The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่ม 5 การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา เพื่อรับการประเมินภายนอก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yodacu62, 2021-11-06 03:16:07

เล่ม 5 การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา เพื่อรับการประเมินภายนอก

เล่ม 5 การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา เพื่อรับการประเมินภายนอก

42 ดา้ น แนวทางพิจารณา ขอ้ มลู /ร่องรอยหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์
ด้านท่ี ๓ กระบวนการจัด - ความเปน็ ระบบ ๑. สังเกต
การเตรยี มความพร้อมของสถานศึกษาเพอ่ื รับการประเมินคณุ ภาพภายนอก การเรียนการสอนที่เน้น - ความเช่ือถอื ได้ - วธิ ีการ/กระบวนการจัดการเรยี นร้ใู นชัน้ เรียนทีส่ อดคล้องกับ
ผูเ้ รยี นเปน็ ส�ำคญั - ประสทิ ธิผล
แผนการจัดการเรยี นรู้
- การใช้สื่อเทคโนโลยี แหลง่ เรยี นรู้ ภมู ิปัญญาท้องถิน่
- การจดั ชั้นเรยี นและการบรหิ ารจัดการชนั้ เรยี น และสภาพแวดล้อม

ทสี่ ง่ เสรมิ การเรียนรู้ของผเู้ รยี น
- เทคนคิ การสอน และ ฯลฯ
๒. สมั ภาษณ์
นกั เรียน ครู ผ้บู รหิ ารผู้ปกครอง ผูท้ ่ีมสี ว่ นเกย่ี วข้อง เช่น
คณะกรรมการสถานศกึ ษา องคก์ รต่าง ๆ ฯลฯ
๓. ศึกษาเอกสาร
- ประกาศมาตรฐานและก�ำหนดคา่ เป้าหมายของสถานศกึ ษา
- แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา แผนปฏบิ ัตกิ าร

ประจ�ำปี
- หลักสูตรสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
- รายงานการประเมนิ โครงการ/กิจกรรม
- รายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอกตอ่ ส�ำนกั งานรบั รอง

มาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

ดา้ น แนวทางพจิ ารณา ข้อมูล/ร่องรอยหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์

43 - รายงานการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรในสถานศึกษา ID Plan
ของครู รายงานผลการพฒั นาตนเอง
การเตรียมความพร้อมของสถานศกึ ษาเพ่อื รบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก
- หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัด
การเรียนรทู้ ่เี น้นกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ รงิ ให้เป็นปัจจบุ นั

- เอกสารหลกั ฐานร่องรอยที่เก่ยี วขอ้ งกับการประเมนิ
ในชั้นเรยี นตามทส่ี ถานศึกษาก�ำหนด เช่น แบบบันทึก
ผลการเรียน แบบประเมินการอา่ น ตารางการจัดการเรียนรู้
ฯลฯ

- คำ� ส่งั ระเบยี บ หรอื เอกสารทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั การประเมิน
- ผลงาน/นวัตกรรม/การปฏิบตั ิที่เปน็ เลิศของ ครู และนกั เรียน
- สารสนเทศชั้นเรียน
- เครอ่ื งมอื การวัดประเมนิ ผลท่สี อดคลอ้ งกบั มาตรฐานและ

ตวั ชวี้ ดั
- สอื่ เทคโนโลยี และการใช้แหล่งเรยี นรู้ภายในและภายนอก

ประกอบการจัดการเรยี นรู้
- ทะเบียนการใชส้ ื่อและแหล่งเรียนรู้ - ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ

44 ดา้ น แนวทางพิจารณา ขอ้ มลู /รอ่ งรอยหลักฐานเชิงประจักษ์

การเตรยี มความพร้อมของสถานศึกษาเพอ่ื รับการประเมินคณุ ภาพภายนอก - รายงานวธิ กี าร/การวิจัยในการแก้ปัญหาและพฒั นาคณุ ภาพ
ผเู้ รียน

- ขอ้ มูลผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบคุ คล
- เอกสารหลักฐานการศึกษาตามทีก่ ระทรวงศึกษาธกิ ารก�ำหนด

(ปพ.๑– ๓) และเอกสารการศึกษาตามทีส่ ถานศกึ ษาก�ำหนด
- ทะเบยี นคุมสอ่ื การสอน
- บนั ทกึ การพฒั นาผู้เรียน
- คำ� สง่ั ต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่ แตง่ ตง้ั ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ/

กิจกรรม
- ภาพถ่าย/วดี ที ัศน์
- ร่องรอยหลักฐานทแี่ สดงให้เห็นวา่ มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรู้

โดยใช้กระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวชิ าชพี (PLC)
- หลกั ฐานรอ่ งรอยทีแ่ สดงถงึ การมสี ว่ นรว่ มของผู้ปกครอง

หน่วยงาน หรือบคุ คลภายนอก เช่น บันทกึ การประชมุ
ผูป้ กครอง หนังสือเชิญ ผู้ปกครอง ผ้นู ำ� ชมุ ชน องคก์ รต่าง ๆ

บรรณานุกรม

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒. (๒๕๔๒). ราชกิจจานุเบกษา.
เลม่ ๑๑๖ ตอนที่ ๗๔ ก (๑๙ สงิ หาคม ๒๕๔๒).

_______. (๒๕๔๕). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๑๙ ตอนที่ ๑๒๓ ก (๑๙ ธันวาคม
๒๕๔๕).

ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).
(๒๕๕๔). คมู่ อื การประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔-
๒๕๕๘) ระดับการศึกษาปฐมวัย (๒-๕ ป)ี ฉบับสถานศกึ ษา (แกไ้ ข
เพิ่มเติม พฤศจิกายน ๒๕๕๔). ค้นเมื่อ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๒, จาก
http://www.onesqa.or.th/th/content-view/๙๒๑/๑๒๐๔/

_______. (๒๕๖๐). กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่
(พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๓). การประชุมคณะกรรมการบรหิ าร สมศ. ครง้ั ท่ี
๑๐/๒๕๖๐. คน้ เมอื่ ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๖๒, จาก https://webs.rmutl.
ac.th/assets/upload/files/๒๐๑๗/๑๑/๒๐๑๗๑๑๐๑๑๔๑
๘๒๗_๗๐๙๔๒.pdf

_______. (๒๕๖๒). กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ี
(พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓) ระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน.

ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา. (๒๕๕๔). การติดตามตรวจสอบคุณภาพการ
ศึกษาของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์
และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓. กรุงเทพฯ :
โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกดั .

45

การเตรียมความพรอ้ มของสถานศึกษาเพอ่ื รบั การประเมินคุณภาพภายนอก

_______. (๒๕๖๑). แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และระดับการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐานศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด.

46

การเตรียมความพรอ้ มของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก

ภาคผนวก



กฎกระทรวง
การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

พ.ศ. ๒๕๖๑
อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และมาตรา ๔๗ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการออก
กฎกระทรวงไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้
ข้อ ๑ ใหย้ กเลกิ กฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกนั
คณุ ภาพการศกึ ษาพ.ศ. ๒๕๕๓
ข้อ ๒ ในกฎกระทรวงน้ี
“การประกันคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า การประเมินผลและ
การติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับ
และประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหาร
คุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาจัดขึ้น เพ่ือให้เกิดการพัฒนาและสร้าง
ความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนเก่ียวข้องและสาธารณชนว่าสถานศึกษาน้ันสามารถ
จัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุเป้าประสงค์
ของหนว่ ยงานตน้ สงั กัดหรือหนว่ ยงานทก่ี ำ� กับดูแล

49

การเตรยี มความพรอ้ มของสถานศึกษาเพอื่ รบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

“ส�ำนักงาน” หมายความว่า ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คณุ ภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน)
ข้อ ๓ ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษาโดยการก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาท่ีรัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศก�ำหนด พร้อมท้ังจัดท�ำแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและด�ำเนินการ
ตามแผนท่ีก�ำหนดไว้จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศกึ ษา ติดตามผลการดำ� เนินการเพ่อื พัฒนาสถานศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพ
ตามาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงาน
ต้นสงั กัดหรอื หนว่ ยงานทก่ี �ำกบั ดแู ลสถานศกึ ษาเปน็ ประจ�ำทกุ ปี
เพื่อให้การด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามวรรคหน่ึงเป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีก�ำกับดูแล
สถานศึกษามีหน้าท่ีในการให้ค�ำปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะน�ำสถานศึกษา
เพื่อใหก้ ารประกันคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาพฒั นาอยา่ งต่อเนอ่ื ง
ข้อ ๔ เมื่อได้รับรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามข้อ ๓
แล้วให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลสถานศึกษาจัดส่งรายงาน
ดังกล่าวพร้อมกับประเด็นต่าง ๆ ที่ต้องการให้มีการประเมินผลและการติดตาม
ตรวจสอบซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องหรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ
สถานศึกษาแห่งนั้นให้แก่ส�ำนักงานเพ่ือใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมิน
คณุ ภาพภายนอก
ให้ส�ำนักงานด�ำเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินและ
การติดตามตรวจสอบดังกล่าว พร้อมข้อเสนอแนะให้แก่สถานศึกษาและหน่วยงาน
ต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลสถานศึกษาน้ันๆ เพื่อให้สถานศึกษาใช้เป็น
แนวทางในการปรับปรุงและพฒั นาคุณภาพการศึกษาต่อไป

50

การเตรยี มความพรอ้ มของสถานศกึ ษาเพอื่ รับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

ในการด�ำเนินการตามวรรคสอง ส�ำนักงานอาจจัดให้บุคคลหรือหน่วยงาน
ที่ได้รับรองจากส�ำนักงานด�ำเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาได้
ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีก�ำกับดูแลสถานศึกษานั้นติดตาม
ผลการด�ำเนินการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตาม
วรรคสอง เพื่อน�ำไปสู่การพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ขอ้ ๕ ให้รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ ารมีอ�ำนาจตคี วามและวินจิ ฉัย
ปัญหาอนั เกย่ี วกบั การปฏบิ ัตติ ามกฎกระทรวงน้ี

ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี ๒๐ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑


ธรี ะเกียรติ เจรญิ เศรษฐศลิ ป์
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ

51

การเตรยี มความพรอ้ มของสถานศึกษาเพ่ือรบั การประเมนิ คุณภาพภายนอก

หมายเหตุ :– เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับน้ี คือ โดยที่แนวทาง
ในการด�ำเนินการตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน
คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ไม่สอดคล้องกับหลักการประกันคุณภาพ
การศึกษาที่แท้จริง จึงส่งผลให้การด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาท้ังภายใน
และภายนอกไม่สัมพันธ์กัน เกิดความซ�้ำซ้อนและคลาดเคล่ือนจากการปฏิบัติ
ท�ำให้ไม่สะท้อนความเป็นจริงและเป็นการสร้างภาระแก้สถานศึกษาและ
บุคลากรในสถานศึกษา ตลอดจนหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีก�ำกับดูแล
และหน่วยงานภายนอกเกินความจ�ำเป็น สมควรปรับปรุงระบบ หลักเกณฑ์
และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อให้มีกลไกการปฏิบัติที่เอื้อต่อการ
ดำ� เนนิ การตามมาตรฐานการศกึ ษาของแตล่ ะระดับ และเกิดประสิทธภิ าพในการ
พฒั นาคุณภาพการศึกษา จงึ จำ� เป็นต้องออกกฎกระทรวงน้ี


52

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพือ่ รับการประเมินคุณภาพภายนอก

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรือ่ ง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั ระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน

และระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ
โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๑ นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสองที่ก�ำหนดเป้าหมาย
และยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต
ประกอบกับมีนโยบายให้ปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพ
ท้ังภายในและภายนอกของทุกระดับก่อนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบต่อไป
จ�ำเป็นต้องปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้สอดคล้องกัน จึงให้ยกเลิก
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย
เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันท่ี ๒๗ กรกฎาคม
พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันท่ี ๑๑ ตุลาคม
พ.ศ. ๒๕๕๙ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา
ศูนย์การศึกษาพิเศษ เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันท่ี
๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๐
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๙ (๓) ได้ก�ำหนดการจัดระบบ โครงสร้าง

53

การเตรยี มความพร้อมของสถานศกึ ษาเพื่อรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

และกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลักที่ส�ำคัญข้อหน่ึง คือ มีการก�ำหนด
มาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและ
ประเภทการศึกษาโดยมาตรา ๓๑ ให้กระทรวงมีอ�ำนาจหน้าท่ีก�ำกับดูแล
การศกึ ษาทุกระดบั และทุกประเภท ก�ำหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา
และมาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกัน
คุณภาพภายในสถานศกึ ษา และให้ถอื วา่ การประกันคุณภาพภายในเปน็ ส่วนหนงึ่
ของการบริหารการศึกษาท่ีต้องด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดท�ำรายงาน
ประจ�ำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และเปิดเผย
ต่อสาธารณชน เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และเพ่ือรับรอง
การประกนั คณุ ภาพภายนอก
ฉะนั้น อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๙ (๓) มาตรา ๔๘
แหง่ พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และมาตรา ๕ มาตรา ๓๑
แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับมติ
คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานในการประชมุ ครั้งที่ ๕/๒๕๖๑ เมื่อวนั ศุกร์ที่
๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จึงประกาศให้
ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและระดับ
การศึกษาข้ันพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ เพ่ือเป็นหลักในการเทียบเคียงส�ำหรับ
สถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาท้ังประถม
ศกึ ษา และมัธยมศกึ ษา ในการพัฒนาส่งเสรมิ สนบั สนนุ กำ� กบั ดแู ล และติดตาม
ตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา ตามเอกสารแนบท้ายประกาศฉบบั น้ี


54

การเตรยี มความพร้อมของสถานศกึ ษาเพื่อรบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

ทั้งนี้ให้ใช้กับสถานศึกษาท่ีเปิดสอนระดับปฐมวัย ระดับการศึกษา
ขั้นพน้ื ฐาน และระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐานศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ

ประกาศ ณ วันที่ ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศลิ ป์

รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ

55

การเตรียมความพรอ้ มของสถานศกึ ษาเพอื่ รบั การประเมนิ คุณภาพภายนอก

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
แนบทา้ ยประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง ให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั
ระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน และระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐานศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ

ฉบบั ลงวนั ที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ มีจ�ำนวน
๓ มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน
๑.๑ ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผู้เรียน
๑.๒ คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผเู้ รยี น
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำ� คญั
แต่ละมาตรฐานมรี ายละเอียดดงั น้ี
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น
๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการของผูเ้ รียน
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการ
คดิ คำ� นวณ
๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ
อภิปรายแลกเปลย่ี น ความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหา
๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม
๔) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
๕) มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา
๖) มคี วามรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน และเจตคติท่ดี ีต่องานอาชีพ

56

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพ่อื รับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

๑.๒ คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผู้เรยี น
๑) การมีคณุ ลกั ษณะและค่านิยมทด่ี ีตามทสี่ ถานศกึ ษาก�ำหนด
๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
๓) การยอมรับทจี่ ะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
๒.๑ มีเปา้ หมายวสิ ยั ทศั นแ์ ละพันธกิจทสี่ ถานศึกษาก�ำหนดชดั เจน
๒.๒ มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
๒.๓ ด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม
หลักสตู รสถานศกึ ษา และทกุ กลุ่มเป้าหมาย
๒.๔ พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ คี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้
อย่างมคี ุณภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการ
และการจดั การเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเป็นส�ำคัญ
๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถ

น�ำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตได้
๓.๒ ใชส้ ื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ทเ่ี อื้อตอ่ การเรียนรู้
๓.๓ มีการบรหิ ารจดั การชน้ั เรียนเชิงบวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน�ำผล

มาพัฒนาผูเ้ รยี น
๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและ

ปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้

57

การเตรียมความพรอ้ มของสถานศกึ ษาเพือ่ รับการประเมนิ คุณภาพภายนอก

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัย
แนบทา้ ยประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่อื ง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั
ระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน และระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐานศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ

ฉบบั ลงวันท่ี ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๑ มีจ�ำนวน ๓ มาตรฐาน
ได้แก่
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเดก็
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี ๓ การจัดการประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นส�ำคัญแต่ละมาตรฐาน
มรี ายละเอียดดงั น้ี
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพเดก็
๑.๑ มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแล

ความปลอดภัยของตนเองได้
๑.๒ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทาง

อารมณไ์ ด้
๑.๓ มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดี

ของสงั คม
๑.๔ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน

และแสวงหาความรไู้ ด้
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๒.๑ มหี ลักสูตรครอบคลมุ พฒั นาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคลอ้ งกบั บริบท

ของท้องถ่นิ
๒.๒ จัดครูให้เพียงพอกบั ชัน้ เรียน
๒.๓ ส่งเสริมให้ครมู ีความเชยี่ วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์

58

การเตรียมความพรอ้ มของสถานศึกษาเพ่ือรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

๒.๔ จัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพ่ือการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และ
เพยี งพอ

๒.๕ ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพ่ือ
สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์

๒.๖ มีระบบบริหารคณุ ภาพทีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้เก่ยี วขอ้ งทุกฝ่ายมสี ่วนร่วม
มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นเด็กเป็นสำ� คญั
๓.๑ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล

เต็มศกั ยภาพ
๓.๒ สร้างโอกาสให้เดก็ ไดร้ ับประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ตั อิ ยา่ งมี

ความสขุ
๓.๓ จัดบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีท่ีเหมาะ

สมกบั วยั
๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและน�ำผลการประเมิน

พัฒนาการเดก็ ไปปรับปรุงการจดั ประสบการณ์และพฒั นาการเดก็

59

การเตรียมความพร้อมของสถานศกึ ษาเพอื่ รบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก

มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ
แนบทา้ ยประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวัย
ระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ

ฉบับลงวนั ท่ี ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๖๑ มีจำ� นวน ๓ มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผูเ้ รยี น
๑.๑ ผลการพฒั นาผู้เรียน
๑.๒ คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเป็นส�ำคัญ
แต่ละมาตรฐานมรี ายละเอียดดังน้ี
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผเู้ รียน
๑.๑ ผลการพัฒนาผู้เรียน
๑) มีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ท่ีแสดงออกถึง
ความรู้ ความสามารถ ทักษะตามที่ระบุไว้ในแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล หรือ แผนการให้บริการช่วยเหลือ
เฉพาะครอบครัว
๒) มีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเชื่อมต่อหรือการส่งต่อ
เข้าสู่การศึกษาในระดับท่ีสูงขึ้น หรือการอาชีพหรือ
การดำ� เนินชีวิตในสงั คมไดต้ ามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล
๑.๒ คุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์ของผ้เู รยี น
๑) มคี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามทส่ี ถานศึกษากำ� หนด
๒) มคี วามภมู ใิ จในท้องถิน่ และความเป็นไทย ตามศกั ยภาพของ
ผูเ้ รยี นแตล่ ะบคุ คล

60

การเตรียมความพรอ้ มของสถานศกึ ษาเพ่ือรับการประเมินคณุ ภาพภายนอก

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
๒.๑ มเี ปา้ หมายวิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกิจท่สี ถานศกึ ษาก�ำหนดชัดเจน
๒.๒ มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา
๒.๓ ด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม

หลกั สตู รสถานศึกษาและทกุ กลุ่มเป้าหมาย
๒.๔ พัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความเช่ยี วชาญทางวิชาชพี
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือต่อการจัดการ

เรียนรูอ้ ย่างมีคุณภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการ

และการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสำ� คัญ
๓.๑ การจัดเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถ

น�ำไปประยุกต์ในชีวิตได้
๓.๒ ใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นร้ทู เ่ี อือ้ ตอ่ การเรียนรู้
๓.๓ มีการบริหารจัดการชนั้ เรยี นเชิงบวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน�ำผลมา

พัฒนาผ้เู รียน
๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและ

ปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้



61

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก

ประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
เร่อื ง แนวปฏิบัตกิ ารด�ำเนนิ งานประกันคุณภาพการศึกษา

ระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ.๒๕๖๑
โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ลงวันท่ี ๒๐ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๑ ได้ก�ำหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารประกัน
คุณภาพการศึกษาอันส่งผลให้การด�ำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา
ทงั้ หน่วยงานตน้ สังกดั หรือหนว่ ยงานก�ำกับดแู ล และหนว่ ยงานภายนอกทีส่ ะทอ้ น
สภาพการด�ำเนินงานที่แท้จริงและเกิดประสิทธิภาพ และก�ำหนดแนวทางในการ
ขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาสอดคล้องกับหลักการประคุณภาพ
การศึกษา และมีกลไกปฏิบัติที่เอ้ือต่อการด�ำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา
แต่ละระดบั ให้เกิดประสทิ ธิภาพในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงได้จัดท�ำแนวปฏิบัติการ
ดำ� เนนิ งานการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาขึน้ เพ่อื ใหห้ น่วยงานต้นสังกดั สำ� นักงาน
บริหารการศึกษาพิเศษ ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาทั้งประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษา ใช้เป็นแนวปฏิบัติในการด�ำเนินการเพื่อการพัฒนาส่งเสริม ก�ำกับ
ดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพต่อการพัฒนา
คณุ ภาพการศกึ ษา โดยมรี ายละเอียด ดังนี้

62

การเตรียมความพรอ้ มของสถานศึกษาเพือ่ รับการประเมนิ คุณภาพภายนอก

ระดบั สถานศกึ ษา
ให้สถานศึกษาระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐานด�ำเนินการดังต่อไปนี้
๑. ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษา เพ่ือให้เกิดการพัฒนา และเพ่ือเป็นกลไกในการควบคุม
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเชื่อม่ัน
ใหก้ บั สังคม ชุมชน และผูม้ ีส่วนเกยี่ วข้อง
๒. จดั ให้มรี ะบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา ดงั น ี้
๒.๑ ก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตาม
มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยและหรือระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ที่กระทรวงประกาศใช้ และให้สถานศึกษาก�ำหนดเป้าหมายความส�ำเร็จ
ตามมาตรฐานของสถานศึกษาตามบริบท ท้ังน้ี สามารถเพิ่มเติมมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา นอกเหนือจากที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้ได้
โดยใหส้ ถานศกึ ษาและผเู้ ก่ยี วขอ้ ง ด�ำเนินการและรับผดิ ชอบรว่ มกัน
๒.๒ จัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ที่สอดคล้อง
กับสภาพปัญหาและความต้องการจ�ำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
โดยสะทอ้ นคุณภาพความส�ำเร็จอย่างชัดเจนตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
๒.๓ ดำ� เนนิ การตามแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
๒.๔ ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
โดยก�ำหนดผ้รู ับผิดชอบ และวธิ ีการทเี่ หมาะสม
๒.๕ ติดตามผลการด�ำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานของสถานศึกษา และน�ำผลการติดตามไปใช้ประโยชน์ในการ
ปรับปรุงพัฒนา
๒.๖ จดั ท�ำรายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report
: SAR) ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา น�ำเสนอรายงานผลการประเมนิ
ตนเองตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานให้ความเห็นชอบ และจัดส่งรายงาน
ดงั กลา่ วตอ่ ส�ำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาเป็นประจำ� ทกุ ปี

63

การเตรยี มความพร้อมของสถานศึกษาเพ่อื รับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

๒.๗ พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพโดยพิจารณาจากรายงานผล
การประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) และตามคำ� แนะนำ� ของ
ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาหรือส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
เพ่ือให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนา
อยา่ งต่อเนอื่ ง
๓. สถานศึกษาแต่ละแห่งให้ความร่วมมือกับส�ำนักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในการประเมินคุณภาพภายนอกของ
สถานศึกษา เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามข้อเสนอแนะของ
สำ� นกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (สมศ.) และหน่วยงาน
ตน้ สงั กดั หรือหน่วยงานทก่ี ำ� กับดแู ล เพ่ือน�ำไปสกู่ ารพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
ของสถานศกึ ษา
ระดบั ส�ำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา/ส�ำนักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ
ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา/ส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ในฐานะ
หนว่ ยงานต้นสังกดั หรอื หนว่ ยงานท่กี ำ� กับดแู ล ด�ำเนินการดงั ตอ่ ไปน้ี
๑. ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ตลอดจนให้ค�ำปรึกษา ช่วยเหลือและแนะน�ำสถานศึกษา เพื่อการพัฒนาระบบ
ประกันคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละแหง่ อย่างต่อเน่อื ง
๒. รวบรวม และสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
(Self-Assessment Report : SAR) พร้อมกับประเด็นต่างๆ ท่ีต้องการให้มี
การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
หรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาแห่งนั้น และจัดส่งไปยังส�ำนักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพ่ือใช้เป็นข้อมูลและ
แนวทางในการประเมนิ คุณภาพภายนอก

64

การเตรยี มความพรอ้ มของสถานศึกษาเพ่ือรบั การประเมินคุณภาพภายนอก

๓. ติดตามผลการด�ำเนินงาน ปรบั ปรุง และพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของ
สถานศึกษาตามข้อเสนอแนะของส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพ่ือการน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
๔. ให้ความร่วมมือกับส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศกึ ษา (สมศ.) ในการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
๕. อาจมอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตการณ์ และ
ใหข้ ้อมูลเพ่มิ เตมิ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอก
ระดับสำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
๑. ส่งเสริม สนับสนุน ให้ค�ำปรึกษา ช่วยเหลือ ต่อส�ำนักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษา เพือ่ การพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษา
๒. ศกึ ษา วเิ คราะห์ สรุปผลรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self-Assessment Report : SAR) และรวบรวมประเด็นที่ต้องการให้มี
การประเมินผลและติดตามตรวจสอบซ่ึงรวบรวมได้จากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องหรือ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษา ไปยังส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพ่ือใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพ
ภายนอก
๓. ติดตามผลการด�ำเนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของสถานศึกษาตามข้อเสนอแนะของส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
๔. ประสานความร่วมมือกับส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในการจัดบุคคลร่วมเป็นผู้ประเมินคุณภาพภายนอก
กับสำ� นักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (สมศ.)


65

การเตรยี มความพร้อมของสถานศกึ ษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก

๕. อาจมอบหมายบุคคลท่ไี มไ่ ด้เป็นผปู้ ระเมนิ เข้ารว่ มสงั เกตการณ์ และให้
ขอ้ มูลเพิ่มเตมิ ในกระบวนการประเมนิ คุณภาพภายนอก

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
นายบญุ รกั ษ์ ยอดเพชร

เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

66

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพอื่ รับการประเมินคุณภาพภายนอก

คณะทำ�งาน

ทีป่ รึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
ดร.อ�ำนาจ วิชยานวุ ตั ิ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
ดร.วัฒนาพร ระงบั ทุกข์ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นักทดสอบทางการศึกษา
ดร.วษิ ณุ ทรัพย์สมบตั ิ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน


ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ ผู้อำ� นวยการกล่มุ พัฒนาระบบการประกนั คุณภาพ
ดร.มธุรส ประภาจันทร์ การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
สำ� นักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นกั วิชาการศึกษาชำ� นาญการพิเศษ
นางสุอารีย์ ชนื่ เจริญ สำ� นกั ทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
นกั วชิ าการศึกษาชำ� นาญการ
ดร.ฉตั รชยั หวงั มจี งมี สำ� นกั ทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
นักวิชาการศึกษาชำ� นาญการ
นายประสทิ ธ์ิ ท�ำกันหา ส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
นกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ
นางสาวอนงนาฏ อินกองงาม สำ� นกั ทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.


67

การเตรียมความพร้อมของสถานศกึ ษาเพ่อื รบั การประเมนิ คุณภาพภายนอก

นางสาวยลดา โพธิสิงห ์ พนกั งานจา้ งเหมาบรกิ าร
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นายสท้าน พวกดอนเค็ง พนกั งานจ้างเหมาบรกิ าร
ส�ำนักทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
นางสาวปทิตตา ฉายแสง พนกั งานจา้ งเหมาบรกิ าร
ส�ำนักทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.

ผทู้ รงคุณวฒุ ิพจิ ารณาเน้อื หา ขา้ ราชการบำ� นาญ
ดร.ไพรวัลย์ พิทกั ษ์สาลี สำ� นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน


คณะยกร่างและเขยี นเอกสาร

ดร.มธรุ ส ประภาจันทร์ ผอู้ ำ� นวยการกลมุ่ พัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน
สำ� นักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นางสอุ ารยี ์ ชื่นเจริญ นกั วิชาการศกึ ษาชำ� นาญการพิเศษ
ส�ำนกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
ดร.ฉัตรชยั หวงั มจี งมี นกั วิชาการศกึ ษาช�ำนาญการ
สำ� นักทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
นางสาวอนงนาฏ อนิ กองงาม นกั วชิ าการศกึ ษาปฏิบัติการ
ส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.

68

การเตรียมความพรอ้ มของสถานศกึ ษาเพ่ือรับการประเมินคณุ ภาพภายนอก

นางอรอมุ า หวังมจี งม ี นักวชิ าการศึกษาปฏบิ ตั กิ าร
สำ� นกั ติดตามและประเมินผล
การจัดการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน สพฐ.
ดร.บุญสุ่ม อินกองงาม ข้าราชการบำ� นาญ
นางจนิ ตนา เหนือเกาะหวาย ข้าราชการบำ� นาญ
นางปัทมพร สุรกจิ บวร ขา้ ราชการบำ� นาญ
นางบวั บาง บุญอยู ่ ขา้ ราชการบ�ำนาญ
รศ.ดร.สมบัต ิ ทา้ ยเรอื ค�ำ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาหลกั สตู รการสอน
และการเรยี นรู้ คณะศึกษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่
นางสาวสมลกั ษณ์ พิมสกุล ผอู้ ำ� นวยการกล่มุ นเิ ทศ
ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา
ส�ำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา
ชลบรุ ี เขต ๒
ดร.สุทธลิ กั ษณ์ ภูรชิ ัยพัฒน์ ศึกษานเิ ทศกช์ �ำนาญการพเิ ศษ
ส�ำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา
เขต ๓๙ (พิษณุโลก)
ดร.ชนกนาถ วงษค์ ำ� จันทร ์ ศึกษานิเทศกช์ �ำนาญการพิเศษ
ส�ำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั ขอนแกน่
นางสาววิชดุ า แดนเมอื ง ศกึ ษานเิ ทศก์ชำ� นาญการพิเศษ
ส�ำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั อตุ รดติ ถ์

69

การเตรยี มความพร้อมของสถานศึกษาเพ่ือรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

คณะบรรณาธกิ ารกจิ

ดร.มธรุ ส ประภาจนั ทร์ ผอู้ ำ� นวยการกลมุ่ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพ
การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
สำ� นักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นางสอุ ารีย์ ช่นื เจริญ นักวิชาการศึกษาชำ� นาญการพิเศษ
สำ� นักทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
ดร.ฉัตรชัย หวังมีจงม ี นกั วิชาการศึกษาชำ� นาญการ
ส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
นายประสทิ ธ์ิ ท�ำกันหา นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการ
ส�ำนักทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
นางสาวอนงนาฏ อนิ กองงาม นกั วิชาการศึกษาปฏบิ ัติการ
สำ� นักทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
ดร.บุญสุ่ม อนิ กองงาม ขา้ ราชการบ�ำนาญ
นางปัทมพร สุรกิจบวร ข้าราชการบำ� นาญ
นางบัวบาง บุญอยู่ ข้าราชการบ�ำนาญ
นางสาวสมลกั ษณ์ พิมสกลุ ผู้อำ� นวยการกลมุ่ นเิ ทศ
ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา
ส�ำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาชลบุรี
เขต ๒

70

การเตรยี มความพร้อมของสถานศึกษาเพ่อื รับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

ออกแบบปก นกั ประชาสัมพนั ธช์ ำ� นาญการ
นางสาวศิรินทพิ ย์ ลำ้� เลศิ ส�ำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา
อบุ ลราชธานี เขต ๔


71

การเตรยี มความพรอ้ มของสถานศึกษาเพ่อื รับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก



สาำ นักทดสอบทางการศกึ ษา
สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

http://bet.obec.go.th ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๕๗ - ๘ ๐ ๒๖๒๘ ๕๘๖๒


Click to View FlipBook Version