปฎิ ก
ขอบขา่ ยเนอ้ื หา
- ความนา
- ความหมายคัมภีรอ์ รรถกถา
- ความสาคัญคมั ภรี อ์ รรถกถา
- ลาดบั ชั้นความสาคญั ของแตล่ ะคมั ภรี ์อรรถกถา
- ความเป็นมาของคัมภรี อ์ รรถกถา
- โครงสร้างเนื้อหาสมนั ตปาสาทกิ า (อรรถกถา) ภาค 1-3
คู่กับ เล่ม 1-8 พระวนิ ัยปฎิ ก (ภาพรวม)
- วิเคราะหส์ มันตปาสาทกิ า (อรรถกถา) ภาค 3 คกู่ บั เลม่ 4 พระวนิ ยั ปิฎก
- สรปุ ท้ายบท
- คาถามท้ายบท
- อา้ งอิงประจาบท
2
ความนา
การศึกษาพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับอรรถกถาๆ คือ การศึกษาคัมภีร์อธิบายพระไตรปิฎกๆ
หมายถึง การศึกษาเร่อื งราวชวี ิตของตนเองล้วนๆ เพอ่ื ให้หลดุ พ้น ออกจากปัญหาชีวิตประจาวัน และหลุด
พ้น ออกจากความทุกข์ ความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย เป็นต้น การศึกษาท่ีจะให้เข้าใจอย่างรู้
ลกึ รู้แจ้ง ร้จู บ รู้รอบอยา่ งกวา้ งขวาง และลึกซงึ้ ยงิ่ ข้ึน พทุ ธศาสนิกชน ผ้ใู ฝ่เรียนรู้ จาเปน็ อย่างยิง่ ท่ีจะตอ้ ง
อาศัยคัมภีร์ต่างๆ ตามที่พระเถระผู้ประเสริฐ ได้รวมคาสอนท้ังหลายเหล่านั้น มีอยู่ด้วยกันหลายชั้น
คัมภีร์ซึ่งเรียกว่า คัมภีร์อรรถกถา 1 คัมภีร์อรรถกถา หมายถึง คัมภีร์อธิบายพระไตรปิฎก อธิบายท้ัง 3
หมวด ไดแ้ ก่ หมวดพระวนิ ยั ปิฎก หมวดพระสตุ ตนั ตปิฎก หมวดพระอภิธรรมปิฎก
ส่วนหมวดอภิธรรมปิฎก อธิบายเก่ียวกับสภาวธรรมล้วนๆ เรียกว่า จริงปรมัตถ์สัจจะ ไม่ใช่จริง
สมมุติสัจจะ (จริงการตั้งช่ือสมมุติขึ้นมา) ซึ่งเป็นเรื่องราวของจิต เจตสิก รูป อารมณ์พระนิพพานในชีวิต
ของตนเองโดยตรง คัมภีร์ท้ัง 3 หมวดน้ัน ถือว่าเป็นคัมภีร์สาคัญทางพระพุทธศาสนา ที่มีคุณค่าอย่างย่ิง
ตอ่ พระภิกษุสามเณร นิสิต นักศึกษา พุทธศาสนิกชน และ สาคัญคอื เป็นเคร่ืองมือในการศึกษาเล่าเรียน
เพ่ือให้รู้ท่ัวถึง พระธรรมวนิ ัย และปฏิบัติตามพระธรรมคาส่ังสอนของพระพทุ ธองค์ได้อย่างถูกตอ้ งเรียกว่า
พระปริยัตสิ ัทธรรม คือ ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นปทฏั ฐานให้เกดิ มีพระปฏิบัติสัทธรรม คือ ศีล สมาธิ ปัญญา
และปฏเิ วธสัทธรรม ผลของศีล สมาธิ ปัญญาคอื มรรคผล นิพพานเปน็ ทสี่ ดุ นัน้ เอง
ดังนั้นผู้ใฝ่ศึกษาต้องมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรู้จักคัมภีร์ระดับอรรกถาให้ครบทุกเน้ือหา
สาระของแกน่ ธรรม แล้วนามา ตีความ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ ประเมินค่าของคัมภีรอ์ รรถกถา นาผลสรุปไป
เป็นแนวในการเขียนบทความ และ งานวิจัย เสนอต่อสังคมให้เป็นแนวการพัฒนาชีวิต และ สังคมให้
เกดิ ผลดเี ป็นสขุ สงบปัจจุบัน และ อนาคตต่อไป
สมดังปรัชญาท่ีกาหนดไว้ในแผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ระยะที่ 13
(2565-2569) กาหนดเป็นมหาวิทยาลัยที่จัดการศึกษาพระพุทธศาสนา ตามพระไตรปิฎก จนเกิดปฏิเวธ
จนเกิดวิปัสสนาญาณบูรณาการ (การรวมกัน) คู่กับ ศาสตร์สมัยใหม่ และ ร่วมกันสร้างพุทธนวัตกรรม
(แปลกใหม่จากเดิม อาจเป็นความคิด วิธีการ หรือ อุปกรณ์ เป็นต้น) เพื่อพัฒนาจิตใจ และ สังคม ให้เกิด
ความสงบสุข เป็นท่ียอมรับในระดับโลก หรือ เป็นท่ีรู้จักของนานาชาติซึ่งเกิดจากการดาเนินงาน
ของผู้บรหิ าร และ บคุ ลากรในองค์กรมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั 2
1 มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขทุ ทกนิกาย
ขุททกปาฐะ, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2556), หน้า คาปรารภ.
2 แผนพัฒนามหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ระยะท่ี 13 (2565-2569)
3
1.1 ความหมายคมั ภรี อ์ รรถกถา
คัมภีร์อรรถกถา หมายถึง คัมภีร์ หรือ หนังสือคู่มือ การศึกษาพระไตรปิฎก ตั้งแต่สมัยพุทธกาล
เป็นต้นมา ได้รจนา เรียบเรียงข้ึนเพื่ออธิบาย ความหมายของคาศัพท์ท่ีเข้าใจยาก และ ความหมายของ
วลี ประโยค หรือ ข้อความท่ีมีนัย สลับ ซับซ้อน อาจทาให้เข้าใจผิด และแปลความหมายผิดไป จากพุทธ
ประสงค์ในบรบิ ทน้นั ๆ ได้ 3
อรรถกถา หมายถงึ ถ้อยคาทเ่ี รียกกันวา่ กถาวรรค ทาหนา้ ที่อธิบายบาลี พุทธพจน์ เร่มิ มีปรากฏ
ตงั้ แต่สมัยพุทธกาลเปน็ ต้นมา 4
อรรถกถาหมายถึง คัมภีร์ หรือ เอกสาร ที่รวบรวมคาอธิบายเนื้อความ หรือ คาขยายเนื้อความ
ในพระไตรปิฎก คัมภีร์อรรถกถาทุกระดับชั้นจัดเป็นแหล่งขององค์ความรู้ทางพระพุทธศาสนา ที่มี
ความสาคัญรองลงมาจากพระไตรปิฎก คาว่าคัมภีร์อรรถกถาทุกระดับช้ันน้ัน คือ ไม่ใช่คาสอนของพระ
พุทธองค์ แต่เป็นคัมภีร์ท่ีนักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา หรือ ผู้แต่งคัมภีร์ได้อธิบายเนื้อความ หรือ
คาศัพท์ท่ีเข้าใจยาก คาวลี และประโยคท่ียากๆ ในพระไตรปิฎกเพ่ือขยายเน้ือความให้ผู้อ่านเข้าใจง่ายๆ
และรวดเร็วมากย่ิงขึ้น โดยยกคาศัพท์ออกมาอธิบายเป็นคาศัพท์ๆ บ้าง หรือ บอกความหมายเป็นคา
นิยามบ้าง มีการยกตัวอยา่ งบ้าง มีคาอุปมาเปรยี บเทียบบา้ ง อา่ นแล้วเข้าใจถูกต้องชัดเจน หรือ ไมว่ กวน
และ ไม่สับสน ยกข้อความ หรือ ประโยคยาวๆ มาขยายความให้ชัดเจน และแสดงทัศนะ หรือความ
คิดเห็น และ คาวินิจฉัยของผู้แต่งสอดแทรกเข้าไว้บ้าง และมีลักษณะการอธิบายความในพระไตรปิฎก
ของอรรถกถาน้ัน ๆ ไม่ได้นาทุกคาศัพท์ เร่ืองในพระไตรปิฎกมาอธิบาย แต่นาเฉพาะบางคาศัพท์ บาง
สานวนวลี และบางประโยค หรือ บางเร่ืองที่ตามนักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา หรือ ผู้แต่งคมั ภีร์เห็นว่า
สมควรอธบิ ายเพ่ิมเติมเทา่ น้ัน
สรุปได้ว่า บางเรื่องในพระไตรปิฎก จึงไม่มีคัมภีร์อรรถกถามาขยายเน้ือความให้ครบทุกเรื่อง
เพราะ เนื้อหาในพระไตรปิฎก ส่วนน้ันอธิบายเข้าใจชัดเจนได้ง่ายอยู่แล้ว จึงไม่อธิบายในคัมภีร์อรรถกถา
และถือวา่ คมั ภรี ์อรรถกถามคี วามสาคญั อยา่ งยิง่ วิชาหน่ึงจะได้เข้าใจไดง้ า่ ย และ ลกึ ซึง้ มากยง่ิ ขนึ้ 5
3 มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, อรรถกถาภาษาไทยพระวนิ ัยปิฎก สมนั ตปาสาทกิ า ภาค 2,
(กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , 2550), หน้า คาปรารภ.
4 มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ,อรรถกถาภาษาไทย พระสตุ ตนั ตปิฎก ขุททกนกิ าย
ขทุ ทกปาฐะ (บทสวดสน้ั ), (กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, 2556), หน้า บทนา.
5 อรรถกถา สารานุกรม แหล่งที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/%E0% (19 พ.ค.2565)
4
1.2 ความสาคญั ของคมั ภรี อ์ รรถกถา
คัมภีร์อรรถกถามีความสาคัญอย่างย่ิง เพราะสาคัญรองจากพระไตรปิฎก เพราะจะทาให้ผู้ศึกษา
ได้เข้าใจ ชัดเจน กว้างขวาง และลึกซึ้งมากย่ิงขึ้น ที่พระเถรผู้ประเสริฐ ได้รจนาเรียบเรียง ได้รวบรวมคา
สอนไว้ ความสาคัญของอรรถกถา เพราะใช้เป็นเคร่ืองมือค้นคว้า องค์ความรู้ ในพระไตรปิฎก อยู่เสมอ
หรอื เรยี กว่า เป็นอุปกรณ์ สาคัญช่วยในการแปล ที่อานวยความสะดวกในการศกึ ษา ค้นควา้ พระไตรปฎิ ก
ของนิสิตมหาวิทยาลัย และ พระภิกษุสงฆ์ทั่วไป สามารถนาไปใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงได้อย่างแพรห่ ลายใน
วงการศึกษาวิชาการทางพระพุทธศาสนา เพราะเป็นคัมภีร์ขั้นที่สองที่ใช้ในการตีความควบคู่กับ
พระไตรปฎิ ก ช้ีแจง ความหมาย การขยายความ ในพระวนิ ัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรม จะช่วย
ในการพิจารณาประเมินคุณค่า การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การตีความ แปลความหมาย หรือ ตัดสิน
ความหมายของคาศพั ท์ คาวลี หรอื ประโยคนัน้ ๆ ไดถ้ กู ตอ้ งอย่างแท้จรงิ
1.3 ลาดบั ช้ันความสาคญั ของแตล่ ะคัมภีร์อรรถกถา
พระเถระ หรือ พระอรหันต์ผู้ประเสรฐิ ไดร้ วบรวมคาสอนท่ีทส่ี าคญั ๆ ตลอดจนคาสอนของ
อาจารย์อ่นื ๆ ที่ควรรู้ ควรทราบ คัมภีร์เหล่าน้ัน หรือ นักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาท่านจัดประเภทและ
จดั ลาดับชัน้ ตามความสาคัญของแต่ละคมั ภรี ์ ได้แก่
1. พระไตรปิฎก หมายถึง พระไตรปฎิ กฉบับบาลี
2. อรรถกถา หมายถงึ คาท่ีอธบิ ายพระไตรปฎิ ก
3. มูลฎกี า, ฎกี า หมายถึง คาท่อี ธบิ ายอรรถกถา
4. อนุฎีกา หมายถึง คาที่อธิบายมลู ฎกี า
5. คนั ถันตระ หมายถึง คาอธิบายนอกจากพระไตรปฎิ ก อรรถกถา มลู ฎีกา ฎีกาและ อนุฎีกา
6. คนั ฐี หมายถึง ข้อความที่ยาก พระอรรถกถาจารย์และพระฎกี าจารย์ มไิ ดอ้ ธบิ ายไว้
7. โยชนา หมายถงึ คาทแ่ี สดงความหมายของคาศัพท์และบอกวิธกี ารสัมพนั ธ์คาศัพท์ไว้
8. สทั ทาวเิ สส หมายถึง คาทแ่ี สดงความเปน็ มา ของคาศพั ท์ไว้ ตามแนว นริ ุตตศิ าสตร์
9. คัมภีร์แปล หมายถึง แปลพระไตรปฎิ กและอรรถกถาแปล เปน็ ต้น
บรรดาคมั ภรี ์ต่างๆ ท่ีอธิบายคาสอนทัง้ หลายเหลา่ น้ัน มีอยู่ด้วยกันหลายชน้ั ตามทก่ี ล่าวมาแลว้ มี
จานวนมากในท่ีนี้ จะขอกล่าวเน้นเฉพาะคัมภีร์อรรถกถาเท่าน้ัน ตามหลักสูตรพุทธศาสาตรมหาบัณฑิต
(พ.ศ.2565) แตท่ างมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั เปน็ มหาลยั เฉพาะทาง
5
ได้เน้นการศึกษาพระพทุ ธศาสนาจากคัมภีร์ตา่ งๆ เป็นหลกั ทงั้ 3 ระดบั คอื
ระดับ 1 พระไตรปฎิ ก มีอรรถกถาอธิบาย
ระดบั 2 คัมภีร์อรรถกถา อธิบายพระไตรปฎิ ก
ระดบั 3 คมั ภีรฎ์ ีกา อธิบายคัมภีร์อรรถกถา
การเปรียบเทียบกันท้ัง 3 ระดับ จะก่อให้เกิดวิจารณญาณ แก่ผู้ศึกษาได้ว่า สิ่งใดเป็นธรรมวินัย
ตามท่ีพระพุทธองค์ ทรงสั่งสอนไว้ หรือไม่ สิ่งใดเป็นธรรมวินัย ตามที่พระพุทธองค์ ทรงบัญญัตไิ ว้ หรือไม่
คือ ถ้าศึกษาเรื่องใด โดยการเทียบเคียงกับคัมภีร์ท้ัง 3 ระดับแล้ว พบว่าตรงกัน ไม่ขัดกัน ก็ถือได้ว่าเรื่อง
น้นั เปน็ จริง ถกู ต้องตามพุทธพจน์ ถ้าไม่ตรงกัน มีข้อขัดแย้งกนั ก็ถือไดว้ า่ เรอื่ งนัน้ เปน็ ไม่จรงิ ไม่ถูกตอ้ งตาม
พทุ ธพจน์ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยเหน็ ความสาคญั ในเรอื่ งนี้
1.4 ความเปน็ มาของคัมภีร์อรรถกถา
ความเป็นมาของคัมภีร์อรรถกถา เริ่มต้นจากคัมภีร์อรรถกถายุคเก่า คือ คัมภีร์อรรถกถา ที่พระ
พุทธองคท์ รงแสดงขยายความด้วยพระองค์เอง และ คัมภรี ์อรรถกถา (อนุพทุ ธ) ทพ่ี ระสาวก หรอื พระอัคร
สาวกทั้งหลายเปน็ ผู้แตง่ เรยี บเรียง ขยายความไว้
คมั ภรี ์อรรถกถา 2 ประเภท จาแนกตามยุค หรอื ตามกาลเวลา คอื
1. คัมภีร์อรรถกถาเก่า เช่น คัมภีร์ที่พระพุทธองค์ กับ อนุพุทธได้ทรงอธิบายเป็นภาษามคธ จาก
ชมพูทวีป หรอื ประเทศอินเดียมาเผยแผ่ท่ีเกาะลังกา หรือ ประเทศศรีลังกา ต่อมาภายหลังพระมหาเถระ
ชาวสิงหล ได้แปลอรรถกถาน้นั เปน็ ภาษาสงิ หล
2. คัมภีร์อรรถกถาใหม่ (อภินวอรรถกถา) หมายถึง คัมภีร์อรรถกถาที่พระพุทธโฆษาจารย์แต่งไว้
เช่น คัมภีร์วิสุทธิมรรค เปน็ ต้น และ บันทกึ ไวเ้ ป็นภาษาสิงหล ซึ่งได้ตน้ ฉบับ หรือ ต้นแบบการแต่งมาจาก
คมั ภรี อ์ รรถกถาเก่า คือ คมั ภีรอ์ รรถกถาทีแ่ ต่งดว้ ยภาษามคธ และ คัมภรี อ์ รรถกถาท่ีแต่งด้วยภาษาสิงหล
คัมภีร์อรรถกถา 2 ประเภท จาแนกตามภาษา คือ
1 ภาษามคธ (ภาษาของชาวอนิ เดยี ประเทศอนิ เดีย)
2 ภาษาสิงหล (ภาษาของชาวศรีลังกา ประเทศศรลี ังกา)
ความเปน็ มาของคมั ภรี อ์ รรถกถาน้ี เป็นเพียงสังเขป พอทจ่ี ะนามาใชป้ ระโยชน์ในการค้นหา ข้อมูล
ได้บ้าง ตามสมควร ลาดับต่อไป กล่าวถึงเฉพาะความเป็นมาของอรรถกถา ท่ีมีปรากฏอยู่ในยุคปัจจุบัน
นายพร รัตนสวุ รรณ และ คณะกรรมการตรวจชาระ คมั ภรี ์อรรกถา ซ่ึงคัมภีร์เหล่าน้ี ล้วนเป็นสมบัตอิ ันล่า
ค่าของมหาวิทยาลัยของชาติ และ ของพระพทุ ธศาสนา
6
ผเู้ ขยี น ขอขอบพระคณุ นายพร รัตนสุวรรณ และ คณะกรรมการตรวจชาระ ไว้ ณ ท่นี ้ดี ้วย
ที่ทาให้มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เห็นความสาคัญในเร่ืองนี้ จึงได้ เร่ิมมีโครงการ แปล
คมั ภีร์อรรกถา ต้ังแต่ ปี 2542
หลังจากนั้น คัมภรี ์อรรถกถา อธิบายพระไตรปิฎกท้ัง 3 ปฎิ ก คือ พระวินัยปฎิ ก พระสุตตนั ตปิฎก
พระอภธิ รรมปิฎก การดาเนนิ งานไดจ้ ัดพิมพอ์ รรถกถาเป็นไปตามลาดับ เช่น
อรรถกถาภาษาไทยพระวินยั ปิฎก สมันตปาสาทกิ า ภาค 2 (2550) อรรถกถาภาษาไทย
พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ (2556) อรรถกถาภาษาไทย พระอภิธรรมปิฎก อัฏฐสาลินี
(2560) เป็นต้น 6
1.5 โครงสรา้ งเนอ้ื หาสมันตปาสาทิกา (อรรถกถา) ภาค 1-3 คูก่ ับ เล่ม 1-8 พระวนิ ยั ปิฎก
คมั ภรี ์สมนั ตปาสาทกิ า คณะสงฆไ์ ทย ไดใ้ ชเ้ นอื้ หาในคัมภรี ์น้ี เปน็ ค่มู อื ของนกั เรียนบาลี
ชัน้ ประโยค 6 ช้นั ประโยค 7 ช้นั ประโยค 8
7ส่วนความเห็นผู้เขียนได้ประเมินคุณค่าคัมภีร์สมันตปาสาทิกา คือ ทาให้เรารู้จัก ข้อปฏิบัติ
เก่ียวกบั ศีลของพระภิกษุสงฆ์ ส่งผลทาให้พุทธศาสนิกชน เลื่อมใส หรือ เกดิ ความศรัทธาในหลักปฏิบัติ ใน
การดาเนินชีวิต และ การอยู่ร่วมกับสังคมทาให้เกิดความสุขสงบ เพราะคัมภีร์สมันตปาสาทิกา ซ่ึงได้
อธบิ าย ลักษณะ บุคลิกภาพ ทา่ ทาง ได้อย่างงดงาม ผู้มีวนิ ัยดยี ่อมทาให้เกิดความเลื่อมใสและ ศรัทธาแก่ผู้
พบเหน็ หรือ บคุ คลทั่วไป และ ทาใหเ้ ราร้จู ักคุณคา่ คัมภรี ์อรรถกถา หรอื วรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา
มากยิ่งขึน้
ดังน้ันนิสิต หรือ ผู้สนใจ ต้องเรียนรู้เกี่ยวกับ โครงสร้างเน้ือหาสมันตปาสาทิกา ภาค 1-3 คู่กับ
เลม่ 1-8 พระวินัยปฎิ ก ภาพรวม ตามตาราง 1.1 ดังนี้
6 มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ,อรรถกถาภาษาไทยพระวินยั ปฎิ ก สมันตปาสาทิกา ภาค 3,
(กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , 2550), หนา้ คาปรารภ.
7 แหลง่ ท่ีมาของข้อมูลไฟล์ pdf หลกั สูตรเปรยี ญ 1 ถงึ 9 ประโยค จากhttp://thammapedia.com/ และ
http://www.learntripitaka.com
7
ตาราง 1.1
ตารางโครงสรา้ งเน้ือหา สมันตปาสาทกิ า (อรรถกถา) ภาค 1-3
คูก่ ับ เล่ม 1-8 พระวินัยปิฎก
สมันตปาสาทิกา (อรรถกถา) ภาค 1-3 เล่ม 1-8 พระวนิ ยั ปฎิ ก
อรรถกถา แบง่ เป็น 3 ภาค คือ พระวินัยปฎิ ก แบง่ เปน็ 8 เลม่
ภาค 1 สมันตปาสาทิกา (อรรถกถา) เล่ม 1 กล่าวถึง อาบัติหนัก คือ
อธิบายพระวินยั ปฎิ ก เล่ม 1 ปาราชกิ 4 สังฆาทิเสส 13 อนิยต 2
ภาค 2 สมันตปาสาทกิ า (อรรถกถา) เล่ม 2 กล่าวถึง อาบัติเบา คือ
อธบิ ายพระวนิ ัยปฎิ ก เล่ม 2 นสิ สคั คิยปาจติ ตยี ์ 30
จนครบ 227 ข้อ (ศีล)
ภาค 2 สมนั ตปาสาทิกา (อรรถกถา)
อธิบายพระวนิ ยั ปิฎก เล่ม 3 เล่ม 3 กล่าวถงึ ศีล 311 ข้อ คือ
ศลี ของภิกษณุ ี
ภาค 3 สมันตปาสาทกิ า (อรรถกถา)
อธิบายพระวินยั ปฎิ ก เล่ม 4 เล่ม 4 กลา่ วถงึ เรอ่ื งกาเนดิ
พระภกิ ษสุ งฆ์ และ การอุปสมบท
ภาค 3 สมันตปาสาทิกา (อรรถกถา) (การบวชเป็นพระสงฆ์) อโุ บสถ จา
อธิบายพระวินยั ปิฎก เลม่ 5 พรรษา และปวารณา
เล่ม 5 กล่าวถงึ เรอ่ื งเครอื่ งหนงั
เภสัช กฐิน จีวร นิคหกรรม และการ
ทะเลาะวิวาท และสามัคคี
8
ภาค 3 สมันตปาสาทิกา (อรรถกถา) เล่ม 6 กลา่ วถงึ เรื่องนิคหกรรม
อธบิ ายพระวนิ ยั ปิฎก เล่ม 6 (การลงโทษ) วุฏฐานวิธี (ถกู ต้องตาม
ระเบียบวธิ )ี และการระงบั อธิกรณ์
ภาค 3 สมันตปาสาทกิ า (อรรถกถา)
อธิบายพระวินยั ปิฎก เลม่ 7 เลม่ 7 กล่าวถงึ เรือ่ งข้อบัญญัติ
ปลีกยอ่ ย เรือ่ งเสนาสนะ (ท่ีอยอู่ าศัย)
ภาค 3 สมันตปาสาทกิ า (อรรถกถา) สังฆเภท (การทาลายสงฆ์ วัตรต่างๆ
อธบิ ายพระวนิ ัยปฎิ ก เล่ม 8 การงดสวดปาติโมกข์
(ชาระศีลให้บริสทุ ธิ์) เร่ืองภิกษณุ ี
เรอื่ งสงั คายนาครัง้ ท่ี 1, 2
เลม่ 8 กลา่ วถงึ เรื่องคมู่ ือถามตอบ
ซ้อมความรูว้ นิ ัย
1.6 วเิ คราะหส์ มนั ตปาสาทกิ า (อรรถกถา) ภาค 3 คกู่ ับ เล่ม 4 พระวนิ ัยปิฎก
เหตุผลที่เลือกวิเคราะห์ คัมภีร์อรรถกถา หมวดวินัยปิฎก ภาค 3 กับคัมภีร์พระวินัยปิฎกเล่ม 4
เพราะเปน็ หมวด ตอนวา่ ด้วยเรอื่ งเหตุการณส์ าคญั มี 67 หวั ขอ้
เพราะสาคัญคือ เป็นเรื่องต้นกาเนิดแห่งพระพุทธศาสนาคือ เริ่มต้นด้วยการตรัสรู้ใหม่ๆ ได้ทรง
พิจารณาปฏจิ สมปุ บาท และได้ทรงแสดงปฐมเทศนา คอื
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (มรรค 3 ผล 3 หรอื อริยบุคคลเกิดขึ้นคร้ังแรกในโลกมนุษย์) และได้ทรง
แสดงธรรมอนัตตลักขณสตู ร (อรหันตเ์ กิดขน้ึ ในโลก 5 รูป)
และได้ทรงแสดงอนุปุพพิกถา ทรงแสดงอริสัจ 4 และ โปรดพระยสะพร้อมด้วยบิดา มารดา
ภรรยา และมิตรสหาย ตามลาดบั
เพราะสาคญั คอื ทรงส่งพระอรหันต์ 60 รูป ออกประกาศเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาครง้ั แรก
และเร่ืองอน่ื ๆ เช่น เรอ่ื งข้อกาหนดในการอปุ สมบท (การบวชเปน็ พระสงฆ์)
วิธีการลงโทษสงฆ์ อาบัติแล้วไม่ยอมรับว่าเป็นอาบัติ เรียกว่า อุกเขปนียกรรม โดยการไม่ให้ฉัน
ร่วม ไม่ให้อยรู่ ่วม ไม่สละทฏิ ฐิบาป เป็นต้น
ดังนั้นผู้เขียน จึงได้ดาเนินการวิเคราะห์ตามตาราง 1.2 วิเคราะห์เปรียบเทียบคัมภีร์อรรถกถา
หมวดวินัยปิฎก ภาค 3 คกู่ ับ คัมภีร์พระวนิ ัยปฎิ กเลม่ 4 มีดังนี้
9
ตาราง 1.2
ตารางวิเคราะห์สมันตปาสาทิกา (อรรถกถา) ภาค 3
คกู่ บั เล่ม 4 พระวนิ ัยปิฎก
ภาค 3 สมันตปาสาทกิ า (อรรถกถา) เล่ม 4 พระวินยั ปฎิ ก
คาอธบิ าย 64 หวั ข้อ ได้แก่ คาอธิบาย 64 หวั ข้อ ไดแ้ ก่
1.เหตกุ ารณ์แรกตรัสรู้ 1.เหตกุ ารณแ์ รกตรัสรู้
อทุ าน 3 ครัง้ ทรงพจิ ารณาปฎจิ สมุปบาท อุทาน 3 ครงั้ ทรงพจิ ารณาปฎจิ สมปุ บาท
ทง้ั อนโุ ลมและปฏิโลม ท้ังอนุโลมและปฏิโลม
ผู้มีความเพยี ร โพธปิ ักขยิ ธรรม 37 เกิดข้นึ ผู้มคี วามเพยี ร โพธิปักขยิ ธรรม 37 เกดิ ข้ึน
กาจัดกาม (มาร และ เสนามาร) กาจัดกาม (มาร และ เสนามาร)
ผลการวเิ คราะห์จากการสงั เกต ผลการวเิ คราะห์จากการสังเกต
คาอธบิ าย ภาค 3 สมันตปาสาทกิ า (อรรถกถา) คาอธบิ าย เล่ม 4 พระวนิ ัยปฎิ ก อ่านค่อนข้าง
อา่ นค่อนข้างเข้าใจยาก เขา้ ใจง่าย
2.เหตุการณ์ประทับอยู่ต้นไทรทรง 2.เหตกุ ารณป์ ระทบั อยู่ต้นไทรทรง
แสดงธรรมเปน็ เหตุให้พราหมณบ์ รรลุ แสดงธรรมเป็นเหตใุ ห้พราหมณบ์ รรลุ
มรรคญาณ 4 (โสดา-อรหันต)์ มรรคญาณ 4 (โสดา-อรหนั ต)์
ผลการวิเคราะหจ์ ากการสงั เกต ผลการวิเคราะห์จากการสงั เกต
คาอธิบาย ภาค 3 สมันตปาสาทิกา (อรรถกถา) คาอธบิ าย เลม่ 4 พระวินัยปฎิ ก อ่านค่อน
อา่ นคอ่ นข้างเขา้ ใจยาก ข้างเข้าใจง่าย
3.เหตุการณ์ประทบั อยู่ต้นมุจลนิ ท์ 3.เหตกุ ารณ์ประทบั อยูต่ ้นมจุ ลินท์
สัปดาห์ที่ 6 ทรงเปล่งอุทาน วา่ ความสุข สปั ดาหท์ ี่ 6 ทรงเปล่งอุทานว่า ว่าความสขุ
ปราศจากความถือตน และ กาจดั ความ ปราศจากความถือตน และ กาจดั ความ
กาหนดั พน้ กามเปน็ สขุ อย่างย่ิง กาหนัด พน้ กามเปน็ สขุ อยา่ งยิง่
ผลการวเิ คราะห์จากการสังเกต ผลการวเิ คราะห์จากการสงั เกต
คาอธิบาย ภาค 3 สมันตปาสาทิกา (อรรถกถา) คาอธิบาย เลม่ 4 พระวินยั ปิฎกเขา้ ใจง่ายและมี
อ่านเข้าใจงา่ ยและ แยกคาศพั ท์ได้ชดั เจน คาอธบิ ายคาศัพทต์ รงเชิงอรรถ
10
4. เหตุการณป์ ระทับอยตู่ ้นเกด 4.เหตุการณ์ประทับอยตู่ น้ เกด
พ่อคา้ 2 คนไดเ้ ขา้ ถึงรัตนะ 2 คอื พ่อคา้ 2 คน ไดเ้ ขา้ ถึงรัตนะ2 คอื
ยดึ พระพุทธกับพระธรรม ยดึ พระพทุ ธกบั พระธรรม
ว่าเป็นสรณะ เป็นอุบาสกตลอดชีวิตคือ 2 ว่าเปน็ สรณะ เป็นอุบาสกตลอดชีวติ คือ 2
คน แรกในโลก คน แรกในโลก
ผลการวิเคราะหจ์ ากการสังเกต ผลการวิเคราะหจ์ ากการสงั เกต
คาอธบิ าย อ่านภาค 3 สมันตปาสาทิกา (อรรถกา) คาอธิบาย อ่านภาค 3 อรรถกถาสมันตปาสาทิกา
ค่อนข้างเขา้ ใจยาก คอ่ นขา้ งเข้าใจง่าย
5.พรหมอาราธนาใหแ้ สดงธรรม 5.พรหมอาราธนาใหแ้ สดงธรรม
ผลการวเิ คราะห์จากการสังเกต ผลการวิเคราะหจ์ ากการสงั เกต
คาอธบิ าย ภาค 3 สมันตปาสาทิกา (อรรถกถา) คาอธิบาย เล่ม 4 พระวินัยปิฎก มีเชิงอรรถ
มคี าอธบิ ายคาศัพทไ์ ดช้ ัดเจนดีมาก อธบิ ายคาศพั ทไ์ ด้ชดั เจนดมี าก
6.ทรงแสดงธรรมแก่ปญั จวคั คยี ์ 6.ทรงแสดงธรรมแก่ปญั จวคั คยี ์
หลุดพ้นเพราะเป็นผ้หู มดกิเลสบรสิ ทุ ธิ์ หลุดพน้ เพราะเป็นผู้หมดกิเลสบริสุทธิ์
ส้ินตัณหาด้วยอานาจการทาพระนิพพานให้เป็น ส้ินตณั หาด้วยอานาจการทาพระนิพพาน
อารมณ์ ครัน้ น้นั มีพระอรหนั ต์เกดิ ขึน้ ให้เป็นอารมณ์ คร้นั นั้นมพี ระอรหันต์เกดิ ข้นึ
6 รปู เกิดขึน้ ในโลก 6 รูป เกดิ ข้นึ ในโลก
ผลการวิเคราะหจ์ ากการสงั เกต ผลการวิเคราะห์จากการสงั เกต
คาอธิบาย ภาค 3 สมันตปาสาทิกา (อรรถกถา) คาอธิบาย อ่านงา่ ย เพราะได้แยกอธบิ าย
ค่อนข้างจะเขา้ ใจยาก เปน็ 2 พระสตู ร คือ
ธัมมจกั กัปปวตั ตนสูตร
อนัตตลกั ขณสูตร
7.ทรงแสดงธรรมแก่ ยสะกุลบุตรซง่ึ เปน็ 7.ทรงแสดงธรรมแก่ ยสะกุลบตุ รซ่ึงเป็น
ลูกเศรษฐี ในกรงุ พาราณาสี ลกู เศรษฐี ในกรุงพาราณาสี
เรอ่ื ง อนปุ ุพพิกถา คือ เรื่อง อนุปุพพิกถา คือ
เรือ่ งทาน เรื่องทาน
เรื่องศีล เร่ืองศลี
11
เรอื่ งสวรรค์ เร่อื งสวรรคเ์ รื่องโทษแหง่ กาม
เรอ่ื งโทษแห่งกาม และเรอ่ื งประโยชนอ์ อกจากาม และทรงแสดง
และเร่อื งประโยชน์ออกจากาม อรยิ สัจ 4 ในคร้งั นนั้ มีพระอรหันต์ 61 รูป เกดิ ขน้ึ
และทรงแสดงอริยสัจ 4 ในครั้งน้นั มพี ระอรหนั ต์ ในโลก
61 รูป เกิดขึ้นในโลก
ผลการวเิ คราะห์จากการสงั เกต ผลการวิเคราะหจ์ ากการสังเกต
คาอธบิ าย ภาค 3 สมันตปาสาทกิ า (อรรถกถา) คาอธบิ าย อ่านเข้าใจงา่ ยเพราะ
อา่ นค่อนขา้ งยาก แยกประเดน็ ไดช้ ัดเจนมาก
8.ไมม่ ีคาอธิบาย 8.สง่ พระอรหนั ต์ 60 รปู ไป
ประกาศศาสนา เราพ้นแลว้ บว่ งแหง่ มาร (โลภะ)
9.ไมม่ ีคาอธบิ าย 9.บรรพชาและอุปสมบทด้วยการถึง
พระรัตนตรัยเปน็ สรณะ
10.ไมม่ คี าอธบิ าย 10.เราพน้ แล้วบว่ งแหง่ มาร (โลภะ)
11.ทรงแสดงธรรมโปรดภทั ทวัคคยี ์ 30 11.ทรงแสดงธรรมโปรดภัททวคั คยี ์ 30
คนบรรลุพระอรหนั ต์ คนบรรลุพระอรหนั ต์
ผลการวิเคราะห์จากการสงั เกต ผลการวเิ คราะหจ์ ากการสงั เกต
คาอธิบาย ภาค 3 สมันตปาสาทกิ า (อรรถกถา) มี คาอธิบายเข้าใจง่าย
คาอธบิ ายเพียง 2 คาศพั ท์
12.ทรงแสดงธรรมโปรด ชฎลิ 3 พ่นี อ้ ง 12.ทรงแสดงธรรมโปรด ชฎลิ 3 พ่ีน้อง
พร้อมบรวิ าร 1,000 คน บรรลอุ รหันต์ พร้อมบริวาร 1,000 คน บรรลุอรหนั ต์
ผลการวเิ คราะหจ์ ากการสงั เกต ผลการวเิ คราะห์จากการสังเกต
คาอธิบาย ภาค 3 สมนั ตปาสาทิกา (อรรถกถา) คาอธบิ าย อ่านเข้าใจง่าย ลักษณะ การอธบิ าย
อ่านเข้าใจง่าย ลักษณะการอธบิ ายเหมือน มเี ชงิ อรรถอธบิ ายความหมายให้ชดั เจน
พจนานกุ รม อธิบายความหมายได้ชัดเจน
12
13.ทรงแสดงธรรมโปรด 13.ทรงแสดงธรรมโปรด
พระเจ้าพิมพิสาร พร้อมบริวาร 120,000 พระเจ้าพิมพิสารพร้อมบริวาร 120,000
คน เร่อื ง อนปุ พุ พกิ ถา 5 เรื่อง คือ คน เรื่องอนปุ พุ พกิ ถา 5 เรื่อง คอื
เรื่องทาน เร่อื งทาน
เรอ่ื งศลี เรื่องศลี
เรื่องสวรรค์ เรอ่ื งสวรรค์
เรื่องโทษแห่งกาม เร่ืองโทษแหง่ กาม
ประโยชนอ์ อกจากาม และประโยชนอ์ อกจากาม
และทรงแสดงธรรมเร่ืองอริยสัจ 4 และทรงแสดงธรรมเรอื่ งอรยิ สัจ 4
ได้ธรรมจักษุ ดวงตาเห็นธรรมแสดงตนเป็นอุบาสก ไดธ้ รรมจกั ษุ ดวงตาเห็นธรรม แสดงตนเป็นอุบาสก
เข้าถึงพระรัตนตรยั ทรงน้อมถวายพระเวฬุวนั แด่ เขา้ ถงึ พระรตั นตรัย ทรงน้อมถวายพระเวฬุวนั แด่
พระพทุ ธองคส์ าหรับเป็นสถานทีอ่ ยู่บาเพ็ญธรรม พระพุทธองคส์ าหรับเปน็ สถานที่อยู่บาเพ็ญธรรม
ของภิกษุสงฆ์ นบั วา่ เปน็ วัดแหง่ แรกใน ของภิกษสุ งฆ์ นับวา่ เปน็ วัดแหง่ แรกใน
พระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนา
ผลการวเิ คราะห์จากการสังเกต ผลการวิเคราะห์จากการสังเกต
คาอธบิ าย ภาค 3 สมนั ตปาสาทกิ า (อรรถกถา) คาอธบิ าย อ่านเขา้ ใจงา่ ย ลักษณะอธิบายมี
อา่ นเขา้ ใจงา่ ย ลักษณะอธิบายเหมอื นพจนานกุ รม เชงิ อรรถอธิบายความหมายได้ชดั เจน
อธิบายความหมายใหช้ ัดเจน
14.กลา่ วถึงสารีบุตร, โมคคลั ลานะ 14.กล่าวถึงสารบี ตุ ร, โมคคัลลานะ
เปน็ ศิษย์ของสญั ชัยปรพิ าชกมากอ่ น เป็นศิษย์ของสญั ชัยปรพิ าชกมาก่อน
ได้ฟงั อริยสัจ 4 จากพระอัสสชิ ได้ฟังอริยสัจ 4 จากพระอสั สชิ
ได้ธรรมจกั ษุ (มรรค3) กลับไปบอกให้ผูเ้ ปน็ เพื่อน ไดธ้ รรมจกั ษุ (มรรค3) กลบั ไปบอกใหผ้ ู้เปน็ เพ่ือน
โมคคลั ลานะ ไดธ้ รรมจกั ษุ (มรรค 3) เช่นกัน โมคคลั ลานะได้ธรรมจกั ษุ (มรรค 3) เชน่ กัน
ผลการวเิ คราะหจ์ ากการสงั เกต ผลการวเิ คราะหจ์ ากการสงั เกต
คาอธบิ าย ภาค 3 สมันตปาสาทกิ า (อรรถกถา) คาอธิบาย การอา่ นเขา้ ใจงา่ ย
อ่านเข้าใจง่าย
15.ภิกษุน่งุ หม่ ไมเ่ รียบรอ้ ยไมม่ ผี ู้ 15.ภกิ ษนุ ่งุ ห่มไมเ่ รียบร้อย ไมม่ ผี ู้
คอยตักเตอื น คอยตักเตือน
13
ผลการวเิ คราะหจ์ ากการสงั เกต ผลการวเิ คราะห์จากการสงั เกต
คาอธิบาย ภาค 3 สมนั ตปาสาทิกา (อรรถกถา) คาอธบิ าย อ่านเข้าใจง่าย
อา่ นเข้าใจงา่ ย
16.สัทธิวิหาริกวัตร (ลูกศิษย์) ใช้คู่กับ 16.สัทธิวิหาริกวัตร (ลูกศิษย์) ใช้คู่กับ
อปุ ัชฌาย์ (อาจารย)์ อปุ ัชฌาย์ (อาจารย์)
ผลการวเิ คราะห์จากการสังเกต ผลการวเิ คราะหจ์ ากการสังเกต
คาอธบิ าย ภาค 3 สมนั ตปาสาทกิ า (อรรถกถา) คาอธิบายอา่ นเข้าใจง่าย อธิบายละเอยี ดดีมาก
อ่านเข้าใจงา่ ยอธบิ ายไว้ไม่มาก
17. ภกิ ษุไม่ประพฤติชอบ 17.ภกิ ษุไมป่ ระพฤติชอบ
ผลการวิเคราะหจ์ ากการสังเกต ผลการวเิ คราะหจ์ ากการสงั เกต
คาอธบิ าย คาอธิบาย อ่านเขา้ ใจงา่ ยอธบิ ายละเอยี ดดีมาก
อา่ นเขา้ ใจง่ายอธิบายไวไ้ มม่ าก
18.พราหมณ์พระราธเถระบวชตอนแก่ 18. อ ร ร ถ ก ถ า หั ว ข้ อ อ ธิ บ า ย ไ ม่ ต ร ง กั บ
หรอื ตอนชรา ไม่มีใครเล้ยี งดู เกรงวา่ จะสอนยาก พระไตรปิฎก แต่พระไตรปิฎก กล่าวถึงเร่ืองบอก
นิสยั แกม่ าณพ
ผลการวิเคราะหจ์ ากการสงั เกต ผลการวเิ คราะหจ์ ากการสงั เกต
คาอธบิ ายภาค 3 สมนั ตปาสาทิกา (อรรถกถา) คาอธิบาย อ่านเขา้ ใจงา่ ยอธิบายละเอยี ดดมี าก
อา่ นเข้าใจงา่ ยอธบิ าย ไวไ้ ม่มาก
19.ศษิ ยอ์ ยใู่ นปกครอง (อนั เตวาสิก) 19.ศิษย์อยู่ในปกครอง (อนั เตวาสกิ )
กจิ ท่ีควรปฏิบัตติ ่ออาจารย์ (อาจารยิ วตั ร) กิจทคี่ วรปฏิบตั ิต่ออาจารย์ (อาจาริยวัตร)
ผลการวิเคราะหจ์ ากการสงั เกต ผลการวิเคราะห์จากการสงั เกต
คาอธบิ าย ภาค 3 สมนั ตปาสาทกิ า (อรรถกถา) คาอธิบาย อ่านเขา้ ใจงา่ ยอธบิ ายละเอียดดมี าก
อ่านเข้าใจง่าย อธิบายไวไ้ ม่มาก
14
20.ศษิ ยไ์ มป่ ระพฤตชิ อบในอาจารย์ 20.ศษิ ยไ์ ม่ประพฤตชิ อบในอาจารย์
ผลการวิเคราะหจ์ ากการสงั เกต ผลการวเิ คราะห์จากการสังเกต
คาอธบิ าย อ่านเข้าใจง่ายอธบิ ายไวไ้ ม่มาก คาอธบิ าย อ่านเขา้ ใจงา่ ย อธิบายละเอียดดีมาก
21.อาจารย์โง่เขลา ลูกศิษย์ฉลาดกว่า 21.อาจารย์โง่เขลาลูกศิษย์ฉลาดกว่า
อาจารย์ ไมพ่ ึงใหน้ สิ ยั อาจารย์ ไมพ่ ึงใหน้ ิสยั
รูปใดให้ต้องอาบตั ิ ทุกกฎ
อนญุ าตให้ภิกษผุ ูฉ้ ลาดมีพรรษาครบ 10
หรอื เกนิ ใหน้ สิ ยั ได้ (การขออยใู่ นความปกครอง)
ขอ้ 21 ไมม่ คี าอธิบาย ผลการวเิ คราะห์จากการสงั เกต
คาอธิบายอา่ นเขา้ ใจงา่ ย อธิบายละเอียดดีมาก
22.ระงบั นิสยั 5 ประการ 22.ระงบั นสิ ัย 5 ประการ
หลีกไป สึก มรณภาพ เขา้ ไปรีตเดรจั ถยี ์ หลกี ไป สึก มรณภาพ เข้าไปรีตเดรจั ถีย์
อุปชั ฌายส์ ่งั บังคบั อุปัชฌาย์สั่งบังคับ
ผลการวิเคราะห์จากการสังเกต ผลการวเิ คราะห์จากการสงั เกต
คาอธิบาย ภาค 3 สมนั ตปาสาทกิ า (อรรถกถา) คาอธบิ ายอ่านเขา้ ใจคอ่ นขา้ งยาก อธบิ ายไวส้ นั้ มาก
อ่านเขา้ ใจค่อนข้างยาก
23.แสดงลกั ษณะของอุปชั ฌาย์ 23.แสดงลกั ษณะของอปุ ชั ฌาย์
ภกิ ษุไม่ครบองค์ 5 คือ ภกิ ษุไมค่ รบองค์ 5 คอื
ไม่มศี ลี ไม่มศี ีล
สมาธิ สมาธิ
ปญั ญา ปญั ญา
วิมตุ ติขันธ์ วมิ ุตตขิ ันธ์
วิมตุ ิญาณ วมิ ตุ ิญาณ
ไมพ่ งึ ใหอ้ ุปสมบท ไม่พึงใหน้ ิสัย ไม่พงึ ให้อปุ สมบท ไม่พงึ ให้นสิ ัย
ผลการวเิ คราะห์จากการสังเกต ผลการวิเคราะหจ์ ากการสังเกต
คาอธิบาย ภาค 3 สมันตปาสาทิกา (อรรถกถา) คาอธิบาย อ่านเขา้ ใจคอ่ นขา้ งยาก อธบิ ายไม่มาก
อา่ นเขา้ ใจคอ่ นขา้ งยาก อธบิ ายไม่มาก
15
24.ภิกษุประกอบด้วย องค์ 6 ภิกษุไม่ครบ 24).ภิกษุโต้เถียงอุปัชฌาย์ ไม่พึงให้
องค์ 5 และมีพรรษาหย่อน 10 ไม่พึงให้อุปสมบท อปุ สมบท
ไมพ่ ึงให้นสิ ัย ผลการวเิ คราะห์จากการสังเกต
ผลการวิเคราะหจ์ ากการสังเกต คาอธบิ าย อา่ นเข้าใจงา่ ย
คาอธบิ าย ภาค 3 สมันตปาสาทกิ า (อรรถกถา)
อา่ นเขา้ ใจง่าย
25.ภิกษุโตเ้ ถียงอุปัชฌาย์ 25.ภกิ ษโุ ตเ้ ถยี งอปุ ัชฌาย์
ไมพ่ ึงใหอ้ ุปสมบท ไมพ่ ึงใหอ้ ปุ สมบท
ผลการวเิ คราะหจ์ ากการสังเกต ผลการวิเคราะหจ์ ากการสังเกต
คาอธิบาย ภาค 3 สมันตปาสาทิกา (อรรถกถา) คาอธบิ าย อา่ นเข้าใจง่าย
อา่ นเข้าใจง่าย
26.โรค 5 ชนิด (เรื้อน ฝี กลาก ไอเร้ือรัง 26.โรค 5 ชนิด (เร้ือน ฝี กลาก ไอเร้ือรัง
ลมบา้ หม)ู หา้ มบรรพชา (การบวชเปน็ สามเณร) ลมบา้ หมู ) ห้ามบรรพชา (การบวชเปน็ สามเณร)
ผลการวเิ คราะห์จากการสงั เกต ผลการวเิ คราะหจ์ ากการสงั เกต
คาอธิบาย ภาค 3 สมันตปาสาทิกา (อรรถกถา) คาอธบิ าย อ่านเขา้ ใจงา่ ย
อา่ นเข้าใจงา่ ย
27.-64. ให้นิสิตไปฝึกหัดคัดเลือกหัวข้อ 27)-67) ใหน้ ิสติ ไปฝกึ หัดคดั เลือกหวั ข้อ
วิเคราะห์ให้ครบหมวด มหาขันธกะด้วยตนเอง วเิ คราะห์ให้ครบหมวด มหาขันธกะดว้ ยตนเอง
16
สรุปท้ายบท
คัมภีร์อรรถกถาหมายถึง คัมภีร์ หรือ หนังสือ คู่มือการศึกษาพระไตรปิฎก อธิบายความหมาย
ของคาศัพท์ที่เข้าใจยาก และความหมายของวลี ประโยค หรือ ข้อความที่มีนัยสลับซับซ้อน และแปล
ความหมายผดิ ไปจากพทุ ธประสงคใ์ นบรบิ ทนนั้ ๆ
ความสาคัญของคัมภีร์อรรถกถา ทาให้ผู้ศึกษาได้เข้าใจ ลึกซึ้งมากยิ่งข้ึน และ ใช้เป็นเคร่ืองมือ
คน้ ควา้ องค์ความรู้เป็นหลกั ฐานอา้ งอิงได้ อย่างแพรห่ ลายในวงการศกึ ษาวิชาการทางพระพุทธศาสนา
ลาดับชั้นความสาคัญของแต่ละคัมภีร์อรรถกถา ได้แก่ คัมภีร์อรรถกถาท่ีอธิบายพระไตรปิฎก
ลาดบั คมั ภรี ฎ์ ีกา อนฎุ ีกา มอี ย่ดู ว้ ยกันหลายช้นั เปน็ ต้น
ระดับคัมภีร์พระไตรปิฎก ระดับคัมภีร์อรรถกถา ระดับคัมภีร์ฎีกา เปรียบเทียบทั้ง 3 ระดับ
พบว่าตรงกัน ก็ถือได้ว่าเร่ืองน้ันเป็นจริง ถูกต้อง ถ้าไม่ตรงกัน มีข้อขัดแย้งกันขึ้นมาขัดกัน ก็ถือได้ว่าเร่ือง
นั้นเป็นไมจ่ ริง ไม่ถกู ต้อง
ความเปน็ มาเร่ิมต้นจากคัมภรี ์อรรถกถายุคเก่า คือ
แบง่ แยกตามยุคหรอื กาลเวลา คือ คมั ภีรอ์ รรถกถาเกา่ คัมภีรอ์ รรถกถาใหม่
แบ่งแยกตามภาษา คอื ภาษามคธ (ภาษาชาวอินเดีย ประเทศอินเดีย) 2) ภาษาสงิ หล (ภาษาชาวศรีลังกา
ประเทศศรีลงั กา)
ยุคปัจจุบัน นายพร รัตนสุวรรณ ทาให้มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เห็น
ความสาคัญในเร่ืองนี้ จึงได้เริ่มมีโครงการ แปลคัมภีร์อรรกถา ต้ังแต่ปี 2542 ทาให้เราได้ประเมินคุณค่า
อรรถกถามากย่ิงขน้ึ
ส่วนทัศนะของผู้เขียน เสนอแนวคิดว่า ให้ต้ังข้อสังเกต ด้านการอธิบายความหมายจากคาศัพท์
ต่าง ๆ ตามอรรถกถายุคใหม่ กบั อรรกถายุคเก่าต้องสอดคล้องตรงกัน ถือว่าเป็นความจรงิ ถูกตอ้ งตามพุทธ
พจน์แน่นอน
17
คาถามประจาบท
1. จงอธิบายความหมายคัมภีร์อรรถกถาได้
2. จงอธบิ ายความสาคญั คัมภีรอ์ รรถกถาได้
3. จงอธบิ ายการลาดบั ช้ันความสาคัญของแตล่ ะคมั ภรี อ์ รรถกถาได้
4. จงอธิบายความเปน็ มาของคมั ภีรอ์ รรถกถาได้
5. โครงสรา้ งเนอื้ หาสมนั ตปาสาทกิ า (อรรถกถา) ภาค 1-3
คูก่ ับ เล่ม 1-8 พระวนิ ยั ปิฎก (ภาพรวม)
6. จงวิเคราะห์สมันตปาสาทิกาอรรถกถา ภาค 3 คกู่ บั เลม่ 4 พระวินยั ปฎิ ก
18
อา้ งอิงประจาบท
แผนพฒั นามหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย ระยะที่13 (2565-2569)
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, อรรถกถาภาษาไทย พระสตุ ตันตปิฎก
ขทุ ทกปาฐะ, (กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพม์ หาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , 2556),หน้า คาปรารภ.
มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ,พระไตรปฎิ ก พระอภิธรรมปิฎก ธมั มสังคณี,
(กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , 2539), หนา้ บทนา
มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , อรรถกถาภาษาไทยพระวนิ ัยปฎิ ก สมนั ตปาสาทิกา
ภาค 2, (กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , 2550), หน้า คาปรารภ
แหลง่ ท่ีมาของข้อมูลไฟล์ pdf หลกั สูตรเปรียญ 1 ถงึ 9 ประโยค จาก
http://thammapedia.com/ และ http://www.learntripitaka.com
อรรถกถา สารานุกรม แหลง่ ทมี่ า https://th.wikipedia.org/wiki/%E0% (19 พ.ค.2565)