The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yodacu62, 2022-07-28 06:46:11

SAR ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2564

SAR ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2564

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

(Self - Assessment Report : SAR)
ปกี ารศกึ ษา 2564

ระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

โรงเรียนอสั สัมชัญอุบลราชธานี
เลขที่ 500 แขวง/ตำบล ในเมือง เขต/อำเภอเมอื งอุบลราชธานี

จงั หวดั อบุ ลราชธานี

สังกัด สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาฉบับน้ี เป็นการสรุปผลการดำเนินงานในรอบปีการศึกษาของ
โรงเรียน ท่ีสะท้อนให้เห็นภาพความสำเร็จท่ีเกิดขึ้นตามบริบทของโรงเรียน ซึ่งมีองค์ประกอบ 2 ส่วน ได้แก่ สว่ นท่ี 1
บทสรุปของผู้บริหาร ส่วนท่ี 2 ข้อมูลพื้นฐาน ส่วนที่ 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาและภาคผนวก โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมา ซ่ึงเป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ
ของโรงเรียน และเปน็ การเตรยี มความพรอ้ มในการประเมินคุณภาพภายนอกต่อไป

สารบัญ หนา้

คำนำ 1
สารบญั 1
ส่วนที่ 1 บทสรปุ ของผบู้ ริหาร 1
8
ตอนท่ี 1 ข้อมูลพน้ื ฐาน 8
ตอนท่ี 2 การนำเสนอผลการประเมินตนเอง 12
ส่วนท่ี 2 ขอ้ มูลพน้ื ฐาน 14
1. ขอ้ มลู พื้นฐาน 15
2. ข้อมลู พ้ืนฐานแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 23
3. ผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 24
4. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรยี น 26
5. นวัตกรรม/แบบอยา่ งทดี่ ี (Innovation/Best Practice) 27
6. รางวัลท่ีสถานศึกษาได้รบั 27
7. ดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ 28
8. ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกของ สมศ. ที่ผา่ นมา 28
9. หน่วยงานภายนอกทโ่ี รงเรยี นเขา้ ร่วมเปน็ สมาชิก 66
ส่วนที่ 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 67
๑. ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน 69
๒. สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 69
๓. จดุ เดน่ 69
๔. จดุ ควรพฒั นา 69
๕. แนวทางการพัฒนา 72
๖. ความตอ้ งการช่วยเหลอื
๗. ความโดดเด่นของสถานศึกษา (ถ้ามี)
ภาคผนวก

1

สว่ นที่ 1
บทสรุปของผู้บรหิ าร

ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน

โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี รหัส 1134100014 เลขที่ 500 ถนนชยางกูร ตำบลในเมือง

อำเภอเมือง จงั หวดั อุบลราชธานี รหัสไปรษณีย์ 34000 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

โ ท ร ศั พ ท์ 0 8 8 -1 1 8 4 2 1 1 โ ท ร ส า ร 045-313400 e-mail - website:http:/ / www.acu.ac.th

Facebook:https://www.facebook.com/ACU2508 ได้รับอนุญาตจัดต้ังเมื่อ เมื่อวันท่ี 31 พฤษภาคม พ.ศ.

2500 เปิดการสอนระดับช้ันบริบาล ถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวนนักเรียน 2,026 คน จำนวนบุคลากร

โรงเรยี น 191 คน

ตอนที่ 2 การนำเสนอผลการประเมนิ ตนเอง
ระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

1) มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานระดับคุณภาพ ยอดเยย่ี ม
2) หลกั ฐานสนบั สนนุ ผลการประเมินตนเองตามระดับคณุ ภาพ

2.1 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนกั เรยี น ปีการศกึ ษา 2564 ทีม่ ผี ลการเรยี น 3.00 ข้นึ ไป
ตามเกณฑ์ของโรงเรียน ทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ เฉลี่ย สูงกว่า เกณฑ์เป้าหมายของโรงเรียน รอ้ ยละ 81.90

2.2 ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ มผี ลการประเมินระดบั ดขี ึน้ ไป
รอ้ ยละ 100

2.3 ผลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน มีผลการประเมินระดบั ดขี ึ้นไป
ร้อยละ 99.84

2.4 ผลการประเมนิ ความสามารถในการส่ือสารภาษาไทยได้อย่างมปี ระสิทธิภาพและเหมาะสม
กบั วัยมีผลการประเมนิ บรรลเุ ป้าหมายท่ีกำหนด ร้อยละ 95.06

2.5 ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลกั สตู ร มีผลการสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร
รอ้ ยละ 94.34

2.6 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดบั ประเทศ การประกวดเขยี นเรียงความ เรื่อง ต้นไม้ของฉนั
จัดโดย ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) สำนักงานใหญ่ กรุงเทพ ฯ

2.7 รางวัลเหรียญเงนิ ระดับประเทศ การแข่งขันคดิ เลขเรว็ จัดโดย สำนกั งานคณะกรรมการ
ส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชนรว่ มกบั สมาคมคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชน

2.8 รางวัลรองชนะเลิศอนั ดับ 1 พร้อมโล่รางวัล จำนวน 1 ช้นิ ระดบั ประเทศ การแขง่ ขัน
หุ่นยนต์รายการ Transporter Robot (อายุไมเ่ กนิ 15 ปี) จัดโดย ศูนย์หุ่นยนต์โรงเรยี นกมลาไสย จังหวดั กาฬสินธุ์

2

2.9 รางวลั รองชนะเลศิ อันดับ 2 พรอ้ มโล่รางวลั จำนวน 1 ช้ิน ระดบั ประเทศ การแข่งขนั
หุน่ ยนต์รายการ Transporter Robot (อายุไม่เกิน 15 ปี) จัดโดย ศนู ยห์ นุ่ ยนตโ์ รงเรียนกมลาไสย จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ

2.10 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 พร้อมโล่รางวัล จำนวน 1 ชิ้น ระดับประเทศ การแข่งขัน
หนุ่ ยนต์รายการ Transporter Robot (รุ่นไมจ่ ำกดั อายุ) จัดโดย ศูนยห์ นุ่ ยนต์โรงเรยี นกมลาไสย จังหวัดกาฬสนิ ธุ์

2.11 รางวัลชนะเลิศ ตอบปัญหาสุขศึกษา และพลศึกษา ในการแข่งข้นทักษะวิชาการและ
ประกวดสิงประดิษฐ์นักเรยี นเอกชน จดั โดย สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดอุบลราชธานี

2.12 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 แอโรบิค ช้ันป.4-6 ในการแข่งข้นทักษะวิชาการและประกวด
สิงประดษิ ฐน์ ักเรยี นเอกชน จัดโดย สำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดอุบลราชธานี

2.13 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 แอโรบิค ชั้น ม.1-3 ในการแข่งข้นทักษะวิชาการและประกวด
สิงประดษิ ฐน์ ักเรยี นเอกชน จัดโดย สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั อบุ ลราชธานี

2.14 รางวัลชนะเลิศ การสอบวัดระดับความร้ทู างภาษาจีน HSK มีผลคะแนนการสอบ HSK 3 ใน
ระดบั สงู จัดโดย สถาบนั ขงจ่ือมหาวิทยาลยั มหาสารคาม รว่ มกับมหาวิทยาลยั ราชภัฏอบุ ลราชธานี

2.15 รางวัลชมเชย การแข่งขันคัดลายมือภาษาจีน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จัดโดย ชมรม
ส่งเสรมิ ศักยภาพดา้ นภาษาและวฒั นธรรมจีนแหง่ ประเทศไทย

2.16 รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันคัดลายมือภาษาจีน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดโดย ชมรม
สง่ เสรมิ ศกั ยภาพดา้ นภาษาและวัฒนธรรมจนี แหง่ ประเทศไทย

2.17 รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันวาดภาพระบายสีเกี่ยวกับวัฒนธรรมจีน ระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนตน้ จดั โดย ชมรมส่งเสรมิ ศักยภาพดา้ นภาษาและวฒั นธรรมจีนแห่งประเทศไทย

2.18 รางวัลชมเชย การแข่งขันวาดภาพระบายสีเก่ียวกับวัฒนธรรมจีน ระดับช้ันมัธยมศึกษา
ตอนตน้ จดั โดย ชมรมสง่ เสรมิ ศักยภาพดา้ นภาษาและวัฒนธรรมจนี แหง่ ประเทศไทย

2.19 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การแข่งขันตอบคำถามความรู้ทั่วไปเก่ียวกับประเทศจีน จัดโดย
ชมรมสง่ เสรมิ ศักยภาพด้านภาษาและวัฒนธรรมจีนแห่งประเทศไทย

2.20 รางวัลเหรยี ญทอง การประกวดออกแบบปา้ ยนเิ ทศเทศกาลตรุษจีน โดยใช้เวบ็ ไชต์ Canva
กิจกรรม PK Chinese New Year 2022 จัดโดย โรงเรียนปากเกรด็ จังหวดั นนทบรุ ี

3) โรงเรยี นมแี ผนจะพัฒนาตนเองต่อไปอย่างไรให้ได้ระดับคุณภาพท่ีดีขนึ้ กว่าเดมิ 1 ระดบั
3.1 พัฒนาความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ สง่ เสริมให้ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถ ความถนดั เฉพาะทางเปน็

ที่ประจักษ์ สามารถแข่งขันในระดับชาติและนานาชาติ โรงเรียนมีนโยบายให้กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ จัด
กจิ กรรมส่งเสริมทักษะทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ เพ่ือให้นักเรียนได้ค้นพบทกั ษะและความสามารถ ความถนัดเฉพาะ
ทางของนักเรียนโดยเฉพาะทักษะด้านดนตรี กีฬาโดยส่งเสริมให้มีการส่งนักเรียนที่มีความสามารถได้มีโอกาสเข้า
รว่ มแข่งขนั ในระดับนานาชาติ

3.2 พัฒนาครูผู้สอนอย่างต่อเน่ืองเพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ และเชี่ยวชาญเฉพาะทางด้าน
วชิ าการ มที ักษะดา้ นการออกแบบหลกั สูตร และจัดกิจกรรมการเรยี นรูเ้ พือ่ ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพสงู สุด

3

3.3 พัฒนาอาคารสถานที่ สื่อ อุปกรณ์ให้มีความพร้อม สะดวก สะอาด และปลอดภัย ปรับปรุง
แหลง่ เรียนรู้ ทศั นยี ภาพในโรงเรียนเพอ่ื เอ้ืออำนวยตอ่ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้

3.4 มุ่งเน้นจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัย รักความเป็นไทย
สง่ เสริมประชาธิปไตย ตลอดจนระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น

4) นวัตกรรม/แบบอย่างทดี่ ี
4.1 การบรหิ ารข้อมูลสถานศึกษาด้วยโปรแกรม SWIS
4.2 การใช้ภาษาองั กฤษเป็นส่ือในการจดั การเรยี นการสอน
4.3 การจัดการเรยี นการสอนโปรแกรมอจั ฉริยภาพทางคณิตศาสตร์วทิ ยาศาสตร์และ
ภาษาองั กฤษ(MSEP: Math Science and English Program)
4.4 การจดั การเรียนการสอนหอ้ งเรยี น IPAD
4.5 การจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning
4.6 การจดั การเรยี นการสอนแบบบูรณาการ/STEM
4.7 การเรียนการสอนแบบ GroupDiscussion/นำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น
4.8 การเรยี นการสอนแบบแบบโครงงาน/โครงการ/ProblemBased
4.9 โครงการวิทยุ-โทรทัศน์เพื่อการศกึ ษา
4.10 ศนู ย์ภาษา EBP และ IEP
4.11 ห้องเรยี นพหปุ ัญญา
4.12 หอ้ งปฏิบัติการวทิ ยาศาสตรป์ ระถม
4.13 หอ้ งปฏิบัติการชีววทิ ยา-เคมี
4.14 หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารฟสิ ิกส์-โลกดาราศาสตร์
4.15 ACU Online Classroom
4.16 ACU คลังบทเรียนออนไลน์
4.17 ห้องประกอบอาหาร
4.18 ห้อง Lean Education
4.19 ห้องเรยี นดนตรี

5) ความโดดเด่นของสถานศึกษา
5.1 นกั เรียนเกง่ ภาษาองั กฤษ
โรงเรยี นไดจ้ ดั การเรียนการสอนโดยใชภ้ าษาอังกฤษเปน็ สื่อ ในการเรียนการสอน

5 รายวิชา ได้แก่ English Math Science Social Studies และ Values Education โดยใช้ตำรากลางของมลู นิธิ
เซนต์คาเบรยี ลแห่งประเทศไทย ผเู้ รยี นได้เรยี นร้กู บั เจ้าของภาษาโดยตรง

5.2 ระเบยี บวนิ ัย จิตสาธารณะ
ดา้ นระเบียบวินัย โรงเรียนไดจ้ ดั กิจกรรมประชมุ ผูป้ กครอง โดยมีการประสานทำความ

4

เข้าใจและขอความร่วมมือจากผู้ปกครองในการดูแลนักเรียนให้ปฏิบัติตนตามระเบียบการเป็นนักเรียน กิจกรรม
ส่งเสริมระเบียบวินัย โดย การอบรมนักเรียนประจำเดือน ตรวจติดตามเครื่องแต่งกาย การเข้าแถวเคารพธงชาติ
รับฝากใช้โทรศัพท์มือถือในช่วงเวลาเรียน งานระดับช้ัน ตรวจติดตามกำกับกิจกรรมห้องเรียนสะอาด กิจกรรม
ประหยัดนำ้ ประหยัดไฟ งานระบบดแู ลนกั เรียน โดยมีกจิ กรรมคดั กรองนกั เรียน กจิ กรรมเยี่ยมบ้าน

ด้านจิตสาธารณะ โรงเรยี นได้ดำเนนิ การดังน้ี
- งานสภานกั เรยี น โดยมกี ารจัดกจิ กรรมเสรมิ สรา้ งความเปน็ ผู้นำ
เช่น การออกไปจัดกิจกรรมนันทนาการ บริจาคสิ่งของ ทำความสะอาดให้กับสถานฟื้นฟูคนพิการซ้ำซ้อน จัดสภา
นกั เรียนรับ-สง่ ลูกคนตาบอดทีม่ าเรยี นในโรงเรยี น เดินรณรงค์และเก็บขยะในช่วงหลังเลิกเรียนเป็นประจำทุกวัน
- งานสัมพนั ธ์ชมุ ชน โดยมีกิจกรรมสมั พันธ์ชุมชนเสริมสรา้ งสังคม จัดนกั เรยี นออกไป
รว่ มกิจกรรมในชมุ ชนตามโอกาสหรือเทศกาลตา่ งๆอยา่ งต่อเน่ือง
6) โรงเรียนไดด้ ำเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
6.1 เรยี นภาษาไทย เน้นเพอ่ื การสื่อสารและใชเ้ ป็นเคร่อื งมอื เพ่ือเรียนวิชาอื่น
- โรงเรียนได้มกี ารพัฒนาผู้เรียนให้มที กั ษะการใช้ภาษาไทยในการส่ือสาร ดา้ นการอา่ น
การเขยี น การฟัง การดูและการพูดในทีช่ ุมชน ผ่านกจิ กรรมตา่ งๆ เช่น กิจกรรมวันสุนทรภู่ กิจกรรมสง่ เสริมทักษะ
การสื่อสารภาษาไทย กิจกรรมส่งเสริมบรรยากาศทางวิชาการของกลุ่มสาระฯ วันสัปดาห์นักบุญหลุยส์ วัน
ภาษาไทย วันเฉลิมพระชนมพรรษา กิจกรรมฝึกนักเรียนเป็นพิธีกรน้อยหน้าเสาธงก่อนเคารพธงชาติ และกิจกรรม
อ่ืนๆอีกมากมาย นอกจากน้ียังจัดให้ผู้เรียนทุกระดับชั้นได้ทำบันทึกการอ่านและบันทึกประจำวันเพ่ือส่งเสริมให้
ผูเ้ รยี นมที กั ษะด้านการอ่านและเขียน
- โรงเรียนได้มกี ารพัฒนาผ้เู รยี นให้สามารถเขยี นเรียงความชั้นสูง สง่ เสริม สนับสนุน
ให้ผู้เรียนผู้เรยี นมีความรแู้ ละทักษะด้านการเขียนค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้แบบกลุ่มกับเพื่อนเรียนรู้
รว่ มกนั ท้งั กิจกรรมภายในโรงเรียนที่ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนได้มีพฒั นาการดา้ นการเขียนอย่างตอ่ เนือ่ ง เร่ิมจากการเขยี น
บนั ทึกประจำวัน การเขียนเร่ืองจากภาพ การเขียนจินตนาการ ในกจิ กรรมต่างๆท่ที างโรงเรียนได้จัดขึน้ แล้วผูเ้ รยี น
ตอ้ งนำมาเขียนบรรยาย สรปุ กจิ กรรมต่างๆ ตง้ั แตร่ ะดับชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 - มธั ยมศึกษาปีท่ี 6
6.2 เรียนภาษาอังกฤษ เน้นเพอื่ การส่ือสาร
- โรงเรยี นไดก้ ำหนดในโครงสร้างหลกั สตู รท้ังหลักสตู รปกตแิ ละหลกั สตู รภาษาอังกฤษ
ในรายวิชาเพิ่มเตมิ เน้นการพัฒนาทักษะการฟัง พูด อา่ น เขยี นและการสื่อสาร เพื่อให้นักเรยี นได้ฝกึ ฝน ไดใ้ ช้ภาษา
ได้อย่างคล่องแคล่ว จากการเรียนการสอนโดยใช้หนังสือเรียนภาษาอังกฤษของมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่ง
ประเทศไทย 5 วิชา ได้แก่ English Math Science Social Studies และ Values Education โดยมีการจัดคาบ
เรียนที่ระบุในตารางเรียนและมีการจัดครูเข้าสอนครบท้ัง 5 รายวิชาซึ่งใช้ภาอังกฤษในการเรียนการสอน ทำให้
ผู้เรียนได้เรียนรู้กับครูชาวต่างชาติเจ้าของภาษาโดยตรง และจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการใช้
ภาษาอังกฤษในการสอื่ สาร เช่น การใชภ้ าษาองั กฤษเป็นส่อื Project Based Learning ม.4
- โรงเรียนเน้นการเรียนการสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา เน้นภาษาจีน ส่งเสริมให้นักเรียน
สามารถเลือกเรียนรายวิชาเพ่ิมเติมตามความถนัดด้านภาษาจีน ส่งเสริมให้นักเรียนเข้ารับการทดสอบวัดคุณภาพ

5

ภาษาจีน (HSK : Hanyu Shuiping Kaoshi) สอนโดยทีมครูชาวต่างชาติและครูไทยผู้เชี่ยวชาญ ส่งเสริม
ประสบการณ์ตรงโดยการทัศนศึกษา ประเทศจีนเพื่อเรียนรู้วัฒนธรรมและการใช้ภาษาจีนในการสื่อสารใน
ชวี ติ ประจำวัน

6.3 เรียนรู้ด้วยวิธกี าร Active Learning เนน้ พฒั นาทักษะกระบวนการคดิ การเรียนรู้จาก
สถานการณ์จริง สถานการณ์จำลอง กิจกรรมการเรียนรู้จากปัญหาและการลงมือปฏิบัติ สามารถเรียนรไู้ ด้ทุกที่ทุก
เวลาและเรยี นรอู้ ย่างมคี วามสขุ

- Project Based Learning ม.5 เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นสร้างสรรคผ์ ลงานตามความสนใจของ
ตนเองในรูปแบบของโครงงาน มีการประกวดโครงงานแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ประเภทท่ี 1 เทคโนโลยีอาหาร
ประเภทที่ 2 นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ ตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียน เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ
กำหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแกป้ ัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ มีความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรคผ์ ลงานด้วยความ
ภาคภูมใิ จ

- กิจกรรม STEM (ระดับช้นั ป.4-ป.6) เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนมกี ารเรียนรรู้ ่วมกนั เปน็ กลุ่ม
แลกเปล่ียนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน สามารถนำเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของ
ตนเอง ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถในการกำหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผล
ประกอบและเพ่ือใหผ้ ู้เรยี นมคี วามคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรคผ์ ลงานดว้ ยความภาคภูมิใจ

- โรงเรยี นส่งเสรมิ กระบวนการคิดวเิ คราะห์ของผเู้ รียนโดยจัดใหม้ ีหอ้ งเรียน SSP
ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.6/4 ) สร้างกิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนร้แู ละจดั ทำโครงงานทีเ่ สนอ และห้องเรยี น
โครงการพเิ ศษตา่ งๆ เช่น GP MSEP MSP สหศลิ ป์

6.4 เรยี นรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครื่องมือการเรียนรู้
- โรงเรียนไดพ้ ฒั นาผู้เรียนใหใ้ ช้เทคโนโลยีในการเรยี นรู้ ออกแบบ สร้างสรรค์งาน

สื่อสาร นำเสนอเผยแพร่และแลกเปล่ียนผลงานได้ในระดับนานาชาติ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยได้
ดำเนินการให้นักเรียนในแต่ละระดับช้ันได้ออกแบบสร้างสรรค์ผลงาน นำเสนอโครงงาน ถ่ายวีดีโอและทำการตัด
ต่อ นำเสนอในห้องเรียนและอัพลง Facebook หรือ YouTube เพอ่ื เผยแพร่ผลงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน
อาชีพ เรียนเร่ืองอาหารและโภชนาการ สำหรับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที 1-6 ให้นักเรียนวางแผนการ
ทำอาหารจากเรื่องท่ีเรียนโดยให้นักเรียนทำอาหารท่ีบ้านแล้วถ่ายวีดีโอ ทำการตัดต่อ อัพลง Facebook หรือ
YouTube เพอื่ เผยแพร่ผลงาน ซึง่ บคุ คลอื่นสามารถเปดิ ดไู ดท้ ่ัวโลก

- ชมรม ACU Channel ผลิตรายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์สั้น เผยแพร่ใน YouTube
และเว็บไซตข์ องโรงเรียน

- ACU ห้องเรียนออนไลน์ และ ACU คลังบทเรียนออนไลน์ เป็นแหล่งความรู้ที่ผู้เรียน
ได้ศกึ ษาค้นควา้ หาความรูไ้ ดด้ ้วยตนเอง

6.5 ส่งเสริมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์เพือ่ สร้างนวัตกรรม
- กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดกิจกรรม Project Based Learning ม.5

เป็นการสร้างสรรค์ผลงานตามความสนใจของนักเรียนในรูปแบบของโครงงาน มีการประกวดโครงงานแบ่งเป็น 2

6

ประเภทได้แก่ ประเภทที่ 1 เทคโนโลยีอาหาร ประเภทท่ี 2 นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ ซ่ึงเน้นให้นักเรียนใช้

ทรพั ยากรในชุมชนตามความถนัดและความสนใจของนักเรียนเพื่อนำเอาทรัพยากรในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์

และใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ออกแบบ สร้างสรรค์งาน สื่อสาร นำเสนอ เผยแพร่ สามารถนำผลงานท่ีมีไป

ประกวดภายนอก แลกเปล่ียนผลงานได้ในระดบั นานาชาติ

6.6 จัดการเรยี นร้ทู ี่หลากหลาย ทเี่ ชื่อมโยงสอู่ าชีพและการมีงานทำ
- โรงเรียนไดจ้ ัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่หลากหลายเพ่อื ให้ผเู้ รียนเลือกเรียนและฝกึ วชิ าชพี

ตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียน เช่น Movie Club ,วงโยธวาทิต ,STEM ,อาชีพยุคดิจิตอล เรียนรู้
ครื้นเครงดูหนังฟังเพลงภาษาจีน ,วรรณคดีหรรษา ,หรรษาภาษาไทย ,Learn and Play with T.Amp ,คณิตคิด
สนุก ,หนูน้อยนักคิดคณิตศาสตร์ ,ศิลปะ ,ชมรมนาฏศิลป์และการแสดง ,ชมรมดนตรีสาล ,วอลเลย์บอลประถม
Cover dance ,Computer Skill ,ศิลปะ ,เปตอง ,เซปัคตะกร้อ ,ลีลาศพ้ืนฐาน ,Mandala Puzzle Word ,
สุขภาพและความงาม ,DIY BY มิสนุต ,sport stacking ,ดนตรีสากล ,ชมรมบาสเกตบอล ,วงโยธวาทิต ,S Cool
blah ,ธนาคารโรงเรยี น ,คนรกั รำไทย ,กีฬาวอลเลย์บอล ,English ,Development ,Chess Board game
The Physics of slacking ,Water color and art Spider ,Foofboll ,ACU Chanal ,Robot ,ป ร ะ ดั บ ผ้ า
บาสเกตบอล ,YCS ,ครบเครื่องเรื่องสังคม ,การจัดทำแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ,S Cool blah Culinary
Club ,คนรักรำไทย ,สำนวนไทยน่ารู้ ,คนรักษ์สุขภาพ ,กีฬาวอลเลย์บอล ,ศัพท์อังกฤษพิชิตมหาลัย ,ลีลาศ ,sport
stacking ,ดนตรีสากล ,ACU Dance Society เป็นต้น ทั้งน้ีเพ่ือให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากกิจกรรมท่ี
หลากหลาย ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และเกิดทักษะอาชีพ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป
ประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจริง ตลอดจนเป็นพน้ื ฐานในการนำไปต่อยอดการประกอบอาชพี ได้ในอนาคต

6.7 พฒั นาครูตามความตอ้ งการและสถานศกึ ษา
- พฒั นาครผู ู้สอนใหม้ ีความรู้ความสามารถและเช่ียวชาญเฉพาะทางด้านวิชาการโดยการ

ส่งไปอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานท้ังภายในประเทศและต่างประเทศ เช่น ประเทศอินเดีย ประเทศอังกฤษ ประเทศ
ฝร่ังเศส ประเทศจีนและประเทศไต้หวัน เชิญวิทยากรท่ีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาฝึกอบรมให้กับบุคลากร
เพื่อนำความรูม้ าพัฒนางานในแต่ละด้านใหม้ ีคุณภาพกับผู้เรียนสูงสดุ

- พฒั นาครูให้สามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการสอ่ื สาร โดยการสนับสนุนใหไ้ ปศึกษา
ต่อทตี่ ่างประเทศและมกี ารจัดให้มีการสอบวัดระดับความรดู้ า้ นภาษาอังกฤษของบคุ ลากรในโรงเรยี นทั้งหมด
ปกี ารศกึ ษาละ 1 ครั้ง และนำผลมาวเิ คราะห์เพื่อพัฒนาทางด้านภาษาอังกฤษ

- พัฒนาครูให้มีความรคู้ วามสามารถในด้านการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียน
การสอน เพ่ือนำความรู้มาพฒั นาบทเรียนออนไลน์ ทำให้ผเู้ รียนมีทางเลือกเรียนหลายช่องทางอย่างมีประสิทธิภาพ
เช่น อบรมการผลิตส่ือการสอนออนไลน์ โปรแกรมต่างๆ อาทิ Google sites , Google Class room , Word
Wall , Nearpod , Zoom และอบรมการใช้สื่อ Aksorn On-Lrarn เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน โดย บ.อักษร
เอ็ดดูเคชั่นจำกัด (มหาชน)

7

6.8 จดั ให้มโี ครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ
- จดั การเรยี นการสอนโดยใชภ้ าษาอังกฤษเปน็ สื่อในการจัดการเรียนการสอน

5 รายวิชา ได้แก่ English Math Science Social Studies และ Values Education มกี ารจัดคาบเรียนในตาราง
เรียนและมีการจัดครูเข้าครบทั้ง 5 รายวิชาซึ่งใช้ภาษาอังกฤษในการเรียนการสอน ทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กับครู
ชาวต่างชาติเจ้าของภาษาโดยตรง โดยใช้แบบเรียน (ตำรากลาง) ตามที่คณะกรรมการฝ่ายการศึกษามูลนิธิคณะ
เซนต์คาเบรยี ลแห่งประเทศไทย และฝา่ ยวิชาการของโรงเรยี นในเครือมลู นิธฯิ ได้ร่วมกันพฒั นาและกำหนดไว้แล้ว
ครูไทยผู้สอนตำรากลางมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ได้รับการพัฒนาทางด้านภาษาอังกฤษทั้งใน
ประเทศหรอื ตา่ งประเทศ

ลงนาม....................................................(ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น)
(ภราดา ดร.อาวธุ ศลิ าเกษ)

วันที่ 30 เดือน เมษายน พ.ศ. 2565

8

ส่วนท่ี 2 ข้อมลู พ้นื ฐาน

1. ข้อมูลพืน้ ฐาน
1.1 โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี รหัส 1134100014 เลขท่ี 500 ถนนชยางกูร ตำบลในเมือง

อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี รหัสไปรษณีย์ 34000 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

โ ท ร ศั พ ท์ 045-284444 โ ท ร ส า ร 045-313400 e-mai… -… website: http: / / www. acu. ac. th

Facebook:https://www.facebook.com/ACU2508 ได้รับอนุญาตจัดต้ังเม่ือเม่ือวันท่ี 31 พฤษภาคม พ.ศ.

2500 เปิดการสอนระดับชั้นบริบาล ถงึ ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 จำนวนนักเรียน 2,026 คน จำนวนบุคลากรใน

โรงเรียน 191 คน

ลักษณะผรู้ ับใบอนุญาต
 บุคคลธรรมดา
 นติ ิบุคคล
 ห้างหุ้นส่วนจำกัด/บริษัท
 มลู นธิ ใิ นพทุ ธศาสนา/การกุศลของวัด
 มูลนธิ ใิ นคริสต์ศาสนา
 มลู นิธิในศาสนาอสิ ลาม
 อ่นื ๆ (ระบ)ุ .................................

ประเภทโรงเรยี น
 ประเภทโรงเรียนในระบบ
 สามญั ศกึ ษา
 การกุศลของวดั
 การศึกษาพเิ ศษ
 การศึกษาสงเคราะห์
 ในพระราชูปถัมภ์
 สามญั ปกติ
 อิสลามควบคสู่ ามัญ

การจัดการเรยี นการสอน
 ปกติ (สามญั ศึกษา)
 English Program ไดร้ บั อนุญาตเม่ือ.............................................

9

1.2 จำนวนห้องเรยี น/ผูเ้ รยี นจำแนกตามระดับทเ่ี ปดิ สอน

จานวนนักเรียนโรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี ประจาปีการศึกษา 2564 ณ วันท่ี 29 มกราคม 2565

ช้ันเรียน 12 ห้อง รวม
ช ญ รวม ช ญ รวม ช 4 5 รวม ทั้งหมด
3 ช ญ รวม ช ญ รวม ช ญ รวม
ญ รวม

บริบาล 6 3 9 8 7 15 4 11 15 18 21 39

รวมบริบาล 6 3 9 8 7 15 4 11 15 18 21 39 39

EBP EBP IEP IEP

อนุบาล 1 14 15 29 10 21 31 17 12 29 12 15 27 53 63 116

Pre-MSEP Pre-MSEP IEP IEP

อนุบาล 2 14 13 27 18 8 26 9 13 22 14 13 27 55 47 102

อนุบาล 3 19 17 36 14 20 34 17 21 38 21 19 40 71 77 148

รวมอนุบาล 47 45 92 42 49 91 43 46 89 47 47 94 179 188 367 366

MSEP MSEP S-MSEP EIP

ประถมศึกษาปีที่ 1 17 18 35 21 13 34 8 14 22 18 22 40 64 67 131

MSEP MSEP MSEP EIP

ประถมศึกษาปีท่ี 2 14 19 33 19 11 30 12 9 21 18 12 30 63 51 114

MSEP MSEP EIP EIP

ประถมศึกษาปีท่ี 3 16 15 31 14 16 30 24 9 33 14 19 33 68 59 127

รวมประถมต้น 47 52 99 54 40 94 44 32 76 50 53 103 195 177 372 372

MSP EBP S - EBP IEP

ประถมศึกษาปีที่ 4 16 21 37 11 12 23 9 11 20 13 15 28 49 59 108

MSP EBP IEP

ประถมศึกษาปีที่ 5 18 22 40 18 17 35 16 24 40 52 63 115
EBP EBP IEP

ประถมศึกษาปีท่ี 6 20 12 32 15 16 31 14 13 27 49 41 90

รวมประถมปลาย 54 55 109 44 45 89 39 48 87 13 15 28 150 163 313 313
GP MSEP MSEP อังกฤษ/จีน
อาชีพ

มัธยมศึกษาปีท่ี 1 11 16 27 21 14 35 16 19 35 12 24 36 23 11 34 83 84 167

มัธยมศึกษาปีที่ 2 11 11 22 19 9 28 13 17 30 11 21 32 21 14 35 75 72 147

MSEP MSEP MSEP EIP EIP

มัธยมศึกษาปีที่ 3 16 15 31 16 14 30 21 12 33 11 18 29 18 13 31 82 72 154

รวมมัธยมต้น 38 42 80 56 37 93 50 48 98 34 63 97 62 38 100 240 228 468 468

GP วิทย์-คณิต ศิลป์-อังกฤษ ศิลป์จีน-อังกฤษ สหศิลป์

มัธยมศึกษาปีที่ 4 11 18 29 20 25 45 12 12 24 15 28 43 13 5 18 71 88 159

มัธยมศึกษาปีที่ 5 16 10 26 28 18 46 11 20 31 11 30 41 19 8 27 85 86 171

ESP ศิลป์-ภาษา วิทย์-คณิต SSP

มัธยมศึกษาปีท่ี 6 20 19 39 21 13 34 17 7 24 16 24 40 74 63 137

รวมมัธยมปลาย 47 47 94 69 56 125 40 39 79 42 82 124 32 13 45 230 237 467 467

รวมทั้งหมด 239 244 483 273 234 507 220 224 444 186 260 446 94 51 145 1012 1014 2026

ไม่รวมบริบาล 233 241 474 265 227 492 216 213 429 186 260 446 94 51 145 994 993 1987 1986

ข้อมูล ณ วนั ที่ 29 มกราคม พ.ศ.2565

10

1.3 จำนวนครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
1.3.1 สรุปจำนวนครูและบุคลากรทางการศกึ ษา จำแนกตามระดบั การศึกษา

ปีการศึกษา 2565

ประเภทบุคลากร จำนวน ตำ่ กว่าปรญิ ญาตรี ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก

ทั้งหมด จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ

ผบู้ ริหารและผู้รว่ ม 8- - 2 25.00 4 50.00 2 25.00

บรหิ าร

ครผู ู้สอน(ครไู ทย) 109 - - 90 82.56 19 17.44 - -

ครูผู้สอน(ครตู ่างชาต)ิ 22 2 9.09 18 81.82 2 9.09 - -

อตั ราจ้าง/อ.พิเศษ 7- - 5 71.42 2 28.58 - -

บคุ ลากรทางการศกึ ษา 45 11 24.44 27 60.00 7 15.56 - -

รวมท้ังหมด 191 13 6.08 142 74.34 34 17.80 2 1.78

ณ วันที่ 25 กรกฎษคม 2564

1.3.2 สรุปจำนวนครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา จำแนกตามเพศ

ปกี ารศึกษา 2564

ประเภทบคุ ลากร จำนวน ชาย หญิง

ทงั้ หมด จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ

ผู้บรหิ ารและผู้รว่ มบรหิ าร 8 5 62.50 3 37.50

ครผู ู้สอน(ครไู ทย) 109 28 25.68 81 74.32

ครผู ู้สอน(ครตู า่ งชาต)ิ 22 16 72.72 6 27.28

อัตราจา้ ง/อ.พเิ ศษ 73 42.85 4 57.15

บุคลากรทางการศึกษา 45 11 24.44 34 75.56

รวมทงั้ หมด 191 63 32.98 128 67.02

ณ วันท่ี 25 กรกฎาคม 2564

สรุปอตั ราสว่ น

ระดบั ปฐมวัย

จำนวนผู้เรียนตอ่ ครู 1 : 15

จำนวนผู้เรียนต่อหอ้ ง 27 : 1

ระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

ระดบั ประถมศึกษา

จำนวนผูเ้ รยี นต่อครู 1 : 15

จำนวนผู้เรียนตอ่ หอ้ ง 32 : 1

ระดบั มธั ยมศกึ ษา

11

จำนวนผู้เรยี นต่อครู 1 : 17
จำนวนผู้เรียนต่อห้อง 33 : 1

1.3.3 สรุปจำนวนครผู สู้ อน จำแนกตามวชิ าเอก/โท หรือความถนดั

ลำดบั ประเภทครผู สู้ อน จำนวนครู การจัดครูเขา้ สอน
(คน)
1 ภาษาไทย ตรงตามวชิ าเอก/ ร้อยละ ไม่ตรงตามวิชาเอก/ ร้อยละ รวม
2 คณติ ศาสตร์ 10 โทหรือความถนัด
3 วิทยาศาสตร์และ 14 โท หรอื ความถนัด 0.00 100.00
18 10 0.00 100.00
เทคโนโลยี 14 100.00 0 0.00 100.00
4 สงั คมศกึ ษาฯ 18
5 สขุ ศกึ ษาพลศกึ ษา 100.00 0
6 ศลิ ปะ
7 การงานอาชีพ 100.00 0
8 ภาษาต่างประเทศ
11 11 100.00 0 0.00 100.00
-ครไู ทย 0.00 100.00
-ครูตา่ งประเทศ 7 7 100.00 0 0.00 100.00
9 กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน 0.00 100.00
10 อนุบาล 7 7 100.00 0

รวม 2 2 100.00 0

17 17 100.00 0 0.00 100.00
22 22 100.00 0 0.00 100.00
2 2 100.00 0 0.00 100.00
21 21 100.00 0 0.00 100.00
131 131 100.00 0 0.00 100.00

ณ วันท่ี 25 กรกฎาคม 2564

12

2. ข้อมลู พ้นื ฐานแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
การพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

ปรัชญา 1.จุดมุ่งหมายของชีวิต คือ การรจู้ กั สจั ธรรมและการเข้าถึงธรรมอนั สูงส่งอันเป็นบ่อ
เกิดแห่งชีวติ
วสิ ัยทศั น์ 2.มนุษย์ทุกคนต้องทำงาน ความวริ ิยะ อุตสาหะ เปน็ หนทางนำไปส่คู วามสำเรจ็
พันธกิจ ดังคตพิ จน์ทว่ี า่ “Labor Omnia Vincit”
ผเู้ รยี นโรงเรียนอสั สัมชัญอุบลราชธานี มรี ะเบียบวนิ ัยและคุณภาพ
มาตรฐานสากล
1.ยกระดบั คุณภาพการศึกษาโรงเรยี นให้มีมาตรฐานสากล
2.พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ คี ุณภาพตามอัตลักษณ์ของมูลนิธิคณะเซนตค์ าเบรยี ลแหง่
ประเทศไทย
3.พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีคุณภาพตามเอกลกั ษณ์ของโรงเรียน
4.พฒั นาคุณภาพของผู้เรียน
5.พัฒนาครู บุคลากรและผู้บริหารใหม้ ศี ักยภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ
6.พฒั นาระบบบริหารโรงเรียนใหม้ ีประสทิ ธิภาพและเกดิ ประสทิ ธผิ ล
7.ส่งเสรมิ และสนับสนุนให้ชมุ ชน ผ้ปู กครองและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการ
จดั การศกึ ษา
การพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

เป้าหมาย 1.ผู้เรียนมคี ณุ ภาพระดบั มาตรฐานสากล
2.จัดการเรยี นการสอนใหม้ ีคุณภาพเทยี บเคียงมาตรฐานสากล
3.ผ้เู รยี นมีคุณภาพตามอัตลักษณข์ องมลู นธิ คิ ณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศ
4.ผูเ้ รียนมีคุณภาพตามเอกลักษณ์ของโรงเรยี น
5.ผเู้ รยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ
6.ผเู้ รียนมีคณุ ลักษณะพึงประสงค์
7.ผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา มีคุณภาพ ปฏบิ ตั ติ ามบทบาทหน้าท่ี
อยา่ งมีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล
8.โรงเรียนมรี ะบบบรหิ ารจัดการศึกษาตามหลกั ธรรมาภบิ าล
9.โรงเรียนมหี ลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และพฒั นาผเู้ รยี นอยา่ งรอบดา้ น
10.โรงเรยี นมกี ารจดั สภาพแวดล้อมและการบริการทส่ี ่งเสริมใหผ้ ู้เรียนพัฒนาเต็ม
ศักยภาพ
11.ชุมขน ผูป้ กครอง และภาคเี ครอื ข่ายมสี วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนการ
จดั การศึกษา

ยทุ ธศาสตร์หรือกลยุทธ์ 13

เอกลกั ษณ์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดบั คุณภาพการศึกษาโรงเรยี นให้มมี าตรฐาน สากล
อตั ลักษณ์ ยทุ ธศาสตร์รองท่ี 1.1 พัฒนาผ้เู รียนให้มีคุณภาพมาตรฐานสากล
ยทุ ธศาสตร์รองท่ี 1.2 จดั การเรยี นการสอนเท่ียบเคียงมาตรฐานสากล

ยุทธศาสตร์ที่ 2 สง่ เสริมอัตลักษณ์ของมลู นิธคิ ณะเซนต์คาเบรียลแหง่ ประเทศ
ไทยให้โดดเดน่
ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 สง่ เสริมเอกลักษณ์ของโรงเรียนให้มีความโดดเดน่
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ของผูเ้ รียน
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 พฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีความรู้และทักษะทจี่ ำเป็นตามคุณลักษณะพึง
ประสงคย์ ทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 พัฒนา ครู บคุ ลากร และผบู้ รหิ ารใหม้ ีความเช่ียวชาญ
ทางวิชาชีพ
ยุทธศาสตรท์ ่ี 7 เสริมสรา้ งระบบการบรหิ ารจัดการบรหิ ารโรงเรยี นสู่ความเป็น
เลศิ

ยุทธศาสตร์ทร่ี องท่ี 7.1 เสรมิ สร้างระบบบรหิ ารจดั การตามหลกั ธรรมา
ภิบาล

ยุทธศาสตรท์ ่รี องท่ี 7.2 พัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาที่มีความยืดหยุ่น
เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน และท้องถน่ิ

ยุทธศาสตร์ท่ีรองท่ี 7.3 จัด สร้าง พัฒนาสภาพแวดล้อมและการบริการให้มี
ความพร้อมและเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 8 ส่งเสริมการมีส่วนรว่ มของชุมชน ผปู้ กครอง และภาคเี ครือขา่ ย
ผเู้ รียนมรี ะเบียบวินัย เน้นภาษาองั กฤษและมีจติ สาธารณะ

ผ้เู รยี นยดึ ม่ันในศาสนา รบั ผิดชอบตอ่ สังคม พฒั นาตนทกุ มิติ มคี วามวริ ิยะ
อตุ สาหะ

14

3. ผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปขี องสถานศึกษา

สรปุ ผลการดำเนนิ งานตามเปา้ หมายในแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นอัสสมั ชญั อุบลราชธานี

ระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ปกี ารศึกษา 2564

ผลการดำเนินงาน

เปา้ หมาย เปา้ หมาย ผล บรรลุ ไม่บรรลุ
ประเมนิ

เป้าหมายที่ 1 ผูเ้ รียนมีคุณภาพระดบั มาตรฐาน สากล 90.10 99.61  -

เป้าหมายท่ี 2 จดั การเรยี นการสอนใหม้ ีคุณภาพเทยี บเคยี ง 85.00 99.13  -

มาตรฐานสากล

เปา้ หมายท่ี 3 ผเู้ รยี นมคี ุณภาพตามอัตลกั ษณข์ องมูลนิธิคณะ 95.00 97.81  -

เซนตค์ าเบรียลแห่งประเทศ

เป้าหมายที่ 4 ผู้เรียนมีคุณภาพตามเอกลักษณ์ของโรงเรยี น 89.00 94.87  -

เปา้ หมายท่ี 5 ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการ 89.03 95.06  -

เปา้ หมายท่ี 6 ผเู้ รียนมีคุณลักษณะพงึ ประสงค์ 93.81 99.53  -

เป้าหมายที่ 7 ผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา มี 95.38 99.50  -

คุณภาพ ปฏิบัตติ ามบทบาทหน้าท่อี ยา่ งมีประสิทธิภาพและ

ประสิทธผิ ล

เปา้ หมายท่ี 8 โรงเรียนมีระบบบริหารจดั การศึกษาตามหลกั 87.00 89.83  -

ธรรมาภิบาล

เปา้ หมายที่ 9 โรงเรียนมีหลักสูตร กระบวนการเรยี นรู้ และ 90.00 100  -

พฒั นาผู้เรยี นอย่างรอบด้าน

เป้าหมายท่ี 10 โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดลอ้ มและการ    -

บรกิ ารทสี่ ง่ เสริมให้ผเู้ รยี นพฒั นาเต็มศักยภาพ

เป้าหมายที่ 11 ชุมชน ผปู้ กครอง และภาคเี ครือขา่ ยมสี วน  -

รว่ มในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษา

15

4. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของผู้เรยี น

4.1 ระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พ้ืนฐาน (O-NET)

เปรยี บเทยี บผลการทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6

วชิ า จำนวน จำนวน คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบ *** *** ***
แปลผล
นกั เรยี น นกั เรียน ท่ี ระดับ (O-NET) ผลต่าง ร้อยละของ พฒั นาการเทียบ
ทง้ั หมด เขา้ สอบ ประเทศ คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลยี่ กบั รอ้ ยละ 3
ปี 2564 2562 2563 2564
(1) (2) (3) (4) (5) (6)

คณิตศาสตร์ 90 45 36.83 39.43 35.07 41.34 6.27 17.88 มีพัฒนาการ
วิทยาศาสตร์ 90 45 34.31 40.03 41.70 37.39 -4.31 -10.34 ไมม่ พี ัฒนาการ
90 45 50.38 53.57 52.92 51.99 -0.93
ภาษาไทย 1.76 มีพฒั นาการแต่ไม่
45 39.22 51.08 58.90 53.13 -5.77 ถึงร้อยละ 3
ภาษาอังกฤษ 90
-9.80 ไมม่ พี ัฒนาการ

*** (4) = (3) – (2) กรณที ม่ี ผี ลต่างคะแนนเฉล่ยี (4) ติดลบ ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมายลบ

*** (5) = (4) x 100 ร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ใหใ้ ส่เครอ่ื งหมายลบ

(2)

*** (6) การแปลผลพฒั นาการ มคี า่ ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ตั้งแต่ 3.00 ขน้ึ ไป แปลผลว่า “มพี ฒั นาการ”

มคี ่าร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) 0.1 – 2.99 แปลผลว่า “มพี ัฒนาการแตไ่ มถ่ งึ ร้อยละ 3”

มีค่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ติดลบ แปลผลว่า “ไม่มพี ัฒนาการ”

เปรยี บเทียบผลการทดสอบระดบั ชาตขิ ัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3

วิชา จำนวน จำนวน คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบ *** *** ***
แปลผล
นกั เรียน นักเรียน ระดบั (O-NET) ผลตา่ ง ร้อยละของ พัฒนาการเทียบ
กับร้อยละ 3
ทงั้ หมด ทีเ่ ข้าสอบ ประเทศ คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลย่ี
ปี 2564 (6)
2562 2563 2564 (4) (5)
ไม่มพี ัฒนาการ
(1) (2) (3)

คณิตศาสตร์ 154 11 24.47 28.50 24.85 22.89 -1.96 -7.89

วทิ ยาศาสตร์ 154 11 31.45 29.84 30.69 37.55 6.86 22.35 มพี ัฒนาการ

ภาษาไทย 154 11 51.19 58.17 61.67 63.41 1.74 2.82 มพี ฒั นาการแต่ไม่
ถึงรอ้ ยละ 3

ภาษาองั กฤษ 154 11 31.11 42.72 45.83 53.98 8.15 17.78 มีพฒั นาการ

16

*** (4) = (3) – (2) กรณีทม่ี ผี ลตา่ งคะแนนเฉลีย่ (4) ตดิ ลบ ให้ใสเ่ ครอ่ื งหมายลบ
*** (5) = (4) x 100 รอ้ ยละของคะแนนเฉลี่ย (5) ให้ใส่เครื่องหมายลบ

(2)
*** (6) การแปลผลพัฒนาการ มคี า่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ตัง้ แต่ 3.00 ข้นึ ไป แปลผลวา่ “มพี ัฒนาการ”

มีคา่ รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ีย (5) 0.1 – 2.99 แปลผลว่า “มีพัฒนาการแต่ไมถ่ งึ รอ้ ยละ 3”
มีค่าร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ติดลบ แปลผลวา่ “ไมม่ พี ฒั นาการ”

เปรียบเทยี บผลการทดสอบระดับชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O-NET) ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6

วชิ า จำนวน จำนวน คะแนนเฉลีย่ คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบ *** *** ***

นักเรียน นกั เรยี น ท่ี ระดับ (O-NET) ผลตา่ ง รอ้ ยละของ แปลผล
ทั้งหมด เขา้ สอบ ประเทศ คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉล่ยี พัฒนาการเทียบกับ
ปี 2564 2562 2563 2564
(1) (2) (3) (4) (5) ร้อยละ 3
(6)

คณติ ศาสตร์ 137 2 21.28 21.96 23.38 15.00 -8.38 -35.84 ไมม่ ีพัฒนาการ

วิทยาศาสตร์ 137 2 28.65 26.09 29.23 27.90 -1.33 -4.55 ไม่มพี ัฒนาการ

ภาษาไทย 137 2 46.40 40.17 41.39 44.05 2.66 6.43 มีพัฒนาการ

ภาษาอังกฤษ 137 2 25.56 31.62 33.17 14.96 -18.21 -54.90 ไมม่ ีพฒั นาการ

สงั คมศกึ ษา 137 2 36.87 33.84 34.25 34.25 -0.15 -0.44 ไมม่ ีพฒั นาการ
ศาสนา และ
วฒั นธรรม

*** (4) = (3) – (2) กรณที ม่ี ผี ลต่างคะแนนเฉลยี่ (4) ติดลบ ใหใ้ สเ่ ครือ่ งหมายลบ
*** (5) = (4) x 100 ร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ให้ใสเ่ คร่ืองหมายลบ

(2) มคี ่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ตัง้ แต่ 3.00 ขน้ึ ไป แปลผลวา่ “มพี ัฒนาการ”
*** (6) การแปลผลพัฒนาการ มีคา่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) 0.1 – 2.99 แปลผลว่า “มพี ัฒนาการแต่ไม่ถงึ รอ้ ยละ 3”
มคี า่ ร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ติดลบ แปลผลว่า “ไมม่ พี ฒั นาการ”

17

จำนวนและร้อยละของนักเรียนทมี่ ผี ลการเรยี นระดบั 3 ข้ึนไป
ระดับประถมศกึ ษา

ระดบั ผลการเรียน

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

กลมุ่ สาระ จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน
นักเรยี น
การเรยี นร/ู้ นกั เรยี นักเรีย นกั เรยี น นักเรยี น นกั เรีย จำนว ทมี่ ีผล รอ้ ยละ
รายวิชา จำน นท่ีมีผล ร้อยละ จำน นท่ีมี ร้อยละ จำน ท่ีมีผล ร้อยละ จำน ที่มีผล ร้อยละ จำน นทีม่ ี รอ้ ยละ น ระดบั 3
วน ระดบั วน ผล วน ระดบั 3 วน ระดบั 3 วน ผล นกั เรี ข้ึนไป
นักเรี 3 ขนึ้ ไป นกั เรี ระดับ นกั เรี ขน้ึ ไป นักเรี ขึ้นไป นกั เรี ระดบั ยน
ยน ยน 3 ข้ึน ยน ยน ยน 3 ข้นึ

ไป ไป

ภาษาไทย 130 130 100.00 114 98 85.96 127 95 74.80 108 107 99.07 115 103 89.57 90 83 92.22

คณิตศาสตร์ 130 129 98.85 114 101 88.16 127 120 94.09 108 88 81.02 115 99 85.65 90 67 73.89

วิทยาศาสตร์ 130 130 100.00 114 109 95.61 127 100 78.35 108 100 92.13 115 73 63.04 90 67 73.89
และเทคโนโลยี

สงั คมศึกษา 130 130 100.00 114 112 98.54 127 123 97.11 108 107 99.07 115 101 87.83 90 88 98.15
ศาสนา และ
วัฒนธรรม

ประวัติศาสตร์ 130 128 98.46 114 112 98.25 127 123 96.85 108 105 97.22 115 111 96.52 90 90 100.00

สุขศึกษาและ 130 130 100.00 114 113 99.12 127 126 99.21 108 107 99.07 115 115 100.00 90 90 100.00
พลศึกษา
ศลิ ปะ 130 130 100.00 114 113 99.12 127 121 95.28 108 97 89.81 115 96 83.48 90 86 95.56

การงานอาชีพ 130 129 99.23 114 112 98.25 127 115 90.55 108 106 98.15 115 100 86.96 90 89 98.89

ภาษาตา่ งประ 130 119 91.35 114 104 91.23 127 107 84.51 108 94 86.73 115 93 80.43 90 75 83.33
เทศ

18

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ระดับผลการเรยี น (ภาคเรียนที่ 1)

กล่มุ สาระ

การเรยี นรู้/รายวชิ า ม.1 ม.2 ม.3

จำนวน จำนวน ร้อยละ จำนวน จำนวน ร้อยละ จำนวน จำนวน ร้อยละ

นักเรียน นักเรียนที่มี นกั เรียน นักเรียนทม่ี ี นกั เรียน นักเรียนทมี่ ี

ผลระดบั 3 ผลระดับ 3 ผลระดบั 3

ขึน้ ไป ขึน้ ไป ขึน้ ไป

ภาษาไทย 179 149 83.24 147 95 64.63 154 92 59.74
คณิตศาสตร์ 179 131 72.91 147 88 59.52 154 115 74.35
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 179 119 66.35 147 96 65.61 154 110 71.41
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และ 179 136 75.98 147 130 88.44 154 140 90.76
วัฒนธรรม
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 179 170 94.97 147 147 100.00 154 154 100.00
ประวตั ศิ าสตร์ 179 128 71.51 147 91 61.90 154 111 72.08
ศลิ ปะ 179 161 89.95 147 125 84.81 154 134 87.01
การงานอาชีพ 179 154 85.93 147 126 85.53 154 107 69.48
ภาษาต่างประเทศ 179 126 70.60 147 107 72.90 154 125 80.84
รายวิชาอ่ืนเพ่ิมเติม....

19

กลมุ่ สาระ ระดบั ผลการเรยี น (ภาคเรียนที่ 2)
การเรยี นรู้/รายวชิ า
ม.1 ม.2 ม.3
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์ จำนวน จำนวน รอ้ ยละ จำนวน จำนวน รอ้ ยละ จำนวน จำนวน ร้อยละ
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และ นกั เรยี น นักเรียนที่มี นักเรียน นกั เรียนทม่ี ี นักเรียน นักเรยี นท่มี ี
วฒั นธรรม
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ผลระดับ 3 ผลระดบั 3 ผลระดับ 3
ประวตั ศิ าสตร์
ศลิ ปะ ขนึ้ ไป ขนึ้ ไป ขึน้ ไป
การงานอาชพี
ภาษาตา่ งประเทศ 167 122 73.05 146 133 91.10 154 108 70.13
รายวิชาอืน่ เพม่ิ เตมิ .... 167 133 79.34 146 100 68.49 154 109 70.45
167 133 79.74 146 91 62.35 154 109 70.70
167 141 84.43 146 116 79.22 154 130 84.51

167 167 100.00 146 146 100.00 154 153 99.35
167 120 71.86 146 93 63.70 154 116 75.32
167 150 89.84 146 141 96.84 154 150 97.40
167 142 85.03 146 141 96.84 154 99 64.29
167 102 60.94 146 91 62.81 154 116 75.00

20

ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับผลการเรยี น (ภาคเรยี นที่ 1)

กลุ่มสาระ

การเรียนรู้/รายวชิ า ม.4 ม.5 ม.6

จำนวน จำนวน ร้อยละ จำนวน จำนวน ร้อยละ จำนวน จำนวน รอ้ ยละ

นักเรียน นักเรียนที่มี นักเรียน นกั เรยี นทม่ี ี นกั เรียน นักเรียนท่ีมี

ผลระดบั 3 ผลระดับ 3 ผลระดบั 3

ขนึ้ ไป ขน้ึ ไป ขนึ้ ไป

ภาษาไทย 158 124 78.51 171 110 64.44 137 102 74.76
คณิตศาสตร์ 158 114 72.41 171 122 71.19 137 107 78.11
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 158 116 73.28 171 126 73.71 137 109 79.85
สังคมศึกษา ศาสนา และ 158 139 87.73 171 145 84.62 137 107 78.10
วฒั นธรรม
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 158 158 100.00 171 125 73.10 137 137 100.00
ประวตั ิศาสตร์ 158 129 81.65 171 171 100.00 137 99 72.26
ศิลปะ 158 135 85.51 171 113 65.95 137 136 99.27
การงานอาชีพ 158 113 71.26 171 108 63.39 137 93 67.88
ภาษาต่างประเทศ 158 129 81.92 171 132 77.05 137 102 74.69
รายวชิ าอน่ื เพิม่ เติม....

21

กลมุ่ สาระ ระดบั ผลการเรยี น (ภาคเรยี นท่ี 2)
การเรยี นรู้/รายวชิ า
ม.4 ม.5 ม.6
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์ จำนวน จำนวน รอ้ ยละ จำนวน จำนวน ร้อยละ จำนวน จำนวน ร้อยละ
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สงั คมศึกษา ศาสนา และ นักเรยี น นกั เรยี นทมี่ ี นักเรียน นักเรียนทีม่ ี นกั เรียน นักเรียนท่ีมี
วฒั นธรรม
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ผลระดับ 3 ผลระดบั 3 ผลระดับ 3
ประวัติศาสตร์
ศลิ ปะ ขึน้ ไป ขึ้นไป ข้ึนไป
การงานอาชพี
ภาษาต่างประเทศ 159 116 72.95 171 123 71.85 137 88 64.29
รายวชิ าอื่นเพม่ิ เติม.... 159 100 63.09 171 116 67.90 137 75 54.73
159 124 78.26 171 129 75.38 137 97 71.12
159 128 80.52 171 138 80.50 137 80 58.39

159 159 100.00 171 171 100.00 137 137 100.00

159 109 68.55 - - -- - -

159 145 91.47 171 125 72.85 137 129 94.16

4 3 87.50 171 133 77.60 137 94 68.61

159 125 78.86 171 129 75.15 137 93 68.04

22

ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (National Test : NT)

เปรยี บเทียบผลการทดสอบสมรรถนะของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3

สมรรถนะ จำนวน จำนวน คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบ *** *** ***
นักเรยี น นกั เรยี น ที่ ระดบั สมรรถนะ ผลตา่ ง รอ้ ยละของ แปลผล
ทั้งหมด เขา้ สอบ ประเทศ คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉลยี่ พฒั นาการเทียบ
2562 2563 2564 (4) กบั ร้อยละ 3
(5)
(6)
ปี 2564 (1) (2) (3)

ดา้ นภาษา 127 41 56.14 45.24 45.39 47.20 1.81 3.99 มีพฒั นาการ
(Literacy) 127 41
- - 49.44 43.31 43.19 42.68 -0.51 -1.18 ไม่มีพฒั นาการ
ด้านคำนวณ
(Numeracy) - -- - - - -

ด้านเหตุผล

(reasoning)

*** (4) = (3) – (2) กรณที ี่มีผลตา่ งคะแนนเฉลี่ย (4) ตดิ ลบ ใหใ้ สเ่ ครื่องหมายลบ

*** (5) = (4) x 100 รอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมายลบ

(2)

*** (6) การแปลผลพัฒนาการ มคี ่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ตัง้ แต่ 3.00 ข้ึนไป แปลผลวา่ “มีพฒั นาการ”

มีค่าร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) 0.1 – 2.99 แปลผลว่า “มพี ฒั นาการแต่ไมถ่ ึงร้อยละ 3”

มคี า่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ตดิ ลบ แปลผลว่า “ไม่มพี ัฒนาการ”

ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผูเ้ รยี น (Reading Test : RT)

เปรยี บเทยี บผลการทดสอบความสามารถด้านการอ่านของนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1

ความสามารถ จำนวน จำนวน คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบ *** *** ***
รอ้ ยละของ แปลผล
ด้านการอ่าน นกั เรยี น นักเรยี น ที่ ระดับ ดา้ นการอา่ น ผลตา่ ง คะแนนเฉลีย่ พัฒนาการเทยี บ
ทั้งหมด เขา้ สอบ ประเทศ ปี คะแนนเฉลยี่ กับรอ้ ยละ 3
2562 2563 2564 (5)
2564 (1) (2) (3) (4) (6)

อ่านรู้เรื่อง 130 56 72.79 65.57 70.38 83.71 13.33 18.94 มีพัฒนาการ

อ่านออกเสยี ง 130 56 69.95 59.50 74.61 89.42 14.81 19.85 มพี ัฒนาการ

*** (4) = (3) – (2) กรณที ีม่ ีผลตา่ งคะแนนเฉลย่ี (4) ตดิ ลบ ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมายลบ

*** (5) = (4) x 100 ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ให้ใส่เครื่องหมายลบ

(2)

23

*** (6) การแปลผลพฒั นาการ มีค่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ต้ังแต่ 3.00 ขนึ้ ไป แปลผลวา่ “มพี ัฒนาการ”
มีค่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) 0.1 – 2.99 แปลผลว่า “มพี ฒั นาการแต่ไม่ถงึ ร้อยละ 3”
มีคา่ ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ติดลบ แปลผลวา่ “ไมม่ ีพัฒนาการ”

5. นวัตกรรม/แบบอย่างทด่ี ี (Innovation /Best Practice )
นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง แนวคิดหรือวิธีการที่นำมาใช้ในการปฏิบัติ เพ่ือแก้ปัญหาหรือ

เพ่ือการพัฒนา ซ่ึงทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางความคิด กระบวนการ หรือองค์กร อย่างส้ินเชิงหรือเห็นได้ชัด
เป็นการพัฒนาต่อยอด เพิ่มมูลค่า มีเป้าหมายในเชิงบวก ซ่ึงมีเกณฑ์การพิจารณา คือมีความสร้างสรรค์
(C – Creative), มีความใหม่ในบริบทนั้นๆ (N - New) มีคุณค่ามีประโยชน์ (V – Value-Added) และปรับใช้ได้
อยา่ งเหมาะสม (A - Adaptive)

แบบอย่างท่ีดี (Best - Practice) หมายถึง รูปแบบวิธีปฏิบัติหรือขึ้นตอนการปฏิบัติท่ีทำให้
สถานศึกษาประสบความสำเร็จ หรือสู่ความเป็นเลิศตามเป้าหมาย เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพ มี
หลักฐานของความสำเร็จปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุปรูปแบบวิธีปฏิบัติหรือขั้นตอน การปฏิบัติตลอดจนความรู้
และประสบการณ์ มีร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์ เผยแพร่ให้หน่วยงานภายในหรือภายนอกสามารถนำไปใช้
ประโยชน์

ช่อื นวตั กรรม/แบบอยา่ งที่ดี มาตรฐานด้าน ระดบั การศึกษา
1.การบริหารข้อมูลสถานศึกษาดว้ ยโปรแกรม ขน้ั พืน้ ฐาน
SWIS กระบวนการบรหิ ารจัดการ ขัน้ พ้นื ฐาน
2.การใชภ้ าษาอังกฤษเปน็ ส่ือในการจดั การเรียน ขั้นพื้นฐาน
การสอน กระบวนการจดั การเรยี นการ ขั้นพื้นฐาน
3.การจัดการเรยี นการสอนห้องเรียน MSEP สอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ขน้ั พนื้ ฐาน
(Math Science and English Program) กระบวนการจดั การเรียนการ ข้ันพ้ืนฐาน
4.การจดั การเรียนการสอนห้องเรยี น IPAD สอนที่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สำคญั ขั้นพ้นื ฐาน
กระบวนการจัดการเรยี นการ ข้นั พนื้ ฐาน
5.การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning สอนท่เี น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ
กระบวนการจดั การเรยี นการ
6.การจัดการเรยี นการสอนแบบบูรณาการ/STEM สอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั
กระบวนการจัดการเรียนการ
7.การเรยี นการสอนแบบGroupDiscussion/นำเสนอหน้า สอนท่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ
ชน้ั เรยี น กระบวนการจดั การเรียนการ
8.การเรียนการสอนแบบแบบโครงงาน/โครงการ/Problem สอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ
Based กระบวนการจัดการเรียนการ
สอนทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นสำคญั

24

9.ศนู ย์ภาษา EBP และ IEP กระบวนการบรหิ ารจดั การ ขั้นพื้นฐาน
10.หอ้ งเรยี นพหุปัญญา กระบวนการบริหารจัดการ ข้ันพนื้ ฐาน
11.ห้องปฏบิ ัตกิ ารวิทยาศาสตรป์ ระถม กระบวนการบริหารจัดการ ขั้นพน้ื ฐาน
12.ห้องปฏิบัตกิ ารชีววิทยา-เคมี กระบวนการบริหารจดั การ ขนั้ พื้นฐาน
13.หอ้ งปฏิบตั ิการฟิสกิ ส์-โลกดาราศาสตร์ กระบวนการบริหารจัดการ ขั้นพ้ืนฐาน
14. ACU Online Classroom กระบวนการบรหิ ารจดั การ ขน้ั พ้ืนฐาน
15. ACU คลังบทเรยี นออนไลน์ กระบวนการบริหารจดั การ ขั้นพน้ื ฐาน
16.โครงการวทิ ยุ-โทรทัศนเ์ พื่อการศกึ ษา กระบวนการบรหิ ารจัดการ ขน้ั พนื้ ฐาน
17.ห้องประกอบอาหาร กระบวนการบรหิ ารจัดการ ขัน้ พ้ืนฐาน
18.ห้อง Lean Education กระบวนการบริหารจดั การ ขนั้ พน้ื ฐาน
19.ห้องเรยี นดนตรี กระบวนการบรหิ ารจดั การ ขนั้ พนื้ ฐาน

6. รางวัลทีส่ ถานศกึ ษาได้รับ

6.1 ปีการศึกษาปจั จบุ ัน

ชอื่ รางวัล ประเภทรางวัล ระดับ หน่วยงาน หมายเหตุ
ท่มี อบรางวัล
1. การประกวดเขียนเรยี งความ รางวลั รอง เขตพื้นท/่ี จงั หวดั ธนาคารเพื่อการเกษตร
และสหกรณ์การเกษตร
เร่อื ง ต้นไม้ของฉนั ชนะเลศิ อันดบั 1  ภาค/ประเทศ (ธ.ก.ส.) สำนกั งานใหญ่
กรงุ เทพ ฯ
นานาชาติ สำนักงานคณะกรรมการ
สง่ เสริมการศึกษาเอกชน
2. การแข่งขันคดิ เลขเร็ว รางวัลเหรียญเงนิ เขตพนื้ ท่ี/จงั หวัด
 ภาค/ประเทศ ศนู ย์หนุ่ ยนต์โรงเรียนกมลา
ไสยจังหวดั กาฬสินธุ์
3. การแข่งขนั หนุ่ ยนต์รายการ นานาชาติ
Transporter Robot (อายุไม่ รางวลั รอง เขตพ้ืนที่/จังหวดั ศูนย์หุ่นยนตโ์ รงเรยี นกมลา
เกิน 15 ป)ี ชนะเลิศอนั ดบั 1  ภาค/ประเทศ ไสยจงั หวัดกาฬสินธุ์
พร้อมโล่รางวลั นานาชาติ
4. การแขง่ ขันหนุ่ ยนต์รายการ จำนวน 1 ชน้ิ
Transporter Robot (อายุไม่
เกนิ 15 ป)ี รางวัลรอง เขตพื้นท/่ี จังหวัด
ชนะเลิศอันดับ 2  ภาค/ประเทศ
พรอ้ มโล่รางวัล นานาชาติ

25

5. การแขง่ ขันหนุ่ ยนตร์ ายการ รางวลั รอง เขตพ้นื ที่/จังหวดั ศนู ยห์ ุ่นยนตโ์ รงเรียนกมลา
Transporter Robot (รุ่นไม่ ชนะเลิศอันดบั 2  ภาค/ประเทศ ไสยจงั หวัดกาฬสนิ ธุ์
จำกัดอายุ) พรอ้ มโลร่ างวลั นานาชาติ
จำนวน 1 ชิ้น สำนักงานศึกษาธิการ
6. ตอบปัญหาสุขศึกษา รางวัลชนะเลิศ  เขตพนื้ ท่ี/จงั หวดั จงั หวัดอบุ ลราชธานี
และพลศึกษา ภาค/ประเทศ
นานาชาติ

7. แอโรบิค ชน้ั ป.4-6 รางวลั รอง  เขตพน้ื ท/ี่ จังหวดั สำนักงานศึกษาธิการ
ชนะเลิศอันดบั 1 ภาค/ประเทศ จังหวัดอบุ ลราชธานี
8. แอโรบิค ช้นั ม.1-3
นานาชาติ สำนักงานศึกษาธกิ าร
9. การสอบวดั ระดับความรู้ทาง รางวัลรอง  เขตพื้นท/ี่ จงั หวัด จังหวัดอุบลราชธานี
ภาษาจนี HSK มผี ลคะแนนการ ชนะเลศิ อันดบั 1 ภาค/ประเทศ
สอบ HSK 3 ในระดับสูง สถาบันขงจื่อมหาวทิ ยาลยั
10. การแข่งขันคัดลายมอื นานาชาติ มหาสารคาม รว่ มกับ
ภาษาจีน ระดับมธั ยมศกึ ษา รางวัลชนะเลิศ  เขตพน้ื ท่ี/จังหวัด มหาวทิ ยาลัยราชภฏั
ตอนต้น อบุ ลราชธานี
ภาค/ประเทศ ชมรมส่งเสริมศกั ยภาพดา้ น
นานาชาติ ภ า ษ า แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม จี น
แห่งประเทศไทย
รางวัลชมเชย  เขตพื้นที่/จงั หวดั
ภาค/ประเทศ
นานาชาติ

11. การแขง่ ขนั คดั ลายมือ รางวัลชนะเลิศ  เขตพื้นท่ี/จงั หวัด ชมรมส่งเสริมศกั ยภาพดา้ น
ภาษาจีน ระดับมัธยมศึกษา รางวลั ชนะเลศิ ภาค/ประเทศ ภาษาและวัฒนธรรมจนี
ตอนปลาย นานาชาติ แห่งประเทศไทย
 เขตพืน้ ที่/จังหวดั
12. การแขง่ ขนั วาดภาพระบาย ภาค/ประเทศ ชมรมส่งเสริมศกั ยภาพด้าน
สีเกยี่ วกบั วฒั นธรรมจนี นานาชาติ ภ า ษ า แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม จี น
ระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนต้น แห่งประเทศไทย

26

13. การแข่งขนั วาดภาพระบาย รางวลั ชมเชย  เขตพื้นท/ี่ จังหวดั ชมรมส่งเสริมศกั ยภาพด้าน
สีเกยี่ วกบั วัฒนธรรมจีน ภาค/ประเทศ ภ า ษ า แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม จี น
ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาตอนตน้ นานาชาติ แหง่ ประเทศไทย

14. การแขง่ ขนั ตอบคำถาม รางวัลรอง  เขตพื้นท่ี/จังหวัด ชมรมส่งเสริมศักยภาพด้าน
ความร้ทู ว่ั ไปเก่ยี วกับประเทศ ชนะเลศิ อนั ดบั 2 ภาค/ประเทศ ภ า ษ า แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม จี น
จีน นานาชาติ แห่งประเทศไทย

15. การประกวดออกแบบปา้ ย รางวลั เหรียญทอง  เขตพ้ืนที่/จังหวัด โรงเรยี นปากเกรด็ จังหวดั
นเิ ทศเทศกาลตรุษจีน โดยใช้ ภาค/ประเทศ นนทบรุ ี
เวบ็ ไชต์ Canva กจิ กรรม PK นานาชาติ
Chinese New Year 2022

6.2 ปีการศึกษาท่ีผา่ นมา (ย้อนหลงั ไมเ่ กิน 3 ปี)

ช่ือรางวลั ปี พ.ศ..... หนว่ ยงาน หมายเหตุ
ที่มอบรางวัล
ทไ่ี ด้รบั รางวัล
-
1. โรงเรียนรางวลั พระราชทาน - -
-
2. นกั เรยี นรางวัลพระราชทาน - -

3. โรงเรยี นมาตรฐานสู่สากล (มาตรฐาน สช.) - -

6. โรงเรียนคณุ ธรรม (ระดับ สช. ระดบั -

กระทรวง)

๔. โรงเรยี นเศรษฐกจิ พอเพียง -

7. ดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ (ปรับตามนโยบายแตล่ ะปี) มี ไม่มี
ประเดน็ ตวั ชี้วดั

1. การปลูกฝงั ความมรี ะเบยี บวินัย ทศั นคตทิ ี่ถกู ต้องผ่านกระบวนการลูกเสือ เนตรนารี
ยุวกาชาด ✓
2. การจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างทักษะพน้ื ฐานท่ีเชื่อมโยงสู่การสร้างอาชีพและการมีงานทำ ✓
3. การจดั การเรียนการสอนท่ีส่งเสรมิ การคิดวิเคราะหด์ ้วยวิธกี าร Active Learning ✓
4. การจดั การเรยี นการสอนเพือ่ ฝกึ ทักษะการคิดแบบมีเหตุผลและเปน็ ขน้ั ตอน (Coding) ✓
5. การพัฒนาครูให้มคี วามชำนาญในการจดั การเรยี นรภู้ าษาองั กฤษและ

27

ภาษาคอมพวิ เตอร(์ Coding) ✓
6. การจดั การเรียนรู้ดว้ ย STEM Education ✓

6.1 สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM Education ✓
6.2 สถานศกึ ษามนี วัตกรรมจากการเรียนรตู้ ามแนวทาง STEM Education
7. การเรยี นภาษาอังกฤษเพื่อใช้ในการสื่อสารและเพิ่มทักษะสำหรับใช้ในการประกอบ ✓
อาชีพ ✓
8. การจดั การเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาทส่ี าม) ✓
9. การสง่ เสรมิ ทกั ษะการอ่าน เขียนภาษาไทยเพ่ือใชเ้ ปน็ เครือ่ งมือในการเรยี นรภู้ าษาอ่นื
10. การใชด้ จิ ิทัลแพลตฟอร์มเพือ่ การเรียนรู้หรอื สรา้ งอาชีพ

8. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกของ สมศ. ทผี่ า่ นมา

รอบการประเมิน ระดบั คุณภาพผลการประเมิน

ระดบั ปฐมวัย ระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

รอบท่ี 2 (พ.ศ. 2549 – 2553) ดี ดี

รอบที่ 3 (พ.ศ. 2554 – 2558) ดมี าก ดี

รอบท่ี 4 (พ.ศ. 2559 – 2564) ดี ดี

9. หนว่ ยงานภายนอกที่โรงเรยี นเข้ารว่ มเปน็ สมาชกิ
 สมาคมคณะกรรมการประสานและสง่ เสริมการศึกษาเอกชน
 สมาคมสหพันธ์โรงเรยี นเอกชนแหง่ ประเทศไทย
 สมาคมครูสถานศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย
 สมาคมประถมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย
 สมาคมอนบุ าลศึกษาแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ
 สมาคมสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย
 สมาคมครูโรงเรียนเอกชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย
 สมาคมโรงเรยี นสอนภาษาจนี
 สมาคมโรงเรียนนานาชาติแหง่ ประเทศไทย

28

สว่ นที่ 3 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

1. ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน การปฏบิ ตั งิ าน จำนวนผู้เรียน (คน) *** ผลการ
ระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ผลการ ประเมนิ
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน ปฏบิ ตั ิ ไม่ เป้าหมาย ทัง้ หมด ผา่ นเกณฑ์ ประเมนิ คุณภาพที่ได้
ปฏบิ ตั ิ (ร้อยละ) ทกี่ ำหนด (รอ้ ยละ)
ประเด็นพิจารณา

ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผู้เรียน

1 มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน 90 1618 1616 99.87 ยอดเย่ียม
การสื่อสาร และการคดิ คำนวณ

1.1 ร้อยละของผูเ้ รียนมีทักษะในการ ✓ 93 1618 1560 96.41 ยอดเย่ียม
อ่านในแตล่ ะระดับชัน้ ตามเกณฑ์ที่ ✓
สถานศกึ ษากำหนด ✓
1.2 ร้อยละของผูเ้ รียนมีทักษะในการ ✓
เขียนในแตล่ ะระดับชน้ั ตามเกณฑท์ ่ี
สถานศึกษากำหนด ✓
1.3 ร้อยละของผเู้ รียนมีทักษะในการ
ส่ือสารในแตล่ ะระดบั ช้ันตามเกณฑ์ท่ี
สถานศกึ ษากำหนด
1.4 รอ้ ยละของผู้เรียนมีทักษะในการ
คดิ คำนวณในแต่ละดับชั้นตามเกณฑ์ที่
สถานศกึ ษากำหนด
2 มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ
อย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปญั หา
2.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถ
ในการคดิ จำแนกแยกแยะ ใครค่ รวญ
ไตรต่ รองอยา่ งรอบคอบโดยใช้เหตผุ ล
ประกอบการตัดสนิ ใจ

29

การปฏบิ ัตงิ าน จำนวนผู้เรยี น (คน) *** ผลการ
ผลการ ประเมนิ
ประเด็นพิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ เป้าหมาย ทง้ั หมด ผ่านเกณฑ์ ประเมนิ คุณภาพทไ่ี ด้
ปฏิบตั ิ (ร้อยละ) ทกี่ ำหนด (รอ้ ยละ)
2.2 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีการอภิปราย
✓ 94

แลกเปล่ียนความคิดเห็น 94

2.3 รอ้ ยละของผู้เรียนมีการแก้ปัญหา ✓ 78

อย่างมีเหตุผล

3 มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม 1618 1618 100.00 ยอดเยี่ยม

3.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถ ✓

ในการรวบรวมความรู้ได้ทั้งตัวเองและ

การทำงานเปน็ ทีม

3.2 ร้อยละของผเู้ รยี นสามารถเชื่อมโยง ✓

องค์ความรูแ้ ละประสบการณ์มาใช้ใน

การสรา้ งสรรค์สิ่งใหม่ ๆ อาจเปน็

แนวความคดิ โครงการ โครงงาน

ชนิ้ งาน ผลผลิต

4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 1618 1618 100.00 ยอดเยี่ยม

สารสนเทศ และการสือ่ สาร

4.1 ร้อยละของผู้เรยี นมีความสามารถ ✓

ในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ

สื่อสาร

4.2 รอ้ ยละของผู้เรียนมีความสามารถ ✓

ในการนำเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ

สอ่ื สารเพ่ือพัฒนาตนเองและสงั คมใน

ด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทำงาน

อย่างสรา้ งสรรค์ และมคี ุณธรรม

5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สูตร 1618 1325 81.90 ดเี ลิศ

สถานศึกษา

5.1 รอ้ ยละของผเู้ รยี นบรรลุการเรยี นรู้ ✓

ตามหลักสูตรสถานศึกษา

5.2 ร้อยละของผู้เรียนมีความก้าวหน้า ✓

ในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา

30

การปฏบิ ตั งิ าน จำนวนผู้เรยี น (คน) *** ผลการ
ผลการ ประเมนิ
ประเด็นพิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ เป้าหมาย ท้งั หมด ผา่ นเกณฑ์ ประเมนิ คณุ ภาพทีไ่ ด้
ปฏบิ ตั ิ (ร้อยละ) ท่ีกำหนด (ร้อยละ)

จากพื้นฐานเดิม 94

5.3 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีความกา้ วหนา้ ✓ 93

ในผลการทดสอบระดบั ชาติ หรอื ผล 93

การทดสอบอ่นื ๆ

6 มีความรทู้ ักษะพ้นื ฐาน และเจตคติท่ีดี 1618 1618 100.00 ยอดเยี่ยม
ต่องานอาชีพ
6.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ ✓
พนื้ ฐานและเจตคตทิ ี่ดีในการศกึ ษาต่อ ✓
6.2 ร้อยละของผู้เรยี นมีความรู้ ทกั ษะ
พื้นฐานและเจตคตทิ ด่ี ีในการจดั การ
การทำงานหรืองานอาชีพ

คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผู้เรียน

1 การมคี ุณลักษณะและค่านิยมที่ดตี ามที่ 1618 1580 97.65 ยอดเยี่ยม
สถานศกึ ษากำหนด
1.1 ร้อยละของผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็น ✓
ผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎ ✓
กตกิ า
1.2ร้อยละของผู้เรียนมีค่านิยมและ

จิตสำนึกตามท่ีสถานศึกษากำหนด โดย

ไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดี

ของสังคม

2 ความภูมใิ จในท้องถิน่ และความเป็น 1618 1580 97.65 ยอดเย่ียม
ไทย

2.1 รอ้ ยละของผเู้ รยี นมีความภมู ใิ จใน ✓
ท้องถ่นิ เห็นคุณค่าของความเป็นไทย ✓
2.2 รอ้ ยละของผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ
อนรุ ักษ์วฒั นธรรมและประเพณีไทย
รวมทงั้ ภมู ิปญั ญาไทย

31

การปฏบิ ตั งิ าน จำนวนผู้เรียน (คน) *** ผลการ
ผลการ ประเมิน
ประเดน็ พิจารณา ปฏิบตั ิ ไม่ เป้าหมาย ทงั้ หมด ผ่านเกณฑ์ ประเมนิ คุณภาพทไ่ี ด้
ปฏิบตั ิ (รอ้ ยละ) ทก่ี ำหนด (รอ้ ยละ)

3 การยอมรบั ทจ่ี ะอยู่ร่วมกนั บนความ 94 1618 1618 100.00 ยอดเยี่ยม
1618 100.00 ยอดเยี่ยม
แตกต่างและหลากหลาย
97.34 ยอดเย่ียม
- ร้อยละของผู้เรียนยอมรับและอยู่ ✓

ร่วมกันบนความแตกต่างระหวา่ งบุคคล

ในด้านเพศ วยั เช้อื ชาติ ศาสนา ภาษา

วัฒนธรรม ประเพณี

4 สขุ ภาวะทางร่างกายและจิตสงั คม 94 1618

4.1ร้อยละของผู้ เรีย น มีการรักษ า ✓

สุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์และ

สังคม และแสดงออกอย่างเหมาะสมใน

แตล่ ะช่วงวยั

4.2รอ้ ยละของผู้เรียนสามารถอยู่ ✓

ร่วมกับคนอื่นอย่างมคี วามสุข เข้าใจ

ผอู้ น่ื ไมม่ ีความขัดแย้งกับผ้อู ื่น

สรปุ ผลการประเมิน = ผลรวมผลการประเมนิ ทุกประเด็นพจิ ารณา

จำนวนประเด็นพจิ ารณา

หมายเหตุ กรอกข้อมลู เฉพาะแถบสีขาว = 100 x จำนวนผู้เรยี นผา่ นเกณฑ์ทโ่ี รงเรยี นกำหนด
วธิ คี ำนวณ จำนวนผู้เรยี นทั้งหมด

*** ผลการประเมิน (ร้อยละ) = กำลงั พัฒนา
= ปานกลาง
แปลผลการประเมนิ คุณภาพท่ไี ด้ = ดี
รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 = ดเี ลศิ
รอ้ ยละ 50.00 – 59.99 = ยอดเยี่ยม
ร้อยละ 60.00 – 74.99
รอ้ ยละ 75.00 – 89.99
ร้อยละ 90.00 – 100

32

กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผ้เู รยี น

ตวั บ่งชี้ กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนนิ งาน ระดบั คุณภาพ
ยอดเย่ียม
1.1ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี มีความมุ่งม่ันในการ

ผเู้ รยี น พัฒนาผู้เรียน ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาระดับ

1) มีความสามารถในการอ่าน การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนให้

การเขียน การสื่อสารและการคิด เปน็ ไปตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ.

คำนวณ 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) และแผนการศึกษา

ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน แห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 โรงเรียนดำเนินการจัด

การเขียน การส่ือสารและการคิด กจิ กรรมเพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอา่ น การเขียน การ

คำนวณ ตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา สื่อสารและการคิดคำนวณตามโครงการ กิจกรรมของ

กำหนดในแต่ละระดบั ชน้ั กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เช่น การเขียนบันทึก

ประจำวนั การเขียนเร่ืองจากภาพ การเขียนจินตนาการ

กิจกรรมส่งเสรมิ การสื่อสารภาษาไทย กิจกรรมวันสุนทร

ภู่และวันภาษาไทยแห่งชาติ กิจกรรมซอ่ มเด็กอ่อน เสริม

เด็กเก่ง กิจกรรมสัมผัสสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม

กิจกรรมสัมผัสอาชีพ เพ่ือส่งเสริมทักษะในการสื่อสาร

ท้ังการอ่าน เขียน และทักษะการพูด แก้ไขปัญหา

นักเรียนเรียนรู้ช้า ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยโครงงานตาม

กิจก รรม ใน โค รงก ารขอ งก ลุ่ ม ส าระก ารเรียน รู้

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้

คณิ ตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ

โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทางด้านวิทยาศาสตร์

กิจกรรมส่งเสริมทักษะงานอาชีพ คิดสร้างสรรค์

โครงการค่ายทักษะเทคโนโลยีหุ่นยนต์เพื่อพัฒนาการใช้

เทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้ กิจกรรมหนูน้อยนักคิดคณิต

คณิตศาสตร์ มีการวิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติ

(O-NET) ข้อสอบ Pre O-Net เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนให้สงู ขนึ้ มีการจดั กจิ กรรมในหลักสูตร เช่น

กิจกรรมชมรม กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี การแข่งขัน

ทักษะทางวิชาการ รวมท้ังกิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่น

ศูนย์ฝึกทักษะอาชีพเป็นการจัดกิจกรรมสนับสนุนการ

พัฒนาทักษะชีวิต ผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางด้านทักษะ

33

ตัวบง่ ช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดบั คณุ ภาพ
อาชีพ ให้กับผู้เรียน ท้ังนี้เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้
จากกิจกรรมที่หลากหลาย ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และเกิดทักษะอาชีพ สามารถนำ
ความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตลอดจนเป็น
พื้นฐานในการนำไปต่อยอดการประกอบอาชีพได้ใน
อนาคต การพัฒนาผู้เรียนให้มีความ สามรถในการคิด
ใฝ่รู้ใฝ่เรียน การแสวงหาความรู้ ร้จู ักคิดวิเคราะห์ เลือกรับ
และเลือกใช้ข่าวสารเพ่ือมาพัฒนาตนเอง ให้เป็นผู้มี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ เช่น การจัดกิจกรรม
Project Based Learning (PBL) ใน ระ ดั บ ช้ั น ม .4
กิจกรรม Project Based Learning ในระดับชั้น ม.5
กจิ กรรม Integration Workshop (IW) ในระดบั ชั้น ม.6

พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการ
ส่ือสาร ได้กำหนดในโครงสร้างหลักสูตรและรายวิชา
เพิ่มเตมิ ที่เน้นการพัฒนาทักษะฟัง พูด อ่าน เขียนและการ
ส่ือสารทง้ั ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจนี ให้นักเรียนได้
ฝกึ ฝนได้ใช้ภาษาได้คล่องแคล่ว จากการเรียนการสอนโดย
ใช้แบบเรียนภาษาอังกฤษของมูลนิธิฯของรายวิชาสอน
ตามตำรากลางและจัดกิจกรรมต่างๆส่งเสริมให้ผู้เรียนได้
ฝึกทักษะการใช้ภาษา เช่น กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
จัดกิจกรรมภาษาอังกฤษบนเวที เช่น การแสดงละคร PBL
ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ทำให้ผู้เรียนเกิด
การพัฒนาคณุ ภาพ ดงั นี้
-ผู้เรียนในระดับช้ัน ป.1 -ม.6 มีผลการประเมินการ
อา่ น คดิ วิเคราะห์และเขยี น โดยภาพรวม รอ้ ยละ 99.84
-ผู้เรียนในระดับชั้น ป.1-ม.6 มีผลการประเมิน
ความสามารถในการส่ือสารภาษาไทยได้อย่ างมี
ประสิทธิภาพและเหมาะสมกับวัย ผลการประเมิน โดย
ภาพรวม ร้อยละ 94.32 ซึ่งบรรลุตามเป้าหมายที่
กำหนดไว้ ร้อยละ 94
-ผู้เรียน ร้อยละ 79.79 มีพัฒนาการตามจุดเน้นด้าน
การคิดคำนวณ คิดเลข ผ่านเกณฑท์ ่กี ำหนด

34

ตัวบ่งชี้ กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนนิ งาน ระดบั คณุ ภาพ
ยอดเย่ียม
-ผู้เรียนร้อยละ 88.09 มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษใน

การสื่อสารระดบั ดี

2) มีความสามารถในการคิ ด โรงเรียนดำเนินการจัดกิจกรรม เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนมี

วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ ความสามารถในการคิด จำแนกแยกแยะ วิเคราะห์ คิด

อภิปรายแลกเปลยี่ นความคิดเห็น อย่างมีวิจารณญาณ โดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ

และแก้ปัญหา มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา

ผู้เรียนมีความสามารถใน อย่างมีเหตุผล โดยผ่าน กิจกรรมส่งเสริมการสื่อสาร

การคิดจำแน กแยกแยะ คิ ด ภาษาไทย กจิ กรรมวันสุนทรภ่แู ละวนั ภาษาไทยแห่งชาติ

ใคร่ครวญ ไตร่ตรองพิจารณ า กิจกรรมซอ่ มเด็กออ่ น เสริมเดก็ เกง่

อย่างรอบคอบ โดยใช้เหตุผล - กลุ่มสาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ประกอบ การตัดสิน ใจมีการ ได้ดำเนินการจัดกิจกรรม Project Based Learning

อภปิ รายแลกเปลยี่ นความคิดเห็น (PBL) ในระดับช้ัน ม.5 เพ่ือให้ผู้เรียนสร้างสรรค์ผลงาน

และแก้ปัญหาอย่างมีเหตผุ ล ตามความสนใจในรูปแบบของโครงงาน มีการประกวด

โครงงานแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ประเภทท่ี 1

วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ประเภทท่ี 2 นวัตกรรมและ

ส่ิงประดิษฐ์ ตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียน

ผู้เรียนสามารถกำหนดเป้าหมาย คาดการณ์ตัดสินใจ

แก้ปั ญ หาโดยมีเหตุผลประกอบ มีความคิดริเริ่ม

สรา้ งสรรค์ผลงานด้วยความภาคภมู ิใจ

- กลมุ่ สาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ได้ดำเนินการจัดกิจกรรม STEM(ระดับ ม.1-3) เพ่ือให้

ผู้เรียนมีการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความ

คิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน สามารถนำเสนอวิธีคิด

วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง ส่งเสริมให้

ผู้เรียนมีความสามารถในการกำหนดเป้าหมาย คาดการณ์

ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ มีความคิดริเร่ิม

สร้างสรรคผ์ ลงานด้วยความภาคภมู ิใจ

ทำให้ผูเ้ รียนเกิดการพฒั นาคุณภาพ ดังน้ี

-ผู้เรียนในระดับชั้น ป.1 -ม.6 มีผลการประเมินการ

อา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน โดยภาพรวม ร้อยละ 99.84

ซง่ึ บรรลตุ ามเป้าหมายทก่ี ำหนดไว้

รอ้ ยละ 85

35

ตัวบง่ ชี้ กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดับคุณภาพ
ยอดเย่ียม
-ผู้เรียนระดับชั้น ป.1-ม.6 เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนา

ผู้เรียนที่โรงเรียนส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ

ความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน

ร้อยละ 100 ซง่ึ บรรลุเป้าหมายทกี่ ำหนดไว้

-ผู้เรียนร้อยละ 100 สร้างกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้

และจัดทำโครงงานที่เสนอแนวคิดตามความถนัดและ

ความสนใจของผู้เรยี น

-ผู้เรียนร้อยละ 100 สร้างกิจกรรมการเรียนรู้ และมี

การเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพ่ือ

การเรียนรรู้ ะหว่างกนั สามารถนำเสนอวิธีคิด วธิ ีแก้ปัญหา

ด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเองได้อย่างเหมาะสม

3) มีความสามารถในการสร้าง โรงเรยี นได้มีการดำเนินการส่งเสริมการเรยี นรู้ในรปู แบบ

นวัตกรรม ต่างๆ เช่น สะเต็มศึกษา การเรียนรู้จากเกมและ

ผู้เรียนมีความสามารถใน นันทนาการ กิจกรรมค่ายผู้นำ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

การรวบรวมความรู้ได้ด้วยตัวเอง (ลูกเสือ-เนตรนารี,รด.,ชมรม) กิจกรรมส่งเสริม

และการทำงานเป็นทีม เช่ือมโยง ประชาธิปไตย กิจกรรมโครงการธนาคารโรงเรียน เป็น

องค์ความรู้และปะสบการณ์มาใช้ ก ารส่ งเส ริม ให้ ผู้ เรีย น มี โล ก ทั ศ น์ ท่ี ก ว้างข้ึ น มี

ในการสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ ๆ อาจ กระบวนการทำงานที่เป็นระบบมีความสามัคคี การ

เป็ น แน วความคิด โค รงงาน ทำงานเป็นทีม สร้างจิตสำนึกการทำงานเพ่ือส่วนรวม

โครงการ ชน้ิ งาน ผลผลิต เรยี นรู้ที่จะอยูร่ ่วมกัน สามารถดำรงชีวติ อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนใน

สังคมพหุวัฒนธรรมได้อย่างมีความสุข มีความตระหนักใน

การพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกัน การแก้ปัญหาการจัดการ

ความขัดแย้งด้วยสันติวิธี เคารพสิทธิและศักด์ิศรีความ

เป็นมนุษย์ มีศูนย์ฝึกทักษะอาชีพ เป็นการจัดกิจกรรม

สนับสนุนการพัฒนาทักษะชีวิต ผ่านกระบวนการเรียนรู้

ทางด้านทักษะอาชีพ ให้กับผู้เรียน ท้ังนี้เพื่อให้นักเรียน

เกิดการเรียนรู้จากกิจกรรมที่หลากหลาย ใช้เวลาว่างให้

เป็นประโยชน์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และเกิดทักษะ

อาชีพ สามารถนำความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ตลอดจนเป็นพ้ืนฐานในการนำไปต่อยอดการประกอบ

อาชีพได้ในอนาคต ทำให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาคุณภาพ

ดังนี้

36

ตัวบง่ ชี้ กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดับคณุ ภาพ
ยอดเยี่ยม
-ผู้เรียนระดับชั้น ป.1-ม.6 เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนา

ผู้เรียนท่ีโรงเรียนส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ

ความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน

รอ้ ยละ 100 ซงึ่ บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้รอ้ ยละ 85

-ผู้เรียนร้อยละ 100 รู้ เข้าใจ และมีความตะหนักใน

การรับผิดชอบตอ่ ตนเองและผอู้ ื่น

-ผู้เรียนร้อยละ 100 ใช้สิทธิ เสรภี าพให้เกิดประโยชน์

ต่อตนเอง ผอู้ น่ื ชมุ ชนและสงั คม

-ผู้เรียนร้อยละ 100 กล้าแสดงความคิดเห็นอย่างมี

เหตุผล รกั ษาสิทธิ เสรีภาพของตนเอง

4) มีความสามารถในการใช้ โรงเรียนส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยโครงงาน

เทคโนโลยีสารสนเทศและการ ตามกิจกรรมในโครงการของกลุ่มสาระการเรียนรู้

ส่ือสาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้การ

ผู้เรียนมีความสามารถใน งานอาชีพ มีการจัดแหล่งเรียนรู้และพัฒนาสื่อการสอน

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ นวัตกรรม เทคโนโลยี ค่ายเทคโนโลยีหุ่นยนต์เพื่อ

การสื่อสาร เพ่ือการพฒั นาตนเอง พัฒนาผู้เรียนในการใช้เทคโนโลยี สืบค้น ศึกษาค้นคว้า

และสังคมในด้านการเรียนรู้ การ และการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มแลกเปล่ียนความคิดเห็น

ส่ื อ ส า ร ก า ร ท ำ ง า น อ ย่ า ง เพอ่ื เรียนรรู้ ะหวา่ งกนั

สรา้ งสรรคแ์ ละมีคุณธรรม โรงเรียนได้ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามกิจกรรม

โครงการงานสัมพันธ์ชุมชน เช่น กิจกรรมสัมพันธ์ชุมชน

เสริมสร้างศาสนาและวัฒนธรรม กิจกรรมแลกเปล่ียน

เรียนรู้ และกิจกรรมสัมพันธ์ชุมชนสร้างเสริมสังคม

สนับสนุนให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมในวันสำคัญ

เช่น วันแม่ วันพ่อ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม

จริยธรรมและได้ร่วมกิจกรรม หรือแสวงหาความเป็น

จริงตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ และตาม

คุณ ค่าพระวรสาร 12 ประการ และสามารถนำ

หลกั ธรรมไปปรับใชใ้ นชีวิตประจำวันได้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยได้ดำเนินการให้ผู้เรียน

ในแตล่ ะระดบั ชั้นไดอ้ อกแบบสรา้ งสรรคผ์ ลงาน นำเสนอ

โครงงาน ถ่ายวิดิโอและทำการตัดต่อ นำเสนอใน

ห้องเรียนและอัพลง Facebook หรือ YouTube เพื่อ

37

ตวั บง่ ชี้ กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดับคุณภาพ
ยอดเยี่ยม
เผยแพร่ผลงานผ่าน Facebook หรือ YouTube ลงใน

อินเทอร์เนต็

กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ ได้พัฒนาผ้เู รียนให้ใช้

เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ออกแบบ สร้างสรรค์งาน ส่ือสาร

นำเสนอผลงานโดยเรียนเร่ือง อาหารและโภชนาการ

สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ให้ผู้เรียน

ว างแ ผ น ก า รท ำ อ าห า รเรื่ อ งท่ี เรี ย น โด ย ให้ นั ก เรี ย น

ทำอาหารท่ีบ้านแล้วถ่ายคลิปวีดีโอ ตัดต่อ อัพผลงานลง

Facebook หรือ YouTube ลงใน Internet

กิจกรรมชมรม ACU Channel ได้ผลิตรายการโทรทัศน์

ภาพยนตร์ส้ัน เผยแพร่ผลงานลงในเว็บไซต์ของโรงเรียน

ทำให้ผเู้ รียนเกดิ การพัฒนาคุณภาพ ดังน้ี

- ผู้เรียนร้อยละ 100 เผยแพร่ผลงานผ่าน YouTube

โดยใชเ้ ทคโนโลยใี นการเรยี นรู้ ออกแบบ สร้างสรรคง์ าน

สื่อสาร นำเสนอ เผยแพร่และแลกเปลี่ยนผลงานได้

ระดบั นานาชาติ

- ผู้เรียนและครูร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อทำ

ประโยชน์สว่ นรวมและรบั ผิดชอบต่อสังคม

- ผู้เรียนร้อยละ 100 ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และ

นำเสนอผลงาน

- ผู้เรียนร้อยละ 100 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ

เรียนรู้ การส่อื สารและเป็นพลเมืองดิจิตอล

5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม โรงเรยี นมกี ารวิเคราะห์ผลการทดสอบระดบั ชาติ

หลกั สตู รสถานศึกษา (O-NET) ข้อสอบ Pre O-Net เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ

ผู้เรียนบรรลุความก้าวหน้า ทางการเรียนให้สงู ข้นึ มกี ารจัดกจิ กรรมในหลักสูตร เช่น

ก า ร เรี ย น รู้ ต า ม ห ลั ก สู ต ร กิจกรรมชมรม กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรม

สถานศึกษาจากพื้นฐานเดิมใน เสริมสร้างบรรยากาศทางวิชาการ 8 กลุ่มสาระการ

ด้านความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ เรียนรู้ กิจกรรมซ่อมเด็กอ่อนเสริมเด็กเก่ง 8 กลุ่มสาระ

กระบวนการต่าง ๆ รวมทั้งมี การเรียนรู้ รวมท้ังกิจกรรมเสริมหลักสูตร ท้ังน้ีเพ่ือให้

ความก้าวหน้าในผลการทดสอบ นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากกิจกรรมท่ีหลากหลาย ทำให้

ระดับชาติหรือผลการทดสอบอ่ืน ผเู้ รยี นเกดิ การพฒั นาคุณภาพ ดงั น้ี



38

ตัวบง่ ช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนนิ งาน ระดับคุณภาพ
- ผู้เรียนระดับชั้น ป.6 ม.3 ม.6 มีผลการทดสอบ ยอดเย่ียม
ระดับชาติสูงกวา่ T-Score 40 คิดเป็นร้อยละ 87.07 ซ่ึง
บรรลตุ ามเปา้ หมายทกี่ ำหนดไว้ ร้อยละ 82
- ผู้เรียนระดับชั้น ป.1-ม.6 ที่มีผลสัมฤทธ์ิระดับ 3.00
ข้ึนไปเป็นไปตามเกณฑ์ของโรงเรียน คิดเป็นร้อยละ
81.90 ซ่ึงบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้เฉล่ีย 8 กลุ่ม
สาระการเรยี นรู้
- ผู้เรียนในระดับชั้น ป.1-ม.6 มีผลการประเมินผล
สมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร โดยภาพรวม ร้อยละ
94.34 ซง่ึ บรรลตุ ามเป้าหมายท่กี ำหนดไว้
- ผู้เรียนในระดับชั้น ป.1 -ม.6 มีผลการประเมินการ
อา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี น โดยภาพรวม รอ้ ยละ 99.84
- ผู้เรียนในระดับช้ัน ป.1-ม.6 มีผลการประเมิน
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ส่ื อ ส า ร ภ า ษ า ไท ย ไ ด้ อ ย่ า ง มี
ประสิทธิภาพและเหมาะสมกับวัย ผลการประเมิน โดย
ภาพรวม ร้อยละ 94.32 ซ่ึงบรรลุตามเป้าหมายท่ี
กำหนดไว้ รอ้ ยละ 94

6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและ โรงเรียนมีกิจกรรมสัมผัสอาชีพและแนะแนวการศึกษา

เจตคตทิ ด่ี ีตอ่ งานอาชพี ต่อ กิจกรรมค้นหาต้นเอง เพ่ือส่งเสริมและพัฒนา

ผู้ เรีย น มี ค ว าม รู้ ทั ก ษ ะ ศักยภาพของผู้เรียนในการเตรียมความพร้อมเพ่ือ
พื้นฐานในการจัดการ เจตคติท่ีดี
พร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับช้ันที่ ศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ โรงเรียนได้เชิญ

สูงข้ึน การทำงานหรอื งานอาชีพ วิทยากรผู้เช่ียวชาญจากสถาบันต่างๆ ศิษย์เก่าของ
โรงเรียนท่ีกำลังศึกษาในสถาบันการศึกษาต่างๆมาให้

ความรู้ด้านการเรียนและการปฏิบัติตนในระหว่างการ

เรียน นำนักเรียนไป Open House ในสถาบันต่างๆ

เพ่ือเพ่ิมพูนความรู้และประสบการณ์ เพ่ือวางแผน

การศึกษาต่อและประกอบอาชีพในอนาคต กิจกรรม

สัมผัสอาชีพ เพือ่ ให้ผเู้ รียนเห็นคุณค่าของวิชาชีพสุจริต

และสามารถกำหนดเป้าหมายในการประกอบอาชีพ

สุ จ ริ ต ไ ด้ แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม เส ริ ม ส ร้ า ง บ ร ร ย า ก า ศ ท า ง

39

ตวั บ่งช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนนิ งาน ระดบั คุณภาพ

วิชาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทำให้ผู้เรียนเกิดการ

พฒั นาคณุ ภาพ ดงั นี้

- ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับทราบข้อมูลข่าวสารเพ่ือ
เพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์ เพ่ือวางแผนการศึกษาต่อ
และประกอบอาชีพในอนาคต
- ผู้เรียนร้อยละ 100 สามารถค้นหาตัวเองว่ามี
ความสามารถและศักยภาพด้านใดบ้าง
- ผู้เรียนร้อยละ 100 ความรู้สึกท่ีดีต่ออาชีพสุจริต
และหาความรเู้ กย่ี วกับอาชีพที่ตนเองสนใจ
- ผ้เู รียนร้อยละ 100 เห็นคณุ คา่ ของวชิ าชพี สุจรติ และ
สามารถกำหนดเป้าหมายในการประกอบอาชีพสจุ รติ ได้

1.2 คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ โรงเรียนส่งเสริมให้ผู้เรยี นทุกระดับช้ันมีคุณลักษณะ

ของผู้เรยี น อันพึงประสงค์ตามหลักสูตรของโรงเรียน มีการจัด ยอดเย่ียม

1) การมีคุณลักษณะและค่านิยม กิจกรรมต่างๆเพ่ือปลูกจิตสำนึกผู้เรียนให้มีความรักชาติ

ที่ดตี ามท่ีสถานศึกษากำหนด ศาสน์ กษัตริย์ โดยการเข้าแถวเคารพธงชาติร่วมร้อง

ผูเ้ รียนมีพฤติกรรมเปน็ ผทู้ ่ีมี เพลงชาติและเพลงสรรเสริญพระบารมี มีการจัด

คุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎ กิจกรรมให้ผเู้ รยี นเข้ารับฟังการปฐมนิเทศเพื่อเสริมสร้าง

กติกา มีค่านิยมและจิตสำนัก ทักษะชีวิตให้กับผู้เรียนด้านความประพฤติ ปฏิบัติตนให้

ตามที่สถานศึกษากำหนดโดยไม่ เหมาะสมกับเพศวัย มีทักษะในการป้องกันตนเองและ

ขัดกบั กฎหมายและวัฒนธรรมอัน แก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ มีการอบรมประจำเดือน

ดขี องสังคม โดยหัวหน้าระดับสายช้ัน กจิ กรรมโฮมรูมโดยครูประจำ

ชัน้ และครูผู้ช่วยประจำชั้น และผู้เรียนได้รับการประเมิน

คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความ

ซื่อสัตย์ มีวินัยในตนเอง จัดกิจกรรมสัปดาห์ห้องสมุด

เพื่อให้ผู้เรยี นรกั การอ่าน ใฝ่เรยี นรู้ จดั โครงการธนาคาร

โรงเรียนรว่ มกับร่วมกับธนาคารออมสินสาขาซติ ้มี อลล์ ท่ี

มีผู้เรยี นทำหน้าที่บริหารจัดการ โดยมีครูทำหน้าท่ีเป็นท่ี

ปรึกษา เพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียนรู้จักการประหยัดตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จัดกิจกรรมวันสุนทรภู่

วันภาษาไทยแห่งชาติ เพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นคุณค่าและ

40

ตัวบ่งชี้ กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดบั คุณภาพ

ความสำคัญของวัฒนธรรม เกิดความรักและความ

ภาคภูมิใจในความเปน็ ไทย

ผู้เรียนร้อยละ 100 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ระดับ

ดขี ้ึนไป มีการกล้าแสดงออก มีแนวความคิดมุมมองท่ีบ่ง

บอกถึงศักยภาพ ความรู้ ความสามารถ มีจิตสาธารณะ

มีความสามัคคี ทำคุณประโยชน์ต่อสังคม เคารพในกฎ

กติกาแต่งกายถูกต้องตามระเบียบ-ของโรงเรียน และ

ตามมารยาททางสังคม ความประพฤติ กิริยามารยาท

เรียบร้อย ถูกต้องตามธรรมเนียมปฏิบัติ นอกจากนี้

โรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมระเบียบวินัย เป็น

กิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนปฏิบัติตามระเบียบวินัยของ

โรงเรียน สามารถนำไปใช้ได้จริงเป็นแบบอย่างแก่คน

ทั่วไป ดงั น้ี

- ผู้เรยี นร้อยละ 99.37 แต่งกายถกู ตอ้ งตามระเบยี บ

- ผู้เรียนร้อยละ 99.41 เข้าแถวและเดินแถวอย่างเป็น

ระเบียบ

- ผู้เรียนรอ้ ยละ 99.41 ยืนตรงและรอ้ งเพลงชาต/ิ เพลง

สรรเสริญพระบารมีพร้อมกนั ด้วยความเคารพ

- ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 98.84 มาเรยี นมาเรียนสมำ่ เสมอ

- ผู้เรียนรอ้ ยละ 98.41 มาเรียนทนั เวลา

2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและ โรงเรียน ได้ดำเนิน ก ารจัดกิจกรรมท่ี ส่งเสริม

ความเปน็ ไทย สนับสนุนให้ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในท้องถ่ิน เห็น

ผู้ เรี ย น มี ค ว า ม ภู มิ ใจ ใน คุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
ท้องถิ่นเห็นคุณค่าของความเป็น
ไทย ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทยประเพณไี ทย รวมท้ังภูมิปัญญาไทย เข้า

วัฒนธรรม ประเพณีไทย รวมทั้ง รว่ มกจิ กรรมแสดงความสามารถในการฟ้อนรำและเล่น
ดนตรี อันเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจ
ภมู ปิ ัญญาไทย

ในท้องถ่ินและความเป็นไทยเห็นคุณค่าในตนเอง มี

ความม่นั ใจกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม

41

ตวั บ่งชี้ กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดับคณุ ภาพ
ยอดเยี่ยม
3) การยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบน โรงเรยี นได้ดำเนินการจัดกิจกรรมท่ีสง่ เสริม สนับสนุนให้

ความแตกตา่ งและหลากหลาย ผู้เรียนรู้จักตนเอง เห็นคุณค่าในตนเอง มีความม่ันใจ กล้า

ผู้ เรี ย น ย อ ม รับ แ ล ะ อ ยู่ แสดงออกอย่างเหมาะสม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ให้เกียรติ

ร่วมกันบนความแตกต่างระหว่าง ผู้อ่ืน รู้จักตัวเองและปรับปรุงตัวเอง เพื่อเพ่ิมพูนความรู้

บุคคลในด้านเพศ วัย เช้ือชาติ และประสบการณ์ ผู้เรียนได้ค้นพบตัวเอง มีการจัด

ศ า ส น า ภ า ษ า วั ฒ น ธ ร ร ม กิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรม ด้าน

ประเพณี ศิลปะ ดนตรี และกีฬาอย่างสม่ำเสมอ เพ่ือให้ผู้เรียนเกิด

ความภาคภูมิใจในความสามารถของตนเอง เช่น ชมรม

นาฏศิลป์ ชมรมโยธวาทิต ชมรมบาสเกตบอล ชมรม

ดนตรีสากลและดนตรีพื้นเมือง รวมท้ังการแสดงในงาน

คริสต์มาส นอกจากน้ีทางโรงเรียนยังได้จัดกิจกรรม

เสริมสร้างบรรยากาศเทศกาลตรุษจีน เพื่อให้บุคลากร

และนักเรียนได้เข้าร่วมเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมจีน

ประกอบด้วยกิจกรรม 5 ฐาน เช่น การทำหน้ากากจีน

สอ่ื อารมณ,์ พู่กันจีน,การชงชาจีน,การตัดกระดาษจนี และ

การเขยี นคำอวยพรภาษาจนี

4) สุขภาพวะทางร่างกายและจิต โรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมผู้เรียนให้มีสุขนิสัยในการ

สังคม ดูแลสุขภาพร่างกายและออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

ผู้ เรี ย น มี ก า ร รั ก ษ า จากการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนได้จัดให้มีชมรมกีฬา

สุขภาพกายสุขภาพจิต อารมณ์ ประเภทต่างๆ เช่น ชมรมฟุตซอล ชมรมวอลเลย์บอล

และสังคมและแสดงออกอย่าง ชมรมบาสเกตบอล ชมรมเปตอง เป็นต้น ไว้รองรับผู้เรียน

เหมาะสมในแตล่ ะชว่ งวัยสามารถ ที่มีความถนัด และสนใจเรียนเพิ่มเติม มีการแข่งขันกีฬา

อยู่ร่วมกับคนอื่นอย่างมีความสุข ภายนอกร่วมกับโรงเรียนต่างๆ เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้

เข้าใจผู้อ่ืน ไม่มีความขัดแย้งกับ และมีประสบการณ์ เพ่ือทำให้ผู้เรียนมีความสุข และมี

ผูอ้ ่นื สุขภาพแข็งแรง ในเร่ืองของน้ำหนัก ส่วนสูง และมี

สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ โรงเรียนได้ดำเนินการชั่ง

น้ำหนัก วัดส่วนสูง และทดสอบสมรรถภาพกับผู้เรียนทุก

ระดบั ช้นั ภาคเรียนละ 1 ครัง้

ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

ได้สอดแทรกความรู้เก่ียวกับการส่งเสริมอนามัย ความ

ปลอดภัยของผู้เรียนในรายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

และเรียนรู้ถึงภัยของยาเสพติด ให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา

42

ตวั บง่ ช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดบั คณุ ภาพ

นักเรียนทุกคนได้ทดสอบสมรรถภาพร่างกาย ตรวจ

สุขภาพ เรียนรู้ถึงภัยของยาเสพติด ให้ความรู้เรื่อง

เพศศึกษา ทำให้ผู้เรียนมีทักษะในการดำรงชีวิตปลอด

จากการใชส้ ารเสพตดิ ทกุ ประเภท

- ผูเ้ รยี นรอ้ ยละ 98.54 มสี ุขภาพทางกายทด่ี ี

- ผู้เรียนรอ้ ยละ 92.58 มนี ำ้ หนกั ตามเกณฑ์ ส่วนสูง

(สมสว่ น) ผา่ นเกณฑ์เมอ่ื เทยี บเกณฑ์ มาตรฐานของกรม

อนามยั

- ผู้เรยี นร้อยละ 95.56 มสี มรรถภาพทางกายผ่าน

เกณฑ์เม่อื เทยี บเกณฑ์มาตรฐานของกรมพลศึกษา

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

การปฏบิ ัติงาน *** ผลการประเมิน
ผลสำเรจ็ (ขอ้ ) คณุ ภาพทไ่ี ด้
ประเด็นพิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่
ปฏบิ ตั ิ 5 ยอดเย่ยี ม
1 มเี ป้าหมายวสิ ยั ทัศน์และพันธกจิ ทสี่ ถานศึกษา

กำหนดชัดเจน

1.1กำหนดเป้าหมายท่ีสอดคล้องกับบริบทของ ✓

สถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น

วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติ นโยบาย

ของรฐั บาลและต้นสังกัด

1.2 กำหนดวิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่สอดคล้อง ✓

เชื่อมโยงกับเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ชาติ

แผนการศึกษาแหง่ ชาติ นโยบายของรัฐบาลและ

ตน้ สงั กัด

1.3 กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ✓

ทันตอ่ การเปลีย่ นแปลงของสงั คม

1.4 นำเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจผ่าน ✓

การปฏิบัติงาน *** 43
ผลสำเร็จ(ข้อ)
ประเดน็ พิจารณา ปฏิบตั ิ ไม่ ผลการประเมิน
ปฏบิ ตั ิ 5 คุณภาพที่ได้
ความเห็นชอบจากคณ ะกรรมการบริหาร
✓ 5 ยอดเยย่ี ม
โรงเรยี น
✓ ยอดเย่ียม
1.5 นำเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพันธกิจของ ✓
โรงเรยี นเผยแพร่ ตอ่ สาธารณชน
2 มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ✓

2.1 มกี ารวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั ✓
การศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบ ✓
2.2 มกี ารนำแผนไปปฏิบตั ิ ติดตามตรวจสอบ
ประเมินผลและปรับปรุงพฒั นางานอยา่ ง ✓
ต่อเนอื่ ง ✓
2.3 มกี ารบรหิ ารอตั รากำลงั ทรัพยากรทางการ
ศึกษาจดั ระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน และ ✓
ระบบการนิเทศภายใน
2.4 สถานศึกษามีการนำข้อมูลมาใชใ้ นการ
พฒั นาสถานศึกษา
2.5 สถานศึกษาใหบ้ ุคลากรและผทู้ ีเกย่ี วข้องทุก
ฝ่ายมสี ่วนรว่ มในการวางแผน ปรบั ปรุง พฒั นา
และร่วมรับผดิ ชอบต่อผลการจัดการศกึ ษา
3 ดำเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเ่ี น้นคุณภาพผู้เรยี น
รอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทกุ
กลุ่มเปา้ หมาย
3.1 บริหารจัดการเกย่ี วกับงานวชิ าการ ในดา้ น
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
3.2 บริหารจัดการเกยี่ วกบั งานวิชาการ ในด้าน
การพฒั นาหลักสูตรตามความต้องการของ
ผู้เรียน ท่สี อดคลอ้ งกับบริบทของสถานศึกษา
ชมุ ชน และท้องถิ่น
3.3 บริหารจัดการเกี่ยวกับกิจกรรมเสริม
หลกั สูตรท่ีเนน้ คุณภาพผ้เู รยี นรอบด้านเชื่อมโยง

การปฏิบัติงาน *** 44
ผลสำเร็จ(ข้อ)
ประเดน็ พิจารณา ปฏิบตั ิ ไม่ ผลการประเมิน
ปฏบิ ตั ิ 5 คุณภาพที่ได้
วถิ ีชวี ิตจรงิ
3.4 กำหนดหลกั สตู รสถานศึกษาครอบคลุม ✓ 5 ยอดเยย่ี ม
การจดั การเรียนการสอนทุกกลมุ่ เปา้ หมาย
3.5 สถานศกึ ษามีการปรับปรงุ และพัฒนา ✓ ยอดเย่ียม
หลกั สตู รให้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงของสงั คม
4 พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มีความเช่ียวชาญทาง ✓
วชิ าชีพ ✓
4.1 สง่ เสริม สนบั สนุน พัฒนาครู บคุ ลากร ใหม้ ี
ความเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพ
4.2 จัดให้มีชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

4.3 นำชุมชนการเรยี นรูท้ างวิชาชพี เข้ามาใชใ้ น ✓
การพัฒนางานและการเรียนรู้ของผเู้ รียน ✓
4.4 มกี ารตรวจสอบ ทบทวน การปฏิบตั งิ าน ✓
ของครู บุคลากร ที่มีผลต่อการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น
4.5 ถอดบทเรยี นเพ่ือสรา้ งนวัตกรรมหรอื ✓
วธิ กี ารท่ีเป็นแบบอย่างทีด่ ีท่สี ่งผลตอ่ การเรยี นรู้ ✓
ของผู้เรยี น ✓
5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือ ✓
ตอ่ การจัดการเรียนร้อู ย่างมีคุณภาพ
5.1 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพภายใน
ห้องเรยี น ที่เออื้ ต่อการเรยี นรู้ และคำนงึ ถงึ
ความปลอดภัย
5.2 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพภายนอก
หอ้ งเรยี น ทเี่ อื้อต่อการเรยี นรู้ และคำนึงถงึ
ความปลอดภัย
5.3 จัดสภาพแวดลอ้ มทส่ี ่งเสริมใหผ้ ้เู รยี นเกดิ
การเรียนร้เู ป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่ม
5.4 จัดสภาพแวดลอ้ มทางสงั คม ท่เี อือ้ ต่อการ
จดั การเรียนรู้ และมีความปลอดภัย

การปฏบิ ัติงาน *** 45
ผลสำเรจ็ (ขอ้ )
ประเดน็ พิจารณา ปฏิบตั ิ ไม่ ผลการประเมิน
ปฏบิ ตั ิ 5 คุณภาพท่ไี ด้

5.5 จัดใหผ้ ู้เรยี นได้ใช้ประโยชนจ์ ากการจดั ✓ 5 ยอดเยี่ยม

สภาพแวดลอ้ มตามศักยภาพของผู้เรยี น ยอดเย่ียม

6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนุน

การบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรู้

6.1 ไดศ้ ึกษาความตอ้ งการเทคโนโลยี ✓

สารสนเทศทเ่ี หมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา

6.2 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหาร ✓

จัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับ

สภาพของสถานศกึ ษา

6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ ✓

บริหารจัดการและการจัดการเรยี นรู้ท่ีเหมาะสม

กับสภาพของสถานศึกษา

6.4 ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ใน ✓

ก า ร บ ริ ก า ร จั ด ก า ร แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร เรี ย น รู้ ท่ี

เหมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา

6.5 ติดตามผลการใช้บริการระบบเทคโนโลยี ✓

สารสนเทศของสถานศึกษาเพื่อใช้ในการบริการ

จัดการและการจัดการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมกบั

สภาพของสถานศึกษา

สรปุ ผลการประเมนิ = ผลรวมผลสำเรจ็ ทกุ ประเด็นพจิ ารณา

จำนวนประเดน็ พจิ ารณา

หมายเหตุ กรอกขอ้ มูลเฉพาะแถบสขี าว
*** ผลสำเร็จ = จำนวนขอ้ ทป่ี ฏบิ ัติในแตล่ ะประเด็นพจิ ารณา

แปลผลการประเมนิ คณุ ภาพที่ได้ ค่าเฉลยี่ ผลการประเมินคณุ ภาพทีไ่ ด้
ปฏิบตั ิ 1 ขอ้ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ กาลงั พฒั นา 1.00 – 1.49 ระดบั คณุ ภาพ กาลงั พฒั นา
ปฏิบตั ิ 2 ขอ้ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ปานกลาง 1.50 –2.49 ระดบั คุณภาพ ปานกลาง
ปฏิบตั ิ 3 ขอ้ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ดี 2.50 – 3.49 ระดบั คณุ ภาพ ดี
ปฏิบตั ิ 4 ขอ้ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ดีเลิศ 3.50 – 4.49 ระดบั คณุ ภาพ ดีเลิศ
ปฏิบตั ิ 5 ขอ้ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ยอดเย่ียม 4.50 – 5.00 ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม

46

กระบวนการพัฒนาท่สี ่งผลต่อระดบั คุณภาพของมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

ตวั บ่งช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดับคณุ ภาพ

2.1 มีเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศนแ์ ละ โรงเรียนได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา การบริหาร

พันธกิจทส่ี ถานศึกษากำหนด แบบมีส่วนร่วม เพื่อกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจ ยอดเยี่ยม

ชดั เจน ไว้อย่างชัดเจน ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนการ

ส ถ า น ศึ ก ษ า ก ำ ห น ด ศึกษาชาติ แผนการศึกษามูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่ง

เป้าหมายวิสัยทัศน์ และพันธกิจ ประเทศไทย สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน

ไว้อย่างชัดเจน สอดคล้องกับ ท้องถ่ินและสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาชาติ

บริบทของสถานศึกษา ความ รวมท้ังทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโดยคณะครูและ

ต้อ งการของชุม ช น ท้ องถิ่ น ผเู้ ก่ียวขอ้ งทกุ ฝา่ ย

วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษา โรงเรียนได้จัดทำแผนพัฒ นาคุณ ภาพการศึกษา ปี

แห่งชาติ นโยบายของรัฐบาล การศึกษา 2562-2564 ครอบคลุมภารกิจท้ัง 5 ฝ่าย คือ

และของต้นสังกัด รวมท้ังทันต่อ ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายกิจการนักเรียน ฝ่ายธุรการการเงิน ฝ่าย

การเปลี่ยนแปลงของสงั คม บริหารงานท่ัวไปและสำนักผู้อำนวยการ มีการกำหนด

วสิ ยั ทัศน์ไว้คือ

“ ผู้เรียนโรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี มีระเบียบวินัยและ

คุณภาพมาตรฐานสากล” โดยกำหนดพันธกิจ 7 ข้อ

เป้าหมายการศึกษา 11 เป้าหมายและมีจุดเน้นการใช้

ภาษาอังกฤษทั้งนักเรียนและคุณครู มีการกำหนดนโยบาย

พันธกิจ ยุทธศาสตร์ และเป้าหมายในการพัฒนาโรงเรียนที่

แสดงถึงทิศทางการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนในอนาคต

อย่างชัดเจนเหมาะสมกับบริบท และสภาพแวดล้อมของ

โรงเรียน รวมทั้งกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวช้ีวัดความสำเร็จใน

แผนพัฒนาโรงเรียน แผนปฏิบัติการประจำปีอย่างชัดเจน

และต่อเน่ือง มีการแต่งต้ังคณะกรรมการบริหารโรงเรียน

คณะกรรมการท่ปี รึกษาผู้อำนวยการ คณะกรรมการฝา่ ยต่างๆ

ผบู้ ริหารได้ส่งเสริมการบริหารแบบมีส่วนร่วม โดยจัดให้มีการ

ประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ซึ่งเป็นผู้แทนจาก

ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนครู และผู้แทนผู้ปกครอง มีความรู้ความ

เขา้ ใจในบทบาทหนา้ ที่ตามท่ีระเบยี บกำหนด

47

ตวั บง่ ช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดบั คณุ ภาพ

2.2 มี ร ะ บ บ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร โรงเรยี นกำหนดขั้นตอนทำกิจกรรมต่างๆตามกระบวนการ

คุณภาพของสถานศึกษา PDCA เช่น วางแผนเพ่ือพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความ ยอดเยี่ยม

สถานศึกษาสามารถบริหาร เช่ียวชาญทางด้านวิชาชีพ มคี วามรู้ความสามารถและทักษะ

จัดการคุณภาพของสถานศึกษา ตามมาตรฐานตำแหนง่ มีการติดตามตรวจสอบ ประเมนิ ผล

อย่างเป็นระบบ ท้ังในส่วนการ และปรับปรุงพัฒ นางานอย่างต่อเนื่องมีการบริหาร

การวางแผนพัฒนาคุณภาพการ อัตรากำลังทรัพยากรทางการศกึ ษาและระบบดูแลชว่ ยเหลือ

จัดสถานศึกษาการนำแผนไป นักเรียน มีระบบการนิเทศภายในการนำข้อมูลมาใช้ในการ

ป ฏิ บั ติ เพ่ื อ พั ฒ น าคุ ณ ภ า พ พัฒนาบุคลากรและผู้ท่ีเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมการ

ก า ร ศึ ก ษ า มี ก า ร ติ ด ต า ม วางแผน ปรับปรุงและพัฒนาและร่วมรับผิดชอบต่อผลการ

ตรวจสอ บ ป ระเมิ น ผ ลแล ะ จัดการศึกษา มีการกำกับ ติดตาม ดูแล เสนอแนะ ให้

ปรับปรุงพัฒนางานอยา่ งต่อเน่ือง คำปรึกษา ส่งเสริม สนับสนุน ให้ความเห็น และขับเคลื่อน

มี ก า ร บ ริ ห า ร อั ต ร า ก ำ ลั ง การดำเนินงานของโรงเรียนตามกระบวนการ PDCA ผ่าน

ทรัพยากรทางการศึกษาและ การสรุปรายงานประจำเดือน ประจำภาคเรียน และการ

ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มี สรุปประจำปี รวม ทั้งมีการติดตามผ่านการประชุ ม

ระบบการนิเทศภายในการนำ คณะกรรมการที่ปรึกษาผู้อำนวยการ อย่างเป็นระบบและ

ขอ้ มูลมาใชใ้ นการพัฒนาบุคลากร ตอ่ เนื่อง ทำใหก้ ารบรหิ ารจัดการศกึ ษาบรรลุเป้าหมายตามที่

และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วน กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการประจำปี ตลอดจนเสริมสร้าง

ร่วมการวางแผน ปรับปรุงและ ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง ท้องถ่ิน และ

พัฒนาและร่วมรับผิดชอบต่อผล ชุมชน ทั้งองค์กรภาครัฐบาล และเอกชนมีส่วนร่วมในการ

การจดั การศึกษา พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน รวมถึงส่งเสริมให้

คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองระดับโรงเรียน เข้าร่วม

ประชุมทุกครั้ง เพื่อรับทราบแนวนโยบายของโรงเรยี น และส่ง

ต่อข้อมูลไปยังผู้ปกครองผู้เรียน นอกจากน้ีได้จัดการประชุม

เสวนา 3 หน่วยงาน คือ โรงเรียน สมาคมผู้ปกครองและครู

ฯ และสมาคมศิษย์เก่าฯเพื่อหารือความร่วมมือด้านการจัด

การศึกษาของโรงเรยี น

โรงเรียนดำเนินการจัดและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ

ผู้เรียนท่ีเข้มแข็งและทั่วถึง โดยการจัดกิจกรรมเย่ียมบ้าน

ผู้เรียน มีการจัดเก็บข้อมูลผู้เรียนที่เป็นระบบ มีการจัดทำ

ประวัติผู้เรียนเพื่อให้ครูรู้จักผู้เรียนเป็นรายบคุ คล และมีการ

ส่งต่อข้อมูลของผู้เรียนให้กับระดับช้ันต่อไป ซึ่งระบบดูแล


Click to View FlipBook Version