The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการจัดกิจกรรมสร้างชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ(PLC) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Surapot Kijdesign, 2019-11-14 22:15:15

PLC ครูคณิตเพื่อศิษย์ ปีการศึกษา 2561

รายงานผลการจัดกิจกรรมสร้างชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ(PLC) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

Keywords: PLC ครูคณิตเพื่อศิษย์



คำนำ

รายงานผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional
Learning Community : PLC ) จัดทาขึ้นเพ่ือนาเสนอแนวทางในการดาเนินงานของกลุ่ม “PLC ครูคณิตเพื่อ
ศิษย์” กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เพ่ือศึกษา และแก้ไขปัญหาเรื่อง การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรี
สอง ของนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยความร่วมมือจากครปู ระจาวิชาและเป็นการสร้างความรคู้ วามเข้าใจ
เรื่องการปฏิบัติด้วยกระบวนการ PLC เพื่อแก้ไขปัญหา รวมทั้งแลกเปล่ียนเรียนรู้ การติดตามและประเมินผล
ในการดาเนินงานของโรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ของครูผูส้ อนในโรงเรยี น

หวังเปน็ อย่างยิ่งว่าเอกสารเลม่ น้ี จะเกิดประโยชน์ต่อผู้ครูผู้สอน ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาและบุคลากร
ทางการศึกษา รวมท้ังผู้สนใจท่ัวไป ในการนาไปใช้เพ่ือศึกษาเรียนรู้สร้างความเข้าใจและปฏิบัติตามแนวทาง
ดังกล่าวได้เปน็ อย่างดี

กลมุ่ “PLC ครูคณิตเพอ่ื ศิษย์”



สำรบญั

คำนำ................................................................................................................................................... หนำ้
สำรบัญ................................................................................................................................................ ก
บทที่ 1 บทนำ ข
1
หลักการและเหตุผล 1
วตั ถุประสงค์ 1
ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ 2
ตัวแปร 2
บทท่ี 2 เอกสำรท่เี กยี่ วขอ้ ง 3
ความรูแ้ ละความเข้าใจเก่ยี วกับชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ 3
กลยุทธ์ในการจัดการและใชช้ มุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) อย่างย่งั ยนื 12
หลกั การสอนคณติ ศาสตร์ 13
แนวคดิ และการจดั กระบวนการเรียนรทู้ เี่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ 15
ความหมาย ความสาคัญ หลกั การและแนวคดิ เก่ียวกบั การสร้างแผนการจดั การเรียนรู้ 15
ความหมาย ประเภท และประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอน 16
หลักเกณฑแ์ ละแนวคิดเก่ยี วกับการวัดผลประเมนิ ผล 18
บทที่ 3 วิธีกำรดำเนนิ งำน 20
วธิ ีการดาเนนิ งาน 20
กลุ่มเป้าหมาย 20
เคร่อื งมอื ที่ใช้ 21
วนั เวลา สถานท่ีในการดาเนนิ งาน 21
บทที่ 4 ผลกำรดำเนินงำน 22
ผลการดาเนินงาน 22
ร่องรอย หลกั ฐาน 22
บทเรยี นทไ่ี ด้จากการดาเนนิ งาน 23
บทท่ี 5 สรุปผล ปัญหำอุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ 24
ภำคผนวก 26

บทที่ 1

บทนำ

1. หลักกำรและเหตุผล
ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning community : PLC) หมายถึง การ

รวมกลุ่มกันของครผู ู้สอนและบคุ ลากรทางการศึกษา ในลักษณะของชุมชนเชงิ วชิ าการท่ีมีเป้าหมายเพื่อพัฒนา
คุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติ การถอดบทเรียน และการแลกเปล่ียนเรียนรู้
รว่ มกนั อยา่ งตอ่ เน่ือง (ราชบัณฑติ ยสถาน, 2558)

จากผลการวิจัยของ สุรพล ธรรมร่มดี (2553) ยืนยันว่าการดาเนินการในรูปแบบ PLC นาไปสู่การ
เปล่ียนแปลงเชิงคุณภาพท้ังด้านวิชาชีพและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน โดย มีผลดีท้ังต่อครูผู้สอนและนักเรียน
ในแง่ผลดีต่อครูผู้สอน พบว่า PLC ส่งผลต่อครูผู้สอนกล่าวคือลดความรู้สึกโดดเด่ียวในงานสอนของครู เพ่ิม
ความรู้สึกผูกพันต่อพันธกิจและเป้าหมายของโรงเรียนมากขึ้น โดยเพิม่ ความกระตือรือร้นที่จะปฏิบตั ิให้บรรลุพันธ
กิจอย่างแข็งขัน จนเกิดความรู้สึกว่า ต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวมของนักเรียน
ถือเป็นพลังการเรียนรู้ซึ่งส่งผลให้การปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนให้มีผลดียิ่งข้ึน รวมท้ังเข้าใจบทบาทและ
พฤติกรรมการสอนท่ีจะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด ซ่ึงจะเกิดจากการคอยสังเกตอย่างใส่ใจในแง่ของ
ผลดีต่อผู้เรียนพบว่า PLC สามารถลดอัตราการตกซ้าช้ัน และจานวนชั้นเรียนท่ีต้องเล่ือนหรือชะลอการจัดการ
เรียนร้ใู ห้นอ้ ยลง อตั ราการขาดเรยี นลดลงมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในวชิ าวิทยาศาสตร์ประวัติศาสตร์และวิชาการ
อ่านท่ีสูงขึ้นอย่างเด่นชัด สุดท้ายคือมีความแตกต่างด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระหว่างกลุ่มนักเรียนที่มีภูมิหลัง
ไม่เหมอื นกันลดลงอย่างชดั เจน

จากการศึกษาประโยชน์ของกระบวนการดังกล่าว ผู้จัดทาจึงเกิดความคิดที่จะนากระบวนการ PLC
(Professional Learning Community) เพ่ือเป็นการปรับปรุงแก้ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน และ
ร่วมกันพัฒนานวัตกรรมท่ีใช้ในการแก้ปัญหาเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้แก่นักเรียนในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้
ตลอดจนพัฒนาทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีของนักเรียนให้ดีย่ิงขึ้น โดยได้เร่ิมดาเนินกิจกรรมกับ
นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนจริงในห้องเรียน คือ “ปัญหานักเรียนเรียนรู้ได้
อย่างไม่พร้อมกัน ทาให้มีความล่าช้าในการจัดการเรียนการสอน” ทาให้การจัดการเวลาในช้ันเรียนไม่มี
ประสิทธภิ าพ นักเรียนมีเวลาในการศึกษาใบความรู้อย่างจากัดและสรุปบทเรยี นไม่ทัน

2. วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรยี นมีทักษะในการแยกตวั ประกอบพหนุ ามดกี รสี องได้
2. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในระดบั ท่สี งู ขึ้น
3. มีนวตั กรรมหรอื คู่มือการใช้ท่มี ีความเหมาะสมและเร้าความสนใจของผู้เรียน

3. ประโยชน์ท่ีคำดวำ่ จะได้รับ
3.1 ได้นวตั กรรมในการแกไ้ ขปัญหา
3.2 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียนดีขนึ้ หรอื เป็นไปตามเกณฑ์ทีต่ กลงกนั ไว้
3.3 พฤติกรรมของนกั เรยี นท่ีมีปญั หาเปล่ียนไปในทางทีด่ ขี ึ้นตามข้อตกลงทต่ี ้ังไว้
3.4 นาไปสกู่ ารอบรมคปู องพัฒนาครู และรวบรวมส่ง เพื่อเกบ็ เป็นหลกั ฐานในการรายงานตอ่ ไป

4. ตวั แปร
ตัวแปรตน้ คอื การจัดการสอนการแยกตวั ประกอบพหุนามดกี รีสองโดยใช้แบบฝึกทักษะและเกม
ตวั แปรตำม คือ คะแนนสอบเรือ่ งการแยกตัวประกอบพหุนามดกี รีสอง

บทที่ 2

เอกสำรทีเ่ กยี่ วขอ้ ง

1. ควำมรูค้ วำมเขำ้ ใจเก่ียวกบั ชุมชนกำรเรยี นรู้ทำงวิชำชพี
PLC (Professional Learning Community) มีพ้ืนฐานแนวคิดมาจากภาคธุรกิจเก่ียวกับ

ความสามารถขององค์กรในการเรยี นรู้ (Thompson, Gregg, & Niska, 2004) เป็นการนาแนวคิดองค์กรแห่ง
การเรียนรู้มา ประยุกต์โดยอธิบายว่า การอุปมาท่ีเปรียบเทียบให้โรงเรยี นเปน็ ”องค์กร” น้ันน่าจะไม่เหมาะสม
และถูกต้อง แท้จริงแล้วโรงเรียน มีความเป็น “ชุมชน” มากกว่าความเป็นองค์กร ซ่ึงความเป็น “องค์กร” กับ
“ชุมชน” มีความแตกต่างกันท่ีความเป็นชุมชน จะยึดโยงภายในต่อกันด้วยค่านิยม แนวคิด และความผูกพัน
ร่วมกันของทุกคนท่ีเป็นสมาชิก ซ่ึงเป็นแนวคิดตรงกันข้ามกับ “ความเป็นองค์กร” ที่มีความสัมพันธ์ระหว่าง
สมาชิกในลักษณะท่ียึดตามระดับลดหล่ันกันลงมา มีกลไกการควบคุมและมีโครงสร้างแบบตึงตัวท่ีเต็มไปด้วย
กฎระเบียบและวฒั นธรรมของการใช้อานาจเป็นหลัก ในขณะที่ “ชุมชน” จะใช้อิทธิพลท่ีเกิดจากการมีคา่ นยิ ม
และวัตถุประสงค์รว่ มกัน เป็นความสัมพันธ์ระหวา่ งสมาชิกเชิงวิชาชีพมีความเป็นกัลยาณมิตรเชงิ วิชาการ และ
ยึดหลักต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน แบบผนึกกาลังกันในการปฏิบัติงานท่ีมุ่งสู่พัฒนาการการเรียนรู้ของ
ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ นอกจากนี้ “องคก์ ร” ยังทาใหเ้ กิดคุณลักษณะบางอย่างขึ้น เชน่ ลดความเป็นกันเองต่อกันลง
มีความเป็นราชการมากขึน้ และถกู ควบคุมจากภายนอกให้ต้องรักษาสถานภาพเดิมของหน่วยงานไว้ จึงเห็นว่า
ถ้ามองโรงเรียนในฐานะแบบองค์กรดังกล่าวแล้วก็จะทาให้โรงเรียนมีความเป็นแบบทางการท่ีสร้างความรู้สึก
ห่างระหว่างบุคคลมากย่ิงข้ึนมีกลไกที่บังคับควบคุมมากมายและมักมีจุดเน้นในเรื่องท่ีเป็นงานด้านเทคนิคเป็น
หลักในทางตรงข้ามถ้ายอมรับว่าโรงเรียนมีฐานะแบบที่เป็นชุมชนแล้วบรรยากาศที่ตามมาก็คือสมาชิกมีความ
ผูกพันตอ่ กันดว้ ยวัตถุประสงคร์ ่วมมีการสรา้ งสมั พันธภาพทีใ่ กล้ชดิ สนิทสนม และเกิดการร่วมสร้างบรรยากาศท่ี
ทกุ คนแสดงออกถึงความหว่ งหาอาทรต่อกันและช่วยดูและสวัสดิภาพรว่ มกัน (Sergiovanni, 1994) โดยที่ใสใ่ จ
รว่ มกนั ถงึ การเรียนรแู้ ละความรับผิดชอบหลกั ร่วมกันของชุมชนน้นั คอื พัฒนาการการเรยี นรู้ของผู้เรียน

ด้านความสาคัญของ PLC จากผลการวิจัยโดยของ Hord (1997) ท่ียืนยันว่าการดาเนินการใน
รูปแบบ PLC นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพทั้งด้านวิชาชีพและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน จากการ
สังเคราะห์รายงานการวิจัยเก่ียวกับโรงเรียนที่มี การจัดต้ัง PLC โดยใช้คาถามว่า โรงเรียนดังกล่าวมีผลลัพธ์
อะไรบ้างที่แตกต่างไปจากโรงเรียนทั่วไปที่ไม่มีชุมชนแห่งวิชาชีพ และ ถ้าแตกต่างแล้วจะมีผลดีต่อครูผู้สอน
และต่อนกั เรียนอยา่ งไรบา้ ง ซึ่งมผี ลสรุป 2 ประเดน็ ดังนี้

ประเด็นท่ี 1 ผลดีต่อครูผู้สอน พบว่า PLC ส่งผลต่อครูผู้สอน กล่าวคือ ลดความรู้สึกโดดเด่ียวงาน
สอนของครเู พิ่มความรู้สึกผูกพนั ต่อพันธะกิจและเป้าหมายของโรงเรียนมากขนึ้ โดยเพ่ิมความกระตือรือร้นที่จะ
ปฏิบัติให้บรรลุพันธะกิจอย่างแข็งขันจนเกิดความรู้สึกว่าต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อพัฒนาการ
โดยรวมของนักเรียน ถือเป็น “พลังการเรียนรู้” ซึ่งส่งผลให้การปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนให้มีผลดีย่ิงข้ึน
กล่าวคือ มีการค้นพบความรู้และความเชื่อที่เกี่ยวกับวิธีการสอน และตัวผู้เรียนซ่ึงท่ีเกิดจากการคอยสังเกต

อย่างสนใจ รวมถึงความเข้าใจในด้านเน้ือหาสาระท่ีต้องจัดการเรียนรู้ได้แตกฉานย่ิงข้ึนจนตระหนักถึงบทบาท
และพฤติกรรมการสอนที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีท่ีสุด อีกทั้งการรับทราบข้อมูลสารสนเทศต่างๆ
ที่จาเป็นต่อวิชาชีพได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็วขึ้นส่งผลดีต่อการปรับปรุงพัฒนางานวิชาชีพได้ตลอดเวลา
เป็นผลให้เกิดแรงบันดาลใจที่จะพัฒนาและอุทิศตนทางวิชาชีพเพื่อศิษย์ซึ่งเป็นทั้งคุณค่าและขวัญกาลังใจต่อ
การปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้นท่ีสาคัญ คือยังสามารถลดอัตราการลาหยุดงานน้อยลงเมื่อเปรียบเทียบกับโรงเรียน
แบบเก่ายังพบว่ามีความก้าวหน้าในการปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับ ลักษณะผู้เรียนได้
อยา่ งเดน่ ชดั และรวดเร็วกวา่ ทพี่ บในโรงเรยี นแบบเก่ามคี วามผกู พนั ทจี่ ะสร้างการเปลย่ี นแปลงใหมๆ่ ใหป้ รากฏ
อยา่ งเด่นชดั และย่ังยืน

ประเด็นท่ี 2 ผลดีต่อผู้เรียน พบว่า PLC ส่งผลต่อผู้เรียน กล่าวคือ สามารถลดอัตราการตกซ้าช้ัน
และจานวนช้ันเรียนท่ีต้อง เลื่อนหรือชะลอการจัดการเรียนรู้ให้น้อยลง อัตราการขาดเรียนลดลง มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และวิชาการอ่านที่สูงขึ้นอย่างเด่นชัด เม่ือเทียบกับโรงเรียน
แบบเกา่ สุดท้าย คอื มคี วามแตกตา่ งด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ระหวา่ งกลุ่มนกั เรียนท่มี ีภูมหิ ลังไม่เหมือนกัน
และลดลงชัดเจน

กล่าวโดยสรุปคือ PLC มีพัฒนาการมาจากกลยุทธ์ระดับ องค์กรที่มุ่งเน้นให้องค์กรมีการปรับตัวต่อ
กระแสการเปลี่ยนแปลง ของสังคมทเี่ กิดข้ึนอย่างรวดเร็ว โดยเรม่ิ พัฒนาจากแนวคิดองค์กรแห่งการเรยี นรู้ และ
ปรับประยกุ ตใ์ ห้มีความสอดคล้องกบั บริบทของโรงเรยี นและการเรียนรรู้ ว่ มกันในทางวิชาชีพทม่ี ีหน้างานสาคัญ
คือ ความรับผิดชอบการเรียนรู้ของผู้เรียนร่วมกันเป็นสาคัญ จากการศึกษาหลายโรงเรียนในประเทศ
สหรัฐอเมริกาดาเนินการ ในรูปแบบ PLC พบว่าเกิดผลดีทั้งวิชาชีพครูและผู้เรียน ที่มุ่งพัฒนาการของผู้เรียน
เป็นสาคญั

1.1 ควำมหมำยของชุมชนกำรเรียนรทู้ ำงวิชำชีพ
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพหรือ PLC มีวรรณกรรมทางการศึกษาจากการวิจัยหรือโครงการศึกษา
ต่างๆ สามารถ เรียบเรียงสรุปเป็นความหมายของ PLC คือ การรวมตัว รวมใจ รวมพลัง ร่วมมือกันของครู
ผู้บริหาร และนักการศึกษาในโรงเรียน เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังท่ี Sergiovanni (1994)
ได้กล่าวว่า PLCเป็นสถานท่ีสาหรับ “ปฏิสัมพันธ์” ลด “ความโดดเดี่ยว” ของมวลสมาชิกวิชาชีพครูของ
โรงเรียนในการทางาน เพ่ือปรับปรุงผลการเรียนของนักเรียนหรืองานวิชาการโรงเรียน ซ่ึง Hord (1997) มอง
ในมุมมองเดียวกัน โดยมองการรวมตัวกันดังกล่าว มีนัยยะแสดงถึงการเป็นผู้นาร่วมกันของครู หรือเปิดโอกาส
ให้ครูเป็น “ประธาน” ในการเปล่ียนแปลง (วิจารณ์ พานิช, 2555) การมีคุณค่าร่วมและวิสัยทัศน์ร่วมกันไปถึง
การเรียนรู้ร่วมกันและการนาสิ่งที่เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ อย่างสร้างสรรค์ร่วมกัน การรวมตัวในรูปแบบนี้เป็น
เหมือนแรงผลักดัน โดยอาศัยความต้องการและความสนใจของ สมาชิกใน PLC เพ่ือการเรียนรู้และพัฒนา
วิชาชีพ สู่มาตรฐานการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นหลัก (Senge, 1990) การพัฒนาวิชาชีพให้เป็น “ครูเพื่อศิษย์”
(วิจารณ์ พานิช, 2555) โดยมองว่าเป็น “ศิษย์ของเรา” มากกว่ามองว่า “ศิษย์ของฉัน”และการ เปล่ียนแปลง
คุณภาพการจัดการเรียนรู้ท่ีเร่ิมจาก “การเรียนรู้ ของครู” เป็นตัวต้ังต้น เรียนรู้ท่ีจะมองเห็นการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลง พัฒนาการจดั การเรียนรขู้ องตนเอง เพอ่ื ผู้เรยี น เปน็ สาคญั

อย่างไรก็ตาม การรวมตัวการเรียนรู้ การเปล่ียนแปลงใดๆ เป็นไปได้ยากท่ีจะทาเพียงลาพังหรือ
เพียงนโยบายเพื่อให้เกิด การขับเคลื่อนทั้งระบบโรงเรียน จึงจาเป็นต้องสร้างความเป็น PLC ท่ีสอดคล้องกับ
ธรรมชาตทิ างวิชาชพี รว่ มในโรงเรียน ยอ่ มมคี วามเปน็ ชมุ ชนทีส่ ัมพนั ธก์ นั อย่างแนน่ แฟน้ (Senge, 1990) ชุมชน
ท่ีสามารถขับเคล่ือนให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางวิชาชีพได้น้ัน จึงจาเป็นต้องมีอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขทาง
วิชาชีพ มีฉันทะ และศรัทธาในการทางาน “ครูเพ่ือศิษย์ร่วมกัน” บรรยากาศการอยู่ร่วมกันจึงเป็นบรรยากาศ
“ชุมชนกัลยาณมิตร ทางวิชาการ” (สุรพล ธรรมร่มดี, ทัศนีย์ จันอินทร์, และ คงกฤช ไตรยวงศ์, 2553) ท่ีมี
ลักษณะความเป็นชุมชน แห่งความเอื้ออาทรอยู่บนพ้ืนฐาน “อานาจเชิงวิชาชีพ” และ “อานาจเชิงคุณธรรม”
(Sergiovanni, 1994) เป็นอานาจท่ีการสร้างพลังมวลชนเร่ิมจากภาวะผู้นาร่วมของครูเพ่ือขับเคล่ือนการ
ปรับปรุงและพัฒนาสถานศึกษา (Fullan, 2005)

กล่าวโดยสรปุ PLC หมายถึง การรวมตัว ร่วมใจ ร่วมพลัง ร่วมทา และร่วมเรียนรู้ร่วมกันของครู
ผู้บริหาร และนักการศึกษา บนพื้นฐานวัฒนธรรมความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร ท่ีมีวิสัยทัศน์ คุณค่า
เป้าหมาย และภารกิจร่วมกัน โดยทางานร่วมกันแบบทีมเรียนรู้ที่ครูเป็นผู้นาร่วมกัน และผู้บริหารแบบผู้ดูแล
สนับสนุน สู่การเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพเปล่ียนแปลงคุณภาพตนเอง สู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ความสาเร็จหรอื ประสิทธผิ ลของ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ และความสุขของการทางานรว่ มกนั ของสมาชกิ ในชุมชน

1.2 กำรแบง่ ระดับของชุมชนกำรเรียนรทู้ ำงวชิ ำชพี
PLC สามารถแบ่งระดับได้ 3 ระดับ คือ ระดับสถานศึกษา ระดับเครือข่าย และระดับชาติ โดย

แตล่ ะลกั ษณะจะแบ่ง ตามระดบั ของความเปน็ PLC ยอ่ ย ดังนี้
1) ระดับสถำนศึกษำ (School Level) คอื PLC ทีข่ บั เคลอื่ นในบริบทสถานศกึ ษา หรอื โรงเรียน

สามารถแบ่งได้ 3 ระดับย่อย (Sergiovanni, 1994) คอื
1.1 ระดับนักเรียน (Student Level) ซึ่งนักเรียนจะได้รับการส่งเสริมและร่วมมือให้เกิดการ

เรียนรู้ขึ้น จากครูและเพื่อนนักเรียนอื่นให้ทากิจกรรมเพื่อแสวงหาคาตอบท่ีสมเหตุสมผล สาหรับตน นักเรียน
จะไดร้ บั การพฒั นาทักษะทส่ี าคัญ คือ ทกั ษะการเรยี นรู้

1.2 ระดับผู้ประกอบวิชาชีพ (Professional Level) ประกอบด้วยครูผู้สอนและผู้บริหารของ
โรงเรียนโดยใช้ฐานของ “ชุมชนแห่งวิชาชีพ” เชื่อมโยงกับการเรียนรู้ของชุมชน จึงเรียกว่า “ชุมชนการเรยี นรู้
ทางวิชาชีพ” ซ่ึงเป็นกลไกสาคัญอย่างย่ิงที่ทุกคนในโรงเรยี นร่วมกันพิจารณา ทบทวนเรื่องนโยบาย การปฏิบตั ิ
และกระบวนการบริหารจัดการต่างๆ ของโรงเรียนใหม่อีกคร้ัง โดยยึดหลักในการปรับปรุงแก้ไขส่ิงเหล่าน้ี
เพื่อให้สามารถ บริการด้านการเรียนรู้แก่นักเรียนได้อย่างมีประสิทธิผล อีกท้ัง เพื่อให้การปรับปรุงแก้ไข้
ดังกล่าว นามาสู่การสนับสนุนการปฏิบัติ งานวิชาชีพของครูผู้สอน และผู้บริหารให้มีคุณภาพและประสิทธิผล
สูงยิ่งขึ้น มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมของการทางานทดี่ ีต่อกนั ของทุกฝา่ ย

1.3 ระดับการเรียนรู้ของชุมชน (Learning Community Level) ครอบคลุมถึงผู้ปกครอง
สมาชิกชุมชนและผู้นาชุมชน โดยบุคคลกลุ่มน้ีจาเป็นต้องมีส่วนเข้ามาร่วมสร้าง และผลักดัน วิสัยทัศน์ของ
โรงเรียนให้บรรลุผลตามเป้าหมาย กล่าวคือ ผู้ปกครองนักเรียน ผู้อาวุโสในชุมชนตลอดจนสถาบันต่างๆ ของ
ชุมชนเหล่าน้ี ต้องมีส่วนร่วมในการส่งเสริมเป้าหมายการเรียนรู้ของชุมชนและโรงเรียน กล่าวคือ ผู้ปกครองมี

ส่วนรว่ มทางการศึกษาได้โดยการให้การดูแลแนะนาการเรียนท่ีบ้านของนักเรียน รวมทง้ั ใหก้ ารสนับสนุนแก่ครู
และผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการเรียนรู้ ให้แก่บุตรหลานของตน ผู้อาวุโสในชุมชนสามารถเป็นอาสาสมัคร
ถา่ ยทอดความรู้

2) ระดับกลุ่มเครือข่ำย (Network Level) คือ PLC ท่ีขับเคลื่อนในลักษณะการรวมตัวกัน
ของกลุ่มวิชาชีพจากองค์กร หรือหน่วยงานต่างๆ ท่ีมุ่งมั่นร่วมกันสร้างชุมชน เครือข่าย ภายใต้ วัตถุประสงค์
ร่วม คือ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ส่งเสริม สนับสนุน ให้กาลังใจ สร้างความสัมพันธ์และพัฒนาวิชาชีพร่วมกัน
อาจมี เปา้ หมายท่เี ปน็ แนวคดิ ร่วมกนั อย่างชดั เจน สามารถแบง่ ได้ 2 ลักษณะ คือ

2.1 กลุ่มเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบัน คือ การตกลงร่วมมือกันในการพัฒนา
วิชาชีพครูระหว่างสถาบัน โดยมองว่าการร่วมมือกันของสถาบันต่างๆ จะทาให้เกิดพลังการขับเคล่ือน การ
แลกเปล่ียนเรยี นรทู้ างวชิ าชพี การแลกเปล่ยี น หรอื รว่ มลงทุนดา้ นทรพั ยากร และการเก้ือหนุนเป็นกลั ยาณมิตร
คอยสะท้อนการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน กรณีตัวอย่างเช่น กรณี ศึกษาการจัด PLC เป็นกลุ่มของโรงเรียนใน
ประเทศสงิ คโปร์ เพื่อรว่ มพฒั นาแลกเปล่ยี นและสะทอ้ นรว่ มกนั ทางวชิ าชพี เปน็ ตน้

2.2 กลุ่มเครือข่ายความร่วมมือของสมาชกิ วิชาชีพครู คือ การจัดพ้ืนท่ีเปิดกว้างใหส้ มาชิก
วิชาชีพครูที่มีอุดมการณ์ร่วมกันในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของตนเองเพื่อการเปล่ียนแปลง เชิงคุณภาพ
ของผเู้ รียนเป็นหวั ใจสาคัญ สมาชิกท่รี วมตวั กนั ไม่มีเงื่อนไขเกี่ยวกับสังกัด แต่จะต้ังอยู่บนความมุ่งมัน่ สมัครใจ
ใช้อุดมการณ์ร่วมเป็นหลักในการรวมกันเป็น PLC กรณีตัวอย่าง เช่น PLC “ครูเพ่ือศิษย์” ของ
มูลนิธิสดศรี สฤษด์ิวงศ์ (มสส.) ที่สร้างพื้นที่ส่วนกลางสาหรับวิชาชีพครูให้จับมือร่วมกันเป็นภาคี ร่วมพัฒนา
“ครูเพ่ือศษิ ย์” มุ่งสร้างสรรค์นวัตกรรมการจดั การเรยี นร้ใู นแตล่ ะพ้นื ท่ขี องประเทศไทย (วิจารณ์ พานิช, 2555)
เปน็ ตน้

3) ระดับชำติ (The National Level) คือ PLC ท่ีเกิดข้ึน โดยนโยบายของรัฐท่ีมุ่งจัด
เครือข่าย PLC ของชาติเพื่อขับเคล่ือน การเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพของวิชาชีพ โดยความร่วมมือของ
สถานศึกษา และครู ที่ผนึกกาลังร่วมกันพัฒนาวิชาชีพ ภายใต้ การสนับสนุนของรัฐ ดังกรณีตัวอย่าง นโยบาย
วิสัยทัศน์เพ่ือ ความร่วมมือของกระทรวงศึกษาธิการประเทศสิงคโปร์ (MOE) (2009) รัฐจัดให้มี PLC ชาติ
สิงคโปร์เพื่อมุ่งหวังขับเคล่ือนแนวคิด “สอนให้น้อย เรียนรู้ให้มาก” (Teach Less, Learn more) ให้เกิดผล
สาเรจ็ เปน็ ตน้

1.3 องคป์ ระกอบของชมุ ชนกำรเรยี นรู้ทำงวชิ ำชีพในบริบทสถำนศกึ ษำ
PLC ในระดับสถานศึกษา หรือ ระดับผู้ประกอบวิชาชีพ นาเสนอเป็นองค์ประกอบของ PLC

ที่มาจากข้อมูลที่รวบรวมและ วิเคราะห์จากเอกสารทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศนาเสนอเป็น 6
องค์ประกอบของ PLC ในบริบทสถานศึกษา ซ่ึงประกอบด้วย วิสัยทัศน์ร่วมทีมร่วมแรงร่วมใจ ภาวะผู้นาร่วม
การเรียนรู้และการพัฒนาวิชาชีพ ชุมชนกัลยาณมิตร และโครงสร้างสนับสนุน ชุมชนนาเ สนอจาก
การสังเคราะหแ์ นวคดิ ต่างๆ และรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้

องค์ประกอบที่ 1 วิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) วิสัยทัศน์ร่วมเป็นการมองเห็นภาพ
เปา้ หมาย ทศิ ทาง เสน้ ทาง และสงิ่ ท่ีจะเกิดข้ึนจริง เป็นเสมอื นเข็มทิศในการขับเคลื่อน PLC ท่มี ีทศิ ทางร่วมกัน

โดยมวี ิสัยทัศน์เชิงอุดมการณท์ างวชิ าชีพร่วมกัน (Sergiovanni, 1994) คือพฒั นาการการเรียนรขู้ องผ้เู รยี นเป็น
ภาพความสาเร็จท่ีมุ่งหวังในการนาทางร่วมกัน (Hord, 1997) อาจเป็นการมองเริ่มจากผู้นาหรือกลุ่มผู้นาท่ีมี
วิสัยทัศน์ทาหน้าที่เหน่ียวนาให้ผู้ร่วมงานเห็นวิสัยทัศน์น้ันร่วมกัน หรือการมองเห็นจากแต่ละปัจเจกที่มี
วิสยั ทัศน์เห็นในส่ิงเดียวกนั วิสัยทศั นร์ ่วมมลี ักษณะสาคญั 4 ประการ (4 Shared) มรี ายละเอียดสาคญั ดงั นี้

1) การเห็นภาพและทิศทางร่วม (Shared Vision) จากภาพความเชื่อมโยงให้เห็นภาพ
ความสาเร็จร่วมกนั ถงึ ทิศทาง สาคัญของการทางานแบบมอง “เห็นภาพเดียวกนั ” (Hord, 1997; Hargreaves,
2003)

2) เป้าหมายร่วม (Shared Goals) เป็นท้ังเป้าหมาย ปลายทาง ระหว่างทาง และเป้าหมาย
ชีวิตของสมาชิกแต่ละคนท่ี สัมพันธ์กันกับเป้าหมายรว่ มของชุมชนการเรียนรู้ฯ ซ่ึงเป็นความเช่อื มโยงให้เหน็ ถึง
ทิศทางและเป้าหมายในการทางานร่วมกัน โดยเฉพาะเปา้ หมายสาคญั คือพัฒนาการการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น
(Hargreaves, 2003; Schmoker, 2004; DuFour, 2006)

3) คุณค่าร่วม (Shared Values) เป็นการเห็นทั้งภาพเป้าหมาย และที่สาคัญเมื่อเห็นภาพ
ความเช่ือมโยงแล้ว ภาพดังกล่าวมีอิทธิพลกับการตระหนักถึงคุณค่าของตนเองและของ งานจนเช่ือมโยงเป็น
ความหมายของงานท่ีเกิดจากการตระหนัก รู้ของสมาชิกใน PLC จนเกิดเป็นพันธะสัญญาร่วมกัน ร่วมกัน
หลอมรวมเปน็ “คุณคา่ รว่ ม” ซ่ึงเป็นขมุ พลงั สาคญั ที่จะเกิดพลัง ในการไหลรวมกันทางานในเชิงอุดมการณ์ทาง
วิชาชีพรว่ มกนั (Hord, 1997; DuFour, 2006; Hargreaves, 2003)

4) ภารกิจร่วม (Shared Mission) เป็นพันธกิจแนวทางการปฏิบัติร่วมกันเพื่อให้บรรลุตาม
เป้าหมายร่วม รวมถึงการ เรียนรู้ของครูในทุกๆ ภารกิจ สิ่งสาคัญคือ การปฏิรูปการเรียนรู้ ที่มุ่งการเรียนรู้ของ
ผเู้ รียนเปน็ หวั ใจสาคญั (Hord, 1997) โดยการเร่ิมจากการรบั ผดิ ชอบในการพัฒนาวชิ าชีพเพ่ือศิษยร์ ่วมกันของ
ครู (Louis & Kruse, 1995; Senge, 2000; DuFour, 2006)

องค์ประกอบที่ 2 ทีมร่วมแรงร่วมใจ (Collaborative Teamwork) ทีมร่วมแรงร่วมใจ เป็น
การพัฒนามาจากกลุ่มที่ทางาน ร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ ลักษณะการทางานร่วมกันแบบมีวิสัยทัศน์ คุณค่า
เป้าหมาย และพันธกิจร่วมกัน รวมกันด้วยใจ จนเกิดเจตจานงในการทางานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้
บรรลุผลท่ีการเรียนรู้ของผู้เรียน (Louis, Kruse, & Marks, 1996) การเรียนรู้ของทีม และการเรียนรู้ของครู
บนพื้นฐานงานท่ีมี ลักษณะต้องมีการคิดร่วมกัน วางแผนร่วมกัน ความเข้าใจร่วมกัน ข้อตกลงร่วมกัน การ
ตัดสินใจร่วมกัน แนวปฏิบัติรว่ มกัน การประเมินผลรว่ มกัน และการรับผิดชอบรว่ มกัน จากสถานการณ์ ที่งาน
จริงถือเป็นโจทย์ร่วม (Hargreaves, 2003; Stoll & Louis, 2007) ให้เห็นและรู้เหตุปัจจัย กลไกในการทางาน
ซ่ึงกันและกัน แบบละวางตัวตนให้มากท่ีสุด (There’s no I in team) (DuFour, 2006) จนเห็นและรู้
ความสามารถของแต่ละคนร่วมกัน เห็นและรับรู้ถึงความรู้สึกร่วมกันในการทางานจนเกิด ประสบการณ์หรือ
ความสามารถในการทางาน และพลังในการร่วมเรียนรู้ ร่วมพัฒนาบนพื้นฐานของพันธะร่วมกันท่ีเน้นความ
สมัครใจ และการส่ือสารที่มีคุณภาพบนพื้นฐานการรับฟังและความไว้วางใจซ่ึงกันและกัน อย่างไรก็ตามการที่
PLC เน้นการขับเคล่ือน ด้วยการทางานแบบทีมร่วมแรงร่วมใจ ท่ีทาให้ลงมือทาและเรียนรู้ ไปด้วยกันด้วยใจ
อย่างสร้างสรรค์ต่อเน่ืองน้ัน ซึ่งมีลักษณะพิเศษของการรวมตัวที่เหนียวแน่นจากภายใน นั้นคือการเป็น

กลั ยาณมิตร ทาให้เกดิ ทีมใน PLC อยรู่ ่วมกนั ดว้ ยความสัมพนั ธ์ ทตี่ ่างชว่ ยเหลือเกื้อกลู ดูแลซ่งึ กนั จงึ ทาให้การ
ทางานเต็มไปด้วยบรรยากาศท่ีมีความสุข ไม่โดดเดี่ยว (Sergiovanni, 1994; Fullan, 1999) ซึ่งรูปแบบของ
ทีมจะมีเป็นเช่นไรนั้นข้ึนอยู่กับเป้าประสงค์ หรือพันธกิจในการดาเนินการของชุมชนการเรียนรู้ เช่น ทีมร่วม
สอน ทีมเรียนรู้ และกลุ่มเรียนรู้ เป็นต้น (วิจารณ์ พานิช , 2554; Olivier &Hipp, 2006; Little &
McLaughlin, 1993)

องค์ประกอบท่ี 3 ภำวะผู้นำร่วม (Shared Leadership) ภาวะผู้นาร่วมใน PLC มีนัยสาคัญ
ของการผู้นาร่วม 2 ลักษณะสาคญั คอื ภาวะผู้นาผู้สรา้ งใหเ้ กิดการนารว่ ม และภาวะ ผนู้ าร่วมกัน ให้เป็น PLC
ทขี่ ับเคล่ือนด้วยการนารว่ มกนั รายละเอยี ดดังนี้

1) ภาวะผู้นาผู้สร้างให้เกิดการนาร่วมเป็นผู้นาท่ีสามารถทาให้สมาชิกใน PLC เกิดการเรียนรู้
เพื่อการเปล่ียนแปลงทั้ง ตนเองและวิชาชีพ (Kotter& Cohen, 2002) จนสมาชิกเกิดภาวะผู้นาในตนเองและ
เป็นผู้นาร่วมขับเคลื่อน PLC ได้โดยมี ผลมาจากการเสริมพลังอานาจจากผู้นาท้ังทางตรงและทางอ้อม
โดยเฉพาะการเปน็ ผนู้ าที่เรม่ิ จากตนเองก่อนด้วยการลงมือทางาน อย่างตระหนักรู้ และใส่ใจให้ความสาคัญกบั
ผู้ร่วมงานทุกๆ คน (Olivier &Hipp, 2006) จนเป็นแบบท่ีมีพลังเหนี่ยวนาให้ ผู้ร่วมงานมีแรงบันดาลใจและมี
ความสุขกับการทางานด้วยกัน อย่างวิสัยทัศน์ร่วม (Hargreaves, 2003) รวมถึงการนาแบบไม่นา โดยทา
หนา้ ที่ผสู้ นับสนุนและเปดิ โอกาสใหส้ มาชกิ เติบโตด้วยการสร้างความเป็นผ้นู าร่วม ผู้นาท่ีจะสามารถสร้างให้เกิด
การนาร่วมดังกล่าวควรมีคุณลักษณะสาคัญ ดังนี้ มีความสามารถในการลงมือทางานร่วมกัน การเข้าไปอยู่ใน
ความรู้สึกของผู้อื่นได้ การตระหนักรู้ในตนเอง ความเมตตากรุณา การคอยดูแลช่วยเหลือ เกื้อกูลกัน การโค้ช
ผู้ร่วมงานได้ การสร้างมโนทัศน์ การมวิสัยทัศน์การมีความมุ่งมั่นและทุ่มเทต่อการเติบโตของผู้อ่ืน เป็นต้น
(Thompson, Gregg, &Niska, 2004)

2) ภาวะผนู้ ารว่ มกัน เปน็ ผู้นารว่ มกนั ของสมาชิก PLC ดว้ ยการกระจายอานาจ เพิม่ พลงั อานาจ
ซงึ่ กนั และกนั ให้สมาชิก มภี าวะผนู้ าเพิ่มขึน้ จนเกิดเปน็ “ผ้นู าร่วมของครู” (Hargreaves, 2003) ในการ
ขับเคลือ่ น PLC มุ่งการพัฒนาการจดั การเรียนรู้ ที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั โดยยดึ หลกั แนวทางบรหิ ารจดั การร่วม
การสนับสนนุ การกระจายอานาจ การสรา้ งแรงบนั ดาลใจของครู โดยครูเปน็ ผ้ลู งมือกระทา หรอื ครทู าหนา้ ทีเ่ ปน็
“ประธาน”เพอื่ สร้างการเปล่ียนแปลงการจัดการเรยี นร้ไู ม่ใช่ “กรรม” หรอื ผถู้ กู กระทา และผู้ถูกให้กระทา
(วิจารณ์ พานิช, 2554 ซึง่ ผ้นู ารว่ มจะเกดิ ข้นึ ได้ดีเม่ือมบี รรยากาศส่งเสริมใหค้ รูสามารถแสดงออกดว้ ย ความเต็ม
ใจ อสิ ระปราศจากอานาจครอบงาที่ขาดความเคารพ ในวิชาชพี แต่ยึดถอื ปฏิบตั ิรว่ มกนั ใน PLC นนั่ คอื “อานาจ
ทาง วิชาชีพ” (Hargreaves, 2003) เปน็ อานาจเชิงคุณธรรมทีม่ ีข้อปฏบิ ัตทิ ่ีมาจากเกณฑ์และมาตรฐานท่ีเห็นพ้อง
ตรงกนั หรอื กาหนดรว่ มกันเพื่อยึดถือเป็นแนวทางรว่ มกันของผูป้ ระกอบวชิ าชพี ครูทง้ั หลายใน PLC (Thompson
etal.,2004)

กลา่ วโดยสรปุ คอื ภาวะผ้นู ารว่ มดงั ทกี่ ล่าวมา มีหัวใจสาคญั คอื นาการเรียนรู้เพอ่ื การ
เปลีย่ นแปลงตนเองของแตล่ ะคน ทง้ั สมาชกิ และผนู้ าโดยตาแหนง่ เมื่อใดทีบ่ คุ คลนัน้ เกดิ การเรยี นรู้ ทงั้ ด้าน
วิชาชีพและชวี ิตจนเกิดพลงั การเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลตอ่ ความสุขในวิชาชีพของตนเองและผอู้ น่ื ภาวะผู้นารว่ มจะ
เกิดผล ตอ่ ความเปน็ PLC

องคป์ ระกอบที่ 4 กำรเรยี นรู้และกำรพฒั นำวชิ ำชีพ (Professional learning and
development) การเรียนรู้และการพฒั นาวิชาชพี ใน PLC มจี ุดเน้นสาคญั 2 ด้าน คือ การเรียนรู้เพ่ือพฒั นา
วิชาชีพและการเรียนรู้เพื่อจติ วญิ ญาณความเป็นครู รายละเอียดดังนี้

1) การเรยี นรู้เพ่ือพัฒนาวิชาชีพ หัวใจสาคัญการเรียนรู้ บนพ้ืนฐานประสบการณ์ตรงในงานท่ีลงมือ
ปฏบิ ตั จิ ริง รว่ มกนั ของ สมาชกิ จะมีสดั ส่วนการเรียนรู้มากกวา่ การอบรมจากหนว่ ยงาน ภายนอก อ้างถงึ แนวคิด
ของ Dale (1969) แนวคิดกรวย ประสบการณ์ (Cone of Experience) ยืนยันอย่างสอดคล้อง ว่าการเรียนรู้
ผ่านประสบการณ์ตรงจะส่งผลต่อประสิทธิภาพ และประสิทธิผลการเรียนรู้ได้มากท่ีสุด ด้วยบริบท PLC ที่มีการ
ทางานร่วมกันเป็นทีม (Sergiovanni, 1994) จึงทาให้การเรียน รู้จากโจทย์และสถานการณ์ท่ีครูจะต้องจัดการ
เรยี นรูท้ ่ียดึ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั เปน็ การรว่ มเหน็ รว่ มคิด ร่วมทา รว่ มรับผดิ ชอบ (Dufour, 2006) ทาใหบ้ รรยากาศ
การพัฒนาวิชาชีพของครูรู้สึก ไม่โดดเด่ียว คอยสะท้อนการเรียนรู้และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ถือเป็นพ้ืนท่ีการ
เรียนรรู้ ว่ มกันท่ใี ช้วิธีการท่ีหลากหลาย เชน่ สะท้อนการเรยี นรู้ สนุ ทรียะสนทนา การเรียนร้สู บื เสาะแสวงหา การ
สร้างมโนทัศน์ ริเริ่มสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ๆ การคิดเชิงระบบ การ สร้างองค์ความรู้ การเรียนรู้บนความเข้าใจการ
ทางานของสมอง และการจัดการความรู้ เป็นตน้ (สรุ พล ธรรมร่มดี และคณะ, 2553; Stoll & Louis, 2007)

2) การเรียนรู้เพื่อจิตวิญญาณความเป็นครู เป็นการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาตนเองจากข้างใน หรือ วุฒิ
ภาวะความเป็นครู ให้เป็นครูท่ีสมบูรณ์ โดยมีนัยยะสาคัญคือ การเรียนรู้ตนเอง การ รู้จักตนเองของครู เพื่อท่ีจะ
เข้าใจมิติของผู้เรียนท่ีมากกว่าความรู้ แต่เป็นมิติของความเป็นมนุษย์ ความฉลาดทางอารมณ์ เมื่อครูมี ความ
เข้าใจธรรมชาติตนเองแล้ว จึงสามารถมองเห็นธรรมชาติของ ศิษย์ตนเองอย่างถ่องแท้ จนสามารถสอน หรือ
จัดการเรียนรู้โดยยึด การเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสาคัญได้ รวมถึงการเรียนรู้ร่วมกันของ สมาชิกในชุมชน
(Hargreaves, 2003) ที่ต้องอาศัยการตระหนักรู้ สติ การฟัง การใคร่ครวญ เป็นต้น จิตที่สามารถเรียนรแู้ ละเป็น
ครู ไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริงนนั้ จะเป็นจิตทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยความรัก ความเมตตา การ กรุณา และความอ่อนน้อม เห็นศิษยเ์ ป็น
ครู เห็นตนเองเป็นผู้เรียนรู้ มีพลังเรียนรู้ในทุกสถานการณ์ที่เกิดข้ึน โดยใช้วิธีการท่ีหลากหลาย เช่น การเรียนรู้
เพื่อการเปลย่ี นแปลง การเรียนรู้อยา่ งใคร่ครวญ และการฝึกสติ เปน็ ตน้ (สุรพล ธรรมร่มดี และคณะ, 2553)

กล่าวโดยสรุปการเรียนรู้และการพัฒนาวิชาชีพของ PLC น้ันมีหัวใจสาคัญคือการเรียนรู้ร่วมกัน
อย่างมีความสุขของ ทีมเรียนรู้ เป็นบรรยากาศท่ีเปิดพื้นที่การเรียนรู้แบบนาตนเอง ของครูเพ่ือการเปลี่ยนแปลง
พัฒนาตนเองและวชิ าชพี อย่างตอ่ เนือ่ งเป็นสาคญั

องค์ประกอบที่ 5 ชุมชนกัลยำณมิตร (Caring community) กลุ่มคนที่อยู่ร่วมโดยมีวิถีและ
วัฒนธรรมการอยู่ร่วมกัน ในชุมชน มีคุณลักษณะคือ มุ่งเน้นความเป็นชุมชนแห่งความสุข สุขทั้งการทางานและ
การอย่รู ว่ มกนั ทม่ี ลี กั ษณะวฒั นธรรมแบบ “วัฒนธรรมแบบเปดิ เผย” ท่ที กุ คนมีเสรีภาพในการแสดงความ คิดเหน็
ของตนเป็นวิถีแห่งอิสรภาพ และเป็นพ้ืนท่ีให้ความรู้สึก ปลอดภัย หรือปลอดการใช้อานาจกดดัน บนพื้นฐาน
ความไว้วางใจ เคารพซ่งึ กนั และกัน มีจรยิ ธรรมแห่งความเอื้ออาทรเปน็ พลังเชงิ คุณธรรม คุณงามความดที ส่ี มาชิก
ร่ ว ม กั น ท า ง า น แ บ บ อุ ทิ ศ ต น เ พ่ื อ วิ ช า ชี พ โ ด ย มี เ จ ต ค ติ เ ชิ ง บ ว ก ต่ อ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ผู้ เ รี ย น ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ
Sergiovanni(1994) ที่ว่า PLCเป็นกลุ่มที่มีวิทยสัมพันธ์ต่อกัน เป็นกลุ่มท่ีเหนียวแน่นจากภายใน ใช้ความเป็น
กลั ยาณมิตรเชิงวชิ าการต่อกนั ทาให้ลดความโดดเด่ียวระหว่าง ปฏบิ ตั งิ านสอนของครู เชอ่ื มโยงปฏิสัมพนั ธ์กันทั้ง

ในเชงิ วชิ าชพี และชวี ติ มีความศรัทธารว่ ม อยรู่ ่วมกันแบบ “สังฆะ” ถือศีล หรือ หลักปฏิบัตริ ่วมกนั โดยยดึ หลัก
พรหมวิหาร 4 เมตตา กรุณา มุฑิตา อุเบกขา เป็นชุมชนท่ียึดหลักวินัยเชิงบวก เชื่อมโยงการพัฒนา PLC ไปกับ
วิถีชีวิตตนเองและวิถีชีวิตชุมชนอันเป็นพ้ืนฐานสาคัญของ สังคมฐานการพึ่งพาตนเอง (สุรพล ธรรมร่มดี และ
คณะ, 2553) มีบรรยากาศของ “วัฒนธรรมแบบเปิดเผย” ทุกคนมีเสรีภาพที่จะแสดงความคิดเห็นของตน เป็น
วิถีแห่งอิสรภาพ ยึดความสามารถ และสร้างพ้ืนท่ีปลอดการใช้อานาจกดดัน (Boyd, 1992) ดังกล่าวนี้ สามารถ
ขยายกรอบให้กว้างขวางออกไปจนถึงเครือขา่ ยทีส่ มั พนั ธ์ กับชุมชนตอ่ ไป

องค์ประกอบท่ี 6 โครงสร้ำงสนับสนุนชุมชน (Supportive structure)โครงสร้างท่ีสนับสนุน
การก่อเกิดและคงอยู่ของ PLC มีลักษณะ ดังนี้ ลดความเป็นองค์การท่ียึดวัฒนธรรมแบบราชการ หันมาใช้
วัฒนธรรมแบบกัลยาณมิตรทางวชิ าการแทน และเป็น วัฒนธรรมท่ีสง่ เสริมวิสัยทัศน์ การดาเนินการท่ีต่อเน่อื ง
และ มุ่งความย่ังยืน จัดปัจจัยเงื่อนไขสนับสนุนตามบริบทชุมชนมี โครงสร้างองค์การแบบไม่รวมศูนย์
(Sergiovanni, 1994) หรือ โครงสร้างการปกครองตนเองของชุมชน เพื่อลดความขัดแย้ง ระหว่างครู
ผปู้ ฏบิ ัติงานสอนกบั ฝ่ายบรหิ ารให้น้อยลง มกี ารบรหิ าร จดั การ และการปฏบิ ัตงิ านในสถานศึกษาท่เี นน้ รูปแบบ
ทมี งาน เปน็ หลกั (Hord, 1997) การจดั สรรปัจจัยสนับสนุนให้เอ้อื ต่อการดาเนินการของ PLC เชน่ เวลา วาระ
สถานท่ี ขนาดช้ันเรียน ขวัญ กาลังใจ ข้อมูลสารสนเทศ และอื่นๆ ท่ีตามความจาเป็นและบริบท ของแต่ละ
ชุมชน (Boyd, 1992) โดยเฉพาะการเอาใจใส่ส่ิงแวดลอ้ ม ให้เกิดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอยู่ร่วมกนั
อย่างมี ความสุข (สุรพล ธรรมร่มดี และคณะ, 2553) มีรูปแบบการ สื่อสารด้วยใจ เปิดกว้างให้พื้นที่อิสระใน
การสร้างสรรค์ของชุมชน เน้นความคล่องตัวในการดาเนินการจัดการกับเงื่อนไขความ แตกแยก และมีระบบ
สารสนเทศของชุมชนเพื่อการพฒั นาวชิ าชีพ (Eastwood & Louis, 1992)

กลา่ วโดยสรุปทัง้ 6 องค์ประกอบของ PLC ในบรบิ ท สถานศึกษา กลา่ วคือ เอกลักษณส์ าคัญของ
ความเป็น PLC แสดงให้เห็นว่าความเป็น PLC จะทาให้ความเป็น “องค์กร” หรือ “โรงเรียน” มีความหมายที่
การพฒั นาการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นอย่างแท้จรงิ ซึ่งเป็นหัวใจสาคญั ของ PLC ดว้ ยกลยทุ ธ์การสรา้ งความ ร่วมมอื ท่ี
ยึดเหน่ียวกันด้วยวิสัยทัศน์ร่วม มุ่งการเรียนรู้ของผู้เรียน การเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพ และชุมชนกัลยาณมิตร
แสดงถึงการ รวมพลังของครูและนักการศึกษา ท่ีเป็นผู้นาร่วมกัน ทางานร่วมกัน แบบทีมร่วมแรงร่วมใจ มุ่ง
เรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง พัฒนาวิชาชีพ ภายใต้โครงสร้างอานาจทางวชิ าชีพ และอานาจเชิงคุณธรรม ท่ีมาจาก
การรว่ มคดิ ร่วมทา ร่วมนา รว่ มพฒั นาของครู ผู้บรหิ าร นกั การศึกษาภายใน PLC ทส่ี ง่ ถงึ ผเู้ ก่ยี วข้องตอ่ ไป

1.4 ประโยชน์ของชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ทำงวชิ ำชีพในสถำนศึกษำ
S.M. Hord. (1997)ได้ทาการสังเคราะห์รายงานการวิจัยเก่ียวกับโรงเรียนท่ีมีการจัดต้ังชุมชน

แห่งวิชาชีพ โดยใช้คาถามว่า โรงเรียนดังกล่าวมีผลลัพธ์อะไรบ้างที่แตกต่างไปจากโรงเรียนท่ัวไปท่ีไม่มีชุมชน
แห่งวิชาชีพ และถ้าแตกตา่ งแล้วจะมีผลดีต่อครูผู้สอนและต่อนักเรียนอย่างไรบ้าง ได้ผลสรุปเปน็ ประเด็นย่อๆ
ดงั นี้

ประโยชน์ต่อครูผสู้ อน
- ลดความร้สู กึ โดดเดยี่ วในงานสอนของครูลง
- เพ่ิมความรู้สกึ ผูกพนั ต่อพนั ธกจิ และเป้าหมายของโรงเรียนมากขึ้น โดยเพ่ิมความกระตือรือร้น
ท่จี ะปฏบิ ัตใิ หบ้ รรลพุ ันธกจิ อย่างแขง็ ขัน
- รู้สึกว่าต้องร่วมกันรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวมของนักเรียน และร่วมกันรับผิดชอบเป็น
กล่มุ ต่อผลสาเร็จของนกั เรยี น
- รู้สึกเกิดสิ่งที่เรียกว่า “พลังการเรียนรู้ (Powerful learning)” ซึ่งส่งผลให้การปฏิบัติการ
สอนในช้ันเรียนของตนมีผลดีย่ิงข้ึน กล่าวคือ มีการค้นพบความรู้และความเช่ือใหม่ๆ ที่เกี่ยวกับวิธีการ
สอนและตวั ผูเ้ รียนซง่ึ ตนไม่เคยสงั เกตหรือสนใจมาก่อน
- เข้าใจในดา้ นเนื้อหาสาระทตี่ ้องทาการสอนไดแ้ ตกฉานยิ่งขึน้ และรวู้ ่าตนเองควรแสดงบทบาท
และพฤติกรรมการสอนอย่างไร จึงจะชว่ ยใหน้ ักเรียนเกดิ การเรียนรไู้ ด้ดีทส่ี ดุ ตามเกณฑท์ ่คี าดหมาย
- รับทราบขอ้ มูลสารสนเทศตา่ งๆ ที่จาเปน็ ตอ่ วิชาชีพได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็วข้ึน ส่งผลดี
ต่อการปรับปรงุ พัฒนางานวิชาชีพของตนได้ตลอดเวลา ครูเกดิ แรงบนั ดาลใจทจ่ี ะสร้างแรงบนั ดาลใจต่อการ
เรยี นรใู้ ห้แกน่ กั เรียนต่อไป
- เพ่ิมความพึงพอใจ เพิ่มขวัญกาลังใจต่อการปฏิบัติงานสูงขึ้น และลดอัตราการลาหยุดงาน
นอ้ ยลง
- มีความก้าวหน้าในการปรับเปลี่ยนวิธีสอน ให้สอดคล้องกับลักษณะผู้เรียนได้อย่างเด่นชัด และ
รวดเรว็ กวา่ ที่พบในโรงเรียนแบบเกา่
- มีความผูกพนั ทจี่ ะสรา้ งการเปลย่ี นแปลงใหม่ๆ ให้ปรากฏอยา่ งเดน่ ชดั และย่ังยืน
- มคี วามประสงคท์ ี่จะทาใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงอย่างเป็นระบบ ตอ่ ปจั จยั พื้นฐานดา้ นต่างๆ
ประโยชนต์ อ่ นักเรียน
- ลดอตั ราการตกซา้ ช้นั และจานวนชนั้ เรียนท่ีต้องเล่อื นหรอื ชะลอการสอนให้นอ้ ยลง
- อัตราการขาดเรยี นลดลง
- มีผลการเรียนรู้ท่ีเพ่ิมข้ึนเด่นชัด ปรากฏให้เห็นทั่วไปโดยเฉพาะในแทบทุกโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดเล็ก
- มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นในวิชาคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ และวชิ าการอ่านที่
สงู ขึน้ อยา่ งเดน่ ชดั เมอื่ เทยี บกบั โรงเรยี นแบบเกา่
- มีความแตกต่างด้านผลสัมฤทธิ์การเรียน ระหว่างกลุ่มนักเรียนท่ีมีภูมิหลังไม่เหมือนกัน ลดลง
ชัดเจน
กล่าวโดยสรุป ถ้าผลงานวิจัยดังกล่าวมีน้าหนักมากพอท่ีเชื่อมโยงถึงการที่ครูผู้สอนและผู้นา
สถานศึกษาได้ทางานร่วมกันในชุมชนการเรียนรู้แห่งวิชาชีพแล้ว ก็มีคาถามตามมาว่า แล้วจะเพ่ิมจานวน
โรงเรียนที่มีชุมชนดังกล่าวให้มากข้ึนได้อย่างไร กระบวนทัศน์ทางการศึกษาท่ีเปล่ียนไปบ่งชี้ว่า ท้ังบรรดา
ครูผู้สอนท้ังหลายและสาธารณชน จาเป็นต้องร่วมกันกาหนดบทบาทใหม่ท่ีเหมาะสมของครู โดยต้องทบทวน

การที่ต้องให้ครูใช้เวลาส่วนใหญ่ในแต่ละวันอยู่หน้าช้ันเรียน และอยู่กับนักเรียนตลอดเวลานั้น ได้มีการศึกษา
เปรียบเทียบเร่ือง การใช้เวลาของครูผู้สอนในประเทศต่างๆ ท่ัวโลก ปรากฏผลออกมาชัดเจนว่าในหลาย
ประเทศ เช่น ในญี่ปุ่น พบว่า ครูมีช่ัวโมงสอนน้อยลง และมีโอกาสได้ใช้เวลาที่เหลือส่วนใหญ่ไปกับการ
จัดทาแผนเตรียมการสอน การประชมุ ปรกึ ษาหารือกบั เพ่ือนรว่ มงาน การใหค้ าปรกึ ษาและทางานกบั นักเรียน
เปน็ รายบุคคล การแวะเย่ยี มชัน้ เรยี นอ่ืนเพ่ือสงั เกตการเรยี นการสอน และการได้ใช้เวลาไปเพ่ือกจิ กรรมต่างๆ
ด้านการพัฒนาวิชาชีพของครูมากขึ้น (Darling – Hammond, 1994, 1996) เป็นต้น การที่จะให้การ
เปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดขึ้นได้น้ัน จาเป็นต้องสร้างความตระหนัก และให้มุมมองใหม่ต่อสาธารณชน และ
วงการวชิ าชีพครูที่ต้องเน้นและเห็นคุณค่าของความจาเปน็ ต้องพัฒนาครใู ห้มีความเป็นมืออาชีพย่ิงขน้ึ ถ้าหาก
ต้องการคุณภาพการศึกษาของนักเรียน ดังที่มีผู้กล่าวว่า “ครูต้องเป็นบุคคลแรกที่ต้องเป็นนักเรียน
(Teachers are the first learners)”โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมในชุมชนการเรียนรู้แห่งวิชาชีพ
ซึ่งจะส่งผลให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิผลมากข้ึน และช่วยให้ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนสูงตามไป
ด้วย นนั่ คือความปรารถนาใฝ่ฝัน ของบคุ คลฝา่ ยทมี่ อิ าจปฏเิ สธได้

2. กลยุทธใ์ นกำรจัดกำรและใช้ชุมชนกำรเรยี นทำงรู้วิชำชพี (PLC) อย่ำงย่ังยืน
การนากระบวนการ PLC ไปใช้ในสถานศกึ ษา สามารถดาเนินการไดต้ ามขั้นตอน ดังนี้
2.1 เร่ิมต้นด้วยข้ันตอนง่ำยๆ (Take a baby steps) โดยเริ่มต้นจากการกาหนดเป้าหมาย

อภิปราย สะท้อนผล แลกเปลี่ยนกับคนอ่ืนๆ เพ่ือกาหนดว่า จะดาเนินการอย่างไรโดยพิจารณาและสะท้อนผล
ในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี

1) หลักการอะไรทีจ่ ะสรา้ งแรงจงู ใจในการปฏบิ ตั ิ
2) เราจะเริม่ ตน้ ความรู้ใหมอ่ ย่างไร
3) การออกแบบอะไรท่ีพวกเราควรใชใ้ นการตรวจสอบหลักฐานของการเรยี นรูท้ ่สี าคัญ
2.2 กำรวำงแผนด้วยควำมร่วมมือ (Plan Cooperatively) สมาชิกของกลุ่มกาหนด
สารสนเทศท่ีตอ้ งใชใ้ นการดาเนนิ การ
2.3 กำรกำหนดควำมคำดหวังในระดับสงู (Set high expectations) และวิเคราะห์การสอน
สืบเสาะหาวธิ ีการทจี่ ะทาใหป้ ระสบผลสาเรจ็ สูงสุด
1) ทดสอบข้อตกลงท่ีเก่ียวข้องกับการสอนหลังจากได้มีการจัดเตรียมต้นแบบท่ีเป็นการ
วางแผนระยะยาว (Long-term)
2) จัดใหม้ ชี ว่ งเวลาของการชีแ้ นะ โดยเนน้ การนาไปใช้ในชนั้ เรยี น
3) ให้เวลาสาหรับครูท่ีมีความยุ่งยากในการสังเกตการณ์ปฏิบัติในชั้นเรียนของครูท่ีสร้าง
บรรยากาศในการเรยี นรูอ้ ยา่ งประสบผลสาเร็จ
2.4 เร่มิ ตน้ จำกจุดเล็กๆ (Start small) เรม่ิ ต้นจากการใช้กลุม่ เล็กๆก่อน แลว้ คอ่ ยปรับขยาย
2.5 ศึกษำและใช้ข้อมูล (Study and use the data) ตรวจสอบผลการนาไปใช้และการ
สะทอ้ นผลเพอ่ื นามากาหนดว่า แผนไหน ควรใช้ต่อไป/แผนไหนควรปรบั ปรงุ หรอื ยกเลิก

2.6 วำงแผนเพ่ือควำมสำเร็จ (Plan for success) เรียนรู้จากอดีต ปรับปรุงหรือปฏิเสธในส่ิง
ทไ่ี มส่ าเร็จ และทาต่อไปความสาเร็จในอนาคต หรือความลม้ เหลวขนึ้ อย่กู ับเจตคติและพฤตกิ รรมของครู

2.7 นำส่สู ำธำรณะ (Go public) แผนไหนทีส่ าเรจ็ กจ็ ะมีการเชิญชวนให้คนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม
ยกยอ่ งและแลกเปล่ียนความสาเร็จ

2.8 ฝึกฝนร่ำงกำยและหล่อเลี้ยงสมอง (Exercise the body & nourish the brain)จัด
กิจกรรมที่ได้มีการเคล่ือนไหวและ เตรียมครูที่ทางานสาเร็จของแต่ละกลุ่มโดยมีการจัดอาหาร เครื่องด่ืมท่ีมี
ประโยชน์

ระบคุ วามต้องการของผ้เู รยี น
และความสาคัญ

สะทอ้ นผลการทางานและพจิ ารณา ครูร่วมการวางแผนการ
แนวทางทเ่ี หมาะสมกับผู้เรียน เรยี นรูแ้ ละทดลองใช้

ศึกษาแนวทางวธิ กี ารสอน ตรวจสอบแผนและ
และทดลองใชว้ ธิ ีการใหม่ กระบวนการนาไปใช้

ปรับปรงุ แกไ้ ขบน
พื้นฐานของขอ้ มลู

วงจรกำรสร้ำงชุมชนกำรเรียนรทู้ ำงวชิ ำชีพ
ดดั แปลงจาก: Luis Martinez อ้างถึงใน Hord, Roussin&Sommers, 2010

3. หลักกำรสอนคณติ ศำสตร์

ครผู สู้ อนวชิ าคณติ ศาสตร์จาเปน็ จะต้องทราบหลกั การสอนคณติ ศาสตร์และนาไปใชใ้ นการสอน
เพ่อื ช่วยใหน้ กั เรียนเรียนวิชาคณติ ศาสตร์ดว้ ยความเข้าใจ มีความรู้และประสบผลสาเรจ็ ในการเรียน
คณิตศาสตร์ ซง่ึ หลักการสอนคณติ ศาสตร์ เบรนด์ (สิริพร ทิพยค์ ง. 2544 : 110-111;อ้างอิงมาจาก
Brabdit. 1984 : 3) กลา่ วไว้มดี ังนี้

1. สอนจากสิ่งทีเ่ ป็นรปู ธรรมไปหานามธรรม
2. สอนจากสิ่งทอ่ี ยู่ใกลต้ ัวนกั เรยี นกอ่ นสอนสิ่งทีอ่ ยู่ไกลตัวนกั เรยี น
3. สอนจากเร่ืองทีง่ า่ ยก่อนการสอนเรือ่ งทยี่ าก
4. สอนตรงตามเน้ือหาทีต่ ้องการสอน
5. สอนใหค้ ิดไปตามลาดับข้ันตอนอยา่ งมเี หตุผล โดยข้นั ตอนที่กาลังทาเป็นผลมาจากขน้ั ตอน

กอ่ นหนา้ นั้น
6. สอนด้วยอารมณ์ขนั ทาใหน้ ักเรยี นเกดิ ความเพลิดเพลินโดยครอู าจใช้ เกม ปริศนา เพลง
7. สอนด้วยหลกั จติ วทิ ยา สรา้ งแรงจูงใจ เสริมกาลงั ใจให้กบั นกั เรียนโดยการใชค้ าพูด เช่น

ดมี าก ทาได้ถูกตอ้ งแลว้ ลองคิดอีกวิธีดซู ิ
8. โดยนาไปสมั พนั ธก์ บั วชิ าอื่น

อมั พร ม้าคะนอง (2546 : 8-10) ไดก้ ลา่ วถึงหลกั การสอนคณิตศาสตร์ไวด้ ังน้ี
1. สอนให้ผู้เรยี นเกิดมโนทัศน์หรือได้ความร้ทู างคณิตศาสตร์จากการคดิ และมสี ว่ นรว่ มในการทา
กิจกรรมรว่ มกับผูอ้ ื่น ใชค้ วามคดิ และคาถามที่นักเรียนสงสัยเป็นประเด็นในการอภปิ รายเพื่อให้ไดแ้ นวคิดที่
หลากหลายและเพ่ือนาไปสขู่ ้อสรปุ
2. สอนให้ผ้เู รียนเห็นโครงสร้างทางคณิตศาสตร์ ความสัมพนั ธแ์ ละความต่อเนื่องของเน้ือหา
คณติ ศาสตร์ เชน่ ความสัมพันธร์ ะหว่างคูอ่ นั ดบั ความสัมพนั ธแ์ ละฟังก์ชนั ความสมั พันธ์ระหว่างกราฟของ
ความสมั พนั ธ์ ฟงั ก์ชัน และลมิ ติ ความสมั พันธข์ องรูปส่เี หลี่ยมชนิดต่างๆ
3. สอนโดยคานึงว่าจะให้นักเรียนเรียนอะไร (What) และเรยี นอย่างไร (How) น่ันคอื คานึงถึง
เน้อื หาวชิ าและกระบวนการเรยี น
4. สอนโดยใชส้ ง่ิ ที่เปน็ รูปธรรมอธิบายนามธรรมหรือการที่ทาใหส้ ง่ิ ทเ่ี ปน็ นามธรรมยากๆ เป็น
นามธรรมท่ีงา่ ยขึ้นหรือพอที่จะจินตนาการไดม้ ากขึ้น ทั้งนี้เน่ืองจากมโนทศั นท์ างคณิตศาสตรบ์ างอยา่ งไม่
สามารถหาสือ่ มาอธบิ ายได้
5. จัดกจิ กรรมการสอนโดยคานงึ ถงึ ประสบการณ์และความรพู้ นื้ ฐานของผเู้ รยี น
6. สอนโดยใชก้ ารฝึกหัดให้ผเู้ รียนเกิดประสบการณ์ในการแกป้ ญั หาทางคณิตศาสตรท์ ั้งการฝึก
รายบุคคล ฝึกเป็นกลมุ่ การฝึกทกั ษะย่อยทางคณิตศาสตร์และการฝึกทกั ษะรวมเพอ่ื แกป้ ัญหาที่ซับซ้อน
มากขึ้น
7. สอนเพ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดทักษะการคดิ วเิ คราะหเ์ พือ่ แกป้ ัญหา สามารถใหเ้ หตุผล
เช่ือมโยง สอ่ื สาร และคิดอย่างสรา้ งสรรค์ ตลอดจนเกดิ ความอยากรู้อยากเหน็ และนาไปคดิ ต่อ

8. สอนให้นักเรียนเหน็ ความสมั พนั ธ์ระหว่างคณติ ศาสตร์ในหอ้ งเรยี นกบั คณติ ศาสตร์ใน
ชีวติ ประจาวนั

9. ผู้สอนควรศึกษาธรรมชาติและศักยภาพของผ้เู รยี น เพอื่ จะได้จัดกิจกรรมการสอนให้สอดคล้อง
กบั ผู้เรียน

10. สอนให้ผเู้ รยี นมีความสุขในการเรยี นคณิตศาสตร์ รูส้ ึกว่าวิชาคณิตศาสตร์ไม่ยากและมีความ
สนกุ สนานในการทากิจกรรม

11. สงั เกตและประเมินการเรยี นรู้ และความเข้าใจของผเู้ รยี นขณะเรียนในหอ้ งเรยี นโดยใชค้ าถาม
ส้ันๆ หรอื การพูดคุยปกติ

4. แนวคดิ และกำรจัดกระบวนกำรเรียนรทู้ เ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ
4.1 ควำมหมำยของกระบวนกำรเรียนร้ทู เ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั
คณะอนกุ รรมการปฏริ ปู การเรยี นรู้ (2543 : 20 – 21) ได้กลา่ วถงึ กระบวนการเรยี นรทู้ ่เี น้นผู้เรียน

เปน็ สาคญั สรุปได้วา่ เปน็ กระบวนการเรยี นรู้ทผี่ ู้เรยี นมีสว่ นร่วมในการกาหนดจุดมุง่ หมาย กิจกรรมและวธิ กี าร
เรยี นรู้ ไดค้ ดิ เอง ปฏิบตั เิ อง ได้เรียนรูด้ ว้ ยตนเอง รวมทัง้ รว่ มประเมนิ ผลการพัฒนาการเรียนรู้ตามศักยภาพ
ความต้องการ ความสนใจ และความถนดั ของแตล่ ะคน อีกทั้งเปดิ โอกาสให้ผู้ปกครองและชมุ ชนมสี ่วนรว่ มใน
การวางแผนการเรียนการสอน โดยคานงึ ถงึ ศักยภาพและความตอ้ งการของผู้เรียน ให้ผู้เรยี นมโี อกาสเรียนรู้
จากแหล่งการเรยี นรู้ท่ีหลากหลายสอดคลอ้ งกับการดารงชีวติ ในครอบครัว ชุมชน และทอ้ งถน่ิ รว่ มทงั้ เปิด
โอกาสให้ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในกระบวนการเรียนการสอนทุกขน้ั ตอน แนวคิดดังกล่าวสอดคล้องกับ ธารง บัว
ศรี (2543 : 18 – 19) และทิศนา แขมมณี (2542 : 2) ท่ีกลา่ วถึงความหมายของกระบวนการเรียนการ
สอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญสรุปได้วา่ เป็นกระบวนการเรียนรทู้ ี่ผูเ้ รียนมีส่วนร่วมในการปฏบิ ัติจริง อกี ทัง้ ได้
พฒั นากระบวนการคิด มีอสิ ระในการเรยี นรตู้ ามความถนัดและความสนใจ สามารถค้นควา้ ข้อมลู ต่างๆ ได้
ด้วยตนเองโดยใช้วิธีการและแหลง่ เรียนรทู้ หี่ ลากหลาย สามารถนาความรู้ประสบการณ์ไปใช้พัฒนาคณุ ภาพ
ชวี ิตของตนเอง และสงั คมส่วนรวมได้ ทัง้ นี้ผจู้ ัดต้องคานึงถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคลและเคารพในศักดศิ์ รี
สทิ ธแิ ละหนา้ ท่ขี องผูเ้ รยี น มีการวางแผนการจดั กจิ กรรมและจดั ประสบการณก์ ารเรยี นร้อู ยา่ งเป็นระบบ และ
ต้องเน้นประโยชน์สงู สดุ ของผู้เรียนเปน็ สาคัญ

5. ควำมหมำย ควำมสำคญั หลักกำรและแนวคิดเก่ียวกบั กำรสร้ำงแผนกำรจดั กำรเรียนรู้
5.1 ควำมหมำยของแผนกำรจัดกำรเรียนรู้
วฒั นาพร ระงับทุกข์ (2542 : 1) กล่าวถงึ ความหมายของแผนการสอนสรุปความได้ว่า แผนการ

สอน หมายถึง แผนการหรือกิจกรรมท่จี ดั ขน้ึ เปน็ ลายลักษณ์อกั ษร เพื่อใช้ในการปฏบิ ตั กิ ารสอนรายวิชาใด

วิชาหนง่ึ เปน็ การเตรียมการสอนอย่างมีระบบและเป็นเครื่องมือให้ครูพัฒนาการเรยี นการสอนไปส่จู ุดประสงค์
การเรยี นรู้ และจุดมุ่งหมายของหลกั สตู รได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ซงึ่ สอดคล้องกับ นาตยา ภทั รแสงไชย
(2523 : 11) ท่ีกล่าวไว้ว่า แผนการสอน หมายถึง กระบวนการวางแผนอยา่ งเป็นระบบ ข้นั ตอน เพื่อเปน็
แนวทางในการตรวจสอบปัญหา ความตอ้ งการทางการสอน

โดยนัยข้างต้นจึงอาจสรุปได้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้คือ กิจกรรมหรือประสบการณ์ที่ต้องการให้
เกิดกับผู้เรียน โดยผู้สอนจัดทาไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และจัดทาอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอนเพื่อเป็น
แนวทางพัฒนาผ้เู รยี นให้บรรลุตามจดุ มุ่งหมายของหลักสตู รอย่างมีประสิทธภิ าพ

วัฒนาพร ระงับทุกข์ ( 2542 : 2 ) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของแผนการสอนสรุปได้วา่ แผนการสอนมี
ความสาคัญ ความจาเป็นและมีประโยชน์อย่างย่ิงต่อการจัดการเรียนการสอนล่วงหน้า โดยศึกษาหาความรู้
และนาเทคนิควิธีสอน เทคนิคการเรียนการสอน การใช้ส่ือมาผสมผสานและประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมและ
สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและความแตกต่างของผู้เรียน ซ่ึงจะทาให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ
ของแต่ละคน อกี ทัง้ มคี วามสุขกบั การเรยี น นอกจากนแี้ ผนการสอนยังเปน็ คมู่ ือสาหรบั ครทู จ่ี ะไปสอนแทน

6. ควำมหมำย ประเภท และประโยชน์ของสอ่ื กำรเรยี นกำรสอน

วัฒนาพร ระงบั ทุกข์ (2542 : 117– 18 ) กลา่ วว่า สื่อการเรียนการสอนหมายถงึ สิ่งที่เปน็ พาหะ
หรอื ส่ือที่ชว่ ยให้ผู้เรียนสามารถพฒั นาความรู้ ทกั ษะ และเจตคติใหบ้ รรลผุ ลตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นการสอน
และตามจุดประสงค์ของหลกั สตู รได้ดยี ิ่งขึ้น เร็วยิ่งขึ้น ส่ือแตล่ ะประเภทจะมีประสิทธิผลใหผ้ เู้ รียนรู้สามารถ
เรียนรใู้ นระดับท่ีแตกต่างกัน ผู้สอนจงึ ควรเลือกส่ือให้สอดคลอ้ งเหมาะสมกบั กจิ กรรมการเรียนการสอน
ความสนใจและวิธีการเรียนของผู้เรยี นตลอดจนประสทิ ธผิ ลต่อการเรยี นรูข้ องผู้เรียน ซึง่ ส่อื การเรยี นการสอน
สามารถแบง่ ออกเป็น 4 ประเภทคือ

1) ประเภทวสั ดไุ ด้แก่ ชอลก์ สี แผ่นภาพ แผนภมู ิ ภาพถ่าย สไลด์ แถบบนั ทึกสียง
แถบบนั ทึกภาพ และเสยี ง เป็นตน้

2) ประเภทอุปกรณ์ ไดแ้ ก่ เคร่อื งฉายขา้ มศีรษะ เคร่ืองฉายภาพยนตร์ กลอ้ งถ่ายรูป วทิ ยุ
โทรทัศน์ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

3) ประเภทส่ิงพิมพ์ ได้แก่ เอกสารตาราเรยี น แบบเรียน แบบฝึกหัด ใบความรู้
ชุดการเรียน วารสาร หนังสือพิมพ์

4) ประเภทเทคนคิ วิธี ไดแ้ ก่ วธิ ีการสอนแบบตา่ ง ๆ

ชัยฤทธ์ิ ศิลาเดช ( 2544 : 126 ) กล่าววา่ สอ่ื การเรยี นการสอนคอื เคร่ืองมอื วัสดุ อุปกรณต์ า่ งๆ
ทช่ี ว่ ยให้การเรยี นการสอนบรรลจุ ดุ ประสงคไ์ ด้ง่ายและรวดเรว็ ครผู ู้สอนต้องเลอื กใช้สื่อใหเ้ หมาะสมกับการ
จัดการเรยี นการสอน สอดคล้องกบั เนื้อหา เหมาะสมกับผเู้ รยี น มีความทนั สมัยและเรา้ ใจผเู้ รียนได้อย่าง
เหมาะสม

ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ ( 2520 : 96 ) กล่าวว่า สอื่ การสอนแบ่งเป็น 3 ประเภทคือ วสั ดุ หมายถึง สงิ่ ท่ี
มีการผพุ งั สน้ิ เปลอื ง อปุ กรณ์ หมายถงึ สง่ิ ช่วยสอนทีค่ งสภาพ ไม่เปลี่ยนรูปทรง การทดลองและกิจกรรม
ตา่ ง ๆ ซงึ่ สอดคล้องกบั ศิริพงษ์ พยอมแยม้ (2553 : 70-71) ทส่ี รปุ เกย่ี วกับประเภทของสื่อการเรียนการ
สอนมี 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ

1) เคร่อื งมือหรืออุปกรณ์ จัดเป็นสอื่ ใหญ่ ได้แก่ เคร่ืองฉายตา่ งๆ เครือ่ งขยายเสียง
2) วัสดจุ ัดเป็นสอ่ื เล็ก ไดแ้ ก่ เทปเสยี ง ภาพทัศน์ แผน่ โปรง่ ใส รูปถ่าย หุ่นจาลอง
3) เทคนิคหรือวธิ ีการ เป็นการสอ่ื ความหมาย หรือจัดประสบการณ์ใหผ้ ้เู รียนโดยเน้นการถา่ ยทอด
ความรมู้ ากกวา่ วสั ดุ
สมพร จารุนัฎ (2540 : 2,10) กล่าวว่า สอื่ การเรียนการสอน หมายถงึ สื่อทีน่ าเสนอส่ิงเร้าซ่งึ มี
หลายรปู แบบและหลายประเภท เช่น หนังสอื ภาพยนตร์ เทปเสยี ง การสง่ และการนาเสนอสิง่ เรา้ ประเภท
ต่างๆ ต้องใชส้ ่ือรูปแบบใดรูปแบบหนึง่ เสมอ อาทิ หนังสือ คอื สือ่ ทนี่ าเสนอสิ่งเร้าคอื ตวั หนงั สอื และรปู ภาพ
ส่อื การเรียนการสอนมีประโยชนต์ อ่ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ท้งั น้สี ื่อจะต้องดึงดดู ความสนใจของ
นักเรยี น เตือนให้ระลึกถึงส่ิงที่เรียนไปแลว้ นาเสนอสาระทต่ี อ้ งเรียนรใู้ หม่ กระตนุ้ ใหเ้ รียนตอบสนองให้
ขอ้ มูลย้อนกลบั อยา่ งรวดเรว็ และส่งเสรมิ การฝึกหดั อย่างเหมาะสม
นอกจากนี้ สุริยนต์ พนั ธุ์โอกาส (ม.ป.ป : 33) กลา่ ววา่ ประโยชนข์ องส่ือการสอน คอื ชว่ ยให้
บทเรยี นนา่ สนใจ ลดบทบาทของครูจากผสู้ อนมาเป็นผ้แู นะนา ส่ือการเรยี นการสอนชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเกดิ
ความคดิ กวา้ งไกล และลดความแตกต่างระหวา่ งบุคคล จึงสรปุ ไดว้ ่า สอ่ื การสอน คอื บุคคล วสั ดุ อุปกรณ์
และกจิ กรรมตา่ งๆ ที่นาความรู้ ทกั ษะ เจตคติจากผ้สู อนไปยังผ้เู รยี น เพื่อช่วยใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้อยา่ ง
มีประสทิ ธิภาพและบรรลวุ ัตถุประสงค์ สือ่ การเรียนการสอนสามารถจาแนกได้หลายประเภท เชน่ ประเภท
เครื่องมือหรืออปุ กรณ์ ประเภทวัสดุ ประเภทสงิ่ พิมพ์ ตลอดจนประเภทเทคนิคและวธิ ีการ ส่วนประโยชน์
ของส่ือการเรยี นการสอน คือ ชว่ ยดงึ ดดู ความสนใจของผู้เรียน ช่วยให้บทเรยี นมีความนา่ สนใจ ลดบทบาท
ของครผู ูส้ อน และช่วยใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ การเรียนรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

7. หลักกำรและแนวคดิ เกีย่ วกบั กำรวัดผลประเมินผล
7.1 กำรวัดและประเมนิ ผลทสี่ อดคล้องกบั กำรเรยี นกำรสอนทเี่ น้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั
วฒั นาพร ระงับทกุ ข์ (2542 : 53) กลา่ วว่า วิธกี ารวดั และประเมนิ ผลท่ยี อมรับกนั วา่ สอดคล้องกับ

แนวทางการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ คือ การประเมนิ ตามสภาพจริง เพราะเปน็ วธิ ที ี่
สามารถคน้ หาความสามารถและความก้าวหน้าทางการเรียนรู้ทแี่ ท้จรงิ ของผู้เรยี น และยังเปน็ ขอ้ มูลสาคัญท่ี
สามารถนาไปประกอบการตดั สินผลการเรียนของผู้เรยี นไดเ้ ปน็ อย่างดี สอดคล้องกับ ชยั ฤทธ์ิ ศิลาเดช
(2544 : 71) ท่ีกล่าววา่ การจัดการศึกษาต้องพัฒนาคนให้เกิดความรู้ ทกั ษะ และคุณลักษณะด้านการสื่อสาร
การใชเ้ ทคโนโลยีสมยั ใหม่ การคดิ อย่างสรา้ งสรรคแ์ ละสามารถแก้ไขปญั หาท่ีซบั ซ้อนได้ ตลอดจนปรบั ตวั ให้
ทนั กบั โลกยคุ โลกาภวิ ัฒน์ ทงั้ น้ี ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นต้องมาจากการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ทีม่ ี
ประสิทธภิ าพ เป็นกจิ กรรมที่เน้นการปฏิบัติจรงิ การรว่ มมือกันทางาน การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ
แก้ปญั หา รวมท้ังทักษะและคุณลักษณะอื่นๆ ทจี่ าเป็นตอ่ การพัฒนาอีกมากมาย ด้วยเหตดุ ังกลา่ ว ในการ
จดั การเรยี นการสอนจงึ จาเป็นตอ้ งผสมผสานกนั ระหว่างหลักสตู ร การสอนและการวดั ประเมินผล ทัง้ น้ี
เพื่อให้ผลสมั ฤทธทิ์ เ่ี กิดแก่นักเรยี นเปน็ ผลสมั ฤทธิ์ท่ีตรงกบั สภาพความเปน็ จริง

โดยนยั ข้างตน้ สมศักด์ิ สนิ ธรุ ะเวชญ์ (2542 : 59) กล่าววา่ ในการประเมินผลการเรยี นรู้ของ
ผเู้ รียนตอ้ งประเมนิ ตามผลการเรยี นรู้ การประเมนิ ต้องมีข้ันตอนทีช่ ัดเจน เมื่อใดจะใช้การประเมินแบบไหน
ต้องให้ผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในการประเมนิ และต้องใหข้ ้อมูลย้อนกลบั แกผ่ ู้เรยี นจึงจะนาไปสู่การพัฒนา
ความก้าวหนา้ ของผ้เู รยี น ซึง่ วิธกี ารประเมนิ ผลสามารถใชไ้ ดห้ ลากหลายวิธี อาทิ การประเมินตนเอง การ
ประเมินโดยใชแ้ ฟม้ สะสมงาน การประเมนิ กลุ่ม การประเมินโดยกลมุ่ เพื่อน การสงั เกต การสมั ภาษณ์ การ
เขยี นรายงาน ตลอดจนการประเมนิ ตามสภาพจรงิ เปน็ ต้น

จงึ อาจสรปุ ไดว้ า่ การวดั และประเมนิ ผลท่สี อดคล้องกบั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั คือ
การประเมนิ ผลท่ีไม่ไดแ้ ยกออกจากการเรียนการสอนเนน้ การประเมนิ ที่ทาใหท้ ราบความรู้ความสามารถที่
แท้จริงของผู้เรยี นเพื่อนาไปใช้ในการพฒั นาการเรยี นการสอน ซึง่ สามารถเลอื กใชว้ ิธีการประเมนิ ได้
หลากหลาย เพื่อใหส้ อดคล้องกับสภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ท้ังน้ีอาจเลือกใช้วิธีการประเมนิ โดย
การสังเกต การสมั ภาษณ์ การเขยี นรายงาน การประเมินกลมุ่ หรือการประเมินตามสภาพจริง เป็นต้น

7.2 กำรวดั และประเมนิ ผลกลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้คณติ ศำสตร์
การประเมินผลการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ เป็นกระบวนการท่ชี ว่ ยใหไ้ ด้ข้อมลู

สารสนเทศซึง่ แสดงถงึ พฒั นาการและความกา้ วหน้าในการเรยี นรู้ด้านตา่ ง ๆ คอื

- ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั จานวนและการดาเนินการ การวดั เรขาคณติ พชี คณติ
การวเิ คราะหข์ ้อมูลและความน่าจะเปน็ รวมทงั้ การนาความรูด้ งั กลา่ วไปประยุกต์

- ทกั ษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ซ่งึ ประกอบดว้ ยความสามารถในการแก้ปญั หา
การให้เหตุผล การส่ือสาร การสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์ การนาเสนอ การเชอ่ื มโยง
และการมีความคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์

- คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม อันได้แก่ เจตคติท่ีดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ตระหนักในคุณค่า
ของคณิตศาสตร์ ฝึกการทางานที่เป็นระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ
มีวจิ ารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเองข้อมูลสารสนเทศเหล่าน้สี ่งเสริมให้ผู้สอนและผู้เรียน
ทราบจุดเด่น จดุ ดอ้ ย ดา้ นการสอนและการเรยี นรู้ และเกิดแรงจูงใจทีจ่ ะพัฒนาตน

บทท่ี 3

วิธีกำรดำเนินงำน

1. วธิ ีกำรดำเนินงำน
 แนวทางการปฏิบัติกิจกรรมการสรา้ งชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (PLC)
1. แบง่ กลมุ่ ยอ่ ย ตามความเหมาะสม
2. ใหแ้ ตล่ ะกลุม่ คดิ แนวทางแก้ไขปัญหา 1 เรอื่ งจากประเด็นต่อไปน้ี
2.1 ปญั หาการเรยี นร้ขู องนักเรยี น 1 เรอื่ ง/กลุม่
2.2 ปัญหาดา้ นการจดั การเรียนการสอนของครู หรอื เทคนคิ วิธกี ารสอนทค่ี รูควรพัฒนา 1
เร่ือง/กลุ่ม
3. จัดทาโครงการ/กจิ กรรม การสรา้ งชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี (PLC)

 กระบวนกำรของ PLC
ขั้นตอนที่ 1 Community สรา้ งทีมครู
ขน้ั ตอนท่ี 2 Practice จดั การเรียนรู้ เช่นการวิเคราะห์หนว่ ยการเรียนรู้ รว่ มกนั ออกแบบกจิ กรรมการ
เรียนรู้ในการจัดทาแผนการเรียนรู้ เพ่ือแก้ปัญหา หรือพัฒนา และนาสู่การปฏิบัติ โดยมีการเปิดห้องเรียน
เพือ่ การสงั เกตการณ์สอน

เครอ่ื งมอื ในการประเมนิ
- แบบสังเกตการณ์จัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
ข้ันตอนท่ี 3 Reflection สะท้อนคดิ เพื่อการพฒั นาการปฏิบตั ิ
ขั้นตอนที่ 4 Evaluation ประเมนิ เพ่อื พัฒนาสมรรถนะครู
ขั้นตอนที่ 5 Network Development สรา้ งเครอื ข่ายการพัฒนา

 บทบำทหน้ำทขี่ องสมำชิกกลมุ่ ตำมกระบวนกำร PLC
- Model Teacher หมายถึง ครูผรู้ ับการนิเทศ หรอื ครูผสู้ อน
- Buddy Teacher หมายถึง ครคู นู่ ิเทศ หรอื ครรู ่วมเรียนรู้
- Mentor หมายถงึ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
- Expert หมายถึง ผู้เชี่ยวชาญ เชน่ ครู คศ.3 นกั วิชาการ อาจารยม์ หาวทิ ยาลัย ศึกษานิเทศก์
- Administrator หมายถงึ ผูบ้ ริหารโรงเรยี น
- Recorder หมายถึง ผู้บนั ทกึ รายงานการประชมุ

2. กลุม่ เป้ำหมำย
นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชปู ถัมภ์

3. เครอื่ งมือที่ใช้
- แบบฝกึ ทักษะการแยกตัวประกอบพหนุ ามดีกรสี อง
- เกม
- แบบสงั เกตการณ์จัดกจิ กรรมการเรียนการสอน

4. วัน เวลำ สถำนที่ ในกำรดำเนินงำน
ระยะเวลำ : ตัง้ แต่ วนั ที่ 28 สงิ หาคม พ.ศ. 2561 – 19 กนั ยายน พ.ศ. 2561
สถำนที่ : โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

บทท่ี 4

ผลกำรดำเนนิ งำน

4.1 ผลกำรดำเนนิ งำน
1) ผลลัพธท์ ่ีเกิดจำกกระบวนกำร
1) มีองคค์ วามรู้ นวตั กรรม และประเด็นความรู้ท่ีนา่ สนใจ ทเี่ กิดขน้ึ จากการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ของ

สมาชิกเครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนาไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้
อย่างเป็นรปู ธรรม (สมาชกิ เครือขา่ ยมกี ารนาไปใช้ได้อยา่ งชดั เจน)

2) มรี อ่ งรอยการรายงานผลการนาองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ทน่ี ่าสนใจ ที่เกดิ ข้ึน
ของสมาชกิ เครอื ขา่ ยไปใชต้ ลอดระยะที่ดาเนินโครงการทุกครั้งที่มีการแลกเปลี่ยนเรียนร้โู ดยสมาชกิ ทุกคน

3) ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนาผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มา
อภิปรายเพ่อื แลกเปลี่ยนความคดิ โดยมคี รูผสู้ อนหลกั เป็นผสู้ ะท้อนความคิดเก่ียวกบั ความสาเรจ็ จุดเด่นและจุด
ทต่ี อ้ งพัฒนาในการจัดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

2) ผลลพั ธท์ เี่ กิดกบั ผูเ้ รยี น / ครู / สมำชกิ ท่เี ขำ้ ร่วมเครือขำ่ ย PLC
1) ผเู้ รียนได้การเรียนรู้ตามเปา้ หมาย และวตั ถุประสงค์ท่ีกาหนดไวท้ ุกประการ และมีความชัดเจน

ทั้งเชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ
2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น และทาให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเกิดคุณลักษณะอย่าง

ชดั เจน
3) ผู้สอนได้รับความรู้และประสบการณ์ ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาแผนการ

จัดการเรียนรู้ และผูส้ อนไดร้ บั นวัตกรรมและเร่ิมวางแผนจดั ทาวิจยั ปฏิบตั กิ ารในชนั้ เรียน
4) ผู้สอนสามารถนาความรู้และประสบการณ์ท่ีได้รบั จากการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้

ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ และสามารถนาวัตกรรมการเรียนรู้ท่ีได้รับจากการทาวจิ ัยปฏิบัติการใน
ช้นั เรยี นไปใช้พัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรียนรู้

3) คณุ ค่ำท่เี กดิ ตอ่ วงกำรศกึ ษำ
1) มีเครือข่ายทช่ี ดั เจน และการขยายเครือข่ายแลว้ และมคี วามชัดเจน เป็นรูปธรรมและมีแนวโนม้

การเกิดเครือขา่ ยเพิ่มขน้ึ
2) การร่วมกันรับผดิ ชอบตอ่ การเรยี นรขู้ องนักเรยี น ใหผ้ ลการเรียนรทู้ ่ตี อ้ งการให้เกิดขนึ้ ในตัว

นกั เรียน โดยครูท่เี ป็นสมาชิกในชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ทุกคนวางเปา้ หมายรว่ มกัน

4.2 ร่องรอย/หลักฐำน
1) แผนการจัดการเรียนรู้ พร้อมบนั ทึกหลงั การสอน
2) ภาพการพดู คยุ ปรึกษากบั สมาชกิ กลุม่ PLC
3) ภาพกจิ กรรมการเรยี นการสอน

4) แบบสงั เกตการณ์จัดกจิ กรรมการเรียนการสอน
5) ภาพการนิเทศการสอน

4.3 บทเรียนทีไ่ ดจ้ ำกกำรดำเนนิ งำน
ครผู ู้สอนไดเ้ ลง็ เห็นถึงปัญหาทหี่ ลากหลายในห้องเรยี น และพฤติกรรมของนักเรียนที่แตกต่างกันในแต่

ละบคุ คล รวมไปถงึ เรยี นร้ทู ีจ่ ะหาแนวทางในการแกป้ ัญหาในสถานการณท์ ่ีแตกต่างกันผา่ นการอภปิ รายร่วมกัน
กบั เพ่ือนครูและนกั เรยี น

ชุมชนการเรยี นรู้วชิ าชีพ (Professional Learning Community) เป็นกระบวนการที่มีประโยชนแ์ ละ
คุ้มคา่ สะทอ้ นผลเชิงวชิ าชีพ โดยการพดู คยุ สนทนากันระหว่างสมาชกิ ในชมุ ชนการเรยี นรู้ ที่จะก่อให้เกดิ ผล
ทางบวกต่อการเรียนการสอนและคุณภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษา หรอื ชว่ ยพัฒนาการจดั การเรียนรู้
และสง่ ผลใหน้ กั เรยี นมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสงู ขึ้น

บทที่ 5

สรุปผล ปญั หำอุปสรรค และข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปผลกำรดำเนนิ งำน
 ประเดน็ ด้ำนผเู้ รียน
- พฤติกรรมของนักเรียนที่มีปัญหาเปลี่ยนไปในทางท่ีดีข้ึนตามข้อตกลงท่ีตั้งไว้ นักเรียนมีคะแนน

เฉล่ียผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน และมีส่วนร่วมในช้ันเรียนมากข้ึน ซ่ึงดูผลได้จากหลักฐานผลงานต่างๆ ท่ี
แสดงถงึ ด้านความรู้ ความเขา้ ใจ กระบวนการคิด กระบวนการเรยี นรู้ และผลการเรยี นต่างๆ ของนักเรียน

- ส่งเสรมิ ให้นกั เรียนเกิดการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมคี ุณภาพ
- นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เรียนอย่างมีความสุขและมีปฏิสัมพันธ์
ระหว่างครูกบั นักเรียน และนกั เรียนกบั นักเรียนดว้ ยกันเองเพ่ิมมากขน้ึ
- นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์หลายประการ เช่น ได้พูดคุย ถกเถียง อย่างมีเหตุผล และยอมรับ
ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อื่นมากข้ึน
 ประเด็นด้ำนกจิ กรรม
- ลักษณะ ความเหมาะสม ประสิทธิภาพของกิจกรรม ข้ันตอนของกระบวนการเรียนการสอน
วธิ กี ารสอน เทคนคิ การสอนต่างๆ มปี ระสทิ ธภิ าพ
- ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชใ้ บความรู้ แบบฝึกทักษะ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลัง
เรียน เป็นลักษณะการเรียนรู้โดยใชก้ ิจกรรมท่หี ลากหลายและบรู ณาการกับเน้อื หาอืน่
- กิจกรรมมีความเหมาะสม สอดคล้องกับจุดประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ และการวัดและ
ประเมินผล
- การบริหารจดั การชน้ั เรยี น การจัดชนั้ เรยี น วธิ ีการคุมชนั้ เรยี น หรอื การจดั กล่มุ เพ่ือทากจิ กรรม
- ครูและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทาให้บรรยากาศการเรียนสอนดาเนินไปโดย
เน้นผูเ้ รียนเป็นศนู ย์กลางการเรยี นรู้
- กิจกรรมการเรียนรู้นาไปสู่การพัฒนาความสามารถของผู้เรียน โดยผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วย
ตนเองและสามารถสอนผอู้ ื่นหรือชว่ ยเหลือเพ่อื นได้ เป็นการใชท้ ักษะการเรียนร้ขู น้ั สงู ตามพรี ะมดิ การเรียนรู้
- การกาหนดเวลาและโครงสรา้ งเหมาะสมกับเนื้อหา บทเรียน ระดับความสามารถของผู้เรียน
 ประเดน็ ดำ้ นครู
- ครมู กี ารใช้คาถาม คาสงั่ คาอธิบาย หรอื การใช้สอื่
- ครมู กี ารเรยี งลาดับขนั้ ตอนการนาเสนอประเด็นคาถาม คาสัง่ หรอื คาอธบิ าย
- ครูจะทาหน้าเป็นผู้อานวยท่ีคอยให้ความช่วยเหลือ คาปรึกษา และดึงศักยภาพของผู้เรียนให้
สามารถเรียนรู้ไดด้ ้วยตนเอง สร้างแรงจูงใจและแรงบันดาลใจในการเรยี น

 ประเดน็ สือ่ กำรสอน
- แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ใบความรู้ แบบฝึกทักษะ มีความถูกต้อง เหมาะสม มี
ประสิทธิภาพ (ดา้ นคณุ ภาพ)
- สือ่ มีความเพยี งพอ เหมาะสม (ด้านปริมาณ)
- นักเรียนทุกคนได้ร่วมกิจกรรมเกมการแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว ผู้เรียนเกิด
การเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมเป็นไปตามทค่ี รูต้องการให้เกดิ ข้นึ ในตัวผเู้ รยี น
 ประเดน็ ด้ำนบรรยำกำศ
- สภาพแวดล้อมของชั้นเรียน หรือสถานที่เรียนมีผลต่อประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอน
และการเรยี นรู้ของผ้เู รยี น
- การยอมรับความคดิ เหน็ คาถาม และการชว่ ยเหลอื ของผูเ้ รียน
- บทเรยี นสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนสร้างความคดิ คาถาม ข้อคาดเดา และ/หรอื ขอ้ เสนอ

5.2 สง่ิ ท่ีจะดำเนินกำรต่อไป
การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทางเป็นการสร้างแรงจูงใจในการเรียน ความอยากรู้อยากเห็น

และความสนใจในการเรียนเป็นไปได้โดยง่าย ท้ังยังส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการ
เรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับแนวคิดหน่ึงในทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 (21st century skills) จึง
ต้องการเผยแพร่เทคนิคในการดูแลและบรหิ ารชน้ั เรยี นให้กบั เพื่อนครใู นชน้ั เรียนอ่ืนๆ และผทู้ ีส่ นใจต่อไป

5.3 ปัญหำ /อุปสรรค
การพบปะพดู คุยระหว่างครผู ู้สอนประจาวชิ าไม่ค่อยต่อเนื่องเทา่ ท่ีควร เนื่องดว้ ยคาบสอนตรงกนั และ

ในบางครัง้ ครผู ู้สอนมีภาระนอกเหนืองานสอนมาก จงึ ไม่สะดวกในการแลกเปลีย่ นเรียนรู้

5.4 ขอ้ เสนอแนะ
ควรมเี ครือข่ายออนไลน์เป็นส่ือกลางในการตดิ ต่อแลกเปล่ยี นประสบการณ์ระหวา่ งครูท่ที างานร่วมกัน

เช่น กลุ่ม Line หรือ Facebook และการเพิ่มชั่วโมงแลกเปล่ียนเรียนรู้ในแต่ละระดับช้ันนอกเหนือจากช่ัวโมง
แลกเปลี่ยนเรยี นรูท้ ท่ี างวชิ าการจัดให้ในแต่ละกลุม่ สาระฯ

ภำคผนวก

ภำพกำรประชมุ พูดคุย ปรกึ ษำกบั สมำชิกในกลมุ่

วันองั คำรที่ 28 เดือนสงิ หำคม พ.ศ. 2561
ขน้ั ศึกษาปัญหา (S) ประชมุ ทาความเข้าใจเกี่ยวกับชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ โดยรองกมั พล โพธ์ิ

ระดก รองผูอ้ านวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ เปน็ ประธานในการประชมุ เพ่อื เป็นการเปดิ กลมุ่ ชมุ ชนการเรยี นรู้
ทางวิชาชพี (PLC) กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ กาหนดบทบาทหนา้ ท่ีของครู พร้อมทั้งศึกษาปัญหา และ
ความตอ้ งการของผู้เรยี น

วนั องั คำรที่ 4 เดือนกันยำยน พ.ศ. 2561
ขนั้ ศึกษาปัญหา (S) คัดเลอื กปญั หาที่ต้องการแกไ้ ข และพัฒนา โดยครสู ุรพศ กิจนิธธิ าดา บทบาท

Model Teacher แกป้ ญั หาการแยกตวั ประกอบพหนุ ามดกี รี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4และครจู ริ ศภุ า อินทสะอาด บทบาท
Model Teacher แก้ปัญหาการบวก ลบ จานวนเต็ม ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 โดยครูในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
คณิตศาสตร์ท่านอื่นเปน็ Buddy

วนั พธุ ที่ 5 เดือนกันยำยน พ.ศ. 2561
ขัน้ วางแผน (P) สมาชกิ ในกลุ่มชว่ ยกนั ออกแบบแผนการจัดการเรยี นรู้ ส่อื /นวตั กรรม โดยครสู รุ พศ

กิจนธิ ธิ าดา บทบาท Model Teacher แกป้ ญั หาการแยกตัวประกอบพหุนามดกี รี ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 และ
ครจู ริ ศุภา อนิ ทสะอาด บทบาท Model Teacher แกป้ ัญหาการบวก ลบ จานวนเตม็ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1
โดยครูในกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ท่านอนื่ เป็น Buddy

วนั พฤหสั บดีที่ 6 เดือนกันยำยน พ.ศ. 2561
ขัน้ วางแผน (P) สมาชิกในกลมุ่ ช่วยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง และความสมบรู ณ์ของแผนการจัดการ

เรยี นรู้ โดยครสู รุ พศ กิจนิธธิ าดา บทบาท Model Teacher แก้ปญั หาการแยกตวั ประกอบพหนุ ามดีกรี ชน้ั
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 และครจู ิรศุภา อินทสะอาด บทบาท Model Teacher แก้ปญั หาการบวก ลบ จานวนเตม็
ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 โดยครใู นกลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ท่านอ่ืนเปน็ Buddy และมคี รูมนสั พทุ ธคุณ
บทบาท Expert เป็นผู้เช่ียวชาญในการตรวจสอบเคร่อื งมอื ทใี่ ช้

วนั จันทรท์ ่ี 17 เดอื นกนั ยำยน พ.ศ. 2561
ข้นั ดาเนินกจิ กรรม (O) สมาชกิ ในกล่มุ ช่วยกนั สงั เกตและพัฒนา การสอนครง้ั ท่ี 2 เรื่องการแยกตัว

ประกอบพหนุ ามดกี รีสอง ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 ซึง่ ได้รับการสะทอ้ นผลการปฏิบตั ิ และได้รับการปรับปรุง
มาแลว้ โดยครูสรุ พศ กจิ นธิ ิธาดา บทบาท Model Teacher โดยครูในกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ท่าน
อนื่ เปน็ Buddy และชว่ ยกนั เกบ็ ข้อมูลสังเกตการณส์ อนในครงั้ น้ี

วันพธุ ที่ 19 เดือนกนั ยำยน พ.ศ. 2561
ข้ัน การพัฒนาและปรบั ปรงุ (R2) สมาชิกในกลุ่มชว่ ยกันสะท้อนผลการปฏบิ ัติ แลกเปล่ียนเรียนรูแ้ ละ

พัฒนา การสอนคร้งั ท่ี 2 เร่อื งการแยกตวั ประกอบพหนุ ามดีกรีสอง ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ซงึ่ ไดร้ ับการสะท้อน
ผลการปฏิบตั ิ และไดร้ บั การปรบั ปรุงมาแล้ว โดยครูสรุ พศ กจิ นิธธิ าดา บทบาท Model Teacher โดยครใู น
กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตรท์ ่านอื่นเป็น Buddy และช่วยกนั สะท้อนผลการปฏิบัติคร้ังน้ี รวมถงึ การสรปุ
การจดั กิจกรรมชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC) พร้อมท้ังหา Model Teacher ในการพฒั นาผ้เู รียนตอ่ ไป


Click to View FlipBook Version