The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sngsngf, 2022-05-23 20:41:04

รวมเล่ม หนังสือรายงานสรุปผลฯ โครงการพัฒนา

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 43
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564



ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งของชุมชน


















เปนยทธศาสตรทเนนการสงเสรมชมชนใหมความเขมแขง พงพาตนเองภายใตบรบท


ของชุมชนโดยน้อมนำาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติในระดับชุมชน โดย
กระบวนการการมีส่วนร่วมระหว่างชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีแนวทาง
การปฏิบัติงาน ดังนี้
การนำาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติในระดับชุมชน
พัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนและกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชนไปสู่สถาบันเกษตรกรและ
วิสาหกิจชุมชน
ส่งเสริมการพัฒนามาตรฐานขององค์กรชุมชนในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งมาตรฐานสหกรณ์
มาตรฐานด้านการท่องเที่ยว รวมถึงมาตรฐานหมู่บ้านปลอดยาเสพติด
พัฒนายุวเกษตรกรโครงการหลวง เพื่อเป็นเกษตรกรและเพื่อนร่วมงานที่ดีในอนาคต
ส่งเสริมการพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
แผนงานที่ 2.1
การน้อมนำาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการดำาเนินชีวิต

โครงการหลักที่ 14
ส่งเสริมการน้อมนำาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติ

1) โครงการส่งเสริมการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง


ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
กิจกรรมที่ดำาเนินการ

โครงการส่งเสริมการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ดำาเนินการในพื้นที่
จังหวัดเชียงใหม่ จำานวน 9 แห่ง ผลการดำาเนินการจำานวน 10 แห่ง


กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล
ส่งเสริมการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ แห่ง 9 10
ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง

สนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำาศูนย์เรียนรู้ ตัว - 2,000
ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
44
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564


ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
กิจกรรมที่ดำาเนินการ
โครงการส่งเสริมการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ดำาเนินการในพื้นที่

จังหวัดเชียงใหม่ จำานวน 9 แห่ง ผลการดำาเนินการจำานวน 10 แห่ง

กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล

ส่งเสริมการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ แห่ง 9 10
ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
สนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำาศูนย์เรียนรู้ ตัว - 7,100
ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง



ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
กิจกรรมที่ดำาเนินการ
โครงการส่งเสริมการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ดำาเนินการในพื้นที่

จังหวัดเชียงใหม่ จำานวน 9 แห่ง

กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล

ส่งเสริมการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ แห่ง 9 9
ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
สนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำาศูนย์เรียนรู้ ตัว - -

ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 45
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564











































































ภาพกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
46
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564


ยุทธศาสตร์ที่ 3 การฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม





เป็นยุทธศาสตร์ที่เน้นการสนับสนุนการฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าต้นน้ำาลำาธารส่งเสริม
การปลูกป่าชาวบ้านไว้ใช้สอยในครัวเรือน ฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน ปรับเปลี่ยน












ระบบการปลกพชทดแทนการปลกขาวโพดและการควบคมการใชประโยชนทดนใหเหมาะสม
กับแผนการใช้ที่ดิน รวมทั้งการส่งเสริมและการจัดการระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
ในชุมชนภายใต้การมีส่วนร่วมการดำาเนินงานของภาคเอกชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โดยมีแนวทางการปฏิบัติงาน ดังนี้
ปรับเปลี่ยนระบบการปลูกพืชทดแทนการปลูกข้าวโพด เช่น การนำาระบบการปลูก
ข้าวโพดเหลื่อมถั่วเพื่อลดการเผาตอซัง ลดปัญหาหมอกควัน













ฟนฟความอดมสมบรณของดน อนรกษดนและนา โดยกระบวนการมสวนรวมของชมชน




พร้อมทั้งสนับสนุนระบบกักเก็บน้ำาในระดับไร่นา และการประหยัดการใช้น้ำา


การสงเสรมและพฒนาชมชนโครงการหลวงเพอเปนตนแบบชมชนบนพนทสงคารบอนตา















และพัฒนาระบบการจัดการของเสียในชุมชน


สงเสรมการปลกปาชาวบานของเกษตรกรเพอรองรบการใชสอยในครวเรอน ประกอบดวย










ไม้โตเร็วชนิดต่าง ๆ


การสงเสรมและรณรงคการฟนฟอนรกษปาตนนาลาธารโดยกระบวนการมสวนรวมของ















ทุกภาคส่วน และการควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดิน
แผนงานที่ 3.2
การฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าต้นน้ำาลำาธารและความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการหลักที่ 32
พัฒนาฟื้นฟูแหล่งอาหารและความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชนบนพื้นที่สูง
1) โครงการฟื้นฟูแหล่งอาหารและความหลากหลายของทรัพยากรประมง

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 47
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564



ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
กิจกรรมที่ดำาเนินการ
1. ผลิตสัตว์น้ำาและปล่อยฟื้นฟูแหล่งน้ำา ดำาเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย

ลำาพูน แม่ฮ่องสอน พะเยา และตาก























2. คดเลอกแหลงนาธรรมชาตและปลอยพนธสตวนา ดาเนนการในพนทจงหวดเชยงใหม ่
เชียงราย ลำาพูน แม่ฮ่องสอน พะเยา และตาก



3. สารวจทรพยากรประมงในแหลงนา ดาเนนการในพนทจงหวดเชยงใหม แมฮองสอน














และพะเยา
กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล
ผลิตสัตว์น้ำาและปล่อยฟื้นฟูแหล่งน้ำา ตัว 490,000 532,000
คัดเลือกแหล่งน้ำาเพื่อปล่อยสัตว์น้ำา แห่ง 20 22
สำารวจทรัพยากรประมงในแหล่งน้ำา ครั้ง 11 11
ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
กิจกรรมที่ดำาเนินการ
1. ผลิตสัตว์น้ำาและปล่อยฟื้นฟูแหล่งน้ำา ดำาเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย
ลำาพูน แม่ฮ่องสอน พะเยา และตาก











2. คดเลอกแหลงนาธรรมชาตและปลอยพนธสตวนา ดาเนนการในพนทจงหวดเชยงใหม ่












เชียงราย ลำาพูน แม่ฮ่องสอน พะเยา และตาก








3. สารวจทรพยากรประมงในแหลงนา ดาเนนการในพนทจงหวดเชยงใหม แมฮองสอน









และพะเยา
กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล
ผลิตสัตว์น้ำาและปล่อยฟื้นฟูแหล่งน้ำา ตัว 440,000 512,000
คัดเลือกแหล่งน้ำาเพื่อปล่อยสัตว์น้ำา แห่ง 20 21
สำารวจทรัพยากรประมงในแหล่งน้ำา ครั้ง 11 11
ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
กิจกรรมที่ดำาเนินการ
1. ผลิตสัตว์น้ำาและปล่อยฟื้นฟูแหล่งน้ำา ดำาเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย
ลำาพูน แม่ฮ่องสอน พะเยา และตาก

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
48
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564




















2. คดเลอกแหลงนาธรรมชาตและปลอยพนธสตวนา ดาเนนการในพนทจงหวดเชยงใหม ่





เชียงราย ลำาพูน แม่ฮ่องสอน พะเยา และตาก



3. สารวจทรพยากรประมงในแหลงนา ดาเนนการในพนทจงหวดเชยงใหม แมฮองสอน














และพะเยา
กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล
ผลิตสัตว์น้ำาและปล่อยฟื้นฟูแหล่งน้ำา ตัว 440,000 450,000
คัดเลือกแหล่งน้ำาเพื่อปล่อยสัตว์น้ำา แห่ง 20 18
สำารวจทรัพยากรประมงในแหล่งน้ำา ครั้ง 14 12
หมายเหตุ : รายละเอียดผลการดำาเนินงานรายจังหวัดในภาคผนวกที่ 1






















ภาพกิจกรรมปล่อยสัตว์น้ำาเพื่อฟื้นฟูแหล่งน้ำา

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 49
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564











































































ภาพกิจกรรมการสำารวจทรัพยากรประมงในแหล่งน้ำา

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
50
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564


ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการพื้นที่สูง





เป็นยุทธศาสตร์ที่เน้นการเสริมสร้างประสิทธิภาพการพัฒนาให้ศูนย์และสถานี
โครงการหลวงเป็นศูนย์การเรียนรู้ พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ เพื่อให้เกิด

ความเข้มแข็งของกลไกการพัฒนาระดับพื้นที่และสามารถเชื่อมโยง อำานวยประโยชน์
การดำาเนินงานได้สะดวก โดยมีแนวทางการปฏิบัติงาน ดังนี้



เสริมสร้างประสิทธิภาพการพัฒนาให้ศูนย์และสถานีโครงการหลวง

พัฒนาระบบฐานข้อมูล ระบบการจัดการความรู้ และเครือข่ายการเรียนรู้ในพื้นที่
โครงการหลวง










การพฒนาระบบเพอเพมประสทธภาพการจดการทรพยากรของศนยพฒนาโครงการหลวง


การประสานงานและบูรณาการปฏิบัติงานของคณะทำางานศูนย์พัฒนาโครงการหลวง
รวมทั้งชุมชน หน่วยงานของรัฐ และภาคเอกชน
แผนงานที่ 5.1

การอานวยการประสานงานบูรณาการ และเพิ่มประสิทธิภาพการ บริหารจัดการ
โครงการหลักที่ 44
การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน
การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดำาเนินการ
ออกติดตามการใช้ทักษะองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการ
เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำา พร้อมทั้งให้คำาแนะนำาด้านการเลี้ยงสอบถามปัญหา อปสรรค

และแนวทางแก้ไขเพื่อให้การดำาเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อติดตาม

ู้
การเจริญเติบโตของสัตว์น้ำาและผลผลิตสัตว์น้ำาของผเข้าร่วมโครงการ โดยมีการ
ชั่งน้ำาหนัก และวัดความยาวตลอดระยะเวลาการเลี้ยง และมีการเก็บผลผลิต

และประเมินผลหลังการเข้าร่วมโครงการด้วยแบบประเมินผลผลิตสัตว์น้ำา
ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ


ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

กิจกรรมที่ดำาเนินการ
การติดตามผลการดำาเนินงานและให้คำาแนะนำา ดำาเนินการในพื้นจังหวัดเชียงใหม่

เชียงราย ลำาพูน แม่ฮ่องสอน พะเยา และตาก

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 51
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564


กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล

การติดตามผลการดำาเนินงาน ครั้ง 78 80
และให้คำาแนะนำา

ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
กิจกรรมที่ดำาเนินการ

การติดตามผลการดำาเนินงานและให้คำาแนะนำา ดำาเนินการในพื้นจังหวัดเชียงใหม่
เชียงราย ลำาพูน แม่ฮ่องสอน พะเยา และตาก

กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล

การติดตามผลการดำาเนินงาน ครั้ง 42 57
และให้คำาแนะนำา


ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
กิจกรรมที่ดำาเนินการ

การติดตามผลการดำาเนินงานและให้คำาแนะนำา ดำาเนินการในพื้นจังหวัดเชียงใหม่
เชียงราย ลำาพูน แม่ฮ่องสอน พะเยา และตาก


กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล
การติดตามผลการดำาเนินงาน ครั้ง 40 39
และให้คำาแนะนำา

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
52
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564










































































กิจกรรมการติดตามผลการดำาเนินงานและให้คำาแนะนำา

ผลการดำาเนินงาน




โครงการพัฒนาพื้นที่สูง



แบบโครงการหลวง

ผลการดำาเนินงาน


โครงการพัฒนาพื้นที่สูง


แบบโครงการหลวง








การดำาเนินงานโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง (พื้นที่ขยายผล) ภายใต้
โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง โดยแยกตามยุทธศาสตร์สามารถกำาหนดเป้าหมาย

การปฏิบัติงานตามกิจกรรมรายละเอียด ดังนี้


ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาอาชีพบนฐานความรู้






เป็นยุทธศาสตร์ที่เน้นการวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ และการพัฒนาอาชีพทั้งในและ
นอกภาคการเกษตร และการท่องเที่ยว โดยใช้องค์ความรู้ของโครงการหลวง องค์ความรู้
จากงานวิจัยไปปรับใช้กับภูมิปัญญาท้องถิ่นและสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ รวมทั้งการ

เตรียมความพร้อมต่อการเข้าสู่เศรษฐกิจเสรีโดยมีแผนงานการดำาเนินงาน ดังนี้



การวิจัยและพัฒนาอาชีพภาคการเกษตรโดยผลิตพืชและสัตว์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ภายใต้มาตรฐานอาหารปลอดภัย และเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุนการผลิตการเกษตรให้ได้

ผลผลิตที่สม่ำาเสมอ
ถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรผ่านระบบเครือข่ายการเรียนรู้

เลี้ยงสัตว์ภายใต้ระบบมาตรฐานฟาร์มบนพื้นที่สูง และเพื่อเป็นแหล่งอาหารของชุมชน
ส่งเสริมอาชีพนอกภาคการเกษตร
แผนงานที่ 1.3













เลยงสตวภายใตระบบมาตรฐานฟารมบนพนทสงและเพอเปนแหลงอาหารของชมชน




โครงการหลักที่ 2
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์และประมง

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 55
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564



ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
กิจกรรมที่ดำาเนินการ
1. โครงการส่งเสริมการพัฒนาประมงและสนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำาเพื่อเลี้ยงบริโภค

และสร้างรายได้ ดำาเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่จำานวน 40 ราย เชียงรายจำานวน
10 ราย น่านจำานวน 30 ราย และตากจำานวน 20 ราย รวมเกษตรกรจำานวน 100 ราย

สนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำาจำานวน 95,000 ตัว ผลการดำาเนินงานจำานวนเกษตรกรที่ได้รับ
การสนับสนุนรวม 116 ราย สนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำารวม 111,000 ตัว

กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล

ส่งเสริมการพัฒนาประมง ราย/ตัว 100/95,000 116/111,000
และสนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำา
เพื่อเลี้ยงบริโภคและสร้างรายได้


ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

กิจกรรมที่ดำาเนินการ
1. โครงการส่งเสริมการพัฒนาประมงและสนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำาเพื่อเลี้ยงบริโภค

และสร้างรายได้ ดำาเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่จำานวน 40 ราย เชียงรายจำานวน
10 ราย น่านจำานวน 30 ราย และตากจำานวน 20 ราย รวมเกษตรกรจำานวน 100 ราย
สนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำาจำานวน 100,000 ตัว ผลการดำาเนินงานจำานวนเกษตรกรที่ได้รับ

การสนับสนุนรวม 124 ราย สนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำารวม 98,200 ตัว

กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล
ส่งเสริมการพัฒนาประมง ราย/ตัว 100/100,000 124/98,200

และสนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำา
เพื่อเลี้ยงบริโภคและสร้างรายได้


ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

กิจกรรมที่ดำาเนินการ
1. โครงการส่งเสริมการพัฒนาประมงและสนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำาเพื่อเลี้ยงบริโภค
และสร้างรายได้ ดำาเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่จำานวน 40 ราย เชียงรายจำานวน

10 ราย น่านจำานวน 30 ราย และตากจำานวน 20 ราย รวมเกษตรกรจำานวน 100 ราย
สนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำาจำานวน 100,000 ตัว ผลการดำาเนินงานจำานวนเกษตรกรที่ได้รับ

การสนับสนุนรวม 123 ราย สนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำารวม 98,200 ตัว

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
56
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564

กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล

ส่งเสริมการพัฒนาประมง ราย/ตัว 100/100,000 123/98,200
และสนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำา
เพื่อเลี้ยงบริโภคและสร้างรายได้






























































ภาพกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาประมงและสนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำา
เพื่อเลี้ยงบริโภคและสร้างรายได้

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 57
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564



ยุทธศาสตร์ที่ 2 เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
และการพัฒนาด้านการตลาด



เป็นยุทธศาสตร์ที่เน้นให้ชุมชนวิเคราะห์ กำาหนดแนวทาง และดำาเนินงานพัฒนา
ได้ด้วยชุมชนเอง โดยมีแผนชุมชนเป็นกลไกที่สำาคัญ และสร้างความเข้มแข็งของชุมชน

ให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการน้อมนำาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติในระดับชุมชน
การสร้างและพัฒนาผู้นำาในชุมชน การสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน การสืบสาน
ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมประเพณี การเข้าถึงบริการพื้นฐานของรัฐและการพัฒนา

ด้านการตลาด โดยมีแผนงานการดำาเนินงาน ดังนี้



ส่งเสริมการนำาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติในระดับชุมชน
ส่งเสริมการจัดทำาแผนชุมชนและขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ

พัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรและเข้าถึงสวัสดิการของรัฐ
ศึกษาและสืบสานวัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น และการรักษาสิทธิชุมชน

สร้างและพัฒนาผู้นำาชุมชนเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาในด้านต่าง ๆ
สร้างความเข้มแข็งของกลุ่มต่าง ๆ วิสาหกิจชุมชน การพัฒนากลุ่มธุรกิจตามมาตรฐาน
ของสหกรณ์

จัดหาช่องทางการตลาด และการสร้างเครือข่ายขยายช่องทางการตลาด
แผนงานที่ 2.1

ส่งเสริมการนำาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติในระดับชุมชน
โครงการหลักที่ 1
น้อมนำาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติในระดับชุมชน



ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
กิจกรรมที่ดำาเนินการ

1. โครงการการถ่ายทอดความรู้การประมงแก่ชุมชนพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูง
แบบโครงการหลวง ดำาเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่จำานวน 4 แห่ง จำานวนเกษตรกร
ได้รับการถ่ายทอดความรู้จำานวน 40 คน จังหวัดตากจำานวน 1 แห่ง จำานวนเกษตรกร

ได้รับการถ่ายทอดความรู้จำานวน 20 คน ผลการดำาเนินงานรวม ดำาเนินการได้จำานวน 9 แห่ง
เกษตรกรได้รับการถ่ายทอดความรู้จำานวน 107 ราย

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
58
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564


2. โครงการส่งเสริมการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ดำาเนินการในพื้นที่
จังหวัดเชียงใหม่จำานวน 4 แห่ง สนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำาศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
จำานวน 4,800 ตัว


กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล

การถ่ายทอดความรู้การประมง แห่ง/ราย 5/60 9/107
แก่ชุมชนพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูง
แบบโครงการหลวง
ส่งเสริมการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ แห่ง 4 4
ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง

สนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำาศูนย์เรียนรู้ ตัว - 4,800
ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง


ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

กิจกรรมที่ดำาเนินการ
1. โครงการการถ่ายทอดความรู้การประมงแก่ชุมชนพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูง

แบบโครงการหลวง ดำาเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่จำานวน 4 แห่ง จำานวนเกษตรกร
ได้รับการถ่ายทอดความรู้จำานวน 40 คน จังหวัดตากจำานวน 1 แห่ง จำานวนเกษตรกร
ได้รับการถ่ายทอดความรู้จำานวน 20 คน ผลการดำาเนินงานรวม ดำาเนินการได้จำานวน 5 แห่ง

เกษตรกรได้รับการถ่ายทอดความรู้จำานวน 84 ราย
2. โครงการส่งเสริมการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ดำาเนินการในพื้นที่

จังหวัดเชียงใหม่จำานวน 4 แห่ง สนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำาศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
จำานวน 5,300 ตัว


กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล
การถ่ายทอดความรู้การประมง แห่ง/ราย 5/60 5/84
แก่ชุมชนพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูง
แบบโครงการหลวง

ส่งเสริมการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ แห่ง 4 5
ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
สนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำาศูนย์เรียนรู้ ตัว - 5,300

ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 59
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564



ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
กิจกรรมที่ดำาเนินการ
1. โครงการ การถ่ายทอดความรู้การประมงแก่ชุมชนพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูง

แบบโครงการหลวง ดำาเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่จำานวน 4 แห่ง จำานวนเกษตรกร
ได้รับการถ่ายทอดความรู้จำานวน 40 คน จังหวัดตากจำานวน 1 แห่ง จำานวนเกษตรกร

ได้รับการถ่ายทอดความรู้จำานวน 20 คน ผลการดำาเนินงานรวมดำาเนินการได้จำานวน 5 แห่ง
เกษตรกรได้รับการถ่ายทอดความรู้จำานวน 83 ราย
2. โครงการส่งเสริมการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ดำาเนินการในพื้นที่

จังหวัดเชียงใหม่จำานวน 4 แห่ง ผลการดำาเนินงานจำานวน 5 แห่ง

กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล

การถ่ายทอดความรู้การประมง แห่ง/ราย 5/60 5/83
แก่ชุมชนพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูง
แบบโครงการหลวง

ส่งเสริมการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ แห่ง 4 5
ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
สนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำาศูนย์เรียนรู้ ตัว - -
ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง






























ภาพกิจกรรมการถ่ายทอดความรู้การประมงแก่ชุมชนพื้นที่
โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
60
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564










































































ภาพกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 61
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564



ยุทธศาสตร์ที่ 3 ฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ





เป็นยุทธศาสตร์ที่เน้นการกำาหนดเขตพื้นที่ป่าและพื้นที่ดินทำากิน การใช้ประโยชน์ที่ดิน
ตามหลักวิชาการและศักยภาพของพื้นที่ และปรับระบบการใช้พื้นที่ให้เหมาะสม ควบคู่ไปกับ

การอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้ำาลำาธารและระบบนิเวศ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน หน่วยงาน

















ทเกยวของ และภาคเอกชน โดยมการอนรกษดนและนาในพนทลาดชน การปลกปาชาวบาน



และการฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน การลดการใช้สารเคมีและเฝ้าระวังการปนเปื้อน
มลพิษในสิ่งแวดล้อม วิจัยและส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร
โดยมีแนวทางการพัฒนา ดังนี้
กำาหนดเขตการใช้ประโยชน์ที่ดิน ควบคุมการบุกรุกพื้นที่ป่า และปรับระบบการใช้พื้นที่
ให้เหมาะสมตามหลักวิชาการ










ปลกและฟนฟปาตนนาลาธาร และระบบนเวศ โดยกระบวนการมสวนรวมของทกภาคสวน





อนุรักษ์ดินและน้ำา และฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดินที่เสื่อมโทรม
ฟื้นฟูแหล่งอาหารและความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชน และพืชท้องถิ่นชุมชน
ควบคุมการปนเปื้อนมลพิษในสิ่งแวดล้อม
แผนงานที่ 3.4
การฟื้นฟูแหล่งอาหารและความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชน และพืชท้องถิ่น
ของชุมชน
โครงการหลักที่ 2
ฟื้นฟูและอนุรักษ์สัตว์น้ำาจืดในแหล่งน้ำาธรรมชาติ
กิจกรรมที่ 1
การฟื้นฟูแหล่งอาหารและความหลากหลายของทรัพยากรประมง

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
62
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564


ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
กิจกรรมที่ดำาเนินการ
1. ผลิตสัตว์น้ำาและปล่อยฟื้นฟูแหล่งน้ำา ดำาเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย

แม่ฮ่องสอน น่าน กำาแพงเพชร กาญจนบุรี ตาก และเพชรบูรณ์






















2. คดเลอกแหลงนาธรรมชาตและปลอยพนธสตวนา ดาเนนการในพนทจงหวดเชยงใหม ่

เชียงราย แม่ฮ่องสอน น่าน กำาแพงเพชร กาญจนบุรี ตาก และเพชรบูรณ์
3. สำารวจทรัพยากรประมงในแหล่งน้ำา ดำาเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย
และตาก
กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล
ผลิตสัตว์น้ำาและปล่อยฟื้นฟูแหล่งน้ำา ตัว 1,220,000 1,254,000
คัดเลือกแหล่งน้ำาธรรมชาติ แห่ง 24 24
และปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำา
สำารวจทรัพยากรประมงในแหล่งน้ำา ครั้ง 10 8
ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
กิจกรรมที่ดำาเนินการ
1. ผลิตสัตว์น้ำาและปล่อยฟื้นฟูแหล่งน้ำา ดำาเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย
แม่ฮ่องสอน น่าน กำาแพงเพชร กาญจนบุรี ตาก และเพชรบูรณ์














2. คดเลอกแหลงนาธรรมชาตและปลอยพนธสตวนา ดาเนนการในพนทจงหวดเชยงใหม ่









เชียงราย แม่ฮ่องสอน น่าน กำาแพงเพชร กาญจนบุรี ตาก และเพชรบูรณ์
3. สำารวจทรัพยากรประมงในแหล่งน้ำา ดำาเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย
และตาก
กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล
ผลิตสัตว์น้ำาและปล่อยฟื้นฟูแหล่งน้ำา ตัว 1,155,000 1,218,000
คัดเลือกแหล่งน้ำาธรรมชาติ แห่ง 24 24
และปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำา
สำารวจทรัพยากรประมงในแหล่งน้ำา ครั้ง 9 9

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 63
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564



ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
กิจกรรมที่ดำาเนินการ
1. ผลิตสัตว์น้ำาและปล่อยฟื้นฟูแหล่งน้ำา ดำาเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย

แม่ฮ่องสอน น่าน กำาแพงเพชร กาญจนบุรี ตาก และเพชรบูรณ์



















2. คดเลอกแหลงนาธรรมชาตและปลอยพนธสตวนา ดาเนนการในพนทจงหวดเชยงใหม ่




เชียงราย แม่ฮ่องสอน น่าน กำาแพงเพชร กาญจนบุรี ตาก และเพชรบูรณ์
3. สำารวจทรัพยากรประมงในแหล่งน้ำา ดำาเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย
และตาก
กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล
ผลิตสัตว์น้ำาและปล่อยฟื้นฟูแหล่งน้ำา ตัว 1,155,000 1,187,000
คัดเลือกแหล่งน้ำาธรรมชาติ แห่ง 24 25
และปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำา
สำารวจทรัพยากรประมงในแหล่งน้ำา ครั้ง 9 9
หมายเหตุ : รายละเอียดผลการดำาเนินงานรายจังหวัดในภาคผนวกที่ 2





























ภาพกิจกรรมผลิตสัตว์น้ำาและปล่อยฟื้นฟูแหล่งน้ำา

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
64
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564










































































ภาพกิจกรรมสำารวจทรัพยากรประมงในแหล่งน้ำา

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 65
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564



ยุทธศาสตร์ที่ 5 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ





เป็นยุทธศาสตร์ที่เน้นการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมและ
ประสานงานความร่วมมือกับมูลนิธิโครงการหลวง หน่วยงานของรัฐ และสถาบันการศึกษา

ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการเตรียมความพร้อมการถ่ายโอนพื้นที่ที่ปฏิบัติงานสำาเร็จ การวิเคราะห์
และจัดทำาแนวทางในการดำาเนินงานในพื้นที่ใหม่ โดยมีแผนงานการดำาเนินงานดังนี้








อานวยการประสานงาน บรณาการและเพมประสทธภาพการบรหารจดการ การประสานงาน



และบูรณาการปฏิบัติงาน
พัฒนาระบบฐานข้อมูล
เตรียมความพร้อมการถ่ายโอนภารกิจโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง
ที่ปฏิบัติงานสำาเร็จโดยผ่านระบบการเยี่ยมเยียน การเรียนรู้และเครือข่ายความรู้
ศึกษาวิเคราะห์แนวทางในการดำาเนินงานพัฒนาพื้นที่ใหม่
แผนงานที่ 5.1
อานวยการประสานงาน บูรณาการและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

การประสานงานและบูรณาการปฏิบัติงาน

โครงการหลักที่ 4

อานวยการประสานงาน การนิเทศและติดตามงาน
การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดำาเนินการ

ออกติดตามการใช้ทักษะองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการ
เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำา พร้อมทั้งให้คำาแนะนำาด้านการเลี้ยงสอบถามปัญหา อปสรรค

และแนวทางแก้ไขเพื่อให้การดำาเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อติดตาม
ู้
การเจริญเติบโตของสัตว์น้ำาและผลผลิตสัตว์น้ำาของผเข้าร่วมโครงการ โดยมีการ
ชั่งน้ำาหนัก และวัดความยาวตลอดระยะเวลาการเลี้ยง และมีการเก็บผลผลิตและ
ประเมินผลหลังการเข้าร่วมโครงการด้วยแบบประเมินผลผลิตสัตว์น้ำาของเกษตรกร
ที่เข้าร่วมโครงการ

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
66
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564


ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
กิจกรรมที่ดำาเนินการ
การติดตามผลการดำาเนินงานและให้คำาแนะนำา ดำาเนินการในพื้นจังหวัดเชียงใหม่

เชียงราย แม่ฮ่องสอน น่าน กำาแพงเพชร กาญจนบุรี ตาก และเพชรบูรณ์

กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล
การติดตามผลการดำาเนินงาน ครั้ง 50 53

และให้คำาแนะนำา


ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
กิจกรรมที่ดำาเนินการ

การติดตามผลการดำาเนินงานและให้คำาแนะนำา ดำาเนินการในพื้นจังหวัดเชียงใหม่
เชียงราย แม่ฮ่องสอน น่าน กำาแพงเพชร กาญจนบุรี ตาก และเพชรบูรณ์

กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล

การติดตามผลการดำาเนินงาน ครั้ง 38 46
และให้คำาแนะนำา


ผลการดำาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
กิจกรรมที่ดำาเนินการ

การติดตามผลการดำาเนินงานและให้คำาแนะนำา ดำาเนินการในพื้นจังหวัดเชียงใหม่
เชียงราย แม่ฮ่องสอน น่าน กำาแพงเพชร กาญจนบุรี ตาก และเพชรบูรณ์


กิจกรรม/โครงการ หน่วยนับ แผน ผล
การติดตามผลการดำาเนินงาน ครั้ง 38 35
และให้คำาแนะนำา

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 67
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564











































































กิจกรรมติดตามผลการดำาเนินงานและให้คำาแนะนำา



ผลส
ผลสมฤทธมฤทธ ์ ิ ์ ิ


ของการดําเนินโครงการ
าเน

นโครงการ
ของการด

ปงบประมาณ 2562-2564
2562-2564
‚ ป
‚
งบประมาณ

ผลสัมฤทธิ์


ของการดำาเนินโครงการ



ปีงบประมาณ 2562-2564







การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง ดำาเนินการ
โดยประเมินผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดเชิงคุณภาพของการดำาเนินโครงการ การประเมิน

ความสำาเร็จตามตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง ประจำาปีงบประมาณ
2562-2563 ประเมินโดยการวัดความสำาเร็จของตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ดังนี้
ข้อมูลผลการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืดให้แก่เกษตรกร

เป้าหมายโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง ปีงบประมาณ 2562-2563 วิธีการประเมิน
โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลผลผลิตสัตว์น้ำาของเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนพันธุ์

สัตว์น้ำาเพื่อเลี้ยงให้มีผลผลิตสัตว์น้ำาเพื่อบริโภคและสร้างรายได้ในครัวเรือน ดำาเนินการ
เก็บรวบรวมข้อมูลผลผลิตสัตว์น้ำาโดยหน่วยงานที่ดำาเนินกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุน
พันธุ์สัตว์น้ำา ปีงบประมาณ 2562 จำานวน 4 หน่วยงาน ได้แก่ ศูนย์วิจัยและพัฒนา

การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืดเขต 1 (เชียงใหม่), ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืด
เขต 2 (เชียงราย), ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืดน่าน และศูนย์วิจัยและพัฒนา

ประมงน้ำาจืดตาก การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมินตัวชี้วัดเชิงคุณภาพในกิจกรรมส่งเสริม
และสนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำาเพื่อบริโภคและสร้างรายได้ โดยการประเมินผลผลิตสัตว์น้ำาที่เลี้ยง
ได้รับการสนับสนุนจากโครงการฯ และวิเคราะห์คำานวณผลผลิตสัตว์น้ำาต่อไร่ที่เพิ่มขึ้นก่อน

และหลังการได้รับการส่งเสริมและสนับสนุน จากสูตร ดังนี้



ผลผลิตสัตว์น้ำาทั้งหมด
ผลผลิตสัตว์น้ำาต่อไร่เฉลี่ย =
จำานวนไร่ (ไร่)


ผลผลิตสัตว์น้ำาเฉลี่ย ต่อไร่ x 100
ร้อยละที่เพิ่มขึ้น = - 100
ผลผลิตก่อนส่งเสริม

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 71
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564










4.1 ผลการปฏบตงานตามตวชวดความสาเรจเชงคณภาพโครงการพฒนาพนท ี ่







โครงการหลวง ประจำาปีงบประมาณ 2562
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง ประจำาปีงบประมาณ 2562
คือ เกษตรกรมีผลผลิตสัตว์น้ำาต่อไร่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 3 จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การประเมินตามตัวชี้วัดเชิงคุณภาพจากเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ ในปีงบประมาณ 2562
จำานวนทั้งหมด 228 ราย พบว่า เกษตรกรมีผลผลิตสัตว์น้ำาต่อไร่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 93.25
หลังจากเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำาจากโครงการฯ โดยผลผลิต
สัตว์น้ำาของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ ในจังหวัดน่าน เชียงใหม่ และตาก เพิ่มขึ้นสูงสุด
(ร้อยละ 100) รองลงมาคือเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย (ร้อยละ 73)
ชนิดและจำานวนพันธุ์สัตว์น้ำาที่สนับสนุนให้เกษตรกรเป้าหมาย จำานวนทั้งหมด
139,000 ตัว ชนิดพันธุ์ปลาที่สนับสนุน ได้แก่ ปลานิล ปลาตะเพียนขาว ปลายี่สกเทศ
ปลาหมอไทย กบนา และปลากดหลวง โดยจังหวัดเชียงรายสนับสนุนพันธุ์ปลานิล
ให้เกษตรกรจำานวน 10 ราย รายละ 500 ตัว รวมทั้งหมด 5,000 ตัว จังหวัดน่านสนับสนุน




พนธปลานล ปลาตะเพยนขาว และปลายสกเทศ ใหเกษตรกรจานวน 30 ราย รายละ 1,000







ตว รวมทั้งหมด 30,000 ตัว จังหวัดเชียงใหม่สนับสนุนพันธุ์ปลานิล ปลาหมอไทย กบนา
ปลากดหลวง และปลาพลวงหิน ให้เกษตรกรจำานวน 168 ราย รายละ 500 ตัว รวมทั้งหมด
84,000 ตัว และจังหวัดตากสนับสนุนพันธุ์ปลานิลให้เกษตรกร จำานวน 20 ราย รายละ 1,000
ตัว รวมทั้งหมด 20,000 ตัว
ผลผลิตสัตว์น้ำาเฉลี่ยต่อไร่ของเกษตรกรที่ร่วมโครงการเฉลี่ย 105.79 กิโลกรัม/ไร่
ผลผลิตสัตว์น้ำาเฉลี่ยต่อไร่ของเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย 5,190 กิโลกรัม/ไร่ จังหวัดน่าน
1,196.88 กิโลกรัม/ไร่ จังหวัดเชียงใหม่ 35.20 กิโลกรัม/ไร่ และจังหวัดตาก 3,535.04 กิโลกรัม/ไร่
(ตารางที่ 1)

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
72
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564


ปีงบประมาณ 2562 ร้อยละ ผลผลิต ของผลผลิต ก่อนส่งเสริม สัตว์น้ำา (กก./ไร่) ที่เพิ่มขึ้น 73.00 3,000 100.00 0 100.00 0 100.00 0 93.25












ผลผลิตสัตว์น้ำา ต่อตร.ม. (กก./ตร.ม.) หลังการส่งเสริม 3.24 0.75 0.02 2.21








ผลผลิต สัตว์น้ำาเฉลี่ย ต่อไร่ (กก./ไร่) หลังการส่งเสริม 5,190 1,196.88 35.20 3,535.04 105.79


แสดงผลการประเมินตัวชี้วัดโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง


พื้นที่ บ่อรวม (ไร่) 0.05 0.96 25.54 0.15 26.7


ผลผลิต สัตว์น้ำา รวม(กก.) 259.50 1,149.00 899 517 2,825




จำานวน พันธุ์ปลา ที่สนับสนุน รวม (ตัว) 5,000 30,000 84,000 20,000 139,000





จำานวน พันธุ์ปลา ที่สนับสนุน (ตัว/ราย) 500 1,000 500 1,000






ชนิด พันธุ์ปลา ที่สนับสนุน ปลานิล ปลานิล, ปลาตะเพียนขาว, ปลายี่สกเทศ ปลานิล, ปลาหมอไทย, กบนา,กดหลวง, ปลาพลวงหิน ปลานิล





จำานวน เกษตรกร (ราย) 10 30 168 20 228
ตารางที่ 1 จังหวัด เชียงราย น่าน เชียงใหม่ ตาก

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 73
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564



4.2 ผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดความสำาเร็จเชิงคุณภาพโครงการพัฒนาพื้นที่
โครงการหลวง ประจำาปีงบประมาณ 2563
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง ประจำาปีงบประมาณ 2562

คือ เกษตรกรมีผลผลิตสัตว์น้ำาต่อไร่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 4 ผลการประเมินความสำาเร็จ
ตามตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง ประจำาปีงบประมาณ 2563 ดังนี้

จากผลการวเคราะหขอมลการประเมนตามตวชวดเชงคณภาพจากเกษตรกรทเขารวม















โครงการฯ ในปีงบประมาณ 2563 จำานวนทั้งหมด 265 ราย พบว่า เกษตรกรมีผลผลิต
สัตว์น้ำาต่อไร่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 97.10 หลังจากเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุน
พันธุ์สัตว์น้ำาจากโครงการฯ โดยผลผลิตสัตว์น้ำาของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ ในจังหวัด
เชียงราย เชียงใหม่ และตาก เพิ่มขึ้นสูงสุด (ร้อยละ 100) รองลงมาคือเกษตรกรในจังหวัดน่าน
(ร้อยละ 88.38)
ชนิดและจำานวนพันธุ์สัตว์น้ำาที่สนับสนุนให้เกษตรกรเป้าหมาย จำานวนทั้งหมด
157,500 ตัว ชนิดพันธุ์ปลาที่สนับสนุน ได้แก่ ปลานิล ปลานิลแปลงเพศ ปลาตะเพียนขาว
ปลายี่สกเทศ ปลาหมอไทย กบนา และปลาพลวงหิน โดยจังหวัดเชียงรายสนับสนุนพันธุ์
ปลานิลแปลงเพศ ให้เกษตรกรจำานวน 10 ราย รายละ 500 ตัว รวมทั้งหมด 5,000 ตัว
จังหวัดน่านสนับสนุนพันธุ์ปลานิล ปลาตะเพียนขาว และปลายี่สกเทศ ให้เกษตรกรจำานวน
30 ราย รายละ 1,000 ตัว รวมทั้งหมด 30,000 ตัว จังหวัดเชียงใหม่สนับสนุนพันธุ์ปลานิล
ปลาหมอไทย กบ และปลาพลวงหิน ให้เกษตรกรจำานวน 205 ราย รายละ 500 ตัว

รวมทั้งหมด 102,500 ตัว และจังหวัดตากสนับสนุนพันธุ์ปลานิลให้เกษตรกร จำานวน 20 ราย
รายละ 1,000 ตัว รวมทั้งหมด 20,000 ตัว

ผลผลิตสัตว์น้ำาเฉลี่ยต่อไร่ของเกษตรกรที่ร่วมโครงการเฉลี่ย 354.94 กิโลกรัม/ไร่
ผลผลิตสัตว์น้ำาเฉลี่ยต่อไร่ของเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย 273 กิโลกรัม/ไร่ จังหวัดน่าน
220.68 กิโลกรัม/ไร่ จังหวัดเชียงใหม่ 446.35 กิโลกรัม/ไร่ และจังหวัดตาก 3,010.68 กิโลกรัม/ไร่

(ตารางที่ 2)

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
74
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564


ปีงบประมาณ 2563 ร้อยละ ผลผลิต ของผลผลิต ก่อนส่งเสริม สัตว์น้ำา (กก./ไร่) ที่เพิ่มขึ้น 100.00 0 88.38 117.14 100.00 0 100.00 0 97.10 117.14













ผลผลิตสัตว์น้ำา ต่อตร.ม. (กก./ตร.ม.) หลังการส่งเสริม 0.17 0.14 0.28 1.88 2.47










ผลผลิต สัตว์น้ำาเฉลี่ย ต่อไร่ (กก./ไร่) หลังการส่งเสริม 273 220.67 446.35 3,010.68 354.94


ผลการประเมินตัวชี้วัดโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง


พื้นที่ บ่อรวม (ไร่) 1.28 7.5 7.38 0.16 16.32


ผลผลิต สัตว์น้ำา รวม(กก.) 350.37 1,655.00 3,294 493 5,793





จำานวน พันธุ์ปลา ที่สนับสนุน (ตัว/ราย) 500 1,000 500 1,000 3,000







ชนิด พันธุ์ปลา ที่สนับสนุน ปลานิลแปลงเพศ ปลานิล, ปลาตะเพียนขาว, ปลายี่สกเทศ ปลานิล, ปลาหมอไทย, กบ, ปลาพลวงหิน ปลานิล






จำานวน เกษตรกร (ราย) 10 30 205 20 265

ตารางที่ 2 จังหวัด เชียงราย น่าน เชียงใหม่ ตาก

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 75
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564



4.3 ผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดเชิงคุณภาพโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
ประจำาปีงบประมาณ 2564
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง ประจำาปีงบประมาณ 2562























คอ เกษตรกรมผลผลตสตวนาตอไรเพมขนเฉลยรอยละ 4 การประเมนความสาเรจตามตวชวด

เชิงคุณภาพ โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง ประจำาปีงบประมาณ 2564 โดยการ
วัดความสำาเร็จของตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ดังนี้
ข้อมูลผลการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืดให้แก่เกษตรกร
เป้าหมายโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง ปีงบประมาณ 2564 วิธีการประเมินโดยการ
เก็บรวบรวมข้อมูลผลผลิตสัตว์น้ำาของเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำา
เพื่อเลี้ยงให้มีผลผลิตสัตว์น้ำาเพื่อบริโภคและสร้างรายได้ในครัวเรือน ดำาเนินการเก็บรวบรวม
ข้อมูลผลผลิตสัตว์น้ำาโดยหน่วยงานที่ดำาเนินกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำา
ปีงบประมาณ 2564 จำานวน 4 หน่วยงาน ได้แก่ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำา
จืดเชียงใหม่, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืดเชียงราย, ศูนย์วิจัยและพัฒนา
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืดน่าน และศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำาจืดตาก จากนั้นนำา
ข้อมูลหลังการส่งเสริม 2 ปี ย้อนหลัง (ปี 2562–2563) มาหาค่าเฉลี่ยและนำาข้อมูลที่ได้
เป็นค่ากลาง
การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมินตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ในกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุน
พันธุ์สัตว์น้ำาเพื่อบริโภคและสร้างรายได้ โดยการประเมินผลผลิตสัตว์น้ำาที่เลี้ยงได้รับการ
สนับสนุนจากโครงการฯ และวิเคราะห์คำานวณผลผลิตสัตว์น้ำาต่อไร่ที่เพิ่มขึ้นก่อนและหลัง
การได้รับการส่งเสริมและสนับสนุน จากสูตร ดังนี้



ผลผลิตสัตว์น้ำาทั้งหมด
ผลผลิตสัตว์น้ำาต่อไร่เฉลี่ย =
จำานวนไร่ (ไร่)


ผลผลิตสัตว์น้ำาเฉลี่ยต่อไร่ (2562 + 2563)
ค่าฐานกลางผลผลิตสัตว์น้ำา 2 ปี ย้อนหลัง =
2



ผลผลิตสัตว์น้ำาเฉลี่ยต่อไร่
ร้อยละผลผลิตสัตว์น้ำาที่เพิ่มขึ้น = x 100 - 100
ค่าฐานกลางผลิตสัตว์น้ำา 2 ปีย้อนหลัง

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
76
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564


ผลการดำาเนินงาน 2 ปีที่ผ่านมา ปี 2562 ผลผลิตสัตว์น้ำาเฉลี่ย 105.79 กิโลกรัมต่อไร่
คิดเป็นร้อยละ 93.25 ปี 2563 ผลผลิตสัตว์น้ำาเฉลี่ย 354.94 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นร้อยละ
97.10 ค่าฐานกลางผลผลิตสัตว์น้ำาเท่ากับ 230.37 กิโลกรัมต่อไร่

จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินตามตัวชี้วัดเชิงคุณภาพจากเกษตรกรที่เข้าร่วม
โครงการฯ ในปีงบประมาณ 2564 จำานวนทั้งหมด 201 ราย พบว่า เกษตรกรมีผลผลิต

สัตว์น้ำาต่อไร่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 77.04 หลังจากเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุน
พันธุ์สัตว์น้ำาจากโครงการฯ โดยผลผลิตสัตว์น้ำาของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการในจังหวัด
เชียงราย เชียงใหม่ และตาก เพิ่มขึ้นสูงสุด (ร้อยละ 100) รองลงมาคือเกษตรกรในจังหวัด

น่าน (ร้อยละ 8.18)
ชนิดและจำานวนพันธุ์สัตว์น้ำาที่สนับสนุนให้เกษตรกรเป้าหมาย จำานวนทั้งหมด

140,000 ตัว ชนิดพันธุ์ปลาที่สนับสนุน ได้แก่ ปลานิล ปลานิลแปลงเพศ ปลาตะเพียนขาว
ปลายี่สกเทศ และกบนา โดยจังหวัดเชียงรายสนับสนุนพันธุ์ปลานิลแปลงเพศ ให้เกษตรกร
จำานวน 10 ราย รายละ 500 ตัว รวมทั้งหมด 5,000 ตัว จังหวัดน่านสนับสนุนพันธุ์ปลานิล

ปลาตะเพียนขาว และปลายี่สกเทศ ให้เกษตรกรจำานวน 30 ราย รายละ 1,000 ตัว
รวมทั้งหมด 30,000 ตัว จังหวัดเชียงใหม่สนับสนุนพันธุ์ปลานิล และกบ ให้เกษตรกรจำานวน

140 ราย รายละ 600 ตัว รวมทั้งหมด 84,000 ตัว และจังหวัดตากสนับสนุนพันธุ์ปลานิล
ให้เกษตรกร จำานวน 21 ราย รายละ 1,000 ตัว รวมทั้งหมด 21,000 ตัว
ผลผลิตสัตว์น้ำาเฉลี่ยต่อไร่ของเกษตรกรที่ร่วมโครงการเฉลี่ย 306.92 กิโลกรัม/

ไร่ ผลผลิตสัตว์น้ำาเฉลี่ยต่อไร่ของเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย 5,652.17 กิโลกรัม/ไร่
จังหวัดน่าน 245.19 กิโลกรัม/ไร่ จังหวัดเชียงใหม่ 239.59 กิโลกรัม/ไร่ และจังหวัดตาก

1,843.48 กิโลกรัม/ไร่
ปี 2564 ผลผลิตสัตว์น้ำาเฉลี่ย 306.92 กิโลกรัมต่อไร่ ค่าฐานกลางผลผลิตสัตว์น้ำา
เฉลี่ย 230.37 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อนำามาคำานวณตามสูตร พบว่า ผลผลิตสัตว์น้ำาเพิ่มขึ้น

เฉลี่ยร้อยละ 33 หรือผลผลิตสัตว์น้ำาเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 79.82 กิโลกรัมต่อไร่ (ตารางที่ 3)

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 77
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564



ปีงบประมาณ 2564 ร้อยละ ผลผลิต ของผลผลิต ก่อนส่งเสริม สัตว์น้ำา (กก./ไร่) ที่เพิ่มขึ้น 100.00 0 8.18 226.66 100.00 0 100.00 0 77.04 226.66












ผลผลิตสัตว์น้ำา ต่อตร.ม. (กก./ตร.ม.) หลังการส่งเสริม 3.53 0.15 0.18 1.15 5.01








ผลผลิต สัตว์น้ำาเฉลี่ย ต่อไร่ (กก./ไร่) หลังการส่งเสริม 5,652.17 245.19 293.59 1,843.48 306.9






พื้นที่ บ่อรวม (ไร่) 0.06 6.75 7.57 0.14 14.52
ผลการประเมินตัวชี้วัดโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง

ผลผลิต สัตว์น้ำา รวม(กก.) 325.00 1,645.00 2,221.41 265.00 4,456.41





จำานวน พันธุ์ปลา ที่สนับสนุน รวม (ตัว) 500 1,000 ปลานิล 500, กบ 100 1,000 140,000





ชนิดพันธุ์ปลา ที่สนับสนุน ปลานิลแปลงเพศ ปลานิล, ปลาตะเพียน, ปลายี่สกเทศ ปลานิล, กบ ปลานิลดำา







จำานวน เกษตรกร (ราย) 10 30 140 21 201




ปีที่ ดำาเนิน การ 2564 2564 2564 2564
ตารางที่ 3 จังหวัด เชียงราย น่าน เชียงใหม่ ตาก



ภาคผนวก

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
80
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564


ปี 2564 450,000 180,000 100,000 100,000 30,000 10,000 30,000 18 7 6 1 2 1 1 12 3 6 3


ผลการดำาเนินงานยุทธศาสตร์ที่ 3 การฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรายจังหวัด


ผล ปี 2563 512,000 237,000 100,000 105,000 30,000 10,000 30,000 21 9 6 2 2 1 1 11 3 6 2



ปี 2562 532,000 262,000 100,000 100,000 30,000 10,000 30,000 22 9 6 3 2 1 1 11 3 6 2




ปี 2564 440,000 170,000 100,000 100,000 30,000 10,000 30,000 20 9 6 1 2 1 1 14 3 6 2





แผน ปี 2563 440,000 170,000 100,000 100,000 30,000 10,000 30,000 20 9 6 1 2 1 1 11 3 6 2



ปี 2562 490,000 220,000 100,000 100,000 30,000 10,000 30,000 20 9 6 1 2 1 1 11 3 6 2




หน่วยนับ ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว แห่ง ครั้ง










ยุทธศาสตร์/แผนงาน/กิจกรรม 1. ผลิตสัตว์น้ำาและปล่อยฟื้นฟูแหล่งน้ำา (รวม) 2. คัดเลือกแหล่งน้ำาธรรมชาติและปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำา (รวม) 3. สำารวจทรัพยากรประมงในแหล่งน้ำา (รวม)












ภาคผนวกที่ 1 1) เชียงใหม่ 2) เชียงราย 3) ลำาพูน 4) แม่ฮ่องสอน 5) พะเยา 6) ตาก 1) เชียงใหม่ 2) เชียงราย 3) ลำาพูน 4) แม่ฮ่องสอน 5) พะเยา 6) ตาก 1) เชียงใหม่ 2) แม่ฮ่องสอน 3) พะเยา

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 81
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564



ปี 2564 1,187,000 187,000 10,000 40,000 400,000 50,000 300,000 100,000 100,000 25 4 1 2 9 1 5 1 2





ผล ปี 2563 1,218,000 216,000 10,000 40,000 400,000 50,000 300,000 102,000 100,000 26 4 1 2 9 1 5 1 3



ปี 2562 1,254,000 239,000 10,000 40,000 400,000 50,000 300,000 100,000 115,000 26 4 1 2 9 1 5 1 3
ผลการดำาเนินงานยุทธศาสตร์ที่ 3 การฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติรายจังหวัด




ปี 2564 1,155,000 155,000 10,000 40,000 400,000 50,000 300,000 100,000 100,000 26 4 1 2 9 1 5 1 3





แผน ปี 2563 1,155,000 155,000 10,000 40,000 400,000 50,000 300,000 100,000 100,000 26 4 1 2 9 1 5 1 3



ปี 2562 1,220,000 220,000 10,000 40,000 400,000 50,000 300,000 100,000 100,000 26 4 1 2 9 1 5 1 3




หน่วยนับ ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว แห่ง










ยุทธศาสตร์/แผนงาน/กิจกรรม 4. ผลิตสัตว์น้ำาและปล่อยฟื้นฟูแหล่งน้ำา (รวม) 5. คัดเลือกแหล่งน้ำาธรรมชาติและปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำา (รวม)












ภาคผนวกที่ 2 1) เชียงใหม่ 2) เชียงราย 3) แม่ฮ่องสอน 4) กำาแพงเพชร 5) เพชรบูรณ์ 6) น่าน 7) กาญจนบุรี 8) ตาก 1) เชียงใหม่ 2) เชียงราย 3) แม่ฮ่องสอน 4) กำาแพงเพชร 5) เพชรบูรณ์ 6) น่าน 7) กาญจนบุรี 8) ตาก

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
82
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564


ปี 2564 9 3 3 3





ผล ปี 2563 9 3 3 3



ปี 2562 8 3 3 2





ปี 2564 9 3 3 3





แผน ปี 2563 9 3 3 3



ปี 2562 10 4 3 3




หน่วยนับ ครั้ง










ยุทธศาสตร์/แผนงาน/กิจกรรม 6. สำารวจทรัพยากรประมงในแหล่งน้ำา (รวม)















1) เชียงใหม่ 2) เชียงราย 3) ตาก

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 83
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564












แบบฟอร์มประเมินผลผลิตสัตว์น้ำาของเกษตรกร

โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง


1. ข้อมูลทั่วไป

ชื่อเกษตรกร ...........................................................................................................................
ที่ตั้ง เลขที่ ............ หมู่ ................. ตำาบล .......................... อำาเภอ ................................

จังหวัด ...........................................


2. ก่อนการเข้าร่วมโครงการท่านได้มีการเลี้ยงสัตว์น้ำาหรือไม่

ไม่มี ถ้ามี ผลผลิตที่ได้จำานวน ......................... กิโลกรัมต่อไร่
(หากเป็นบ่อขนาดเล็ก ให้คำานวณพื้นที่เป็นไร่)



3. ข้อมูลผลผลิต
ยังไม่จับผลผลิต ทยอยจับผลผลิต จับผลผลิตทั้งหมด

3.1 การจับใช้ประโยชน์ผลผลิต

บริโภค จำาหน่ายผลผลิต
ปริมาณการจับ ขนาดบ่อ/
วันที่ ชนิดสัตว์น้ำา ในครัวเรือน ปริมาณที่ขาย ราคา
ผลผลิต (กก.) กระชัง
(กก.) (กก.) (บาท)

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
84
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564


3.2 การประเมินผลผลิตในบ่อ (กรณียังไม่จับผลผลิต)

จำานวนผลผลิต คิดเป็นมูลค่า ขนาดบ่อ/
วันที่สุ่ม ชนิดสัตว์น้ำา วิธีการสุ่ม
(กก.) (บาท) กระชัง























หมายเหตุ: มูลค่าคิดจากราคาปลาในท้องถิ่น

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 85
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564

คณะผู้จัดทำา


กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืด

1. นายธเนศ พุ่มทอง
ผู้อำานวยการกองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืด
2. นายสุภาพ แก้วละเอียด
ผู้อำานวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืด
เชียงราย
3. นายประสาน พรโสภิณ
ผู้อำานวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืด
เชียงใหม่
4. นายวีร์ กี่จนา
ผู้อำานวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืด
แม่ฮ่องสอน
5. นางปาริฉัตร จันทร์เพ็ง
ผู้อำานวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืด
กำาแพงเพชร
6. นายเมธา คชาภิชาติ
ผู้อำานวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืด
เพชรบูรณ์
7. นางสาวมาลาศรี คำาศร ี
หัวหน้ากลุ่มวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงและพัฒนาธุรกิจ
8. นางสมพร กันธิยะวงศ์
นักวิชาการประมงชำานาญการ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืดเชียงใหม่
9. นายอนุสรณ์ แสนอาสา
นักวิชาการประมงชำานาญการ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืดแม่ฮ่องสอน
10. นายเทวัฒน์ สุขเกษม
นักวิชาการประมงปฏิบัติการ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืดเชียงราย
11. นางสาวจิราภรณ์ พรหมชัยรัตน ์
นักวิชาการประมงปฏิบัติการ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืดเพชรบูรณ์
12. ว่าที่ร้อยตรี สายันต์ มั่นการ
นักวิชาการประมงปฏิบัติการ
กลุ่มวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงและพัฒนาธุรกิจ
13. นายวิษณุวัตร สุดหาญ
นักวิชาการประมง
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืดกำาแพงเพชร

รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง
86
ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564
คณะผู้จัดทำา


กองวิจัยและพัฒนาประมงน้ำาจืด

1. นายเฉลิมพล เพชรรัตน์
ผู้อำานวยการกองวิจัยและพัฒนาประมงน้ำาจืด
2. นายองอาจ คำาประเสริฐ
ผู้อำานวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำาจืดกาญจนบุรี
3. นายคฑาวุธ ปานบุญ
ผู้อำานวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำาจืดน่าน
4. นายประมุข ฤ าแก้วมา
ผู้อำานวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำาจืดพะเยา
5. นายจีรศักดิ์ สมทรง
ผู้อำานวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำาจืดตาก
6. นายพนมเทียน นาควิจิตร
ผู้อำานวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำาจืดลำาพูน
7. นางศิริวัลยา วงษ์อู่ทอง
นักวิชาการประมงชำานาญการ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำาจืดกาญจนบุรี
8. นายจิรวุฒิ คำาวงค์
นักวิชาการประมงปฏิบัติการ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำาจืดน่าน
9. นางขจรพรรณ แก้วเขียว
เจ้าพนักงานประมงชำานาญงาน
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำาจืดพะเยา
10. นายสมพร เลิศพรกุลรัตน์
นักวิชาการประมง
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำาจืดลำาพูน
11. นายณัฐธัตชิศ ฉ่ำามา
นักวิชาการประมง
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำาจืดตาก



กลุ่มวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาและพัฒนาธุรกิจ รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืด
กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์ รายงานสรุปผลการดำาเนินงาน
50 เกษตรกลาง ถนนพหลโยธิน เเขวงลาดยาว เขตจตุจักร
โครงการพัฒนา
กรุงเทพมหานคร 10900
โทรศัพท/โทรสาร 0 2562 0423 โครงการพัฒนา
E-mail: [email protected]

พื้นที่โครงการหลวง
พื้นที่โครงการหลวง





ประจำาปีงบประมาณ 2562-2564













กลุ่มวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาและพัฒนาธุรกิจ
กลุ่มวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาและพัฒนาธุรกิจ
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาจืด กรมประมง


Click to View FlipBook Version