The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natthawadee2009, 2024-01-24 02:58:08

บุคคลสำคัญในสมัยอยุธยา

Brown Mystery Novel Book Cover

บุคคลสำ คัญในสมัย อยุธยา จัดทำ โดย ด.ญ.ณัฐวดี แป้นประโคน ม.3/6


สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรง สถาปนา กรุงศรีอ รี ยุธยา เป็นราชธานีเมื่อวัน วัศุกร์ ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 5 ปีขาล จุลศักราช 712 ตรงกับวัน วั ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 1893 ชีพ่อพราหมณ์ถวายพระนามว่า ว่ สมเด็จพระรามาธิบดี แล้วโปรดให้ ขุนหลวงพะงั่ว ซึ่งเป็นพระเชษฐาของพระมเหสีเป็น สมเด็จพระบรม ราชาธิราชเจ้า ไปครองเมืองสุพรรณบุรี ส่วน พระรา เมศวร รัชทายาทให้ไปครองเมืองลพบุรี ในสมัย สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 พระองค์ทรงเจริญ ริ สัมพันธไมตรีกั รีกั บแว่น ว่ แคว้น ว้ ต่าง ๆ มากมาย แม้กระทั่ง ขอม ซึ่งก็เป็นมาด้วยดีจนกระทั่งกษัตริย์ ริย์ ขอมสวรรคต เนื่องจาก การปฏิวัติ วัติ ขอม ของ นายแตงหวาน ชนชั้น แรงงานได้ยึดอำ นาจจากชนชั้นปกครอง


สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช [3] หรือ รื สมเด็จพระสรร เพชญ์ที่ 2 เป็นกษัตริย์ ริย์ องค์ที่ 18 แห่ง อาณาจักรอยุธยา และองค์ที่ 2 แห่ง ราชวงศ์สุโขทัย พระองค์เป็นกษัตริย์ ริย์ แห่งอาณาจักรอยุธยาตั้งแต่ พ.ศ. 2133 หลังจากที่พระ ราชบิดาคือ สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช เสด็จ สวรรคต และเป็นเจ้าแห่ง ล้านนา ตั้งแต่ พ.ศ. 2145 จน กระทั่งเสด็จสวรรคตใน พ.ศ. 2148 สมเด็จพระนเรศวร เป็นพระมหากษัตริย์ ริย์ไทย ที่เป็นที่เคารพนับถือมากที่สุด พระองค์หนึ่ง เนื่องจากพระองค์เป็นที่รู้จักในการต่อสู้ เพื่อปลดปล่อยกรุงศรีอ รี ยุธยาจากการเป็นเมืองขึ้นของ อาณาจักรตองอู ในปี พ.ศ. 2127 ในรัชสมัยของพระองค์ ได้ทำ สงครามกับพม่าตองอูหลายครั้ง สมเด็จพระ นเรศวรยังเจริญ ริ สัมพันธไมตรีกั รีกั บฮอลันดาใน พ.ศ. 2142


สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเป็นพระมหากษัตริย์ ริย์ พระองค์ที่ 8 ของกรุงศรีอ รี ยุธยา พระองค์ทรงครอง ราชสมบัติเป็นเวลานานที่สุดในบรรดาพระมหา กษัตริย์ ริย์ ของกรุงศรีอ รี ยุธยาคือ 40 ปี (พ.ศ.1991- 2031) ตลอดรัชสมัยมีพระราชกรณียกิจที่สำ คัญ เช่นการรวมราชอาณาจักรสุโขทัยเข้ากับราช อาณาจักรอยุธยา ในด้านการเมืองการปกครองทรง ปฏิรูปการปกครองที่ทำ ให้เกิดการรวมศูนย์อำ นาจ เข้าสู่ราชอาณาจักรอยุธยา การสร้างระบบการถ่วง ดุลอำ นาจโดยแยกกิจการทหารออกจากกิจการ พลเรือ รื น สร้างระบบศักดินาที่เป็นเครื่อ รื่ งมือในการ สร้างความสัมพันธ์ทางชนชั้นในสังคมไทย


สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มีพระนามเดิมว่า ว่ “สิน” เป็นบุตรของ นายหยง แซ่แต้ ชาวจีนจากมณฑลกว้า ว้ งตุ้ง กับนางนกเอี้ยง เกิดเมื่อ วัน วั อาทิตย์ เดือนมีนาคม พ.ศ. 2277 ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรม โกศเป็นกษัตริย์ ริย์ปกครองแผ่นดินอยุธยา ต่อมาเจ้าพระยาจักรีไรี ด้รับ เป็นบุตรบุญธรรม และมีโอกาสได้เรีย รี นวิช วิ าจากสำ นักวัด วั โกษาวาส ตั้งแต่อายุ 5 ปี จนมีวิช วิ าความรู้ขั้นพื้นฐาน เมื่ออายุ 13 ปีได้บรรพชา เป็นสามเณร ก่อนจะศึกษาเรีย รี นรู้วิช วิ าและภาษาจนแตกฉาน เมื่ออายุครบ 21 ปี พระเจ้าตากสินได้เข้าสู่ใต้ร่มกาสาวพัสตร์ นานถึง 3 พรรษา เมื่อสึกออกมาได้รับราชการต่อ และได้รับ การเลื่อนยศตำ แหน่งด้วยความสามารถ เป็นสมเด็จเจ้าพระยา ตากสินมหาราชหรือ รื พระยาตากสิน ผู้ปกครองหัวหน้าฝ่ายเหนือ ในช่วงระยะเวลาต่อมาได้มีการร่วมรบ เพื่อกอบกู้เอกราช ทั้ง จากการปราบชุมชนุมของศัตรู รวบรวมกำ ลังพล รวบรวม อาวุธ วุ ยุทโธปกรณ์ นำ ไปสู่การรวบรวมอาณาจักรให้เป็นหนึ่ง เดียวเช่นเดิม


สมเด็จพระสุริโริ ยทัย พระสุริโริ ยทัยทรงเป็นพระอัครมเหสีใน สมเด็จพระ มหาจักรพรรดิ ในขณะที่สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ขึ้น ครองราชสมบัติกรุงศรีอ รี ยุธยาต่อจาก ขุนวรวงศาธิราช ได้เพียง 7 เดือน เมื่อ พ.ศ. 2091 พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ และ มหาอุปราชาบุเรงนอง ยกกองทัพพม่าเข้ามาทาง ด่านเจดีย์สามองค์ และเข้ามาตั้งค่ายล้อมพระนคร การ ศึกครั้งนั้นเป็นที่เลื่องลือถึงวีร วี กรรมของพระสุริโริ ยทัย เพราะขณะพระเจ้าแปร ตะโดธรรมราชาที่ 1 กำ ลัง ปะทะกับสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระนางได้ไสช้าง พระที่นั่งเข้าขวางด้วยเกรงว่า ว่ พระราชสวามีจะเป็น อันตราย จนถูกพระแสงของ้าวฟันพระอังสาขาดสะพาย แล่ง สวรรคตอยู่บนคอช้าง เมื่อวัน วั อาทิตย์ ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 4 ปีจุลศักราช 910 ตรงกับวัน วั เดือนปีทางสุริย ริ คติ คือวัน วั ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2091 เมื่อสงครามยุติลง สมเด็จพระมหาจักรพรรดิได้ทรงปลงพระบรมศพของ พระนางและสถาปนาสถานที่ปลงพระศพเป็นวัด วัศพ สวรรค์ [2] (หรือ รื วัด วัสวนหลวงสบสวรรค์ ในปัจจุบัน)


สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ เสด็จพระราชสมภพราว พ.ศ. 2048 ทรงมีพระนามเดิมว่า ว่ พระเทียรราชา สันนิษฐานว่า ว่ เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 อันประสูติ จากพระสนม และเป็นพระอนุชาต่างพระราชมารดากับ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 และสมเด็จพระไชย ราชาธิราช[4] ด้านชีวิต วิ ครอบครัว ได้อภิเษกสมรสกับพระสุริโริ ยทัย และมี พระราชโอรสธิดา 5 พระองค์คือ พระราเมศวร สมเด็จพระมหิ นทราธิราช พระวิสุวิ สุ ทธิกษัตรีย์ รีย์ พระบรมดิลก และพระเทพ กษัตรี นอกจากนี้ยังอาจจะมีพระสนมอีก เพราะปรากฏ พระนาม พระศรีเ รีสาวราช พระแก้วฟ้า เป็นพระราชโอรสและ พระราชธิดาของพระองค์ด้วยในชั้นหลัง สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ


สมเด็จพระนเรศวร มหาราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช [3] หรือ รื สมเด็จพระสรร เพชญ์ที่ 2 เป็นกษัตริย์ ริย์ องค์ที่ 18 แห่ง อาณาจักรอยุธยา และองค์ที่ 2 แห่ง ราชวงศ์สุโขทัย พระองค์เป็นกษัตริย์ ริย์แห่งอาณาจักรอยุธยาตั้งแต่ พ.ศ. 2133 หลังจากที่พระราชบิดาคือ สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช เสด็จสวรรคต และเป็นเจ้าแห่ง ล้านนา ตั้งแต่ พ.ศ. 2145 จนกระทั่งเสด็จ สวรรคตใน พ.ศ. 2148 สมเด็จพระนเรศวรเป็นพระมหา กษัตริย์ ริย์ไทย ที่เป็นที่เคารพนับถือมากที่สุดพระองค์หนึ่ง เนื่องจากพระองค์เป็นที่รู้จักในการต่อสู้เพื่อปลดปล่อยกรุงศรีอ รี ยุธยาจากการเป็นเมืองขึ้นของ อาณาจักรตองอู ในปี พ.ศ. 2127 ในรัชสมัยของพระองค์ได้ทำ สงครามกับพม่า ตองอูหลายครั้ง สมเด็จพระนเรศวรยังเจริญ ริ สัมพันธไมตรีกับฮอลันดาใน พ.ศ. 2142


สมเด็จพระนารายณ์ มหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้า ปราสาททอง พระมหากษัตริย์ ริย์ ผู้ครองกรุงศรีอ รี ยุธยา ระหว่า ว่ ง พ.ศ.2123 - 2198 ส่วนพระราชมารดานั้น เป็นพระราชธิดาใน สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ทรงพระราชสมภพวัน วั จันทร์ เดือนยี่ ปี วอก พ.ศ.2175 ทำ พระราชพิธี เบญจเพศในเดือนยี่ พ.ศ. 2199 และเหตุที่มีพระนามว่า ว่ " นารายณ ์" นั้น มีอ้างไว้ใว้ นพระราช พงศาวดารว่า ว่ เมื่อพระราชเทวีปวี ระสูตินั้น พระญาติวงศ์เหลือบเห็น เป็นสี่กร สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง พระราชบิดาจึงพระราชทาน นามว่า ว่ " พระนารายณ์ราชกุมาร " แต่ในหนังสือ " คำ ให้การชาว กรุงเก่า " และ " คำ ให้การของขุนหลวงหาวัด วั " ว่า ว่ เมื่อเพลิงไหม้ พระที่นั่งมังคลาภิเษก


ด.ญ.ณัฐวดี แป้นประโคน เลขที่33 แหล่งข้อมูลอ้างอิง https://th.wikipedia.org/wiki/%E 0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%8 0%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B 8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E 0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B 2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B 8%A2%E0%B8%93%E0%B9%8C%E 0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B 2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B 8%8A


Click to View FlipBook Version