The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yodacu62, 2021-07-04 22:55:46

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563 ระดับการศึกษาปฐมวัย

01. SAR ระดับปฐมวัย ปี 2563

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปีการศกึ ษา 2563

ระดับการศึกษาปฐมวยั

โรงเรียนอสั สมั ชัญอุบลราชธานี

เลขท่ี 500 ตำบลในเมือง อำเภอเมอื ง จงั หวัดอุบลราชธานี
สังกัด สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาฉบบั น้ี เปน็ การสรปุ ผลการดำเนินงานในรอบปกี ารศึกษา
ของโรงเรยี น ทสี่ ะท้อนให้เหน็ ภาพความสำเรจ็ ท่เี กิดขนึ้ ตามบรบิ ทของโรงเรียน ซงึ่ มีองค์ประกอบ 3 สว่ น ไดแ้ ก่
ส่วนท่ี 1 บทสรุปของผู้บริหาร สว่ นท่ี 2 ข้อมลู พื้นฐาน ส่วนที่ 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาและ
ภาคผนวก โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อนำเสนอรายงานผลการจดั การศึกษาในรอบปที ่ผี ่านมา ซึ่งเป็นข้อมูลในการ
วางแผนพัฒนาคุณภาพของโรงเรยี น และเป็นการเตรียมความพร้อมในการประเมินคุณภาพภายนอกต่อไป

สารบัญ หน้า

คำนำ 1
สารบัญ 1
สว่ นท่ี 1 บทสรปุ ของผ้บู ริหาร 1
3
ตอนท่ี 1 ข้อมูลพนื้ ฐาน 3
ตอนที่ 2 การนำเสนอผลการประเมนิ ตนเอง 7
ส่วนท่ี 2 ข้อมูลพืน้ ฐาน 11
1.ขอ้ มูลพ้ืนฐาน 11
2.ขอ้ มูลพน้ื ฐานแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา 12
3.ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของผูเ้ รียน 12
4.นวตั กรรม/แบบอย่างท่ีดี (Innovation/Best Practice) 13
5.รางวัลทสี่ ถานศกึ ษาได้รับ 13
6.ดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 14
7.ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของ สมศ. ที่ผ่านมา 14
8.หน่วยงานภายนอกทีโ่ รงเรียนเขา้ รว่ มเปน็ สมาชิก 31
สว่ นที่ 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 32
1.ผลการประเมินรายมาตรฐาน 33
2.สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 34
3.จุดเดน่ 34
4.จุดควรพฒั นา 35
5.แนวทางการพฒั นา
6.ความต้องการช่วยเหลือ
7.ภาคผนวก

สว่ นที่ 1
บทสรปุ ของผบู้ ริหาร

ตอนท่ี 1 ข้อมูลพนื้ ฐาน
โรงเรียนอัสสัมชญั อบุ ลราชธานี รหสั 1134100014 เลขท่ี 500 ถนนชยางกรู ตำบลในเมือง อำเภอ

เมือง จังหวัดอบุ ลราชธานี รหสั ไปรษณยี ์ 34000 สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน
โทรศัพท์ 088-1184211หรอื 045-284444 โทรสาร 045-313400 e-mail-website:http://www.acu.ac.th Facebook:
https://www.facebook.com/ACU2508 ได้รับอนุญาตจดั ตั้งเม่อื เมื่อวนั ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.2500 เปิดการสอน
ระดบั ชนั้ บริบาล ถงึ ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 จำนวนนักเรียน 2,047 คน จำนวนบคุ ลากรโรงเรยี น 184 คน

ตอนที่ 2 การนำเสนอผลการประเมนิ ตนเอง
ระดับปฐมวัย

1) มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั ระดบั คุณภาพ ยอดเยย่ี ม
2) หลกั ฐานสนับสนนุ ผลการประเมินตนเองตามระดบั คณุ ภาพ

2.1 ผลการประเมนิ พัฒนาการตาม 12 มาตรฐานหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พ.ศ. 2560 แผนกปฐมวัย
นกั เรยี นระดบั ชน้ั อนบุ าล 1-3 ปกี ารศึกษา 2563

2.2 ไดร้ บั รางวัลชนะเลิศอันดบั ท่ี 1 ระดบั ประเทศ รายการการแข่งขนั ว่ายนำ้ รนุ่ อายุ 6 ปี จดั โดยมหาลัย
รงั สิตแชมป์เปยี นซฟิ ครั้งที่ 11 จ.กรงุ เทพมหานคร วนั ท่ี 3-4 ตลุ าคม 2563

3) โรงเรียนมแี ผนจะพฒั นาตนเองตอ่ ไปอย่างไรให้ได้ระดับคุณภาพที่ดขี ้ึนกว่าเดมิ 1 ระดับ
3.1 แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 1 ครผู สู้ อนได้รบั การพัฒนารปู แบบการเรยี นการสอนโดยใชเ้ ทคนิควธิ ี และ
นวตั กรรมที่หลากหลาย
3.2 แผนปฏิบัติงานที่ 2 สง่ เสรมิ ใหน้ ำสอ่ื เทคโนโลยี เข้ามาใชป้ ระกอบเพ่อื จดั ทำส่อื นวตั กรรมการเรยี น
การทห่ี ลากหลาย
3.3 แผนปฏิบตั ิงานที่ 3 ครูผสู้ อนได้จดั ทำสื่อการสอนแบบออนไลน์ จดั ทำคลปิ การเรียนการสอน

4) นวัตกรรม/แบบอยา่ งทดี่ ี
4.1 การบรหิ ารขอ้ มลู สถานศกึ ษาด้วยโปรแกรม SWIS
4.2 การใช้ภาษาองั กฤษเป็นส่ือในการจัดการเรยี นการสอน
4.3 การจัดการเรยี นการสอนแบบบรู ณาการ/STEM
4.4 การจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning
4.5 ศูนย์ภาษา EBP และ IEP
4.6 โปรแกรมการเรยี นการสอนระดับปฐมวยั โปรแกรม Pre-MSEP (PRE-Math Science and English
Program) ในระดับชน้ั ปฐมวยั ปที ี่ 3
4.7 ห้องเรียนพหปุ ญั ญา (สำหรับเดก็ ปฐมวัยและประถมศึกษาปีท่ี 1-3)

4.8 ห้องเรยี นดนตรี (สำหรบั เดก็ ปฐมวัยและประถมศกึ ษาปที ่ี 1-3)
4.9 ฝึกระเบียบวินัยจราจร (สนามฝกึ ขบั รถ สำหรบั เด็กอนบุ าล)
4.10 ห้องเรียน iPad (สำหรบั เด็กปฐมวยั )
4.11 ห้องเรยี น Cooking
5) ความโดดเด่นของสถานศกึ ษา
5.1 นกั เรยี นเกง่ ภาษาอังกฤษ

โรงเรยี นได้จัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษเปน็ สื่อ ในการเรยี นการสอน 3
รายวชิ า ได้แก่ Math Science และ English โดยใช้ตำรากลางของมลู นิธเิ ซนต์คาเบรยี ลแหง่ ประเทศไทย
ผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้กับเจา้ ของภาษาโดยตรง รวมถงึ มีการทดสอบวดั คณุ ภาพผู้เรยี นในเครอื มูลนิธิคณะเซนตค์ าเบรยี ล
แหง่ ประเทศไทยต่อเนื่องทุกปกี ารศึกษาในระดบั ชนั้ นบุ าล 3 ระดับประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3
และมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5
6) โรงเรียนได้ดำเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ

6.1 พฒั นาผูเ้ รียนใหม้ คี วามพรอ้ มทงั้ ด้านร่างกาย จติ ใจ สติปญั ญา อารมณ์และสังคม
6.2 จดั ประสบการณ์การเรยี นรูเ้ น้นการเรียนปนเลน่ เรียนรอู้ ย่างมคี วามสขุ และสรา้ งกิจกรรมเสรมิ

6.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนจดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ ้งั ในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
6.2.2 จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ ทักษะดา้ นตา่ งๆ ดว้ ยกจิ กรรมกลางแจ้ง กจิ กรรมศิลปะสรา้ งสรรค์
6.2.3 จัดกิจกรรมธรรมชาตเิ น้นให้เด็กได้รับประสบการณต์ รงจากการสังเกต สำรวจ เลน่

ค้นควา้ ทดลองและแก้ปญั หา
6.2.4 การจัดการเรยี นการสอนเสริมทง้ั กจิ กรรมประจำวนั หรอื กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร ตามวัน

สำคัญต่างๆ ผปู้ กครองเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรมเชน่ การทำอาหาร
การเลา่ นทิ าน กิจกรรมสรา้ งสรรค์ กิจกรรมวันลอยกระทง กจิ กรรมกฬี าสีอนุบาล
กจิ กรรมวนั ครสิ ต์มาส-ขนึ้ ปใี หม่ และกิจกรรมวันเด็ก
6.2.5 จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้กฎจราจรสำหรับเดก็ ปฐมวยั สนามฝึกขบั รถ สำหรับเด็ก
อนุบาล 1-3
6.2.6 จัดห้องเรยี นส่งเสริมพหุปัญญา สำหรับเด็กอนุบาล 1-3 เพ่ือคน้ ควา้ และสง่ เสรมิ ความถนดั
ในแต่ละดา้ นของเด็ก
6.2.7 จดั ห้องเรียนดนตรี สำหรับเดก็ อนุบาล 1-3 เพอ่ื เสรมิ สรา้ งพฒั นาการด้านตา่ งๆของเด็ก

ภราดา ดร.อาวธุ ศิลาเกษ
(ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น)
30 เมษายน 2564

สว่ นที่ 2
ข้อมลู พืน้ ฐาน

1.ข้อมูลพื้นฐาน
1.1 โรงเรยี นอัสสมั ชัญอุบลราชธานี รหสั 1134100014 เลขท่ี 500 ถนนชยางกรู ตำบลในเมือง อำเภอ
เมือง จงั หวัดอุบลราชธานี รหสั ไปรษณยี ์ 34000 สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน
โทรศพั ท์ 045-284444 โทรสาร 045-313400 e-mail-website:http://www.acu.ac.th
Facebook:https://www.facebook.com/ACU2508 ไดร้ บั อนุญาตจดั ตงั้ เมอื่ เมือ่ วนั ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.
2500 เปดิ การสอนระดบั ช้ันบรบิ าล ถงึ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 จำนวนนกั เรยี น 2,047 คน จำนวนบุคลากร
ในโรงเรยี น 184 คน

ลกั ษณะผรู้ บั ใบอนญุ าต
บคุ คลธรรมดา
 นติ บิ คุ คล
 ห้างหนุ้ ส่วนจำกัด/บรษิ ทั
 มูลนิธิในพทุ ธศาสนา/การกศุ ลของวัด
 มูลนิธใิ นครสิ ตศ์ าสนา
 มลู นธิ ิในศาสนาอิสลาม
 อ่ืน ๆ (ระบ)ุ .................................

ประเภทโรงเรยี น
 ประเภทโรงเรียนในระบบ
 สามญั ศกึ ษา
 การกศุ ลของวดั
 การศกึ ษาพิเศษ
 การศกึ ษาสงเคราะห์
 ในพระราชปู ถมั ภ์
 สามัญปกติ
 อสิ ลามควบคสู่ ามญั

การจดั การเรียนการสอน
 ปกติ (สามัญศกึ ษา)
 English Program ไดร้ บั อนุญาตเมือ่ .........................

1.1 จำนวนหอ้ งเรียน/ผู้เรียนจำแนกตามระดับที่เปดิ สอน

จำนวนห้องเรียน จำนวนผเู้ รียนปกติ จำนวนผเู้ รยี นท่ี รวมจำนวน
มีความต้องการ ผู้เรยี น
ระดับที่เปดิ สอน หอ้ งเรียน ห้องเรียน หอ้ งเรียน ชาย หญิง
Pre-MSEP EBP IEP 41 35 พิเศษ 76
ระดบั กอ่ น
ประถมศึกษา - -3 ชาย หญงิ 112
อนุบาลปที ่ี 1 146
อนบุ าลปที ี่ 2 - 2 2 68 44 -- 151
อนุบาลปีท่ี 3 - 2 2 71 75 485
3 - 2 73 78 --
รวมทง้ั สิน้ --
6 9 253 232 --
--

1.2 สรปุ จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษา จำแนกตามเพศ

ประเภทบุคลากร จำนวน ปกี ารศกึ ษา 2563
ชาย หญงิ

ทั้งหมด จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ

ผู้บรหิ ารและผรู้ ่วมบริหาร 10 3 30.00 7 70.00

ครูผู้สอน(ครูไทย) 105 43 34.40 82 65.60

ครผู ้สู อน(ครูต่างชาต)ิ 20 15 75.00 5 25.00

อตั ราจา้ ง/อ.พิเศษ 7 4 57.14 3 42.86

บคุ ลากรทางการศึกษา 42 12 28.57 30 71.43

รวมทง้ั หมด 184 62 33.70 122 66.30

สรปุ อัตราสว่ น ระดบั ปฐมวยั จำนวนผเู้ รียนตอ่ ครู 30 : 1 จำนวนผู้เรยี นต่อห้อง 18 : 1

1.3 จำนวนครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
1.3.1 สรุปจำนวนครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา จำแนกวุฒิการศึกษา

ปีการศึกษา 2563

ประเภทบคุ ลากร จำนวน ต่ำกวา่ ปรญิ ญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก
จำนวน ร้อยละ
ท้งั หมด จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
2 15.38
ผู้บรหิ ารและผรู้ ว่ ม 13 0 0.00 6 46.16 5 38.46
0 0.00
บรหิ าร 0 0.00
0 0.00
ครูผสู้ อน(ครูไทย) 102 0 0.00 83 81.37 19 18.63 0 0.00
17 85.00 3 15.00 2 15.38
ครูผู้สอน(ครตู ่างชาต)ิ 20 0 0.00 2 40.00 3 60.00
28 63.64 4 9.09
อตั ราจ้าง/อ.พิเศษ 5 0 0.00 136 73.91 34 18.48

บุคลากรทางการศึกษา 44 12 27.27

รวมท้ังหมด 184 12 27.27

1.3.2 สรุปจำนวนครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา จำแนกตามเพศ

ปกี ารศกึ ษา 2563

ประเภทบคุ ลากร จำนวน ชาย หญงิ

ทงั้ หมด จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ

ผบู้ ริหารและผรู้ ่วมบริหาร 13 4 30.77 9 69.23

ครูผู้สอน(ครูไทย) 102 26 25.49 76 74.51

ครผู สู้ อน(ครูตา่ งชาต)ิ 20 15 75.00 5 25.00

อตั ราจ้าง/อ.พิเศษ 51 20.00 4 80.00

บคุ ลากรทางการศกึ ษา 44 12 27.27 32 72.73

รวมท้งั หมด 184 58 31.52 126 68.48

สรปุ อตั ราสว่ น 1 : 19 จำนวนผู้เรียนตอ่ หอ้ ง 32 : 1
ระดับปฐมวัย
1 : 19 จำนวนผู้เรียนต่อหอ้ ง 31 : 1
จำนวนผ้เู รยี นตอ่ ครู 1 : 19 จำนวนผู้เรียนตอ่ หอ้ ง 31 : 1
ระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

ระดบั ประถมศกึ ษา
จำนวนผูเ้ รียนตอ่ ครู

ระดับมธั ยมศกึ ษา
จำนวนผเู้ รยี นตอ่ ครู

1.3.3 สรุปจำนวนครูผสู้ อน จำแนกตามวิชาเอก/โท หรือความถนดั

การจัดครูเขา้ สอน

ลำดบั ประเภทครผู สู้ อน จำนวนครู

(คน) ตรงตามวชิ าเอก/ ร้อยละ ไม่ตรงตามวชิ าเอก/ รอ้ ยละ รวม

โทหรือความถนดั โท หรอื ความถนดั

1 ภาษาไทย 10 10 100.00 0 0.00 100.00

2 คณติ ศาสตร์ 13 13 100.00 0 0.00 100.00

3 วิทยาศาสตร์ 18 18 100.00 0 0.00 100.00

4 สังคมศึกษาฯ 11 11 100.00 0 0.00 100.00

5 พลศึกษาสขุ ศึกษา 5 5 100.00 0 0.00 100.00

6 ศลิ ปะ 5 5 100.00 0 0.00 100.00

7 การงานอาชพี และ 2 2 100.00 0 0.00 100.00

เทคโนโลยี

8 ภาษาตา่ งประเทศ

-ครูไทย 16 16 100.00 0 0.00 100.00

-ครตู า่ งประเทศ 20 20 100.00 0 0.00 100.00

9 กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน 2 2 100.00 0 0.00 100.00

10 อนุบาล 20 20 100.00 0 0.00 100.00

รวม 122 122 122 0 0.00 100.00

1.ข้อมลู พ้ืนฐานแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา

ปรชั ญา การพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา
1.จุดม่งุ หมายของชีวิต คอื การรจู้ กั สัจธรรมและการเข้าถงึ ธรรมอนั สูงส่งอนั เป็นบ่อเกิดแห่ง
วสิ ยั ทัศน์ ชีวิต
พนั ธกจิ 2.มนุษย์ทกุ คนตอ้ งทำงาน ความวิริยะ อตุ สาหะ เปน็ หนทางนำไปสู่ความสำเรจ็ ดังคติ
พจนท์ วี่ า่ “Labor Omnia Vincit”

ผู้เรียนโรงเรยี นอสั สมั ชญั อุบลราชธานี มีระเบยี บวินัยและคณุ ภาพมาตรฐานสากล

1.ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นใหม้ ีมาตรฐานสากล
2.พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ุณภาพตามอตั ลกั ษณข์ องมลู นธิ ิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย
3.พัฒนาผเู้ รียนให้มคี ณุ ภาพตามเอกลกั ษณ์ของโรงเรียน
4.พัฒนาคณุ ภาพของผู้เรยี น
5.พัฒนาครู บคุ ลากรและผบู้ ริหารให้มศี ักยภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพ
6.พัฒนาระบบบรหิ ารโรงเรียนใหม้ ีประสทิ ธภิ าพและเกิดประสทิ ธิผล
7.สง่ เสริมและสนบั สนนุ ให้ชุมชน ผปู้ กครองและภาคีเครือข่ายมีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา

เปา้ หมาย การพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา
1.ผเู้ รียนมคี ณุ ภาพระดบั มาตรฐาน สากล
ยุทธศาสตร์หรอื กล 2.จัดการเรยี นการสอนให้มีคุณภาพเทยี บเคียงมาตรฐานสากล
ยุทธ์ 3.ผู้เรยี นมคี ุณภาพตามอตั ลักษณข์ องมูลนิธิคณะเซนตค์ าเบรียลแห่งประเทศ
4.ผู้เรียนมีคุณภาพตามเอกลักษณข์ องโรงเรียน
5.ผเู้ รียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการ
6.ผู้เรยี นมีคณุ ลักษณะพึงประสงค์
7.ผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา มคี ณุ ภาพ ปฏบิ ตั ติ ามบทบาทหนา้ ท่ีอยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล
8.โรงเรียนมีระบบบริหารจัดการศึกษาตามหลกั ธรรมาภบิ าล
9.โรงเรียนมหี ลกั สตู ร กระบวนการเรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียนอยา่ งรอบด้าน
10.โรงเรยี นมกี ารจัดสภาพแวดลอ้ มและการบรกิ ารที่สง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนพัฒนาเตม็ ศกั ยภาพ
11.ชุมขน ผ้ปู กครอง และภาคเี ครือขา่ ยมีสวนร่วมในการสง่ เสรมิ สนับสนุนการจัดการศกึ ษา
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนให้มมี าตรฐาน สากล

ยทุ ธศาสตร์รองที่ 1.1 พฒั นาผูเ้ รยี นใหม้ คี ณุ ภาพมาตรฐานสากล
ยุทธศาสตร์รองที่ 1.2 จดั การเรียนการสอนเท่ียบเคียงมาตรฐานสากล
ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 สง่ เสรมิ อัตลักษณ์ของมูลนธิ คิ ณะเซนต์คาเบรียลแหง่ ประเทศไทยให้โดดเดน่
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 สง่ เสรมิ เอกลักษณ์ของโรงเรยี นให้มีความโดดเด่น
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิของผเู้ รยี น
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 พฒั นาผู้เรียนใหม้ ีความรู้และทักษะทจ่ี ำเปน็ ตามคุณลักษณะพงึ ประสงค์
ยุทธศาสตรท์ ่ี 6 พฒั นา ครู บคุ ลากร และผบู้ ริหารใหม้ ีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ

เอกลักษณ์ การพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
อัตลักษณ์ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 7 เสริมสรา้ งระบบการบรหิ ารจดั การบริหารโรงเรยี นสคู่ วามเปน็ เลิศ

ยุทธศาสตรท์ ่รี องที่ 7.1 เสรมิ สร้างระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภบิ าล
ยทุ ธศาสตรท์ ร่ี องที่ 7.2 พฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาท่มี ีความยดื หยุ่นเหมาะสม
กบั บริบทของโรงเรยี น และท้องถ่นิ
ยุทธศาสตรท์ ร่ี องที่ 7.3 จัด สรา้ ง พฒั นาสภาพแวดลอ้ มและการบริการให้มคี วาม
พรอ้ มและเออื้ ต่อการจัดการเรยี นรู้
ยุทธศาสตร์ที่ 8 สง่ เสรมิ การมีสว่ นร่วมของชมุ ชน ผู้ปกครอง และภาคเี ครอื ขา่ ย

ผ้เู รยี นมีระเบียบวนิ ัย เนน้ ภาษาองั กฤษและมีจิตสาธารณะ

ผเู้ รียนยดึ มน่ั ในศาสนา รับผิดชอบตอ่ สังคม พฒั นาตนทุกมิติ มีความวริ ิยะ
อุตสาหะ

สรปุ ผลการดำเนนิ งาน แผนงานโครงการและกจิ กรรม
ตามแผนปฏบิ ัติการประจำปีการศึกษา 2563 แผนกปฐมวัย

(13 งาน 2 โครงการ 22 กิจกรรม)
สรปุ ผลการดำเนนิ งานแผนงานโครงการและกจิ กรรม แผนกปฐมวยั ตามแผนปฏบิ ัตกิ าร

ประจำปีการศึกษา 2563

สรุปผลกำรดำเนินงำนของแผนงำนโครงกำรและกิจกรรม แผนกปฐมวยั ปีกำรศกึ ษำ 2563

ลำดับ รหสั ชื่องำน / โครงกำร วนั /เดือน/ปี ผลกำรดำเนนิ งำน (%)

ดำเนนิ งำน เปำ้ หมำย ผล บรรลุ ไม่บรรลุ

1 400 งำนบริหำรแผนกปฐมวัย ตลอดปี 87.77 95.27 P -

400.01 กิจกรรมตรวจประเมินสถานรบั เล้ียงเด็ก ตลอดปี 85.00 92.66 P -

400.02 กิจกรรมพัฒนาบุคลากรแผนกปฐมวัย (งบพัฒนาบุคลากร 50,850) ตลอดปี 96.00 97.20 P -

2 401 งำนพฒั นำหลักสูตร ตลอดปี 83.00 96.45 P -

3 402 งำนจัดประสบกำรณเ์ รียนรู้ ตลอดปี 90.48 97.70 P -

402.01 กิจกรรมประจาวัน และกิจกรรมเสรมิ หลักสูตร ตลอดปี 88.73 95.45 P -

402.02 กิจกรรมมุมเสรใี นห้องเรยี น ตลอดปี 89.50 93.22 P -

402.03 กิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่ (ใช้งบเงินอุดหนนุ 104,478) 2คร้ัง/ปี 86.00 93.40 P -

402.04 กิจกรรมส่งเสรมิ เด็กประกวดภายใน-ภายนอก ตลอดปี 89.00 95.72 P -

402.05 กิจกรรมห้องสมุดของเล่น ตลอดปี 89.86 94.12 P -

402.06 กิจกรรมทักษะกระบวนการคิด ตลอดปี 88.86 93.89 P -

402.07 กิจกรรมส่งเสรมิ หนนู อ้ ยเทคโนโลยี(ใช้งบเงินอุดหนนุ 14,070) ตลอดปี 89.50 96.34 P -

402.08 กิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นการสอน Pre-MSEP (งบประจา1,735,200) ต46ล9อ,ด3ป8ี0 85.00 98.63 P -

402.09 กิจกรรม ส่งเสรมิ ทักษะวิชาการ (ใช้งบเงินอุดหนนุ 40,146) ตลอดปี 85.00 96.45 P -

4 403 งำนนเิ ทศกำรจัดประสบกำรณเ์ รียนรู้ ตลอดปี 92.00 99.90 P -

5 404 งำนวัดประเมนิ ผล และทะเบียน ตลอดปี 88.20 99.47 P -

6 405 งำนวิจัยในชน้ั เรียน ตลอดปี 80.00 100.00 P -

7 406 งำนพฒั นำส่ือและนวัตกรรม ตลอดปี 89.00 98.04 P -

8 407 งำนระดบั ชน้ั ตลอดปี 90.13 93.64 P -

407.01 กิจกรรมส่งเสริมควำมเป็นระเบียบวินยั /จรำจรปฐมวัย ตลอดปี 92.00 93.70 P -

407.02 กิจกรรมส่งเสริมประชำธปิ ไตยปฐมวัย (ใชง้ บเงนิ อุดหนนุ 2,550) ตลอดปี 92.00 93.46 P -

407.03 กิจกรรมอนรุ ักษพ์ ลังงำนและสิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจพอเพยี ง ตลอดปี 87.25 93.08 P -

ลำดับ รหสั ช่ืองำน / โครงกำร วนั /เดือน/ปี ผลกำรดำเนนิ งำน (%)

ดำเนนิ งำน เปำ้ หมำย ผล บรรลุ ไม่บรรลุ

9 408 งำนกิจกรรม ตลอดปี 92.00 93.78 P -

408.01 กิจกรรมวันสาคัญ วันเข้าพรรษา /ลอยกระทง พ.ย.-63 92.00 93.43 P -

408.02 กิจกรรมวันครสิ ต์มาส-ปีใหม่ ธ.ค.-63 92.00 95.92 P -

408.03 กิจกรรมวันเด็ก ม.ค.-64 92.00 94.14 P -

408.04 กิจกรรมวันไหว้ครู ก.ค.-63 92.00 92.60 P -

408.05 กิจกรรมวันแม่ ส.ค.-63 92.00 92.44 P -

408.06 กิจกรรมวันพ่อ ก.ค.-63 92.00 94.46 P -
408.07 กิจกรรมทาบุญประจาปี ไมไ่ ดด้ าเนินการ 0.00 0.00 - -
408.08 กิจกรรมกีฬาสี
ม.ค.-64 92.00 93.40 P -

10 409 งำนส่งเสริมควำมสัมพนั ธ์กับชมุ ชน ตลอดปี 83.00 92.28 P -

409.01 กิจกรรมเย่ียมบ้านเด็ก 2ครง้ั /ปี 83.00 93.35 P -
409.02 กิจกรรมบ้านสัมพันธ์รกั ไมไ่ ดด้ าเนินการ 0.00 0.00 - -

409.03 กิจกรรมรบั วุฒิบัตร เม.ย.-64 83.00 94.20 P -

11 410 งำนอำคำรสถำนที่ ตลอดปี 83.25 96.42 P -

12 411 งำนอนำมยั แผนกปฐมวัย ตลอดปี 87.50 97.32 P -

13 412 งำนประกันคณุ ภำพแผนกปฐมวัย ตลอดปี 83.00 93.00 P -

14 413 โครงกำรส่งเสริมศักยภำพเด็กและพหุปัญญำ ตลอดปี 92.00 95.94 P -

15 414 โครงกำรจัดกำรเรียนกำรสอนโดยใชภ้ ำษำอังกฤษเป็นสื่อ(30,526) ตลอดปี 88.89 94.78 P -

รวมคำ่ ฉล่ียกำรดำเนนิ งำนแผนงำนโครงกำรและกิจกรรมแผนกปฐมวัย 84.10 90.38 P -

* ข้อมูล ณ วนั ที่ 20 เมษายน 2563

3. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของผ้เู รยี น

3.1 ระดับปฐมวัย ผลการพัฒนาเดก็

จำนวน รอ้ ยละของเดก็ ตามระดบั คุณภาพ

ผลพัฒนาการด้าน เดก็ ดี พอใช้ ปรับปรุง

ทั้งหมด จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ

1. ดา้ นร่างกาย 409 348 85.09 54 13.20 7 1.71

2. ด้านอารมณ-์ จิตใจ 409 354 86.55 43 10.51 12 2.93

3. ดา้ นสงั คม 409 360 88.02 38 9.29 11 2.69

4. ด้านสติปัญญา 409 338 82.64 58 14.18 13 3.18

4. นวตั กรรม/แบบอย่างท่ดี ี (Innovation /Best Practice )
นวัตกรรม (Innovation) หมายถงึ แนวคิดหรอื วิธกี ารทน่ี ำมาใชใ้ นการปฏิบตั ิ เพื่อแก้ปญั หาหรือเพ่ือการพัฒนา ซึ่ง

ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางความคิด กระบวนการ หรือองค์กร อย่างส้ินเชิงหรือเห็นได้ชัด เป็นการพัฒนาต่อยอด เพ่ิม
มูลค่า มีเป้าหมายในเชิงบวก ซึ่งมีเกณฑ์การพิจารณา คือมีความสร้างสรรค์ (C – Creative), มีความใหม่ในบริบทน้ัน ๆ
(N – New) มีคุณค่ามีประโยชน์ (V – Value-Added) และปรบั ใช้ได้อย่างเหมาะสม (A – Adaptive)

แบบอย่างที่ดี (Best – Practice) หมายถึง รูปแบบวิธีปฏิบัติหรือขึ้นตอนการปฏิบัติท่ีทำให้สถานศึกษาประสบ
ความสำเร็จ หรือสู่ความเป็นเลิศตามเป้าหมาย เป็นท่ียอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพ มีหลักฐานของความสำเร็จปรากฏ
ชัดเจน โดยมีการสรุปรูปแบบวิธีปฏิบัติหรือข้ันตอน การปฏิบัติตลอดจนความรู้และประสบการณ์ มีร่องรอยหลักฐานเชิง
ประจักษ์ เผยแพรใ่ ห้หนว่ ยงานภายในหรอื ภายนอกสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์

ชอ่ื นวัตกรรม/แบบอยา่ งท่ีดี มาตรฐานดา้ น ระดับการศกึ ษา
1.การบรหิ ารข้อมลู สถานศกึ ษาดว้ ยโปรแกรม SWIS กระบวนการบริหารจดั การ ระดับปฐมวยั
2.การใชภ้ าษาอังกฤษเปน็ สอ่ื ในการจดั การเรียนการ กระบวนการจัดการเรียนการสอน ระดับปฐมวยั
สอน ท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ
3.การจัดการเรยี นการสอนแบบบูรณาการ/STEM กระบวนการจดั การเรยี นการสอน ระดบั ปฐมวยั
ที่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ
4.การจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning กระบวนการจัดการเรียนการสอน ระดับปฐมวยั
ท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั
5.ศนู ย์ภาษา EBP และ IEP กระบวนการจดั การเรยี นการสอน ระดบั ปฐมวยั
ท่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ
6.หอ้ งเรยี นพหุปญั ญา กระบวนการจัดการเรียนการสอน ระดบั ปฐมวยั
ที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
7. ห้องเรยี นดนตรีสำหรับเด็กอนุบาล กระบวนการจัดการเรียนการสอน ระดบั ปฐมวยั
ทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั

ชื่อ นวตั กรรม/แบบอยา่ งที่ดี มาตรฐานดา้ น ระดบั การศกึ ษา
8.สง่ เสรมิ การเรียนรกู้ ฎจราจร สนามฝึกขับรถ กระบวนการจัดการเรยี นการสอน ระดบั ปฐมวยั
ระดบั ปฐม406วัย
สำหรบั เด็กปฐมวยั 1-3 ที่เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ
9.โปรแกรมการเรยี นการสอนระดบั ปฐมวยั ระดับปฐมวยั
โปรแกรม Pre-MSEP (PRE-Math Science and กระบวนการจดั การเรียนการสอน ระดบั ปฐมวยั
English Program) ในระดบั ชน้ั ปฐมวยั ปที ี่ 3 ที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั

10.ห้องเรียน iPad กระบวนการจัดการเรียนการสอน
ท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั
11.ห้องเรยี น Cooking
กระบวนการจัดการเรยี นการสอน
ทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ

5. รางวลั ทสี่ ถานศึกษาไดร้ ับ ประเภทรางวัล ระดับ หน่วยงาน หมายเหตุ
ท่มี อบรางวัล
5.1 ปีการศกึ ษาปจั จบุ ัน ชนะเลิศ  เขตพน้ื ท่/ี จังหวดั มหาลัยรงั สิต
ชือ่ รางวลั  ภาค/ประเทศ
 นานาชาติ
1.รายการแขง่ ขันมหาลัยรงั สติ
แชมป์เปียนซิฟ คร้ังท่ี 11
ด.ช.ปัณณธร แผน่ คำ อนุบาล3/2
รุน่ อายุ 6 ปี มหาลยั รงั สติ
แชมป์เปียนซิฟ กรงุ เทพมหานคร
วนั ท่ี 3-4 ตลุ าคม 2563

6. ดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ปรับตามนโยบายแต่ละปี)

ประเดน็ ตัวชว้ี ดั มี ไม่มี

1. การปลูกฝังความมรี ะเบียบวนิ ัย ทัศนคตทิ ่ีถกู ต้องผ่านกระบวนการลูกเสอื เนตรนารี ยุวกาชาด P

2. การจดั การเรียนรเู้ พ่ือสรา้ งทกั ษะพน้ื ฐานทเ่ี ชอื่ มโยงสกู่ ารสรา้ งอาชีพและการมงี านทำ P

3. การจดั การเรียนการสอนทส่ี ง่ เสรมิ การคดิ วเิ คราะหด์ ้วยวิธีการ Active Learning P

4. การจัดการเรียนการสอนเพอื่ ฝกึ ทักษะการคดิ แบบมเี หตผุ ลและเป็นขน้ั ตอน (Coding) P

5. การพัฒนาครใู ห้มีความชำนาญในการจดั การเรียนรภู้ าษาองั กฤษและภาษาคอมพวิ เตอร์(Coding) P

6. การจดั การเรยี นรู้ดว้ ย STEM Education P

6.1 สถานศกึ ษามีการจดั การเรียนการสอนแบบ STEM Education

6.2 สถานศึกษามีนวัตกรรมจากการเรยี นรู้ตามแนวทาง STEM Education

7. การเรียนภาษาอังกฤษเพ่อื ใชใ้ นการสื่อสารและเพิม่ ทักษะสำหรบั ใช้ในการประกอบอาชีพ P

8. การจัดการเรยี นรูภ้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาทสี่ าม) P

9. การสง่ เสริมทกั ษะการอา่ น เขยี นภาษาไทยเพอื่ ใช้เปน็ เครอ่ื งมอื ในการเรยี นรูภ้ าษาอน่ื P

10. การใช้ดิจิทลั แพลตฟอรม์ เพอื่ การเรยี นร้หู รอื สรา้ งอาชีพ P

7. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของ สมศ. ทผ่ี ่านมา

รอบการประเมิน ระดับผลการประเมิน
ระดบั ปฐมวยั ระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน

รอบที่ 2 (พ.ศ. 2549 – 2553) ดี ดี

รอบที่ 3 (พ.ศ. 2554 – 2558) ดีมาก ดี

รอบท่ี 4 (พ.ศ. 2559 – 2563)

8. หนว่ ยงานภายนอกที่โรงเรยี นเข้ารว่ มเป็นสมาชิก
 สมาคมคณะกรรมการประสานและสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน
 สมาคมสหพันธ์โรงเรยี นเอกชนแห่งประเทศไทย
 สมาคมครูสถานศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
 สมาคมประถมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย
 สมาคมอนบุ าลศึกษาแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภฯ์
 สมาคมสภาการศึกษาคาทอลิกแหง่ ประเทศไทย
 สมาคมครโู รงเรียนเอกชนคาทอลิกแหง่ ประเทศไทย
 สมาคมโรงเรยี นสอนภาษาจนี
 สมาคมโรงเรียนนานาชาตแิ ห่งประเทศไทย

ส่วนท่ี 3
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

1. ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน การปฏบิ ตั งิ าน เป้าหมาย จำนวน จำนวนเด็ก *** ผลการ
ระดบั ปฐมวัย ไม่ (รอ้ ยละ) เดก็ ท้ังหมด ผา่ นเกณฑ์ท่ี ผลการประเมนิ ประเมิน
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ คุณภาพทไ่ี ด้
ปฏิบตั ิ ปฏิบตั ิ (คน) โรงเรียน (รอ้ ยละ)
ประเดน็ พจิ ารณา กำหนด(คน) ยอดเย่ยี ม
92 409 97.07
1 มพี ฒั นาดา้ นรา่ งกาย แขง็ แรง -- 397 ยอดเย่ยี ม
มีสขุ นิสัยทีด่ ี และดแู ลความปลอดภัย 96.58
ของตนองได้ P- 395 99.27
P- 406
1.1 รอ้ ยละของเด็กมีนำ้ หนัก สว่ นสงู ตาม 96.09
เกณฑม์ าตรฐาน P- 393 96.58
P- 395
1.2 ร้อยละของเด็กเคล่อื นไหวรา่ งกาย 94.38
คลอ่ งแคลว่ ทรงตวั ไดด้ ี ใชม้ ือและตาประสาน 92 409 386 95.11
สมั พนั ธไ์ ดด้ ี P- 389
1.3 รอ้ ยละของเดก็ ดแู ลรกั ษาสุขภาพอนามัย
ส่วนตนและปฏบิ ัตจิ นเปน็ นิสัย
1.4 ร้อยละของเดก็ ปฏบิ ตั ติ นตามข้อตกลง
เกย่ี วกบั ความปลอดภยั หลกี เล่ยี งสภาวะ
ทีเ่ สี่ยงต่อโรค สงิ่ เสพติด และระวงั ภยั จาก
บุคคล สิง่ แวดลอ้ ม และสถานการณ์ท่เี สย่ี ง
อนั ตราย

2 มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ
ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้

2.1 ร้อยละของเดก็ ร่างเริงแจม่ ใส
แสดงอารมณ์ ความรู้สกึ ได้เหมาะสม

2.2 ร้อยละของเดก็ รจู้ กั ยบั ยง้ั ช่ังใจ P - 381 93.15
อดทนในการรอคอย P - 387 94.62
P - 386 94.38
2.3 รอ้ ยละของเด็กยอมรับและพอใจใน P - 389 95.11
ความสามารถ และผลงานของตนเองและผู้อื่น P - 387 94.62

2.4 รอ้ ยละของเดก็ มีจติ สำนกึ และคา่ นยิ ม
ที่ดี
2.5 ร้อยละของเด็กมคี วามมน่ั ใจ กล้าพดู กลา้
แสดงออก
2.6 ร้อยละของเด็กช่วยเหลือแบ่งปนั

ประเด็นพิจารณา การปฏบิ ัตงิ าน เป้าหมาย จำนวน จำนวนเด็ก *** ผลการ
(รอ้ ยละ) เด็กท้ังหมด ผ่านเกณฑ์ที่ ผลการประเมนิ ประเมนิ
ปฏบิ ตั ิ ไม่ คณุ ภาพทไ่ี ด้
ปฏบิ ตั ิ (คน) โรงเรียน (รอ้ ยละ)
กำหนด(คน) ยอดเยีย่ ม
2.7 รอ้ ยละของเด็กเคารพสิทธิ ร้หู นา้ ท่ี P- 93.89
384 93.15
รบั ผดิ ชอบ อดทนอดกลน้ั 94.87
381 94.62
2.8 ร้อยละของเดก็ ซ่ือสัตย์สุจรติ มีคณุ ธรรม P -
388 95.11
จริยธรรม ตามท่ีสถานศึกษากำหนด 94.38
387
2.9 ร้อยละของเด็กมคี วามสุขกบั ศิลปะดนตรี P -
389
และการเคลื่อนไหว
386
3 มีพัฒนาการดา้ นสังคม ช่วยเหลอื 92 409

ตนเองและเปน็ สมาชกิ ทดี่ ขี องสงั คม

3.1 ร้อยละของเด็กช่วยเหลือตนเอง P-

ในการปฏิบัตกิ จิ วัตรประจำวัน มวี ินยั ในตนเอง

3.2 รอ้ ยละของเดก็ ประหยัดและพอเพยี ง P-

3.3 รอ้ ยละของเดก็ มสี ่วนรว่ มดแู ลรกั ษา P- 387 94.62
สง่ิ แวดล้อมในและนอกหอ้ งเรยี น 388 94.87
386 94.38
3.4 รอ้ ยละของเดก็ มีมารยาทตามวัฒนธรรม P -
384 93.89
ไทย เชน่ การไหว้ การย้ิม ทกั ทาย และ 382 93.40 ยอดเยย่ี ม

มสี ัมมาคารวะกบั ผู้ใหญ่ ฯลฯ 383 93.64
378 92.42
3.5 รอ้ ยละของเด็กยอมรับหรือเคารพ P- 379 92.67
382 93.40
ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล เชน่ ความคิด

พฤตกิ รรม พน้ื ฐานครอบครวั เชอื้ ชาติ ศาสนา

วฒั นธรรม เปน็ ตน้

3.6 รอ้ ยละของเด็กเลน่ และทำงานร่วมกับ P-
ผอู้ ่ืนได้ แก้ไขข้อขดั แยง้ โดยปราศจาก

การใชค้ วามรนุ แรง

4 มพี ฒั นาการด้านสติปญั ญา ส่ือสารได้ 92 409

มีทักษะการคิดพนื้ ฐาน และแสวงหา

ความร้ไู ด้

4.1 ร้อยละของเด็กสนทนาโตต้ อบและ P-
เลา่ เร่ืองให้ผูอ้ ่นื เขา้ ใจ

4.2 รอ้ ยละของเด็กตัง้ คำถามในสง่ิ ท่ี P-
ตนเองสนใจหรือสงสัย และพยายามค้นหา

คำตอบ

4.3 รอ้ ยละของเด็กอ่านนิทานและเลา่ เรอ่ื ง P -

ท่ีตนเองอ่านได้เหมาะสมกบั วยั

4.4 ร้อยละของเดก็ มีความสามารถในการคิด P -

รวบยอด การคดิ เชิงเหตผุ ลทางคณิตศาสตร์

และวิทยาศาสตร์ การคดิ แกป้ ัญหาและ

สามารถตัดสินใจในเรื่อง

ง่าย ๆ ได้

ประเดน็ พจิ ารณา การปฏบิ ตั งิ าน เป้าหมาย จำนวน จำนวนเดก็ *** ผลการ
ไม่ (รอ้ ยละ) เด็กท้งั หมด ผ่านเกณฑ์ท่ี ผลการประเมิน ประเมนิ
คณุ ภาพท่ีได้
ปฏิบตั ิ ปฏบิ ตั ิ (คน) โรงเรียน (ร้อยละ)
กำหนด(คน) ยอดเยีย่ ม

4.5 ร้อยละของเดก็ สรา้ งสรรค์ผลงานตาม P - 384 93.89
ความคดิ และจนิ ตนาการ เชน่ งานศิลปะ การ
เคลอื่ นไหวท่าทาง การเลน่ อสิ ระ ฯลฯ

4.6 รอ้ ยละของเดก็ ใชส้ อ่ื เทคโนโลยี เชน่ แวน่ P - 387 94.62
ขยาย แมเ่ หลก็ กลอ้ งดิจติ อล ฯลฯ เปน็
เครื่องมือในการเรยี นรแู้ ละแสวงหาความรไู้ ด้

สรุปผลการประเมนิ = ผลรวมผลการประเมินทุกประเดน็ พิจารณา 94.65
จำนวนประเดน็ พิจารณา

หมายเหตุ กรอกข้อมูลเฉพาะแถบสีขาว

วิธีคำนวณ

*** ผลการประเมนิ (รอ้ ยละ) = 100 x จำนวนเด็กผ่านเกณฑ์ทโี่ รงเรยี นกำหนด

จำนวนเด็กทงั้ หมด

แปลผลการประเมินคณุ ภาพทไี่ ด้

ร้อยละ 00.00 – 49.99 = กำลงั พัฒนา

รอ้ ยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง

รอ้ ยละ 60.00 – 74.99 = ดี

รอ้ ยละ 75.00 – 89.99 = ดเี ลศิ

ร้อยละ 90.00 – 100 = ยอดเย่ยี ม

กระบวนการพัฒนาท่สี ่งผลต่อระดบั คุณภาพของมาตรฐานท่ี 1 คุณภาพเด็ก

ตัวบ่งชี้ กระบวนการพฒั นาและผลการดำเนนิ งาน ระดบั คณุ ภาพ
ยอดเยี่ยม
1.1มีพัฒนาการดา้ นร่างกาย 1.สถานศึกษาไดก้ ำหนดยทุ ธศาสตร์เพื่อพัฒนาไว้ในเอกสารแผนพฒั นา

แข็งแรง มสี ขุ นิสัยทีด่ ีและ คุณภาพการจัดการศึกษาระยะ3ปี (พ.ศ. 2562-2564) พันธกจิ ที่ 4

ดแู ลความปลอดภัยของ พฒั นาคุณภาพของเด็กด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปัญญา
ตนเองได้เดก็ มีน้ำหนกั เป้าหมายที่ 5 เด็กมพี ัฒนาการด้านรา่ งกายแข็งแรงมสี ขุ นสิ ยั ทด่ี ีและดูแล
ส่วนสงู ตามเกณฑม์ าตรฐาน ความปลอดภัยของตนเองได้ โดยมตี วั ช้ีวัดความสำเรจ็ เพอื่ 5.1.เดก็ มี
นำ้ หนักสว่ นสงู เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 5.2.เดก็ มที ักษะการเคลือ่ นไหว
เคลอื่ นไหวร่างกาย
คล่องแคลว่ ทรงตวั ไดด้ ี ใช้ ตามวัย 5.3. เดก็ มีสขุ นิสัยในการดแู ลสุขภาพขงิ ตนและปฏบิ ตั ิจนเป็นนสิ ัย
5.4หลกี เลี่ยงต่อสภาวะท่เี ส่ียงตอ่ โรคส่ิงเสพติดระวังภัยจากคนสงิ่ แวดล้อม
มือและตาประสานสมั พนั ธ์ และอุบตั ิเหตุ โรงเรยี นไดส้ ง่ เสรมิ พฒั นาสุขนสิ ยั ในการดแู ลสุขภาพของเด็ก
ได้ดี ดแู ลรกั ษาสุขภาพ เช่น การลา้ งมือกอ่ นรับประทานอาหารและหลังเขา้ หอ้ งนำ้ ใหส้ มำ่ เสมอ
อนามยั สว่ นตนและปฏบิ ัติ การแปรงฟนั อย่างถกู วิธี และการรับประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชน์
จนเป็นนสิ ัย ปฏบิ ตั ติ นตาม ครผู ู้สอน/ครปู ระจำชน้ั ดแู ลและให้การแนะนำอยา่ งใกล้ชดิ ในการดแู ลให้มี
ขอ้ ตกลง เก่ียวกับความ สขุ นสิ ยั ที่ดีและดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้

ปลอดภัย หลกี เลย่ี งสภาวะ 2.สง่ เสริมให้เดก็ มสี ุขภาพตามวยั มีการตรวจสุภาพ มีการบันทกึ การช่งั
ท่เี ส่ยี งตอ่ โรค สงิ่ เสพติด นำ้ หนัก วัดสว่ นสงู การทดสอบสมรรถภาพทางกายเด็กมีนำ้ หนกั สว่ นสงู
และระวงั ภยั จากบุคคล ตามเกณฑ์มาตรฐาน เด็กส่วนใหญ่มีน้ำหนกั สว่ นสูง ตามเกณฑ์ ของกรม
สงิ่ แวดล้อม และ อนามัยกระทรวงสาธารณสขุ ดแู ลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนและปฏบิ ัติ

สถานการณท์ เ่ี สย่ี งอันตราย จนเปน็ นสิ ยั ปฏิบัตติ นตามขอ้ ตกลง เกย่ี วกบั ความปลอดภยั หลีกเล่ียง

สภาวะท่ีเสยี่ งตอ่ โรค สิง่ เสพตดิ และระวังภัยจากบุคคล สิ่งแวดลอ้ ม และ

สถานการณ์ทีเ่ สย่ี งอันตรายได้รอ้ ยละ 97.07

1.2 มี พั ฒ น า ก า ร ด้ า น 1.สถานศึกษาไดก้ ำหนดยทุ ธศาสตรเ์ พือ่ พัฒนาไวใ้ นเอกสารแผนพฒั นา ยอดเยี่ยม

อารมณ์ จิตใจ ควบคุมและ คุณภาพการจัดการศึกษาระยะ 3ปี (พ.ศ. 2562-2564) พนั ธกจิ ขอ้ ท่ี 4

แสดงออกทางอารมณ์ได้ พฒั นาคณุ ภาพของเด็กดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญา
เด็กร่าเริงแจ่มใส แสดง เป้าหมายท่ี 6 เดก็ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออก
อ า ร ม ณ์ ค ว า ม รู้ สึ ก ได้ ทางอารมณ์ได้โดยมตี ัวชีว้ ดั ความสำเร็จเพอ่ื 6.1. เดก็ ร่าเริงแจ่มใส มี
เหมาะสม รู้จักยับย้ังช่ังใจ ความรูส้ กึ ท่ีดีต่อตนเอง 6.2 เดก็ ควบคุมอารมณ์ตนเองไดเ้ หมาะสมกับวยั
อ ด ท น ใน ก า ร ร อ ค อ ย 6.3. เด็กมคี วามมัน่ ใจและกลา้ แสดงออก 6.4. เดก็ ชว่ ยเหลอื 6.5. เดก็ ชืน่
ชมและเขา้ ร่วมกิจกรรมศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว แบ่งปนั มคี วาม
ย อ ม รั บ แ ล ะ พ อ ใ จ ใ น ซ่ือสัตย์สุจรติ และมคี ุณธรรม จริยธรรม
ความสามารถและผลงาน

ของต น เองแล ะผู้ อื่ น มี 1.โรงเรยี นได้มีการดำเนนิ การสง่ เสริมการเรียนรู้ในรูปแบบตา่ งๆ ให้เดก็ มี

จิตสำนึกและค่านิยมที่ดี มี ความรา่ เริงแจม่ ใสแสดงอารมณค์ วามรสู้ ึกได้เหมาะสมร้จู กั ยบั ยงั้ ชงั่ ใจ

ความมั่นใจ กล้าพูด กล้า อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในความสามารถและผลงานของ

แ ส ด ง อ อ ก ช่ ว ย เห ลื อ ตนเองและผู้อน่ื มจี ิตสำนึกและค่านยิ มท่ีดี มีความรูส้ กึ ท่ดี ีต่อตนเอง มั่นใจ

ตัวบ่งชี้ กระบวนการพฒั นาและผลการดำเนินงาน ระดบั คณุ ภาพ
ยอดเย่ียม
แบ่งปนั เคารพสิทธิ รู้หน้าที่ กล้า แสดงออก ควบคุมอารมณต์ นเองได้เหมาะสมกับวัย รู้จักชน่ื ชมศลิ ปะ
ยอดเย่ียม
รับผิดชอบ อดทนอดกลั้น ดนตรี การเคล่อื นไหว และรกั ธรรมชาติ เดก็ สว่ นใหญร่ า่ เรงิ แจ่มใส มีความ

ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม ม่นั ใจและกลา้ แสดงออกเหมาะสมตามวัย

จริยธรรมตามที่สถานศึกษา 2. โรงเรียนได้ดำเนนิ การจดั กจิ กรรมทสี่ ่งเสริม สนับสนนุ ให้เด็กสว่ นใหญ่มี

ก ำ ห น ด ช่ื น ช ม แ ล ะ มี ความซื่อสัตยแ์ ละชว่ ยเหลือแบ่งปนั ท้ังในหอ้ งเรียนและกิจกรรมต่างๆของ

ความสุขกับศิลปะ ดนตรี โรงเรยี น

และการเคล่ือนไหว 3. เด็กส่วนใหญ่สนใจซกั ถามในเร่ืองตา่ งๆอย่างต้งั ใจเหมาะสมตามวัย

4.เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจ ร่าเริงแจ่มใสมีความรู้สกึ ทดี่ ีตอ่

ตนเอง มีความมัน่ ใจและกลา้ แสดงออก เชน่ กลา้ พูดกล้าพดู กลา้ ทำ กลา้

แสดงออกควบคุมอารมณต์ นเองได้สนใจและเข้ารว่ มกิจกรรมศิลปะ ดนตรี

การเคลอื่ นไหว และรักธรรมชาติ คิดเป็นได้ร้อยละ 94.38

1.3 มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม สถานศกึ ษาไดก้ ำหนดยุทธศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาไวใ้ นเอกสารแผนพฒั นา

ช่วยเหลอื ตนเองและเปน็ คณุ ภาพการจัดการศึกษาระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2562-2564) พันธกจิ ที่ 4

สมาชิกทด่ี ีของสงั คมเด็ก พัฒนาคุณภาพของเดก็ ด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ัญญา

ชว่ ยเหลือตนเองในการ เปา้ หมายที่ 7 เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลือตนเอง และเป็น

ปฏิบตั กิ ิจวตั รประจำวนั มี สมาชกิ ท่ีดีของสงั คมโดยมีตัวชี้วดั ความสำเร็จเพือ่ 7.1 เด็กรู้จกั ประหยัด

วินัยในตนเอง ประหยัดและ และมีความพอเพียง 7.2 เดก็ ประพฤติตนตามวฒั นาธรรมไทยและ

พอเพยี ง มีสว่ นร่วมดูแล ศาสนาที่ตนเองนับถอื 7.3 เด็กสามารถเลน่ และทำงานร่วมกับผ้อู ืน่ ได้

รักษาส่ิงแวดล้อมในและ โรงเรียนได้มกี ารดำเนนิ การส่งเสรมิ การเรยี นรูใ้ นรูปแบบตา่ งๆ ดงั นี้

นอกหอ้ งเรียน มีมารยาท 1.เด็กช่วยเหลอื ตนเองในการปฏิบัติกิจวตั รประจำวนั มวี นิ ยั ในตนเอง

ตามวฒั นธรรมไทย เชน่ ประหยดั และพอเพยี ง มสี ่วนร่วมดูแลรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มมคี วามเปน็ ผนู้ ำและ

การไหว้ การยมิ้ ทกั ทาย ผ้ตู าม ครูผู้สอน/ครปู ระจำชน้ั เปดิ โอกาสในการใหเ้ ด็กไดเ้ ลือกหัวหน้าหรือ

และมีสมั มาคารวะกบั ผู้ใหญ่ ในการกระต้นุ ให้เดก็ มีโอกาสเสนอตวั เองหรือเพอื่ นในการปฏิบตั ิกิจกรรม

เปน็ ตน้ ยอมรับหรอื เคารพ ตา่ งๆ

ความแตกต่างระหว่าง 2โรงเรียนได้ดำเนนิ การจดั กิจกรรมที่ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ มมี ารยาทตาม

บคุ คล เชน่ ความคิด วัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การยิ้ม ทักทาย และมสี ัมมาคารวะกบั ผูใ้ หญ่

พฤติกรรม พนื้ ฐาน เป็นตน้ ยอมรับหรอื เคารพความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล เชน่ ความคดิ

ครอบครัว เช้ือชาติ ศาสนา พฤตกิ รรม พน้ื ฐานครอบครัว เชอื้ ชาติ ศาสนา วฒั นธรรม เป็นตน้ เลน่ และ

วัฒนธรรม เปน็ ตน้ เลน่ และ ทำงานรว่ มกับผอู้ นื่ ได้ แก้ไขขอ้ ขัดแยง้ โดยปราศจากการใชค้ วามรุนแรง

ทำงานร่วมกับผู้อน่ื ได้ แก้ไข รอ้ ยละ 94.62

ขอ้ ขดั แย้งโดยปราศจากการ

ใชค้ วามรุนแรง

1.4 มี พั ฒ น า ก า ร ด้ า น สถานศกึ ษาได้กำหนดยทุ ธศาสตร์เพอื่ พฒั นาไว้ในเอกสารแผนพัฒนา

สติปั ญ ญ า สื่อสารได้ มี คณุ ภาพการจัดการศึกษาระยะ 3ปี (พ.ศ. 2562-2564) พนั ธกิจท่ี 4

ตัวบ่งช้ี กระบวนการพฒั นาและผลการดำเนนิ งาน ระดบั คุณภาพ

ทักษะการคิดพื้นฐานและ พัฒนาคณุ ภาพของเด็กด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญา

แสวงหาความรไู้ ด้ เป้าหมายที่ 8 เดก็ มีพฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา ส่ือสารได้ มีทกั ษะการคิด

เด็กสนทนาโต้ตอบและเล่า พืน้ ฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้โดยมีตัวชว้ี ดั ความสำเร็จเพื่อ 8.1 เด็ก

เร่ื อ ง ให้ ผู้ อื่ น เข้ า ใจ ต้ั ง สนใจเรยี นรู้สิ่งรอบตัว ซกั ถามอยา่ งตั้งใจ และรักการเรียนรู้ 8.2 มี

คำถามในส่ิงท่ีตนเองสนใจ ความคดิ รวบยอดเก่ยี วกบั สิ่งตา่ งๆ ท่เี กดิ จากประสบการณ์ การเรยี นรู้

หรือสงสัยและพยายาม 8.3 มที กั ษะทางภาษาท่ีเหมาะสมกบั วัย 8.4. เด็กมที ักษะกระบวนการทาง

ค้นหาคำตอบ อ่านนิทาน วทิ ยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ 8.5 มจี ินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์

และเล่าเร่ืองที่ตนเองอ่านได้ 1.โรงเรยี นไดด้ ำเนนิ การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ คิดรวบยอด การคดิ เชิงเหตผุ ล

เห ม า ะ ส ม กั บ วั ย มี ทางคณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ การคิดแก้ปัญหาและสามารถตดั สินใจใน

ความสามารถในการคิดรวบ เร่ืองง่ายๆ ได้ สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ เชน่ งาน

ยอด การคิดเชิงเหตุผลทาง ศิลปะ การเคลอื่ นไหวทา่ ทาง การเล่นอสิ ระ เป็นต้น และใชส้ ่อื เทคโนโลยี

ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เชน่ แว่นขยาย แม่เหล็ก กลอ้ งดจิ ิตอล เปน็ ตน้ เป็นเครอื่ งมือในการเรียนรู้

วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ก า ร คิ ด และแสวงหาความรู้ได้

แ ก้ ปั ญ ห าแ ล ะ ส าม ารถ 2.โรงเรยี นได้ดำเนินการพัฒนาในรูปของโครงการ/กิจกรรมทส่ี ่งเสรมิ ให้

ตัดสินใจในเรื่องง่ายๆ ได้ ผู้เรียนไดม้ ีพฒั นาการทางด้านสตปิ ัญญา ดงั นี้ แผนการจดั ประสบการณ์

ส ร้างส รรค์ ผ ล งาน ต าม การเรยี นรงู้ านการจัดประสบการณ์เรียนร,ู้ กจิ กรรมประจำวันและกจิ กรรม

ความคิดและจินตนาการ เสรมิ หลกั สตู ร, กจิ กรรมหอ้ งสมดุ ของเลน่ , กจิ กรรมห้องทักษะ

เช่ น ง า น ศิ ล ป ะ ก า ร กระบวนการคดิ กิจกรรมจดั มมุ อ่านหนังสือ/หนงั สือพิมพ์/นติ ยสารภายใน

เคล่ือนไหวท่าทาง การเล่น อาคาร, ห้องเรยี นพหุปัญญา สง่ เสรมิ การเรยี นรกู้ ฎจราจร สนามฝึกขบั รถ

อิสระ เป็นต้น และใช้ส่ือ สำหรบั เดก็ ปฐมวัย 1-3 กจิ กรรมส่งเสริมเดก็ ประกวดภายใน/ภายนอก

เทคโนโลยี เช่น แว่นขยาย กิจกรรมวันรบั วฒุ ิบตั รกจิ กรรมสง่ เสรมิ หนนู ้อยคอมพวิ เตอร์ และผลการ

แม่เหล็ก กล้องดิจิตอล เป็น ประเมินนักเรยี นตามมาตรฐานหลกั สตู รปฐมวยั พ.ศ.2560 โครงการ

ต้น เป็นเครื่องมือในการ จัดการเรยี นการสอนโดยใชภ้ าษาอังกฤษเป็นส่ือทำให้เดก็ ไดร้ บั การพัฒนา

เรียนรู้และแสวงหาความรู้ ด้านสติปญั ญาดว้ ยกระบวนการท่ีหลากหลาย

ได้ 3. มีการสรุปความคิดรวบยอดเกยี่ วกับส่งิ ตา่ งๆทีเ่ กิดจากประสบการณ์

เรยี นรู้ของเด็กมีการพัฒนาสง่ เสริมท่ีชัดเจนมากขึน้ ครูผสู้ อน/ครปู ระจำชนั้

ได้กระตุ้นซักถามและจัดกจิ กรรมใหเ้ ด็กไดม้ ีโอกาสสรุปมากขึ้นในการจัด

กจิ กรรมท้ัง 6 กิจกรรมมผี ลการประเมนิ ด้านสตปิ ัญญาคิดเป็นรอ้ ยละ 93.40

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ การปฏบิ ัตงิ าน *** ผลการประเมนิ
ค่าเปา้ หมาย คุณภาพทีไ่ ด้
ประเดน็ พจิ ารณา ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏบิ ัติ ยอดเยี่ยม
82
1 มีหลักสูตรครอบคลุมพฒั นาการทงั้ ส่ดี า้ น สอดคล้องกบั P- ยอดเย่ยี ม
บริบทของท้องถน่ิ P- 82
1.1 มหี ลักสตู รสถานศึกษาทีย่ ดื หยนุ่ และสอดคล้องกับ P- ยอดเยี่ยม
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั P- 82
1.2 ออกแบบจัดประสบการณท์ เ่ี ตรียมความพร้อมและไม่
เรง่ รัดวชิ าการ P-
1.3 ออกแบบการจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นการเรยี นรผู้ า่ นการ
เล่น และการลงมือปฏิบตั ิ (Active learning) P-
1.4 ออกแบบการจัดประสบการณท์ ีต่ อบสนองความ
ตอ้ งการและความแตกตา่ งของเดก็ ปกติและกล่มุ เป้าหมาย
เฉพาะทส่ี อดคลอ้ งกับวิถชี วี ติ ของครอบครัว ชุมชนและ
ทอ้ งถ่ิน
1.5 มกี ารประเมนิ ตรวจสอบ และปรบั ปรุง / พฒั นา
หลักสตู รอยา่ งต่อเนื่อง

2 จดั ครูให้เพยี งพอกับชัน้ เรยี น
2.1 จดั ครคู รบชนั้ เรยี น

2.2 จดั ครูใหม้ คี วามเหมาะสมกบั ภารกจิ การจัประสบการณ์ P -

2.3 จัดครูไมจ่ บการศกึ ษาปฐมวัยแต่ผ่านการอบรม P-
การศึกษาปฐมวัย P-
2.4 จัดครจู บการศกึ ษาปฐมวยั

2.5 จัดครจู บการศกึ ษาปฐมวยั และผ่านการอบรม P -
การศึกษาปฐมวัย
3 สง่ เสริมให้ครมู ีความเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์ P -
3.1 มกี ารพัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถ P -
ในการวเิ คราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา P -
3.2 ส่งเสริมครใู หม้ ีทกั ษะในการจดั ประสบการณแ์ ละการ
ประเมนิ พัฒนาการเด็ก P -
3.3 ส่งเสริมครใู ชป้ ระสบการณส์ ำคัญในการออกแบบการ
จัดกิจกรรม จัดกิจกรรม สงั เกตและประเมินพฒั นาการเด็ก
เป็นรายบุคคล
3.4 ส่งเสรมิ ให้ครูมปี ฏสิ มั พนั ธท์ ่ีดกี ับเด็กและครอบครัว

3.5 สง่ เสริมใหค้ รูพฒั นาการจดั ประสบการณโ์ ดยใช้ชมุ ชน P -
แหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC)

ประเดน็ พจิ ารณา การปฏบิ ตั ิงาน *** ผลการประเมิน
คา่ เป้าหมาย คณุ ภาพทไ่ี ด้
4 จดั สภาพแวดล้อมและสือ่ เพอื่ การเรยี นร้อู ยา่ งปลอดภยั ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏบิ ัติ ยอดเยยี่ ม
และเพียงพอ 82
4.1 จดั สภาพแวดลอ้ มภายในหอ้ งเรียนที่คำนึงถงึ ความ P- ยอดเยย่ี ม
ปลอดภัย P- 82
4.2 จดั สภาพแวดลอ้ มภายนอกหอ้ งเรียนทคี่ ำนงึ ถึงความ P- ยอดเย่ยี ม
ปลอดภยั P- 82
4.3 สง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการเรยี นรทู้ ่เี ปน็ รายบุคคลและกลุ่ม เล่น
แบบรว่ มมือรว่ มใจ P-
4.4 จัดใหม้ มี มุ ประสบการณห์ ลากหลาย มสี ือ่ การเรยี นรู้ ที่
ปลอดภัยและเพยี งพอ เชน่ ของเลน่ หนงั สือนทิ าน สื่อจาก P-
ธรรมชาติ สอื่ สำหรบั เด็กมุดลอด ปีนป่าย ส่อื เทคโนโลยีการ P-
สบื เสาะหาความรู้ P-
4.5 จดั หอ้ งประกอบทเี่ ออื้ ต่อการจดั ประสบการณแ์ ละ
พัฒนาเด็ก

5 ใหบ้ ริการส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อการเรียนรเู้ พอ่ื
สนับสนุนการจดั ประสบการณ์
5.1 อำนวยความสะดวกและให้บรกิ ารสอ่ื เทคโนโลยี
สารสนเทศ วัสดุ อปุ กรณ์และสอ่ื การเรยี นรู้
5.2 พัฒนาครใู ห้มีความรู้ความสามารถในการผลติ และใช้
สอ่ื ในการจัดประสบการณ์
5.3 มกี ารนิเทศติดตามการใช้สื่อในการจัดประสบการณ์

5.4 มกี ารนำผลการนิเทศตดิ ตามการใชส้ ื่อมาใช้เป็นข้อมูล P -
ในการพัฒนา P -
5.5 สง่ เสริม สนับสนุนการเผยแพร่การพฒั นาสื่อ และ
นวัตกรรมเพือ่ การจดั ประสบการณ์ P -
6 มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพทเ่ี ปิดโอกาสให้ผเู้ กยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายมี P -
สว่ นรว่ ม P -
6.1 กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่
สอดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวยั และอตั ลกั ษณข์ อง
สถานศึกษา
6.2 จดั ทำแผนพฒั นาการศกึ ษาทส่ี อดรับกบั มาตรฐานที่
สถานศกึ ษากำหนดและดำเนินการตามแผน
6.3 มกี ารประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษา

ประเดน็ พิจารณา การปฏิบัตงิ าน *** ผลการประเมิน
ค่าเป้าหมาย คุณภาพที่ได้
ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏบิ ัติ
5.00 ยอดเยีย่ ม
6.4 มีการตดิ ตามผลการดำเนนิ งาน และจัดทำรายงานผล P -

การประเมินตนเองประจำปี และรายงานผลการประเมิน

ตนเอง ใหห้ นว่ ยงานตน้ สงั กดั

6.5 นำผลการประเมนิ ไปปรับปรงุ และพฒั นาคณุ ภาพ P-

สถานศึกษา โดยผปู้ กครองและผเู้ กย่ี วขอ้ งทุกฝ่ายมสี ่วน

รว่ ม

สรปุ ผลการประเมิน = ผลรวมคา่ เปา้ หมายทุกประเดน็ พิจารณา

จำนวนประเด็นพจิ ารณา

หมายเหตุ กรอกขอ้ มลู เฉพาะแถบสขี าว
*** คา่ เป้าหมาย = จำนวนข้อการปฏิบตั ิในแตล่ ะประเด็นพจิ ารณา

แปลผลการประเมินคุณภาพทไ่ี ด้ คา่ เฉลีย่ ผลการประเมนิ คณุ ภาพทไี่ ด้
ปฏิบัติ 1 ข้อ ได้ระดบั คณุ ภาพ กำลังพัฒนา 1.00 – 1.49 ระดบั คณุ ภาพ กำลงั พฒั นา
ปฏิบตั ิ 2 ขอ้ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ปานกลาง 1.50 – 2.49 ระดับคณุ ภาพ ปานกลาง
ปฏิบตั ิ 3 ขอ้ ได้ระดับคุณภาพ ดี 2.50 – 3.49 ระดับคณุ ภาพ ดี
ปฏบิ ัติ 4 ข้อ ได้ระดบั คุณภาพ ดีเลศิ 3.50 – 4.49 ระดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ
ปฏบิ ตั ิ 5 ขอ้ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ยอดเย่ียม 4.50 – 5.00 ระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม

กระบวนการพัฒนาทีส่ ง่ ผลต่อระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

ตัวบง่ ช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนนิ งาน ระดบั คุณภาพ

2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการ โรงเรียนมกี ารจัดทำหลักสูตรโดยจดั ให้มีการวิเคราะห์หลกั สตู ร ยอดเยย่ี ม

ท้ัง 4 ดา้ น สอดคล้องกับบริบทของ มหี ลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศึกษาและนำสู่การปฏิบตั ิ ยอดเยยี่ ม

ทอ้ งถ่ิน ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพครอบคลุมพัฒนาการท้งั 4 ด้าน ยอดเยยี่ ม

สถานศึกษามีหลักสตู รสถานศึกษาท่ี สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของทอ้ งถนิ่ มีระบบและกลไกใหผ้ ้มู สี ่วนรว่ ม

ยดื หยนุ่ และสอดคลอ้ งกบั หลกั สตู ร ทุกฝา่ ยตระหนักและเข้าใจการจดั การศกึ ษาปฐมวยั

การศึกษาปฐมวัย โดยสถานศึกษา -สถานศกึ ษามกี ารพฒั นาหลักสตู รอย่างมีระบบ วิเคราะห์

ออกแบบการจดั ประสบการณท์ ่ี หลกั สตู รและมกี ารวางแผนพัฒนาหลักสตู ร ดำเนนิ การ ตดิ ตาม

เตรยี มความพรอ้ มและไมเ่ ร่งรดั และประเมนิ ผลการใชห้ ลักสตู ร นำผลประเมินมาปรับปรุงและ

วิชาการ เน้นการเรยี นรผู้ ่านการเลน่ พัฒนา จนไดห้ ลกั สูตรสถานศึกษา ที่มคี ุณภาพมคี วามยดื หยนุ่

และการลงมอื ปฏิบตั ิ ตอบสนองความ เหมาะสมกับสภาพท้องถ่ิน

ตอ้ งการและความแตกตา่ งของเดก็ -ครมู ีความรู้ความเขา้ ใจในเร่ืองของการจดั ทำหลักสูตร มหี ลกั สตู ร

ปกตแิ ละกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ และ ฉบับครูผู้สอนในระดบั ช้ันท่ตี นเองรับผดิ ชอบและมีการพัฒนา

สอดคลอ้ งกับวิถชี ีวิตของครอบครวั อย่างตอ่ เน่ือง มกี ารจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งความตระหนักรู้และ

ชมุ ชนและทอ้ งถนิ่ ความเขา้ ใจหลักการจดั การศกึ ษาปฐมวยั การจดั ประสบการณ์

การเตรียมความพร้อม เนน้ การเรยี นรผู้ า่ นการเล่นและการลง

มือปฏบิ ตั ิ ตอบสนองความต้องการและความแตกตา่ งของเดก็ มี

การสร้างการมสี ว่ นร่วมและแสวงหาความร่วมมอื กับผู้ปกครอง

ชมุ ชน และทอ้ งถ่ิน

2.2 จัดครูใหเ้ พียงพอกบั ชนั้ เรียน สถานศึกษาไดก้ ำหนดยุทธศาสตร์เพอ่ื พัฒนาไวใ้ นเอกสาร

สถานศกึ ษาจัดครูให้เหมาะสมกับ แผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาระยะ3ปี (พ.ศ.2562-

ภารกจิ การเรยี นการสอนหรือจดั ครทู ี่ 2564) พนั ธกจิ ขอ้ ที่ 5 พัฒนากระบวนการและการจดั การใหม้ ี

จบการศกึ ษาปฐมวัยหรือผา่ นการ ประสทิ ธภิ าพและเกิดประสทิ ธผิ ล เปา้ หมายที่ 10 ครมู เี พียงพอ

อบรมการศึกษาปฐมวยั อย่างพอเพียง กบั ช้นั เรียนละมีความเช่ียวชาญการจัดประสบการณ์

กับชน้ั เรยี น วตั ถปุ ระสงค์เพ่ือ 10.1 ครมู วี ุฒแิ ละความรู้ความสามารถในดา้ น

การศกึ ษาปฐมวยั 10.2 ส่งเสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพบุคคลากร

ให้มปี ระสทิ ธิภาพสถานศึกษาไดจ้ ดั ครูให้เพียงพอกับช้ันเรียน

โดยครทู กุ คนมีวฒุ ิทางการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรีทางการศกึ ษา

ข้ึนไปหรอื ไดร้ บั การพฒั นา/อบรมไมน่ ้อยกวา่ 20ชั่วโมงต่อป)ี มี

ความรคู้ วามสามารถในการจดั ประสบการณ์ทเี่ น้นเด็กเปน็ สำคญั

และมีครูที่เพียงพอกับช้นั เรียนโดย

-ครู100%มวี ฒุ ิปริญญาตรแี ละมีวฒุ ติ รงตามระดบั /สาขาที่สอน

หรอื มปี ระสบการณไ์ ม่นอ้ ยกวา่ 2ปี

-ในปีการศึกษา 2563 โรงเรยี น มสี ดั สว่ นครทู เ่ี หมาะสมกับ

จำนวนของเดก็

2.3 สง่ เสรมิ ใหค้ รูมคี วามเช่ยี วชาญ สถานศกึ ษาไดก้ ำหนดยทุ ธศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาไว้ในเอกสาร

ตวั บ่งช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดบั คณุ ภาพ

ด้านการจดั ประสบการณ์ แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาระยะ3ปี(พ.ศ.2562-2564) ยอดเยีย่ ม

พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ คี วามรู้ พนั ธกิจขอ้ ท่ี5 พัฒนากระบวนการและการจัดการใหม้ ี

ความสามารถในการวเิ คราะห์และ ประสิทธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ล เป้าหมายที1่ 0 ครูมเี พยี งพอ

ออกแบบหลกั สูตรสถานศึกษา มี กบั ช้นั เรียนและมีความเช่ียวชาญการจัดประสบการณ์

ทักษะในการจัดประสบการณแ์ ละการ -ครทู กุ คนไดร้ บั การพัฒนาความรคู้ วามสามารถมีทักษะและ

ประเมินพัฒนาการเด็ก ใช้ เทคนิคในการจัดประสบการณอ์ ยา่ งต่อเนือ่ ง

ประสบการณส์ ำคญั ในการออกแบบ -ครูปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีตามมาตรฐานด้วยความมงุ่ มั่น ทมุ่ เทการสอน

การจัดกจิ กรรม มีการสังเกตและ อย่างเตม็ เวลาและเตม็ ความสามารถ เพ่อื พฒั นาผู้เรยี นให้มี

ประเมนิ พฒั นาการเดก็ เปน็ รายบุคคล คณุ ภาพ บรรลเุ ปา้ หมายของหลกั สตู ร มคี วามเข้าใจปรชั ญา

มีปฏิสมั พนั ธ์ทด่ี กี บั เด็กและครอบครัว หลกั การ และธรรมชาติของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั จัดทำ

แผนการจดั ประสบการณ์ ทสี่ อดคล้องกับหลักสตู รการศึกษา

ปฐมวยั บรหิ ารจัดการช้ันเรียนทสี่ ร้างวินัยเชิงบวก ใช้สอื่ และ

เทคโนโลยสี อดคลอ้ งกบั พัฒนาการของเดก็ ใชเ้ ครื่องมอื การวัด

และประเมินพัฒนาการอยา่ งหลากหลาย มกี ารวิจัย เพ่ือ

พัฒนาการการเรยี นรู้ พรอ้ มกับจัดส่งิ แวดล้อมใหเ้ อ้อื ตอ่ การ

เรยี นรู้ มปี ฏสิ มั พนั ธท์ ดี่ ี มีวุฒิและความรูค้ วามสามารถในดา้ น

การจดั การศึกษาปฐมวยั ตลอดจนสามารถ จัดทำสารนทิ ศั น์

เพื่อใช้ประโยชน์การพัฒนาเดก็

2.4 จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพื่อการ -โรงเรียนมีการจดั สภาพแวดล้อม ภายในและ ภายนอก

เรยี นรู้อยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ ห้องเรยี น โดยคำนงึ ถงึ ความปลอดภยั ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดการ

สถานศึกษาจดั สภาพแวดลอ้ มภายใน เรยี นรเู้ ปน็ รายบคุ คล และกล่มุ ดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี งาน

และภายนอกห้องเรียนทค่ี ำนึงถึง อาคารสถานท่ีกำหนดมาตรการความปลอดภยั เช่น การเฝา้

ความปลอดภยั สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การ ระวงั โรคที่มาจากยุงเปน็ พาหนะ การกำหนดการทำความ

เรียนรเู้ ปน็ รายบุคคลและกลมุ่ เลน่ สะอาด เครื่องปรับอากาศในหอ้ งเรยี น รวมทงั้ จัดบรรยากาศใน

แบบร่วมมือรว่ มใจ มมี ุมประสบการณ์ ชนั้ เรยี นที่ มแี สงสวา่ งเพยี งพออุปกรณ์การเลน่ เพียงพอกับ

หลากหลาย มสี ่อื การเรยี นรู้ เช่น ของ จำนวนผู้เรยี น การจดั ให้มอี ปุ กรณ์ความปลอดภยั บริเวณ

เลน่ หนงั สือนทิ าน สือ่ จากธรรมชาติ อาคารเรยี น เช่น แผ่นกนั ล่นื ถัง ดบั เพลิง ป้ายสญั ญาลักษณเ์ ดนิ

สอ่ื สำหรับเด็กมดุ ลอด ปีนป่าย สอ่ื ขน้ึ -ลงบันได รวมทง้ั การจดั ครเู วรประจำวนั บรเิ วณจุด รบั -ส่ง

เทคโนโลยี สื่อเพือ่ การสืบเสาะหา ในชว่ งเชา้ และเยน็ บนั ทึกเหตกุ ารณท์ ่ีเกดิ ขนึ้ ในชว่ ง การปฏิบัติ

ความรู้ หน้าทเี่ วรประจำวนั จัดแหลง่ การเรยี นรภู้ ายในและ ภายนอก

บริเวณหอ้ งเรียนเพอ่ื อำนวยความสะดวกในการสบื คน้ ขอ้ มลู ที่

หลากหลายใหก้ ับเด็ก เช่นการจดั มมุ ประสบการณ์ ภายใน

หอ้ งเรยี นทสี่ ง่ เสริม พัฒนาการท้งั 4 ด้าน หอ้ งแหลง่ การเรยี นรู้

หอ้ งคอมพิวเตอร์ หอ้ งพหปุ ัญญา ห้องดนตรี การจดั ปา้ ย

นเิ ทศตามหน่วยการเรียน วนั สำคญั ตา่ ง ๆ เหตุการณ์สำคัญ

(เหตกุ ารณม์ ลพษิ ทางการอากาศ) รวมทง้ั การจดั กจิ กรรมทัศน

ศกึ ษา เพ่ือส่งเสรมิ การเรียนรู้แก่เด็ก ครูมกี ารจดั

ตัวบง่ ช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนนิ งาน ระดบั คณุ ภาพ
ยอดเย่ยี ม
สภาพแวดลอ้ มท้ังภายในและภายนอกหอ้ งเรียนเพ่ือให้เด็กเกดิ
ยอดเยย่ี ม
การเรยี นรแู้ ละมีความปลอดภยั ครไู ด้ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดการเรียนรู้

เปน็ รายบุคคลและกลุม่ มมี มุ ประสบการณ์ 4-6 มมุ ในหอ้ งเรยี น

มีสอ่ื การเรยี นรู้ เชน่ ของเล่น หนังสอื นิทาน สอ่ื จากธรรมชาติ

สอื่ สำหรบั เด็ก สอ่ื เทคโนโลยี สือ่ เพื่อการสบื เสาะหา ความรู้ท่ี

หลากหลาย

2.5 ให้ บ ริ ก า ร สื่ อ เท ค โ น โ ล ยี โรงเรียนมีการให้บริการเทคโนโลยี สารสนเทศทุกรูปแบบที่เอื้อ

สารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพื่อ ตอ่ การเรยี นดว้ ยตนเองและการเรยี นรู้แบบมีส่วนรว่ ม

สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์ -มีห้องเรียน ห้องสมุด สนามเด็กเล่น พ้ืนท่ีสีเขียวและส่ิงอำนวย

สถานศึกษาอำนวยความสะดวก และ ความสะดวกเพียงพอและอยู่ในสภาพใชก้ ารได้ดี

ให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ -มีการจัดและใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก-มีห้องส่ือ

วัสดุ และอุปกรณ์ เพ่ือสนับสนุนการ เทคโนโลยีทางการศึกษา มีเคร่ืองฉายมีโปรเจคเตอร์ทุก

จัดประสบการณ์และพัฒนาครู ห้องเรยี น

-มสี ่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรยี นรู้เพ่ือสนับสนุนการ

จดั ประสบการณ์

-มไี อแพค ให้เด็กไดใ้ ชเ้ รยี นครบทุกคน

-มีหอ้ งเรียนส่งเสรมิ พหุปญั ญา -มหี อ้ งเรียนดนตรี

-มีหอ้ งเรยี นCooking

-สนามฝึกขบั รถ สง่ เสรมิ การเรยี นรู้กฎจราจร สำหรบั เดก็

ปฐมวัย 1-3

-มีการนำความรู้และเทคโนโลยีท่ีมีในท้องถิ่นมาเป็นสื่อในการ

เรียนรู้

2.6 มีระบบบริหารคุณ ภาพที่เปิด -โรงเรียนดำเนินนโยบายในการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม

โอกาสใหผ้ ู้เก่ียวขอ้ งทุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ ม เปิดโอกาสในทุกภาค ส่วนท่ีมีส่วนเก่ียวข้องได้แสดงความ

ส ถ าน ศึ ก ษ าก ำห น ด ม า ต ร ฐ า น คิดเห็น ตัดสินใจในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สร้างความ

การศกึ ษาของสถานศึกษาท่ีสอดคล้อง ตระหนักใน บทบาทหน้าที่ของตน และมีโครงการส่งเสริม

กับ ม าต รฐาน การศึ กษ าป ฐม วัย สนับสนุนคือประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาฯ ประชุม

และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด ผู้ปกครองประจำปี ฯลฯ ทำให้สถานศึกษามีความพร้อมและ

จัดทำแผนพัฒ นาการศึกษาของ เข้มแข็งในการบริหารจัดการศึกษาสามารถ ยกระดับคุณภาพ

สถานศึกษาท่ีสอดรับกับมาตรฐานท่ี การศกึ ษาและธรรมาภิบาล

สถานศึกษากำหนดและดำเนินการ -เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและชุมชนร่วมแสดงความเห็นและ

ตามแผน มีการประเมินผลและ ข้อเสนอแนะในการพัฒนาสถานศึกษา

ตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา -เปดิ โอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทกุ ฝ่ายมีสว่ นร่วม

ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำ สถานศึกษากำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ี

ราย งาน ผ ล ก ารป ระ เมิ น ต น เอ ง สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที่

ป ระจำปี น ำผ ล การป ระเมิ น ไป สถานศึกษากำหนดจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา

ป รั บ ป รุ ง แ ล ะ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ทสี่ อดรบั กับมาตรฐานที่สถานศึกษากำหนดและดำเนินการตาม

ตวั บ่งช้ี กระบวนการพฒั นาและผลการดำเนินงาน ระดับคณุ ภาพ

สถานศึกษา โดยผู้ป กครองและ แผน

ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและ - มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา

จัดส่งรายงานผลการประเมิน ตนเอง ด้วยคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนและมี

ให้หนว่ ยงานตน้ สงั กดั ภายนอกมาร่วมประเมินจากมูลนิธิฯ ติดตามผลการดำเนินงาน

และจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี

มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ ีเ่ นน้ เดก็ เปน็ สำคญั

ประเดน็ พิจารณา การปฏบิ ัตงิ าน เปา้ หมาย จำนวน จำนวนครู *** ผลการ
(รอ้ ยละ) ครู ผ่านเกณฑ์ที่ ผลการประเมิน ประเมนิ
1 จัดประสบการณท์ ่สี ่งเสริมให้เดก็ มี ปฏบิ ตั ิ ไม่ คณุ ภาพทไ่ี ด้
ปฏิบตั ิ 85 ทัง้ หมด โรงเรยี น (รอ้ ยละ)
พัฒนาการทุกดา้ น อยา่ งสมดุลเตม็ ศักยภาพ (คน) กำหนด(คน) ยอดเย่ียม
1.1 มีการวิเคราะหข์ อ้ มลู เด็กเปน็ รายบคุ คล P- 85 96.97
33 32 ยอดเยยี่ ม
P- 96.97
33 32

1.2 จดั ทำแผนและใช้แผนการจดั ประสบการณ์ P - 85 33 32 96.97 ยอดเยี่ยม
จากการวเิ คราะห์มาตรฐานคุณลักษณะท่พี งึ P - 85 33 32 96.97 ยอดเย่ียม
ประสงคใ์ นหลกั สตู รสถานศึกษา
P - 85 33 32 96.97 ยอดเยี่ยม
1.3 จดั กิจกรรมทส่ี ่งเสรมิ พฒั นาการเดก็ ครบ P - 85 33 32 96.97 ยอดเย่ียม
ทุกด้าน ทั้งด้านรา่ งกาย ดา้ นอารมณ์จติ ใจ P - 85 33 32 96.97 ยอดเย่ียม
ดา้ นสงั คม และด้านสตปิ ญั ญา โดย ไม่มุ่งเนน้
การพฒั นาดา้ นใดดา้ นหน่งึ เพยี งดา้ นเดียว P - 85 33 32 96.97 ยอดเย่ียม
P - 85 33 32 96.97 ยอดเยี่ยม
2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณต์ รง เลน่ P - 85 33 32 96.97 ยอดเยย่ี ม
P - 85 34 32 96.97 ยอดเยย่ี ม
และปฏบิ ัตอิ ย่างมคี วามสขุ

2.1 จดั ประสบการณท์ ี่เช่อื มโยงกบั
ประสบการณเ์ ดมิ

2.2 ให้เด็กมโี อกาสเลอื กทำกจิ กรรมอยา่ ง
อสิ ระ ตามความตอ้ งการความสนใจ
ความสามารถ ตอบสนองตอ่ วิธีการเรยี นรขู้ อง
เด็กเป็นรายบคุ คล หลากหลายรปู แบบจาก
แหล่งเรียนรทู้ ี่หลากหลาย

2.3 เด็กได้เลือกเลน่ เรียนรู้ลงมอื กระทำ และ
สร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง

3 จัดบรรยากาศทเ่ี อ้ือต่อการเรยี นรู้ ใช้สอ่ื และ

เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกบั วยั

3.1 จดั บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มใน
หอ้ งเรยี นไดส้ ะอาด ปลอดภยั และอากาศ
ถ่ายเทสะดวก

3.2 จัดให้มพี ืน้ ทแ่ี สดงผลงานเด็ก พน้ื ทส่ี ำหรบั
มุมประสบการณแ์ ละการจดั กิจกรรม

3.3 จัดใหเ้ ด็กมีส่วนรว่ มในการจัดภาพแวดลอ้ มใน P - 85 34 32 96.97 ยอดเย่ยี ม

ห้องเรยี น เช่น ปา้ ยนเิ ทศ การดแู ลต้นไม้ เป็นตน้

3.4 ใช้สือ่ และเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกบั ช่วงอายุ P - 85 34 32 96.97 ยอดเย่ียม
ระยะความสนใจ และวถิ ีการเรยี นรขู้ องเด็ก เชน่
กล้องดจิ ิตอล คอมพวิ เตอร์ สำหรับการเรยี นรู้
กลุม่ ยอ่ ย สื่อของเลน่ ทีก่ ระต้นุ ให้คดิ และหา
คำตอบ เป็นตน้

ประเดน็ พจิ ารณา การปฏบิ ตั งิ าน เป้าหมาย จำนวน จำนวนครู *** ผลการ
(ร้อยละ) ครู ผา่ นเกณฑท์ ี่ ผลการประเมิน ประเมิน
ปฏิบตั ิ ไม่ คุณภาพทีไ่ ด้
ปฏบิ ตั ิ ทัง้ หมด โรงเรยี น (รอ้ ยละ)
(คน) กำหนด(คน) ยอดเย่ยี ม

4 ประเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริง P - 85 33 32 96.97 ยอดเยยี่ ม

และนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไป ยอดเยี่ยม
ยอดเยี่ยม
ปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละ ยอดเย่ียม

พัฒนาเด็ก ยอดเยีย่ ม

4.1 ประเมนิ พฒั นาการเด็กจากกจิ กรรมและ P - 85 33 32 96.97

กจิ วตั รประจำวนั ดว้ ยเคร่อื งมือและวธิ กี ารท่ี

หลากหลาย

4.2 วิเคราะหผ์ ลการประเมนิ พฒั นาการเด็ก P- 85 33 32 96.97
โดยผู้ปกครองและผเู้ กยี่ วขอ้ งมีสว่ นรว่ ม

4.3 นำผลการประเมินที่ไดไ้ ปพัฒนาคณุ ภาพ P - 85 33 32 96.97

เดก็ อยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เน่อื ง

4.4 นำผลการประเมินแลกเปล่ยี นเรียนรู้โดยใช้ P - 85 33 32 96.97

กระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ

สรุปผลการประเมนิ = ผลรวมผลการประเมนิ ทุกประเด็นพิจารณา 96.97
จำนวนประเด็นพจิ ารณา

หมายเหตุ กรอกขอ้ มลู เฉพาะแถบสีขาว

วิธีคำนวณ

*** ผลการประเมนิ (รอ้ ยละ) = 100 x จำนวนครผู า่ นเกณฑ์ท่ีโรงเรียนกำหนด

จำนวนครูทง้ั หมด

แปลผลการประเมินคุณภาพท่ไี ด้

รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 = กำลังพฒั นา

รอ้ ยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง

รอ้ ยละ 60.00 – 74.99 = ดี

รอ้ ยละ 75.00 – 89.99 = ดเี ลิศ

รอ้ ยละ 90.00 – 100 = ยอดเย่ยี ม

กระบวนการพัฒนาทสี่ ง่ ผลต่อระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ท่ีเนน้ เด็กเป็นสำคญั

ตวั บ่งช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดบั คุณภาพ

3.1 จดั ประสบการณท์ ่สี ่งเสรมิ ให้ โรงเรียนได้กำหนดพันธกิจท่ีส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีพัฒนาการ ความรู้ ยอดเยยี่ ม

เด็กมีพฒั นาการทุกด้านอย่าง ความสามารถ เต็มศักยภาพ ตามหลักสูตรกำหนด โดยครูดำเนินการจัด

สมดลุ เตม็ ศักยภาพ กิจกรรมที่สามารถ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้าน ตามกระบวนการ

ครวู ิเคราะห์ขอ้ มลู เด็กเป็น ตอ่ ไปน้ี

รายบคุ คล จดั ทำแผนการจดั 1.จัดกิจกรรมให้ครูพัฒนาความรู้ของตนเกี่ยวกับการจัดการ เรียนการสอน

ประสบการณ์ จากการวเิ คราะห์ โดยจดั การอบรม และแนะนำแหลง่ ขอ้ มลู

มาตรฐานคณุ ลักษณะทพ่ี ึง 2.ครูวิเคราะหเ์ ดก็ เป็นรายบคุ คล และออกแบบกิจกรรมที่ เหมาะกบั

ประสงคใ์ นหลักสตู รสถานศกึ ษา พฒั นาการของเดก็ และ สอดคล้องกับมาตรฐานอันพงึ ประสงค์ของเด็กที่

โดยมกี ิจกรรมท่สี ่งเสริม ต้องการ1. ครมู กี ระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นเดก็ เป็นสำคัญ สามารถ

พัฒนาการเด็กครบทกุ ด้าน ทัง้ กำหนด เปา้ หมายในการพัฒนาคณุ ภาพ ผู้เรยี นครอบคลมุ ทัง้ ด้านความรู้

ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จติ ใจ ทกั ษะ กระบวนการ สมรรถนะ สำคัญ และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ที่

ดา้ นสงั คม และด้านสติปญั ญา ไม่ สอดคลอ้ งของหลักสูตรสถานศึกษา 2. ครสู ามารถวเิ คราะห์ ผเู้ รียนเป็น

มุ่งเน้นการพฒั นาด้านใดด้านหน่งึ รายบคุ คล ใชข้ อ้ มูล จากการวเิ คราะห์เด็กมาใชใ้ นการ วางแผนจัดการเรียนรู้

เพยี งด้านเดยี ว เพอื่ พัฒนา ศกั ยภาพเดก็ โดยคำนงึ ถึงความ แตกตา่ งระหวา่ งบุคคล

3. ครูออกแบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้โู ดยใชว้ ิธีสอน เทคนคิ การสอนท่ี

หลากหลาย และจัดกิจกรรมการเรียนร้ตู าม

-ครูจัดประสบการณ์ให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ ร้จู ัก

เด็กเป็นรายบุคคลและสร้างโอกาสให้เด็กทุกคนได้รับประสบการณ์ตรง เล่น

และลงมอื ทำผ่านประสาทสัมผัส จัดบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้ส่ือและ

เทคโนโลยที ่เี หมาะสมกับวัย มีการติดตามและประเมินผลพฒั นาการเด็กอย่าง

เป็นระบบจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้าน ท้ังด้านร่างกาย

ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ดา้ นสงั คม และดา้ นสตปิ ัญญา

3.2 สร้างโอกาสให้เดก็ ไดร้ ับ โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียน การสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ มี กระบวนการ ยอดเยย่ี ม

ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบตั ิ เรียนการสอนทสี่ รา้ ง โอกาสให้ผเู้ รียนทุกคนมีส่วนร่วม โดยมีการจัดกจิ กรรมท่ี

อยา่ งมคี วามสขุ ครูจัดประสบการณ์ ส่งเสริมให้ เด็กได้รับประสบการณ์ประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับ วัฒนธรรม

ที่เชือ่ มโยงกบั ประสบการณเ์ ดมิ ให้ ประเพณีไทยอย่าง ชัดเจนและต่อเน่ือง ผ่านการลงมือ ปฏิบัติจริง ทำให้เด็ก

เด็กมโี อกาสเลือกทำกจิ กรรมอยา่ ง เกิดการเรียนรู้ อย่างเหมาะสมตามวัย การจัดการเรียนการสอนใน รูปแบบ

อิสระ ตามความตอ้ งการ ความ โครงการภาคเรียนละ 1 คร้ัง โดยเปิดโอกาสให้เด็กเลือก เรียนในเรอ่ื งที่สนใจ

สนใจ ความสามารถ ตอบสนองตอ่ โดยเด็กเป็นผู้ นำเสนอและเลือกประเด็น การเรียนรู้ท่ีสนใจ รวมทั้งเปิด

วธิ กี ารเรยี นร้ขู องเดก็ เป็นรายบคุ คล โอกาสให้เด็กจัดแสดง องค์ความรู้ที่เกิดข้ึนให้ผู้อ่ืน รับทราบ ครูจัด

หลากหลายรูปแบบ จากแหล่ง ประสบการณ์ทเี่ ชอื่ มโยงกบั ประสบการณ์เดมิ ให้เด็กมีโอกาสเลอื ก ทำกจิ กรรม

เรยี นรูท้ ่ีหลากหลาย เดก็ ไดเ้ ลอื ก อย่างอสิ ระ ตามความตอ้ งการ ความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธกี าร

เลน่ เรยี นรู้ ลงมือ กระทำ และ เรียนรขู้ องเด็กเป็นรายบุคคลหลากหลายรูปแบบจากแหลง่ เรยี นรูท้ หี่ ลากหลาย

สร้างองค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง เดก็ ไดเ้ ลอื กเล่นเรยี นรู้ ลงมือ กระทำ และสร้างองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง

ตวั บ่งช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนนิ งาน ระดับคุณภาพ

3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการ โรงเรียนส่งเสริมให้ครใู ช้สอื่ ที่ เหมาะสมและสอดคลอ้ งกับ พัฒนาการของเด็ก ยอดเยย่ี ม

เรียนรู้ ใช้ส่ือและเทคโนโลยีท่ี โดยไดจ้ ัดหา ส่อื การเรยี นการสอนท่ีส่งเสริม พัฒนาเด็กปฐมวยั ท้ังทางรา่ งกาย

เหมาะสมกับวัย อารมณ์ จิตใจ สังคมและ สติปัญญา มสี ื่อทั้งเป็นของจริงและ สื่อธรรมชาติ ที่

ครูจัดห้องเรียนให้สะอาด อากาศ อย่ใู กล้ตัวเดก็ โดยมี การจัดสภาพแวดลอ้ มให้เออื้ ต่อการ เรียนรตู้ ามหน่วยการ

ถ่ายเท ปลอดภัย มีพ้ืนท่ีแสดงผล เรียนของเด็ก เช่น ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องสมุดของเล่นมีนิทาน การสนับสนุน

ง า น เด็ ก พ้ื น ที่ ส ำ ห รั บ มุ ม ให้ครูมีศักยภาพ ด้านสื่อ เทคโนโลยี กล่าวคือส่งเสริมให้ ผู้เรียนมี

ประสบการณ์และการจัดกิจกรรม ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร(ICT)

เด็ ก มี ส่ ว น ร่ ว ม ใน ก า ร จั ด อินเตอร์เน็ต (Internet) และสื่อสังคม (Social Media) ในการเรียนรู้มี การ

สภาพแวดล้อมในห้องเรียน เช่น แลกเปลี่ยนเรียน รู้และเรียนรู้ร่วมกันและสามารถใช้เทคโนโลยี นำเสนอ

ป้ายนิเทศ การดูแลต้นไม้ เป็นต้น ผลงานอย่างสร้างสรรค์ จากการจัดกิจกรรมดังกล่าวส่งผล ให้ผู้เรียนเกิด

ค รู ใช้ ส่ื อ แ ล ะ เท ค โน โล ยี ที่ กระบวนการเรียนรู้ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง และ เปน็ บุคคลแหง่ การเรียนรู้

เหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความ -ครูจัดห้องเรียนให้สะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพื้นที่แสดงผลงานเด็ก

สนใจ และวิถีการเรียนรู้ของเด็ก พื้นท่ีสำหรับมุมประสบการณ์และการจัดกิจกรรม เด็กมีส่วนร่วมในการจัด

เช่น กล้องดิจิตอล คอมพิวเตอร์ สภาพแวดล้อมในห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศการดูแลต้นไม้ เป็นต้น ครูใช้ส่ือ

สำหรับการเรียนรู้กลุ่มย่อย สื่อ และเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมกบั ช่วงอายุ ระยะความสนใจ และวถิ กี ารเรียนรู้ของ

ของเล่นที่กระตุ้นให้คิดและหา เด็ก เช่น กล้องดิจิตอล คอมพิวเตอรส์ ำหรบั การเรยี นรู้กลุ่มย่อย ส่ือของเล่นท่ี

คำตอบ เป็นตน้ กระตุ้นใหค้ ดิ และหาตำตอบ เป็นต้น

3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตาม การประเมินพัฒนาการและการ เรียนรู้ของเด็กในระดับปฐมวัยเป็น ภารกิจ ยอดเยี่ยม

สภาพจริงและนำผลการประเมิน สำคัญที่เกิดข้ึนควบคู่ไปกับ การจัดประสบการณ์เรียนรู้ ครูต้อง สามารถเก็บ

พฒั นาการของเด็กไปปรบั ปรุงการ ร่องรอย หลักฐานการ เรียนรู้และ ดำเนินการประเมินอย่างเป็นระบบเพื่อให้

จดั ประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก ได้ผลการประเมนิ ที่ตรงตามความเป็นจริง ซ่ึงครูมีการ จัดการในการประเมิน

ครูประเมินพัฒนาการเด็กจาก พัฒนาการ และการเรียนรู้ของเด็กอย่าง ต่อเน่ือง มีรูปแบบการประเมินท่ี

กิจกรรมและกิจวัตรประจำวัน เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบท ของโรงเรียน อีกทั้งยังเปิดโอกาสให้ เด็ก

ด้ วย เค รื่อ งมื อ แ ล ะ วิธีก าร ที่ และผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมใน การประเมินผลงานของตนเองและ ของบุตร

หลากหลาย ไม่ใช้แบบทดสอบ หลาน ซงึ่ มีความ สอดคล้องกับแนวทางในการ ประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐาน

วิ เค ร า ะ ห์ ผ ล ก า ร ป ร ะ เมิ น การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั

พัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครองและ -ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรม และกิจวตั รประจำวนั ด้วยเครื่องมือ

ผู้เก่ียวข้อง มีส่วนร่วมและนำผล และวิธีการท่ีหลากหลาย ไม่ใช้แบบทดสอบวิเคราะห์ผลการประเมิน

ก า ร ป ร ะ เมิ น ที่ ได้ ไป พั ฒ น า พัฒนาการ เด็กโดยผปู้ กครองและผเู้ ก่ยี วขอ้ งมีส่วนรว่ ม และนำผลการประเมนิ

คุณ ภาพเด็กและแลกเป ล่ียน ท่ีได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็ก และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดประสบการณ์ท่ีมี

เรียนรู้การจัดประสบการณ์ที่มี ประสิทธิภาพ

ประสทิ ธภิ าพ -ครูสามารถวเิ คราะห์ผู้เรียน เป็นรายบคุ คล ใช้ข้อมูลจากการ วิเคราะหผ์ ู้เรียน

มาใช้ในการ วางแผนจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนา ศักยภาพผู้เรียนโดยคำนึงถึง

ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล

3. สรปุ ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
ระดับปฐมวัย

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั คณุ ภาพ

มาตรฐานที่ คุณภาพของเด็ก 94.65 ยอดเยยี่ ม
1 1. มีพัฒนาด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสขุ นสิ ยั ท่ีดี และดแู ลความปลอดภัยของตนองได้ 97.07 ยอดเยี่ยม
2. มพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 94.38 ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานท่ี 3. มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลอื ตนเองและเปน็ สมาชกิ ทด่ี ขี องสงั คม 94.62 ยอดเย่ียม
2 4. มีพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา สื่อสารได้ มีทกั ษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหา 93.40 ยอดเยี่ยม
ความร้ไู ด้
กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 95 ยอดเย่ยี ม
95 ยอดเย่ียม
1. มหี ลักสตู รครอบคลมุ พฒั นาการทงั้ สดี่ า้ น สอดคลอ้ งกบั บริบทขอทอ้ งถิ่น ยอดเย่ียม
ยอดเย่ยี ม
2. จดั ครูให้เพยี งพอกับช้ันเรียน 95
ยอดเยีย่ ม
3. สง่ เสรมิ ใหค้ รมู คี วามเชยี่ วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ 95 ยอดเยย่ี ม

4. จดั สภาพแวดล้อมและสื่อเพ่อื การเรยี นรอู้ ยา่ งปลอดภยั และเพียงพอ 95 ดเี ลิศ
5. ให้บรกิ ารสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรยี นรเู้ พอ่ื สนบั สนนุ การจดั 95 ยอดเยย่ี ม
ประสบการณ์ ยอดเยย่ี ม
6. มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพท่ีเปิดโอกาสใหผ้ ู้เกยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นรว่ ม 95 ยอดเยย่ี ม
ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานท่ี การจดั ประสบการณ์ทีเ่ นน้ เดก็ เป็นสำคัญ 96.97 ยอดเยี่ยม
3 1. จดั ประสบการณ์ที่สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มีพฒั นาการทกุ ด้าน อย่างสมดลุ เต็มศกั ยภาพ 96.97
ยอดเยย่ี ม
2. สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กได้รับประสบการณต์ รง เล่นและปฏบิ ตั อิ ยา่ งมคี วามสุข 96.97

3. จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สอื่ และเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกับวยั 96.97

4. ประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไป 96.97

ปรับปรงุ การจดั ประสบการณ์และพฒั นาเด็ก

สรปุ ผลการประเมนิ ระดบั ปฐมวัย

กรณีท่ี 1 ใหใ้ ชฐ้ านนยิ ม (Mode) ใหร้ ะดับคณุ ภาพในภาพรวม

กรณีที่ 2 หากไมม่ ฐี านนิยม (Mode) เชน่ ดี ดเี ลศิ ยอดเย่ยี ม ใหใ้ ช้ ค่ากลาง ของระดับคณุ ภาพ ในทีน่ ้ี คือ ดเี ลศิ

3. จดุ เดน่ ระดบั ปฐมวยั
คณุ ภาพของเด็ก
1.เด็กมีสขุ ภาพอารมณแ์ ละจิตใจทดี่ ี เด็กสว่ นใหญ่อารมณ์ดีรา่ เริงแจม่ ใส มคี วามมน่ั ใจ และกลา้ แสดงออก
เหมาะสมตามวัยมคี วามซื่อสัตย์และช่วยเหลอื แบ่งปนั ท้ังในหอ้ งเรยี นและกจิ กรรมตา่ งๆ ของโรงเรยี น
2.เด็กมีสขุ ภาพกายท่ีแขง้ แรง มีน้ำหนักส่วนสงู ตามเกณฑ์ที่กำหนด
3.เด็กส่วนใหญ่มีความสามารถพิเศษแววเด่นๆ ในแตล่ ะดา้ นทง้ั ในด้านทกั ษะตา่ งๆ เชน่ ทักษะทางภาษา ศิลปะ ดนตรี
กฬี า และสามารถสรา้ งผลงานด้วยจนิ ตนาการสรา้ งสรรค์ จากการเขา้ ร่วมการแข่งขันต่าง ๆ กจิ กรรมภายใน-นอก
จนได้รบั รางวัลตา่ งๆมากมาย
4. เดก็ ใช้เทคโนโลยีในการเรยี นรู้ คน้ คว้า ได้อย่างเหมาะสมกบั วัย
กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
1.ผ้บู รหิ ารมีวิสัยทัศนท์ กี่ วา้ งไกล มภี าวะผู้นำ มีการเน้นในการพัฒนาผู้เรียนโดยใชห้ ลกั การบรหิ ารแบบมี
สว่ นร่วม มีความตง้ั ใจ มุง่ มั่นในการพฒั นาสถานศึกษา และเป็นตวั อย่างที่ดีในการทำงาน
2.โรงเรียนมีการบริหารและการจดั การอย่างเปน็ ระบบ มกี ารกระจายอำนาจอยา่ งทัว่ ถุงเนน้ การมีส่วนรว่ มเพ่ือให้ทุกฝา่ ย
ได้มีสว่ นรว่ มในการพฒั นาสถานศกึ ษา มีการกำหนดเปา้ หมายทช่ี ดั เจน มีแผนการปฏบิ ัตงิ านประจำปที สี่ อดคลอ้ งกบั
สภาพปญั หา ความต้องการของสถานศึกษา ผู้เรยี น มงุ่ เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานของหลักสูตรสถานศกึ ษา มี
การนิเทศ กำกับ ตดิ ตามอย่างเป็นระบบ มกี ารนำผลการประเมินเมื่อเสรจ็ สิน้ กจิ กรรมาใชว้ างแผนพฒั นาคุณภาพต่อไป
3.ทกุ ฝ่ายมสี ่วนร่วมในการกำหนดวสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ เป้าหมายทช่ี ัดเจนมีการจดั ทำแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปที ีเ่ ปน็ รปู ธรรม มีการประชุมแบบมสี ่วนรว่ มของแต่ละฝ่ายเพ่อื ระดมพลงั สมองพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษา
4.ครูผสู้ อนไดร้ บั การส่งเสรมิ ในการพฒั นาตนเองโดยการสง่ ไปอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานท้ังภายในและหน่วยงาน
ภายนอกและได้เชญิ วิทยากรที่มคี วามเชีย่ วชาญเฉพาะดา้ น มาฝกึ อบรมให้กับบคุ ลากร เพื่อนำความรู้มาพฒั นางานในแต่
ละด้านให้มีคุณภาพกับผเู้ รยี นสงู สุด
5.บคุ ลากรได้รับการสง่ เสริมพัฒนาการส่อื สารดา้ นภาษาอังกฤษโดยการสนบั สนนุ ให้ไปศกึ ษาตอ่ ท่ีตา่ งประเทศ และมีการ
จัดใหม้ ีการสอบวดั ระดับความร้ดู ้านภาษาอังกฤษของบคุ ลากรในโรงเรยี นทั้งหมด ปกี ารศึกษา ละ 1 คร้ัง และนำผลมา
วเิ คราะห์ เพอื่ พฒั นาดา้ นภาษาอังกฤษ โดยมีการเรียนออนไลน์ เพ่ือนำความรูม้ าพฒั นางานให้เกดิ กับผูเ้ รียนไดอ้ ยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพ อยา่ งนอ้ ย 40 ชวั่ โมง
6.มกี ารจัดการเรียนการสอนโดยพฒั นาระบบห้องเรยี นคุณภาพ (Quality Classroom System)โดยการจดั บรรยากาศ
การเรยี นรใู้ นหอ้ งเรยี นอำนวยตอ่ การจดั การเรยี นการสอน มบี อรด์ ความรู้ และสอื่ เทคโนโลยที ที่ นั สมยั มหี อ้ งปฏบิ ตั กิ ารท่ี
ทันสมยั พียงพอตอ่ ความต้องการของนกั เรยี น เพื่อสนับสนนุ ให้นักเรียนได้ลงมือปฏบิ ตั ิจริง เรียนร้รู ว่ มกนั ส่งผลให้เดก็ ได้
เกิดองคค์ วามร้ทู ่ีย่ังยืน

การจดั ประสบการณท์ ่เี นน้ เดก็ เป็นสำคญั
1.ครูมคี วามรู้ ความเขา้ ใจและม่งุ มัน่ ในการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั โดยคำนงึ ถงึ ความแตกต่าง
ระหวา่ งบุคคล จัดกจิ กรรมให้ผู้เรียนเรียนรจู้ ากประสบการณ์จรงิ มกี ารวดั และประเมินผลอยา่ งหลากหลาย มีการ
วิจยั ในชน้ั เรยี นเพอื่ ส่งเสริมและพัฒนาผ้เู รียน
2.ครูมีความรู้ความสามารถทางดา้ นการใช้สื่อเทคโนโลยีต่างๆมาใช้เปน็ สอ่ื และใชป้ ระกอบในการจดั การเรียนการ
สอน
3.ครทู ำงานเป็นทมี มีการวางแผนการทำงานร่วมกัน มีทิศทางการทำงานทส่ี อดคล้องและตรงกบั นโยบายทางการ
ศึกษาของโรงเรยี นและมลู นธิ ิคณะเซนต์คาเบรยี ลแห่งประเทศไทย

4. จดุ ควรพัฒนาระดบั ปฐมวัย
คณุ ภาพของเด็ก
1.ควรส่งเสริมดา้ นสุขนิสัยในการดแู ลสขุ ภาพของเด็กบางสว่ น เช่น การล้างมอื ก่อนรบั ประทานอาหารและหลงั
เข้าหอ้ งนำ้ ให้สม่ำเสมอ
2.ในกิจกรรมการเรียนการสอนกิจกรรมกลุ่ม ควรส่งเสริมใหเ้ ด็กเลน่ และทำงานร่วมกับผู้อนื่ เพ่อื การปฏสิ ัมพนั ธ์
ระหวา่ งเพ่ือนกลมุ่ การยอมรับการเป็นผนู้ ำกลุ่ม การยอมรับข้อตกลงสมาชกิ ในกลุ่ม การยอมรบั ฟังความคิดเห็น
ของผู้อนื่ และควรเปิดโอกาสในการใหเ้ ดก็ ไดเ้ ลือกหัวหน้าหรอื ในการกระตุ้นใหเ้ ด็กมีโอกาสเสนอตัวเองหรือเพื่อน
ในการปฏิบัตกิ จิ กรรมตา่ งๆให้มากข้ึน
กระบวนการบริหารและการจดั การ
1.สง่ เสริมให้ครูพฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ืองในการใช้เทคโนโลยี และสร้างนวัตกรรมเพื่อการเรียนการสอน
2.ครูไดร้ บั การอบรม จากผูเ้ ชยี่ วชาญดา้ นการดแู ลเด็กพเิ ศษ เดก็ สมาธิส้นั เพื่อใหส้ ามารถดแู ลเด็กและจดั
ประสบการณเ์ พ่ือพฒั นาเดก็ ไดอ้ ย่างถูกวิธี
การจดั ประสบการณ์ที่เนน้ เด็กเป็นสำคัญ
1.ครคู วรจดั การเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ ในกจิ กรรมการเรยี นการสอนควร ส่งเสริมใหเ้ ดก็ เลน่
และทำงานร่วมกับผู้อ่ืน ใช้แหล่งเรยี นรู้ทีเ่ อ้ือตอ่ การเรยี นรู้ให้มากข้นึ
2.ครไู ดร้ ับการอบรมจากผู้เชย่ี วชาญดา้ นการดูแลเดก็ พเิ ศษ เด็กสมาธิสน้ั เพอ่ื ให้สามารถดูแลเดก็ และจดั
ประสบการณเ์ พื่อพฒั นาเดก็ ไดอ้ ยา่ งถูกวธิ ี

5. แนวทางการพัฒนา
1.ครผู ู้สอนส่งเสรมิ ใหม้ ีการเรยี นรู้ โดยจากการประยุกต์ทฤษฎกี ารเรียนรู้ สู่การสอน เช่น ความรู้เกีย่ วกับทฤษฏี
การเรียนรู้ หลกั การ และรูปแบบในการจัดกระบวนการเรยี นรทู้ ่ที ำใหม้ นษุ ย์เปล่ียนแปลงพฤตกิ รรม ความคดิ เปน็
แนวทางในการกำหนดปรชั ญาการศกึ ษาและจดั ประสบการณ์
2.ครูผสู้ อนได้รบั การอบรมสมั มาในเร่ืองการพัฒนารปู แบบการเรยี นการสอนโดยใช้เทคนิควิธี การใชเ้ ทคโนโลยี
และมนี วตั กรรมทหี่ ลากหลาย เพอื่ ก้าวสกู่ ารครยู ุคใหม่ซึ่งมีทกั ษะพ้นื ฐานทางดจิ ทิ ลั และความรูเ้ กยี่ วกบั การใช้
เทคโนโลยีเพ่อื การศกึ ษาในนำมาใช้ในการผลิตสอื่ และนวตั กรรมเพือ่ การจัดการเรยี นรู้
3. หลักสตู รสำหรบั ครูในศตวรรษที่ 21 เพ่ือการจดั การเรียนรูท้ ่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั ส่งเสริมใหเ้ กดิ การสร้างองค์
ความรู้ดว้ ยตนเอง และจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาศกั ยภาพเฉพาะบคุ คลของผู้เรียน

6. ความต้องการช่วยเหลอื

1. การจัดการเรยี นรู้เชิงรุก เปน็ การจัดการเรียนรู้ท่ใี ห้ผู้เรียนไดค้ ิดและลงมือปฏบิ ัตจิ ริง โดยเนน้ กระบวนการ
เรยี นรมู้ ากกวา่ เน้อื หาวิชา ช่วยใหผ้ เู้ รียนสามารถเชือ่ มโยงความรูห้ รอื สรา้ งความรใู้ หเ้ กดิ ขึ้นได้ดว้ ยตนเอง
2. นำชมุ ชน ภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ องคก์ รตา่ งๆ เข้ามามบี ทบาทในการพฒั นาการจดั การศกึ ษา
3. สำหรบั คุณพอ่ คณุ แม่ แนวการสอนและเทคนคิ ใหมๆ่ กิจกรรมเสรมิ ทักษะให้ลกู ท่ีช่วยจะกระตุ้นใหเ้ ดก็ ๆ เกดิ
กระบวนการคดิ กลา้ แสดงออก ได้เรียนรู้ และแสดงออกถึงความคิดความสร้างสรรค์ผา่ นการเลน่ รวมถงึ พฒั นา
ทกั ษะความเปน็ ผนู้ ำ ควบค่กู ับการมีปฏสิ มั พนั ธใ์ นการทำงานร่วมกบั ผู้อนื่ สามารถปรบั ตัวเองและเผชิญปญั หาได้
อย่างรอบด้าน มที ักษะชวี ิตทดี่ อี ยู่ในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข

ภาคผนวก

1. มาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายความสำเรจ็ ของสถานศึกษา
2. คำส่ังแต่งตั้งคณะทำงานจดั ทำ SAR
3. โครงสรา้ งหลักสูตร เวลาเรียน สถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2563


Click to View FlipBook Version