The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR ระดับการศึกษาปฐมวัย 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yodacu62, 2022-07-28 06:41:26

SAR ระดับการศึกษาปฐมวัย 2564

SAR ระดับการศึกษาปฐมวัย 2564

1

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

(Self - Assessment Report : SAR)
ปกี ารศึกษา 2564

ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั

โรงเรยี นอัสสัมชัญอุบลราชธานี
เลขที่ 500 แขวง/ตำบล ในเมอื ง เขต/อำเภอเมืองอบุ ลราชธานี

จังหวดั อุบลราชธานี

สังกดั สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

2

คำนำ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาฉบับนี้ เป็นการสรุปผลการดำเนินงานในรอบปีการศึกษา
ของโรงเรียน ท่ีสะท้อนให้เห็นภาพความสำเร็จท่ีเกิดขึ้นตามบริบทของโรงเรียน ซ่ึงมีองค์ประกอบ 3 ส่วน ได้แก่
ส่วนที่ 1 บทสรุปของผู้บริหาร ส่วนที่ 2 ข้อมูลพ้ืนฐาน ส่วนท่ี 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาและ
ภาคผนวก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีท่ีผ่านมา ซึ่งเป็นข้อมูลในการ
วางแผนพัฒนาคณุ ภาพของโรงเรียน และเปน็ การเตรียมความพรอ้ มในการประเมินคุณภาพภายนอกต่อไป

สารบัญ 3

คำนำ หน้า
สารบัญ
สว่ นที่ 1 บทสรปุ ของผบู้ รหิ าร 1
1
ตอนท่ี 1 ข้อมูลพ้ืนฐาน 1
ตอนท่ี 2 การนำเสนอผลการประเมินตนเอง 4
ส่วนที่ 2 ขอ้ มลู พ้ืนฐาน 4
1.ขอ้ มูลพืน้ ฐาน 8
2.ข้อมลู พื้นฐานแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 16
3.ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของผเู้ รยี น 16
4.นวตั กรรม/แบบอย่างทด่ี ี (Innovation/Best Practice) 18
5.รางวัลท่ีสถานศกึ ษาได้รบั 18
6.ดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ 18
7.ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของ สมศ. ที่ผ่านมา 19
8.หนว่ ยงานภายนอกท่โี รงเรยี นเขา้ ร่วมเป็นสมาชกิ 20
ส่วนท่ี 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 20
1.ผลการประเมินรายมาตรฐาน 37
2.สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 38
3.จดุ เดน่ 39
4.จุดควรพฒั นา 40
5.แนวทางการพัฒนา 40
6.ความต้องการช่วยเหลอื 41
7.ภาคผนวก

1

สว่ นท่ี 1
บทสรปุ ของผบู้ ริหาร

ตอนท่ี 1 ข้อมูลพน้ื ฐาน
โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี รหัส 1134100014 เลขท่ี 500 ถนนชยางกูร ตำบลในเมือง อำเภอ

เมือง จังหวัดอบุ ลราชธานี รหัสไปรษณีย์ 34000 สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน
โทรศัพท์ 088-1184211 หรอื 045-284444 โทรสาร045-313400 e-mail-website:http://www.acu.ac.th Facebook:
https://www.facebook.com/ACU2508 ได้รับอนุญาตจัดต้ังเมื่อ เมื่อวันท่ี 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 เปิดการสอน
ระดบั ช้นั บริบาล ถงึ ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 จำนวนนักเรยี น 2,026 คน จำนวนบคุ ลากรโรงเรยี น 191 คน

ตอนที่ 2 การนำเสนอผลการประเมนิ ตนเอง
ระดบั ปฐมวัย

1) มาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวัย ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยยี่ ม
2) หลักฐานสนบั สนุนผลการประเมินตนเองตามระดบั คุณภาพ

2.1 ผลการประเมนิ พฒั นาการตาม 12 มาตรฐานหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2560 แผนกปฐมวัย
นกั เรียนระดับช้ันอนบุ าล 1-3 ปกี ารศกึ ษา 2564

2.2 ได้รบั รางวลั ชนะเลิศอันดับท่ี 1 ระดบั จงั หวัด จากการจดั งานมหกรรมวชิ าการ ประจำปี 2564 ระดับ
ปฐมวยั รายการแข่งขันการแขง่ ขันพูดภาษาอังกฤษ (Impromptu Speech) หลักสตู รพิเศษปฐมวัย

3) โรงเรียนมแี ผนจะพฒั นาตนเองตอ่ ไปอย่างไรใหไ้ ด้ระดบั คุณภาพท่ดี ขี น้ึ กว่าเดมิ 1 ระดบั
3.1 พฒั นาคุณครผู สู้ อนไดร้ ับการอบรมอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ในเร่ืองการพฒั นารปู แบบการเรยี นการสอนโดยใช้

เทคนคิ วิธี และนวัตกรรมท่ีหลากหลาย
3.2 สง่ เสริมให้นำส่อื เทคโนโลยี รูปแบบการสอนออนไลน์ เข้ามาใช้ประกอบเพ่อื จดั ทำสอ่ื นวตั กรรมการ

เรยี นการที่หลากหลาย
3.3 ครผู ู้สอนได้จดั ทำสื่อการสอนแบบออนไลน์ จดั ทำคลปิ การเรียนการสอน การจัดทำ google site ด้วย

ตนเอง
3.4 มุ่งเน้นจดั กจิ กรรมเสริมหลักสตู ร ทง้ั ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม การสง่ เสรมิ ระเบียบวินัย รกั ความเป็น

ไทย ความมีนำ้ ใจแบง่ ปั่นซง่ึ กนั และกนั รจู้ กั หน้าทข่ี องตนเอง

4) นวัตกรรม/แบบอยา่ งทด่ี ี
4.1 การบริหารข้อมลู สถานศกึ ษาด้วยโปรแกรม SWIS
4.2 การใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อในการจัดการเรยี นการสอน
4.3 การจัดการเรยี นการสอนแบบบูรณาการ/STEM
4.4 การจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning
4.5 ศนู ย์ภาษา EBP และ IEP

2

4.6 โปรแกรมการเรียนการสอนระดบั ปฐมวยั โปรแกรม Pre-MSEP (PRE-Math Science and English
Program) ในระดบั ช้ันปฐมวัยปที ่ี 3
4.7 การจัดการเรียนการสอนห้องเรยี นพหุปญั ญา (สำหรบั เด็กปฐมวยั และประถมศกึ ษาปีที่ 1-3)
4.8 การจัดการเรยี นการสอนห้องเรยี นดนตรี (สำหรับเดก็ ปฐมวยั และประถมศึกษาปีท่ี 1-3)
4.9 การจดั การเรยี นการสอนหอ้ งเรียนสง่ เสริมกระบวนการคิดทางวทิ ยาศาสตร์ (สำหรบั เด็กปฐมวยั )
4.10 การจัดการเรียนการสอนฝึกระเบยี บวินัยจราจร (สนามฝึกขบั รถ สำหรบั เด็กอนบุ าล)
4.11 การจัดการเรยี นการสอนห้องเรียน iPad (สำหรับเดก็ ปฐมวยั )
4.12 การจดั การเรยี นการสอนห้องเรยี น Cooking

5) ความโดดเด่นของสถานศกึ ษา
5.1 นกั เรียนเก่งภาษาองั กฤษ เน้นเพื่อการสื่อสาร
โรงเรยี นไดก้ ำหนดในโครงสรา้ งหลักสูตรทัง้ หลกั สตู รปกติและหลกั สตู รภาษาองั กฤษ ในรายวชิ า

เพิ่มเติมเน้นการพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนและการสื่อสาร เพ่ือให้นักเรียนได้ฝึกฝน ได้ใช้ภาษาได้อย่าง
คลอ่ งแคลว่ จากการเรียนการสอนโดยใช้หนังสือเรยี นภาษาอังกฤษของมลู นธิ ิคณะเซนต์คาเบรยี ลแห่งประเทศไทย
ในการเรียนการสอน 3 รายวิชา ได้แก่Math/Science และ English โดยใช้ตำรากลางของมูลนิธิเซนต์คาเบรียล
แห่งประเทศไทย ผู้เรียนได้เรียนรู้กับเจ้าของภาษาโดยตรง รวมถึงมีการทดสอบวัดคุณภาพผู้เรียนในเครือมูลนิธิ
คณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทยต่อเนื่องทุกปีการศึกษาในระดับช้ันนุบาล 3 ระดับประถมศึกษาปีท่ี 3
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 และมัธยมศึกษาปีท่ี 5

5.2 ระเบียบวนิ ยั และการส่งเสริมใหเ้ ดก็ มที กั ษะการใช้ชวี ิต
ดา้ นระเบยี บวินยั โรงเรยี นไดจ้ ดั กิจกรรมประชุมผู้ปกครอง โดยมกี ารประสานทำความเข้าใจ

และขอความรว่ มมือจากผู้ปกครองในการดูแลนักเรียนให้ปฏิบัติตนตามระเบียบการเป็นนกั เรียน กจิ กรรมส่งเสริม
ระเบียบวินัย โดย การอบรมนักเรียนประจำทุกวัน ช่วงการจัดกิจกรรมหน้าเสาธง และในช่วง Home Room
ตรวจติดตามเครื่องแต่งกาย ตรวจติดตามกำกับกิจกรรมห้องเรียนสะอาด กิจกรรมประหยัดน้ำประหยัดไฟ งาน
ระบบดูแลนกั เรียน โดยมีกจิ กรรมคดั กรองนักเรียน กจิ กรรมเยยี่ มบ้าน

การส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการใช้ชีวิต มีความรับผิดชอบในการใช้และเก็บของใช้ส่วนตัวและ

ส่วนรวม เด็กช่วยเหลือตนเองได้ดี และมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีมารยาทที่ดีในการไหว้ทักทายผู้ใหญ่และ

พูดจาไพเราะ เด็กเข้าสังคมสามารถเล่นกับเพื่อนได้เหมาะสมตามวัย รู้จักความมีน้ำใจแบ่งปัน เด็กมีทักษะเด็ก

สามารถคดิ วิเคราะห์และค้นหาคำตอบโดยถูกวิธีเด็กรจู้ ักการแก้ปญั หาไดด้ ว้ ยตนเอง

6) โรงเรียนได้ดำเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร
6.1 พัฒนาผเู้ รยี นให้มีความพรอ้ มท้ังด้านร่างกาย จิตใจ สตปิ ัญญา อารมณ์และสังคม
6.2 จดั ประสบการณ์การเรยี นรเู้ น้นการเรียนปนเลน่ เรยี นรอู้ ยา่ งมีความสขุ และสรา้ งกิจกรรมเสรมิ
6.2.1 จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ้งั ในห้องเรียนและนอกห้องเรยี น
6.2.2 จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ทักษะด้านต่างๆ ด้วยกิจกรรมกลางแจง้ กิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์
6.2.3 การจดั การเรยี นการสอนหอ้ งเรยี นส่งเสริมกระบวนการคดิ ทางวิทยาศาสตร์ เน้นให้เด็ก

3

ได้รบั ประสบการณต์ รงจากการสังเกต สำรวจ เล่นค้นคว้า ทดลองและแก้ปญั หา
6.2.4 การจัดการเรยี นการสอนเสริมท้งั กิจกรรมประจำวัน หรือกิจกรรมเสรมิ หลักสูตร ตามวัน

สำคัญตา่ งๆ ผูป้ กครองเข้ามามีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมเชน่ การทำอาหาร การเล่านิทาน กิจกรรมสร้างสรรค์
กจิ กรรมวันลอยกระทง กิจกรรมบา้ นสัมพันธ์รกั กิจกรรมวันครสิ ต์มาส-ขึ้นปีใหม่ และกิจกรรมทัศนศึกษาปรับใน
รูปแบบกจิ กรรมบรู ณาการเรยี นร้ผู ่านการปฏิบัตจิ ริง

6.2.5 จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้กฎจราจรสำหรบั เด็กปฐมวัย สนามฝึกขบั รถ สำหรบั เด็กอนุบาล 1-3
6.2.6 การจัดการเรยี นการสอนหอ้ งเรียนสง่ เสริมพหปุ ัญญา สำหรับเด็กอนบุ าล 1-3 เพอ่ื ค้นควา้
และส่งเสรมิ ความถนัดในแตล่ ะด้านของเดก็
6.2.7 การจัดการเรียนการสอนห้องเรียนจัดห้องเรียนดนตรี สำหรับเด็กอนุบาล 1-3 เพื่อเสริมสร้าง
พฒั นาการด้านต่างๆของเดก็

ลงนาม....................................................(ผู้อำนวยการโรงเรยี น)
(ภราดา ดร.อาวธุ ศลิ าเกษ)

วนั ท่ี 30 เดอื น เมษายน พ.ศ. 2565

4

ส่วนที่ 2
ขอ้ มูลพ้นื ฐาน

1.ขอ้ มูลพ้นื ฐาน
1.1 โรงเรยี นอัสสัมชญั อุบลราชธานี รหัส 1134100014 เลขที่ 500 ถนนชยางกูร ตำบล ในเมอื ง อำเภอ
เมือง จังหวัดอุบลราชธานี รหัสไปรษณีย์ 34000 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
โทรศัพท์ 045-284444 โทรสาร 045-313400 e-mail-website:http://www.acu.ac.th
Facebook:https://www.facebook.com/ACU2508 ได้รับอนุญาตจัดตั้งเม่ือเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.
2500 เปิดการสอนระดับชั้นบรบิ าล ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 จำนวนนักเรียน 2,026 คน จำนวนบุคลากร
ในโรงเรียน 191 คน

ลักษณะผรู้ บั ใบอนญุ าต
บุคคลธรรมดา
 นติ บิ คุ คล
 ห้างหนุ้ สว่ นจำกัด/บรษิ ทั
 มลู นธิ ใิ นพทุ ธศาสนา/การกศุ ลของวัด
 มูลนธิ ใิ นคริสต์ศาสนา
 มลู นิธิในศาสนาอสิ ลาม
 อน่ื ๆ (ระบุ).................................

ประเภทโรงเรยี น
 ประเภทโรงเรียนในระบบ
 สามญั ศึกษา
 การกศุ ลของวัด
 การศึกษาพิเศษ
 การศึกษาสงเคราะห์
 ในพระราชปู ถมั ภ์
 สามัญปกติ
 อสิ ลามควบคสู่ ามัญ

การจัดการเรยี นการสอน
 ปกติ (สามญั ศกึ ษา)
 English Program ได้รบั อนญุ าตเมอ่ื .........................

5

1.1 จำนวนหอ้ งเรียน/ผูเ้ รียนจำแนกตามระดบั ทเี่ ปดิ สอน

จำนวนหอ้ งเรยี น จำนวนผูเ้ รยี นปกติ จำนวนผเู้ รยี นที่ รวมจำนวน
มีความตอ้ งการ ผู้เรยี น
ระดับทเ่ี ปิดสอน หอ้ งเรียน ห้องเรียน ห้องเรียน ชาย หญงิ
Pre-MSEP EBP IEP พเิ ศษ 35
ระดับก่อนประถมศึกษา - 3 18 17 116
อนบุ าลปที ่ี 1 - 2 2 52 64 ชาย หญิง 102
อนุบาลปที ี่ 2 - - 2 54 48 148
อนบุ าลปที ี่ 3 2 - 2 71 77 -- 401
3 2 9 195 206 --
รวมทงั้ สน้ิ 5 --
--
--

1.2 สรปุ จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษา จำแนกตามเพศ

ประเภทบุคลากร จำนวน ปีการศกึ ษา 2564
ท้ังหมด ชาย หญิง
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ

ผบู้ ริหารและผู้รว่ มบริหาร 8 5 62.50 3 37.50

ครผู สู้ อน(ครูไทย) 109 28 25.68 81 74.32

ครผู ู้สอน(ครูต่างชาต)ิ 22 16 72.72 6 27.28

อตั ราจา้ ง/อ.พเิ ศษ ๗ 3 42.85 4 57.15

บคุ ลากรทางการศกึ ษา 45 11 24.44 34 75.56

รวมทง้ั หมด 191 63 32.98 128 67.02

ณ วนั ที่ 25 กรกฎาคม 2564
สรุปอัตราสว่ น ระดบั ปฐมวยั จำนวนผ้เู รียนตอ่ ครู 30 : 1 จำนวนผเู้ รยี นต่อหอ้ ง 18 : 1

6

1.3 จำนวนครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา

1.3.1 สรุปจำนวนครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา จำแนกวุฒกิ ารศึกษา

ปกี ารศึกษา 2564

ประเภทบุคลากร จำนวน ตำ่ กว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก

ท้งั หมด จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ

ผู้บรหิ ารและผู้ร่วม 8- - 2 25.00 4 50.00 2 25.00

บรหิ าร

ครูผู้สอน(ครไู ทย) 109 - - 90 82.56 19 17.44 - -

ครูผู้สอน(ครตู ่างชาต)ิ 22 2 9.09 18 81.82 2 9.09 - -

อัตราจ้าง/อ.พิเศษ ๗- - 5 71.42 2 28.58 - -

บุคลากรทางการศึกษา 45 11 24.44 27 60.00 7 15.56 - -

รวมท้ังหมด 191 13 6.08 142 74.34 34 17.80 2 1.78

ณ วันท่ี 25 กรกฎษคม 2564

1.3.2 สรุปจำนวนครูและบคุ ลากรทางการศึกษา จำแนกตามเพศ

ปีการศึกษา 2564

ประเภทบุคลากร จำนวน ชาย หญิง

ทงั้ หมด จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ

ผู้บริหารและผู้รว่ มบรหิ าร 8 5 62.50 3 37.50

ครูผู้สอน(ครูไทย) 109 28 25.68 81 74.32

ครผู ูส้ อน(ครูต่างชาต)ิ 22 16 72.72 6 27.28

อัตราจ้าง/อ.พิเศษ ๗3 42.85 4 57.15

บคุ ลากรทางการศึกษา 45 11 24.44 34 75.56

รวมทั้งหมด 191 63 32.98 128 67.02

ณ วนั ที่ 25 กรกฎษคม 2564

สรุปอัตราสว่ น จำนวนผู้เรยี นต่อห้อง 27 : 1
ระดบั ปฐมวัย
จำนวนผ้เู รยี นตอ่ ครู 1 : 15 จำนวนผู้เรยี นต่อห้อง 32 : 1
ระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน จำนวนผเู้ รียนต่อหอ้ ง 33 : 1
ระดบั ประถมศึกษา
จำนวนผเู้ รยี นต่อครู 1 : 15
ระดับมัธยมศึกษา
จำนวนผเู้ รยี นต่อครู 1 : 17

7

1.3.3 สรุปจำนวนครูผสู้ อน จำแนกตามวชิ าเอก/โท หรือความถนัด

การจดั ครูเขา้ สอน

ลำดับ ประเภทครผู ูส้ อน จำนวนครู
1 ภาษาไทย
(คน) ตรงตามวชิ าเอก/ ร้อยละ ไมต่ รงตามวชิ าเอก/ ร้อยละ รวม
0.00 100.00
โทหรอื ความถนดั โท หรอื ความถนัด

10 10 100.00 0

2 คณิตศาสตร์ 14 14 100.00 0 0.00 100.00

3 วทิ ยาศาสตร์ 18 18 100.00 0 0.00 100.00

4 สงั คมศึกษาฯ 11 11 100.00 0 0.00 100.00

5 พลศึกษาสุขศึกษา 7 7 100.00 0 0.00 100.00

6 ศิลปะ 7 7 100.00 0 0.00 100.00

7 การงานอาชพี และ 2 2 100.00 0 0.00 100.00

เทคโนโลยี

8 ภาษาตา่ งประเทศ

-ครไู ทย 17 17 100.00 0 0.00 100.00

-ครตู า่ งประเทศ 22 22 100.00 0 0.00 100.00

9 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 2 2 100.00 0 0.00 100.00

10 อนุบาล 21 21 100.00 0 0.00 100.00

รวม 131 131 100.00 0 0.00 100.00

ณ วันท่ี 25 กรกฎษคม 2564

8

2.ขอ้ มูลพ้ืนฐานแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

ปรัชญา การพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
วสิ ยั ทศั น์ 1.จุดมุ่งหมายของชีวิต คือ การร้จู กั สจั ธรรมและการเข้าถึงธรรมอันสูงส่งอนั เป็นบ่อเกิดแห่ง
พันธกิจ ชีวิต
2.มนุษย์ทุกคนต้องทำงาน ความวริ ิยะ อตุ สาหะ เปน็ หนทางนำไปสู่ความสำเรจ็ ดังคติ
เป้าหมาย พจนท์ ี่วา่ “Labor Omnia Vincit”
ผู้เรียนโรงเรียนอสั สัมชัญอบุ ลราชธานี มรี ะเบยี บวินยั และคณุ ภาพมาตรฐานสากล
ยทุ ธศาสตร์หรอื กลยุทธ์ 1.ยกระดบั คุณภาพการศึกษาโรงเรียนใหม้ มี าตรฐานสากล
2.พฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคุณภาพตามอัตลักษณข์ องมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแหง่ ประเทศไทย
3.พฒั นาผู้เรยี นใหม้ คี ุณภาพตามเอกลักษณ์ของโรงเรียน
4.พฒั นาคุณภาพของผู้เรยี น
5.พัฒนาครู บคุ ลากรและผบู้ ริหารใหม้ ศี ักยภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพ
6.พัฒนาระบบบรหิ ารโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพและเกดิ ประสทิ ธผิ ล
7.ส่งเสริมและสนบั สนุนให้ชมุ ชน ผปู้ กครองและภาคีเครอื ขา่ ยมีสว่ นร่วมในการจัด
การศึกษา

การพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา
1.ผเู้ รียนมีคณุ ภาพระดับมาตรฐาน สากล
2.จัดการเรยี นการสอนใหม้ ีคุณภาพเทียบเคียงมาตรฐานสากล
3.ผเู้ รยี นมคี ณุ ภาพตามอัตลักษณข์ องมูลนธิ ิคณะเซนตค์ าเบรยี ลแห่งประเทศ
4.ผ้เู รียนมีคุณภาพตามเอกลกั ษณ์ของโรงเรียน
5.ผ้เู รียนมีผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการ
6.ผู้เรียนมคี ุณลกั ษณะพงึ ประสงค์
7.ผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา มคี ุณภาพ ปฏิบัตติ ามบทบาทหนา้ ที่อยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล
8.โรงเรยี นมีระบบบริหารจัดการศึกษาตามหลกั ธรรมาภบิ าล
9.โรงเรยี นมหี ลกั สตู ร กระบวนการเรียนรู้ และพัฒนาผู้เรยี นอยา่ งรอบดา้ น
10.โรงเรียนมกี ารจัดสภาพแวดลอ้ มและการบรกิ ารทีส่ ง่ เสริมให้ผเู้ รียนพัฒนาเตม็ ศกั ยภาพ
11.ชมุ ขน ผปู้ กครอง และภาคเี ครือขา่ ยมีสวนรว่ มในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจัด
การศกึ ษา
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาโรงเรียนให้มีมาตรฐาน สากล

ยทุ ธศาสตรร์ องท่ี 1.1 พฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ีคณุ ภาพมาตรฐานสากล
ยทุ ธศาสตร์รองท่ี 1.2 จดั การเรยี นการสอนเที่ยบเคียงมาตรฐานสากล
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 สง่ เสรมิ อัตลักษณ์ของมูลนธิ คิ ณะเซนตค์ าเบรียลแหง่ ประเทศไทยใหโ้ ดด
เดน่
ยุทธศาสตร์ที่ 3 สง่ เสริมเอกลกั ษณ์ของโรงเรียนใหม้ ีความโดดเดน่

เอกลักษณ์ 9
อัตลกั ษณ์
ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 ยกระดบั ผลสมั ฤทธข์ิ องผ้เู รียน
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 พฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีความรูแ้ ละทักษะท่จี ำเปน็ ตามคุณลกั ษณะพงึ ประสงค์
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 พฒั นา ครู บุคลากร และผบู้ ริหารให้มีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี
ยุทธศาสตร์ที่ 7 เสรมิ สร้างระบบการบรหิ ารจัดการบริหารโรงเรยี นสูค่ วามเปน็ เลศิ

ยทุ ธศาสตร์ทรี่ องที่ 7.1 เสรมิ สรา้ งระบบบริหารจัดการตามหลกั ธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตรท์ รี่ องท่ี 7.2 พัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาท่ีมีความยดื หย่นุ เหมาะสมกับ
บรบิ ทของโรงเรียน และท้องถ่นิ
ยทุ ธศาสตรท์ ร่ี องท่ี 7.3 จัด สรา้ ง พฒั นาสภาพแวดล้อมและการบรกิ ารให้มีความ
พรอ้ มและเอ้อื ตอ่ การจัดการเรยี นรู้
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 8 สง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มของชุมชน ผู้ปกครอง และภาคเี ครอื ข่าย

ผู้เรยี นมรี ะเบยี บวนิ ยั เนน้ ภาษาอังกฤษและมจี ิตสาธารณะ

ผู้เรยี นยึดมัน่ ในศาสนา รบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม พฒั นาตนทุกมิติ มีความวิรยิ ะ อตุ สาหะ

10

3. ผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปขี องสถานศึกษา

สรุปผลการดำเนนิ งานตามเปา้ หมาย ในแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรียนอสั สมั ชัญอุบลราชธานี

ระดบั การศึกษาปฐมวัย ปีการศกึ ษา 2564

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน
เปา้ หมาย ผลประเมิน บรรลุ ไม่บรรลุ

เป้าหมายท่ี 1 เดก็ มคี ณุ ภาพระดบั มาตรฐานสากล 90 95.53  -

เป้าหมายที่ 2 โรงเรยี นมรี ะบบการบริหารจัดการสูค้ วามเป็นเลศิ 85 91.64  -

อยา่ งย่ังยนื

เปา้ หมายท่ี 3 เด็กมีคุณภาพตามอัตลกั ษณ์ของมลู นิธิคณะเซนต์ 94 95.26  -

คาเบรยี ลแห่งประเทศ

เป้าหมายที่ 4 เดก็ มีคุณภาพตามเอกลักษณข์ องโรงเรยี น 90 95.78  -

เป้าหมายที่ 5 เดก็ มีพัฒาการดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มสี ขุ นสิ ยั ทด่ี ี 94 96.13  -

และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้

เปา้ หมายท่ี 6 เด็กมีพัฒาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและ 94 94.91  -

แสดงออกทางอารมณ์ได้

เปา้ หมายท่ี 7 เด็กมพี ัฒนาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลือตนเอง และ 91 95.18  -

เป็นสมาชกิ ท่ีดีของสังคม

เป้าหมายที่ 8 เด็กมีพฒั นาการด้านสติปญั ญา ส่อื สารได้ มที กั ษะ 94 96.15  -

การคดิ พ้นื ฐาน และแสวงหาความร้ไู ด้

เป้าหมายท่ี 9 มหี ลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ดา้ น  -

สอดคลอ้ งกับบริบทของท้องถน่ิ

เปา้ หมายที่ 10 ครูมเี พียงพอกับช้ันเรียน และมคี วามเชี่ยวชาญ 97.50 98.69  -

การจดั ประสบการณ์

เปา้ หมายท่ี 11 มีสภาพแวดล้อมและสอ่ื เพ่ือการเรียนรู้ อยา่ ง   

ปลอด ภัย และเพยี งพอ

เป้าหมายท่ี 12 มรี ะบบบริหารคณุ ภาพที่เปิดโอกาสให้ผ้เู ก่ียวข้อง  

ทกุ ฝ่ายมีสว่ นรว่ ม

เป้าหมายที่ 13 สรา้ งและจัดประสบการณท์ ่สี ง่ เสรมิ ให้เดก็ มี 95.00 100 

พัฒนาการทุกดา้ นอย่างสมดุลเตม็ ศกั ยภาพ

เปา้ หมายท่ี 14 จัดบรรยายกาศท่เี อ้อื ตอ่ การเรียนรู้ ใชส้ อื่ และ 95.00 100 

เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม

เปา้ หมายที่ 15 ประเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสถาพจริง และนำผล 95.00 98.60 

การประเมินพฒั นาการเดก็ ไปรบั ปรุงการจัดประสบการณแ์ ละ

พัฒนาเด็ก

11

สรปุ ผลการดำเนินงานตามเป้าหมายและตัวชีว้ ัดความสำเร็จ

ในแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรยี นอสั สัมชัญอุบลราชธานี

ระดบั การศึกษาปฐมวยั ปกี ารศึกษา 2564

ผลการดำเนนิ งาน

เปา้ หมาย ตัวชวี้ ัดความสำเรจ็ เป้า ผล บรรลุ ไม่
หมาย ประเมนิ บรรลุ

1. เดก็ มคี ุณภาพระดับ 1.1. เด็กมีความเป็นเลศิ ดา้ นวชิ าการ 90 98.60  -

มาตรฐานสากล 1.2 เด็กมีความสามารถดา้ นการสอ่ื สาร 2 ภาษา 90 93.59  -

1.3. เด็กมีทกั ษะทางความคดิ 90 95.47  -

1.4 เด็กผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์ 90 95.45  -

1.5 เด็กมคี วามรบั ผิดชอบของสงั คมโลกเข้ารว่ ม 90 94.54  -

กจิ กรรมบำเพ็ญประโยขน์

2. โรงเรยี นมีระบบการบรหิ าร 2.1 มบี รหิ ารจดั การดว้ ยหลักธรรมาภิบาล 10 85 93.80  -

จัดการสู่ความเปน็ เลิศอย่าง ประการ

ย่งั ยืน 2.2 รอ้ ยละของบคุ ลากรท่ใี ชภ้ าษาองั กฤษใน 85 89.47  -

การสอ่ื สาร

2.3 มรี ะบบการบรหิ ารจัดการตามเกณฑข์ อง    -

TQA

3 .เดก็ มคี ุณภาพตามอัต 3.1 เด็กยดึ มั่นในสัจธรรม 94 95.28  -

ลกั ษณ์ของมูลนธิ ิคณะเซนต์ 3.2 เด็กมีความวิรยิ ะ อตุ สาหะ 94 95.97  -
94 94.54  -
คาเบรยี ลแห่งประเทศ 3.3 เด็กมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม

4. เดก็ มคี ณุ ภาพตาม 4.1. เด็กมรี ะเบยี บวินยั 90 95.08  -

เอกลักษณข์ องโรงเรียน 4.2 เน้นภาษาอังกฤษสำหรบั เด็ก 86 97.37  -

4.3 เด็กมีจิตสาธารณะ 94 94.88  -

5 เด็กมพี ัฒาการด้านรา่ งกาย 5.1 มีนำ้ หนักส่วนสงู เปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 94 95.63  -

แขง็ แรง มีสขุ นิสยั ทดี่ ี และ ของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

ดูแลความปลอดภัยของตนเอง 5.2. เด็กมที ักษะการเคลื่อนไหวตามวัย 94 97.54  -

ได้ 5.3. เด็กมีสุขนสิ ยั ในการดแู ลสขุ ภาพของตน 94 95.43  -

และปฏิบตั ิจนเปน็ นสิ ัย

5.4. หลีกเลี่ยงตอ่ สภาวะท่เี สยี่ งตอ่ โรค สง่ิ เสพ 94 95.90  -

ตดิ ระวงั ภัยจากคน ส่งิ แวดล้อมและอบุ ัติเหตุ

12

ผลการดำเนนิ งาน

เป้าหมาย ตัวชีว้ ัดความสำเร็จ เป้า ผล บรรลุ ไม่
หมาย ประเมิน บรรลุ
6 เด็กมพี ฒั นาการด้าน 6.1. เด็กร่าเริงแจม่ ใส มคี วามรู้สึกทดี่ ตี อ่ ตนเอง
อารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และ 6.2 เด็กควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกบั วัย 94 95.14  -
แสดงออกทางอารมณไ์ ด้ 6.3. เด็กมคี วามม่ันใจและกลา้ แสดงออก
6.4. เด็กชว่ ยเหลือแบ่งปัน มีความซื่อสตั ย์ 94 95.18  -
7 เด็กมพี ัฒนาการด้านสงั คม สจุ ริต และมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม
ช่วยเหลือตนเอง และเปน็ 6.5. เด็กชื่นชมและเขา้ ร่วมกจิ กรรมศลิ ปะ ดนตรี 94 94.99  -
สมาชิกทด่ี ขี องสงั คม และการเคลือ่ นไหว
7.1 เดก็ ร้จู ักประหยดั และมคี วามพอเพยี ง 94 94.75  -
8 เดก็ มพี ัฒนาการดา้ น 7.2 เดก็ ประพฤติตนตามวัฒนาธรรมไทยและศา
สตปิ ัญญา สือ่ สารได้ มีทกั ษะ สนท่ีตนเองนับถือ 94 94.48 
การคดิ พ้ืนฐาน และแสวงหา 7.3 เดก็ สามารถเล่นและทำงานรว่ มกบั ผู้อืน่ ได้
ความรูไ้ ด้ 8.1 เดก็ สนใจเรียนรสู้ ิ่งรอบตัว ซักถามอยา่ ง 85 94.76  -
ตง้ั ใจ และรักการเรยี นรู้ 94 95.45  -
9 มีหลักสูตรครอบคลุม 8.2 มคี วามคดิ รวบยอดเกี่ยวกับสงิ่ ตา่ งๆ ท่ีเกดิ
พัฒนาการท้ัง 4 ด้าน จากประสบการณ์ การเรยี นรู้ 94 95.34  -
สอดคล้องกบั บรบิ ทของ 8.3 มที กั ษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย 94 95.90  -
ท้องถิ่น 8.4. เด็กมที กั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
และคณิตศาสตร์ 94 95.61  -
8.5 มีจินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์
9.1 มีหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั ของ 94 96.05  -
สถานศึกษาและนำสู่การปฏบิ ตั ไิ ด้อยา่ งมี 94 96.72  -
ประสทิ ธิภาพ
9.2 มีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนรว่ มทุกฝา่ ย 94 96.45  -
ตระหนักและเขา้ ใจการจัดการศกึ ษาปฐมวยั   -
9.3 มกี ารจัดกจิ กรรมเสรมิ สรา้ งความตระหนกั รู้
และความเข้าใจหลกั การจดั การศกึ ษาปฐมวยั   -
9.4 มกี ารสรา้ งการมสี ่วนรว่ มและแสวงหาความ   -
รว่ มมือกบั ผ้ปู กครอง ชุมชน และท้องถนิ่   -

13

ผลการดำเนนิ งาน

เป้าหมาย ตัวช้ีวัดความสำเร็จ เปา้ ผล บรรลุ ไม่
หมาย ประเมนิ บรรลุ
10 ครมู เี พยี งพอกบั ชนั้ เรยี น 10.1 ครมู ีวฒุ ิและความรู้ ความ สามารถ ในดา้ น
และมคี วามเชีย่ วชาญการจัด การศึกษาปฐมวยั 95 97.37  -
ประสบการณ์ 10.2 ครผู ้สู อนได้รับการเพมิ่ พูนความร/ู้
ประสบการณ์ ในการพัฒนาตนเองในวิชาชีพ 100 100  -
11 มสี ภาพแวดล้อมและสือ่ ไม่ตำ่ กว่า 40 ชวั่ โมง/ปี
เพอ่ื การเรียนรู้ อยา่ งปลอด 11.1 มจี ดั สง่ิ อำนวยความสะดวกเพ่ือพัฒนาเดก็   -
ภยั และเพียงพอ อยา่ งรอบดา้ น   -
11.2 มีจัดสือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและสือ่ การ
12 มรี ะบบบริหารคุณภาพท่ี เรยี นรูเ้ พ่อื สนับสนนุ การจดั ประสบการณ์สำหรับ   -
เปิดโอกาสใหผ้ ้เู กีย่ วข้องทกุ ครู   -
ฝ่ายมีสว่ นรว่ ม 12.1 มีการกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวยั
ของสถานศกึ ษา   -
12 มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพที่ 12.2. จัดทำและดำเนนิ การตามแผนพัฒนาการ  
เปดิ โอกาสให้ผู้เก่ียวขอ้ งทกุ จดั การศึกษาของสถาน ศึกษาทม่ี ุง่ พัฒนา
ฝ่ายมีส่วนร่วม คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
12.3. จดั ระบบข้อมูลสาร สนเทศและใช้
สารสนเทศในการบรหิ ารจัดการ  
12.4. ตดิ ตามตรวจสอบ และประเมนิ ผลการดา
เนนิ งานคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา  
ของสถานศึกษา
12.5. นำผลการประเมนิ คณุ ภาพทั้งภายในและ
ภายนอกไปใช้วางแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
12.6 จัดทำรายงานประจำปที ่ีเปน็ รายงานการ
ประเมนิ คุณภาพภายใน

14

ผลการดำเนนิ งาน

เป้าหมาย ตวั ชีว้ ัดความสำเรจ็ เป้า ผล บรรลุ ไม่
13 สรา้ งและจัดประสบการณ์ หมาย ประเมิน บรรลุ
ที่สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มพี ัฒนาการ 13.1 ครมู ีความรู้ ความเข้าใจปรัชญา หลกั การ
ทกุ ด้านอยา่ งสมดุลเตม็ จดุ มุงหมาย และสาระการเรียนร้ปู ฐมวยั 95 100  -
ศักยภาพ 13.2 ครูจดั ทำแผนการจัดประ สบการณท์ ี่ -
สอดคล้องกบั หลักสูตรได้หลากหลาย ครอบคลมุ 95 100 
14 จัดบรรยายกาศท่ีเอื้อต่อ พัฒนากรทง้ั 4 ด้าน -
การเรยี นรู้ ใชส้ อื่ และ 13.3 ครสู ามารถบริหารจัดการช้ันเรียนทีท่ ส่ี รา้ ง 95 100 
เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม วินัยเชิงบวก สง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมพี ฤตกิ รรมที่ -
เหมาะสม 95 100 
15 ประเมินพฒั นาการเดก็ 13.4. ครวู ิจัยและพัฒนาการจัดการเรยี นรทู้ ่ี -
ตามสถาพจริง และนำผลการ ตนเองรับผดิ ชอบ และใชผ้ ลในการปรับการจดั 95 100  -
ประเมนิ พฒั นาการเดก็ ไปรับ ประสบการณ์ เพ่ือพัฒนาการจดั การเรยี นร้อู ย่าง 95 100  -
ปรุงการจดั ประสบ การณ์และ 13.5. ครมู ีปฏสิ ัมพนั ธ์ทดี่ ีกบั เดก็ และผู้ปกครอง
พฒั นาเด็ก 13.6. ครูจัดทำสารนทิ ศั นแ์ ละนำมาไตร่ตรองเพ่อื 95 100  -
ใชป้ ระโยชน์ในการพัฒนาเด็ก
14.1. ครใู ช้สือ่ และเทคโนโลยีทส่ี อดคล้องกบั 95 100 
กิจกรรมการจดั ประสบการณพ์ ฒั นาการของเด็ก 95 98.60 
ท้ัง 4 ด้าน
14.2. ครูจดั สงิ่ แวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้
ตลอดเวลา
15.1. มีการประเมินพฒั นาการของเด็กดว้ ยวิธีท่ี
หลายหลาย และครูรายงานผลการพัฒนาของ
เดก็ แก่ผู้ปกครองอยา่ งน้อยภาคเรหี นละ 1 ครงั้

15

สรปุ ผลการดำเนนิ งาน แผนงานโครงการและกิจกรรม
ตามแผนปฏบิ ัติการประจำปีการศึกษา 2564 แผนกปฐมวัย

(13 งาน 2 โครงการ 25 กจิ กรรม)
สรุปผลการดำเนนิ งานแผนงานโครงการและกจิ กรรม แผนกปฐมวยั ตามแผนปฏิบัตกิ าร ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

➢ในปีการศึกษา 2564 ด้วยสถานการณ์ COVID-19 จึงไม่ได้ดำเนินงานตามท่ีได้กำหนดไว้น้ันได้ดำเนินการขอยกเลิก
ดำเนินกิจกรรม และในงาน กิจกรรมบางรายการ ไดม้ กี ารปรับเปลยี่ นรูปแบบการจัดกิจกรรม รูปแบบออนไลน์

สรุปผลกำรดำเนินงำนของแผนงำนโครงกำรและกิจกรรม แผนกปฐมวยั ปกี ำรศกึ ษำ 2564

ลำดับ รหสั ช่ืองำน / โครงกำร วัน/เดือน/ปี ผลกำรดำเนนิ งำน (%) ผู้รับผิดชอบ

ดำเนนิ งำน เปำ้ หมำ ผล บรรลุ ไม่บรรลุ

1 400 งำนบริหำรแผนกปฐมวัย ตลอดปี 87.31 95.19  มิสจอมขวัญ /มิสกนกภรณ์

400.01 กิจกรรมตรวจประเมินสถานรบั เลี้ยงเด็ก ตลอดปี 85.00 92.24  มิสจันทรรตั น์ / มิสสรติ า / มิสภัคจิรา

400.02 กิจกรรมพัฒนาบุคลากรแผนกปฐมวัย (งบพัฒนาบุคลากร 50,ต8ล5อ0ด) ปี 95.00 95.02  มิสจอมขวญั / มิสกนกภรณ์

2 401 งำนพฒั นำหลักสูตร ตลอดปี 83.00 96.53  มิสมยรุ ฉัตร /มิสจอมขวัญ

3 402 งำนจัดประสบกำรณเ์ รียนรู้ ตลอดปี 89.00 98.58  มิสมาลัย / มิสจอมขวัญ

402.01 กิจกรรมประจาวัน และกิจกรรมเสรมิ หลักสูตร ตลอดปี 91.55 95.95  มิสมาลยั

402.02 กิจกรรมมุมเสรใี นห้องเรยี น ตลอดปี 92.50 95.43  มิสจอมขวญั

402.03 กิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่ (ใช้งบเงินอุดหนนุ 104,478) มี.ค.-65 92.00 95.77  มิสนิภารัตน์ / มิสมาลยั

402.04 กิจกรรมส่งเสรมิ เด็กประกวดภายใน-ภายนอก ตลอดปี 93.00 96.45  มิสโฉมยงค์ / ม.กติ ตวิ ฒั น์

402.05 กิจกรรมห้องสมดุ ของเล่น ตลอดปี 92.57 95.47  มิสสริตา/มิสจอมขวญั

402.06 กิจกรรมทักษะกระบวนการคิด ตลอดปี 92.57 95.08  ม.วรชยั

402.07 กิจกรรมส่งเสรมิ หนนู อ้ ยเทคโนโลยี(ใช้งบเงินอุดหนนุ 14,070)ตลอดปี 92.50 95.90  มิสศริ นิ าถ /มิสวารุณี

402.08 กิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นการสอน Pre-MSEP (งบประจา1,7ต3ล5อ,2ด0ป0ี ) 4698,53.8000 95.93  มิสนิตยา /มิสภคมน/มิสมาลยั

402.09 กิจกรรม ส่งเสรมิ ทักษะวิชาการ (ใช้งบเงินอุดหนนุ 40,146) ตลอดปี 90.00 97.41  มิสจอมขวญั /มิสมาลยั

4 403 งำนนเิ ทศกำรจัดประสบกำรณเ์ รียนรู้ ตลอดปี 85.10 98.87  มิสมาลัย

5 404 งำนวัดประเมนิ ผล และทะเบียน ตลอดปี 90.00 99.44  มิสวารุณี /มิสจอมขวัญ

6 405 งำนวิจัยในชน้ั เรียน ตลอดปี 83.00 100.00  มิสนติ ยา

7 406 งำนพฒั นำสื่อและนวัตกรรม ตลอดปี 86.50 100.00  มิสกญั ญาณัฐ

8 407 งำนระดบั ชนั้ ตลอดปี 91.50 94.99  มสิ จนั ทรตั น์ /มสิ กัญญาณัฐ/ มสิ ธัญญารตั น์/มสิ ภคมน

407.01 กิจกรรมส่งเสรมิ ความเป็นระเบียบวินยั /จราจรปฐมวัย ตลอดปี 90.33 94.99  ม.วรชยั /มิสวภิ าวด/ี มิสโฉมยงค์
407.02 กิจกรรมส่งเสรมิ ประชาธิปไตยปฐมวัย (ใช้งบเงินอุดหนนุ 2,55ต0ล)อดปี 94.00 94.90  มิสมยรุ ฉัตร/มิสวภิ าวด/ี มิสมาลยั
407.03 กิจกรรมอนรุ กั ษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจพอเพียตงลอดปี 87.33 95.07  มิสพสิ มัย/มิสจันทรรัตน/์ มิสภัคจิรา

16

ลำดับ รหสั ช่ืองำน / โครงกำร วนั /เดือน/ปี ผลกำรดำเนนิ งำน (%) ผูร้ บั ผดิ ชอบ

ดำเนนิ งำน เปำ้ หมำ ผล บรรลุ ไม่บรรลุ

9 408 งำนกิจกรรม ตลอดปี 91.00 95.19  ม.วรชัย/ม.กติ ติวัฒน/์ มิสศิรินาถ

408.01 กิจกรรมวันสาคัญ วันเข้าพรรษา /ลอยกระทง พ.ย.-64 94.00 94.80  - มิสภคมน/มิสเขม็ ทอง/มิสสรติ า

408.02 กิจกรรมวันครสิ ต์มาส-ปีใหม่ ธ.ค.-64 94.00 95.22  - มิสภคมน/มิสเขม็ ทอง/มิสสริตา

408.03 กิจกรรมวันเด็ก ไมไ่ ดด้ าเนินการ - - - - มิสธญั ญารัตน/์ มิสเข็มทอง/มิสสริตา

408.04 กิจกรรมวันไหว้ครู ก.ค.-64 94.00 94.85  - มิสธญั ญารตั น/์ มิสเขม็ ทอง

408.05 กิจกรรมวันแม่ ส.ค.-64 94.00 94.76  - มิสวภิ าวด/ี มิสภัคจิรา/มิสจันทรรัตน์

408.06 กิจกรรมวันพ่อ ธ.ค.-64 94.00 95.27  - มิสภคั จิรา/มิสวภิ าวด/ี มิสจันทรรตั น์
408.07 กิจกรรมทาบุญประจาปี - ม.วรชยั / มิสมยรุ ฉตั ร /มิสโฉมยงค์
408.08 กิจกรรมกีฬาสี ไมไ่ ดด้ าเนินการ - -- - ม.สรุ สทิ ธ/์ิ ม.กติ ตวิ ฒั น/์ ม.วรชยั

ไมไ่ ดด้ าเนินการ - --

10 409 งำนส่งเสริมควำมสัมพนั ธ์กับชมุ ชน ตลอดปี 92.00 97.42  มิสเข็มทอง / มิสนภิ ารตั น์

409.01 กิจกรรมเยี่ยมบ้านเด็ก 2ครง้ั /ปี 92.00 100.00  มิสเขม็ ทอง/มิสพสิ มัย
409.02 กิจกรรมบ้านสัมพันธ์รกั มี.ค.-65 92.00 97.00  มิสนิภารัตน/์ มิสมาลยั
409.03 กิจกรรมรบั วุฒิบัตร มี.ค.-65 92.00 95.27  ม.กติ ตวิ ฒั น/์ คณุ ครอู นบุ าล3

11 410 งำนอำคำรสถำนที่ ตลอดปี 83.00 94.35  ม.สุรสิทธ์ิ / ม.สรายทุ ธ / ม.วรชัย

12 411 งำนอนำมยั แผนกปฐมวัย ตลอดปี 88.50 96.54  มิสวารุณี / ม.สุรสิทธ์ิ

13 412 งำนประกันคณุ ภำพแผนกปฐมวัย ตลอดปี 83.00 93.00  มิสวารุณี/มิสมาลัย/มิสจอมขวญั

14 413 โครงกำรส่งเสริมศกั ยภำพเด็กและพหุปัญญำ ตลอดปี 94.00 96.28  มิสมาลัย / มิสจอมขวัญ

15 414 โครงกำรจัดกำรเรียนกำรสอนโดยใชภ้ ำษำอังกฤษเป็นส่ือ(3ต0ล,5อ2ด6ป)ี 90.00 96.23  มิสมาลัย / มิสนติ ยา

รวมคา่ ฉล่ียการดาเนนิ งานแผนงานโครงการและกิจกรรมแผนกปฐมวัย 90.17 96.09 

4. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รยี น

4.1 ระดบั ปฐมวยั ผลการพัฒนาเดก็

จำนวน รอ้ ยละของเด็กตามระดับคุณภาพ

ผลพัฒนาการด้าน เด็ก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ

ทัง้ หมด จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ

1. ดา้ นร่างกาย 366 306 83.61 51 13.93 9 2.46

2. ดา้ นอารมณ์-จติ ใจ 366 315 86.06 40 10.93 11 3.01

3. ดา้ นสังคม 366 322 87.98 33 9.01 11 3.01

4. ดา้ นสติปญั ญา 366 297 81.15 59 16.12 10 2.73

5. นวัตกรรม/แบบอยา่ งทดี่ ี (Innovation /Best Practice )
นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง แนวคิดหรือวธิ กี ารท่ีนำมาใช้ในการปฏิบัติ เพื่อแกป้ ัญหาหรือเพื่อการพัฒนา ซ่ึง

ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางความคิด กระบวนการ หรือองค์กร อย่างสิ้นเชิงหรือเห็นได้ชัด เป็นการพัฒนาต่อยอด เพ่ิม
มูลค่า มีเป้าหมายในเชิงบวก ซึ่งมีเกณฑ์การพิจารณา คือมีความสร้างสรรค์ (C – Creative), มีความใหม่ในบริบทนั้น ๆ
(N – New) มคี ณุ คา่ มปี ระโยชน์ (V – Value-Added) และปรบั ใชไ้ ดอ้ ย่างเหมาะสม (A – Adaptive)

17

แบบอย่างที่ดี (Best – Practice) หมายถึง รูปแบบวิธีปฏิบัติหรือข้ึนตอนการปฏิบัติท่ีทำให้สถานศึกษาประสบ
ความสำเร็จ หรือสู่ความเป็นเลิศตามเป้าหมาย เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพ มีหลักฐานของความสำเร็จปรากฏ
ชัดเจน โดยมีการสรุปรูปแบบวิธีปฏิบัติหรือข้ันตอน การปฏิบัติตลอดจนความรู้และประสบการณ์ มีร่องรอยหลักฐานเชิง
ประจกั ษ์ เผยแพรใ่ ห้หนว่ ยงานภายในหรอื ภายนอกสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์

ชอื่ นวัตกรรม/แบบอยา่ งท่ีดี มาตรฐานด้าน ระดับการศึกษา
1.การบรหิ ารขอ้ มลู สถานศกึ ษาดว้ ยโปรแกรม SWIS กระบวนการบรหิ ารจัดการ ระดับปฐมวยั
2.การใชภ้ าษาอังกฤษเป็นสอื่ ในการจดั การเรียนการ กระบวนการจดั การเรยี นการสอน ระดับปฐมวยั
สอน ทเ่ี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ ระดบั ปฐมวยั
กระบวนการจัดการเรยี นการสอน ระดบั ปฐมวยั
3.การจัดการเรยี นการสอนแบบบูรณาการ/STEM ที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ระดับปฐมวยั
กระบวนการจดั การเรยี นการสอน ระดับปฐมวยั
4.การจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning ทเ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั ระดบั ปฐมวยั
กระบวนการจดั การเรียนการสอน ระดับปฐมวยั
5.ศนู ยภ์ าษา EBP และ IEP ที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ระดบั ปฐมวยั
กระบวนการจัดการเรยี นการสอน
6.การจัดการเรยี นการสอนหอ้ งเรยี นพหุปัญญา ทเี่ น้นผู้เรียนเปน็ สำคญั ระดับปฐม406วัย
กระบวนการจัดการเรยี นการสอน
7. การจดั การเรยี นการสอนหอ้ งเรียนดนตรสี ำหรับ ที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ระดบั ปฐมวยั
เด็กอนบุ าล กระบวนการจัดการเรยี นการสอน ระดบั ปฐมวยั
8.สง่ เสรมิ การเรยี นรู้กฎจราจร สนามฝึกขบั รถ ที่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั
กระบวนการจัดการเรยี นการสอน
สำหรบั เด็กปฐมวัย 1-3 ท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ
9. การจัดการเรยี นการสอนหอ้ งเรยี นสง่ เสริม
กระบวนการคิดทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการจัดการเรยี นการสอน
10.โปรแกรมการเรยี นการสอนระดับปฐมวยั ที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั
โปรแกรม Pre-MSEP (PRE-Math Science and
English Program) ในระดบั ชนั้ ปฐมวยั ปที ่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอน
ท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั
11.การจดั การเรียนการสอนห้องเรียน iPad
กระบวนการจัดการเรียนการสอน
12.การจดั การเรยี นการสอนห้องเรียน Cooking ท่เี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ

18

6. รางวลั ทส่ี ถานศึกษาได้รับ ประเภทรางวลั ระดบั หนว่ ยงาน หมายเหตุ
ชนะเลิศ ท่ีมอบรางวลั
6.1 ปกี ารศึกษาปัจจบุ ัน  เขตพน้ื ท่ี/จังหวดั สำนกั งานศกึ ษาธิการ
ชื่อรางวลั ภาค/ประเทศ จงั หวดั อบุ ลราชธานี
 นานาชาติ
1.จากการจดั งานมหกรรมวิชาการ
ประจำปี 2564 ระดบั ปฐมวัย
รายการแขง่ ขนั การแข่งขนั พดู
ภาษาองั กฤษ
(Impromptu Speech)
หลักสูตรพิเศษปฐมวัย

7. ดำเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ (ปรับตามนโยบายแตล่ ะปี)

ประเดน็ ตัวชี้วัด มี ไมม่ ี

1. การปลกู ฝงั ความมีระเบียบวินัย ทัศนคตทิ ถ่ี ูกต้องผ่านกระบวนการลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด 

2. การจดั การเรยี นรู้เพอื่ สร้างทกั ษะพน้ื ฐานทเ่ี ชอ่ื มโยงสู่การสร้างอาชีพและการมงี านทำ 

3. การจดั การเรียนการสอนทสี่ ่งเสรมิ การคดิ วเิ คราะหด์ ว้ ยวธิ ีการ Active Learning 

4. การจดั การเรียนการสอนเพอ่ื ฝกึ ทกั ษะการคดิ แบบมเี หตผุ ลและเป็นข้นั ตอน (Coding) 

5. การพัฒนาครใู หม้ ีความชำนาญในการจดั การเรียนรูภ้ าษาองั กฤษและภาษาคอมพิวเตอร(์ Coding) 

6. การจดั การเรียนรู้ด้วย STEM Education 

6.1 สถานศึกษามีการจดั การเรยี นการสอนแบบ STEM Education

6.2 สถานศึกษามีนวัตกรรมจากการเรยี นรู้ตามแนวทาง STEM Education

7. การเรียนภาษาอังกฤษเพือ่ ใช้ในการส่ือสารและเพ่ิมทักษะสำหรบั ใชใ้ นการประกอบอาชพี 

8. การจัดการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาทส่ี าม) 

9. การส่งเสริมทักษะการอ่าน เขยี นภาษาไทยเพื่อใชเ้ ป็นเครื่องมอื ในการเรยี นรู้ภาษาอ่นื 

10. การใช้ดจิ ทิ ัลแพลตฟอรม์ เพ่ือการเรยี นรู้หรือสรา้ งอาชีพ 

8. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกของ สมศ. ทผ่ี า่ นมา

รอบการประเมิน ระดบั ผลการประเมิน
ระดบั ปฐมวยั ระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

รอบที่ 2 (พ.ศ. 2549 – 2553) ดี ดี

รอบท่ี 3 (พ.ศ. 2554 – 2558) ดมี าก ดี

รอบที่ 4 (พ.ศ. 2559 – 2564) ดี ดี

19

9. หนว่ ยงานภายนอกทโี่ รงเรียนเขา้ รว่ มเป็นสมาชิก
 สมาคมคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน
 สมาคมสหพันธ์โรงเรียนเอกชนแห่งประเทศไทย
 สมาคมครสู ถานศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
 สมาคมประถมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย
 สมาคมอนุบาลศึกษาแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ฯ
 สมาคมสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย
 สมาคมครโู รงเรียนเอกชนคาทอลิกแหง่ ประเทศไทย
 สมาคมโรงเรยี นสอนภาษาจนี
 สมาคมโรงเรียนนานาชาตแิ ห่งประเทศไทย

20

ส่วนที่ 3
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

1. ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน การปฏบิ ัตงิ าน เป้าหมาย จำนวน จำนวนเด็ก *** ผลการ
ระดับปฐมวัย ไม่ (รอ้ ยละ) เดก็ ทั้งหมด ผ่านเกณฑ์ท่ี ผลการประเมนิ ประเมนิ
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก คณุ ภาพทไ่ี ด้
ปฏบิ ตั ิ ปฏิบตั ิ (คน) โรงเรยี น (ร้อยละ)
ประเดน็ พิจารณา กำหนด(คน) ยอดเยี่ยม
94 366 96.54
1 มพี ฒั นาดา้ นร่างกาย แขง็ แรง -- 353 ยอดเย่ียม
มีสุขนิสยั ท่ดี ี และดแู ลความปลอดภัย 95.63
ของตนองได้ - 350 98.36
- 360
1.1 ร้อยละของเด็กมีน้ำหนกั สว่ นสงู ตาม 95.36
เกณฑม์ าตรฐาน - 349 95.90
- 351
1.2 ร้อยละของเดก็ เคลอื่ นไหวร่างกาย 95.63
คล่องแคลว่ ทรงตัวได้ดี ใช้มอื และตาประสาน 94 366 350 95.63
สัมพนั ธ์ได้ดี - 350
1.3 รอ้ ยละของเด็กดูแลรกั ษาสุขภาพอนามัย
สว่ นตนและปฏบิ ัตจิ นเปน็ นสิ ัย
1.4 รอ้ ยละของเด็กปฏบิ ตั ติ นตามข้อตกลง
เก่ยี วกบั ความปลอดภยั หลกี เลีย่ งสภาวะ
ทเี่ สย่ี งต่อโรค สงิ่ เสพตดิ และระวังภยั จาก
บุคคล ส่ิงแวดล้อม และสถานการณท์ ีเ่ สย่ี ง
อันตราย

2 มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ
ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้

2.1 ร้อยละของเด็กร่างเริงแจม่ ใส
แสดงอารมณ์ ความรสู้ ึกได้เหมาะสม

2.2 ร้อยละของเด็กรู้จักยบั ยั้งชัง่ ใจ  - 350 95.63
อดทนในการรอคอย  - 349 95.36
 - 348 95.08
2.3 ร้อยละของเด็กยอมรบั และพอใจใน  - 351 95.90
ความสามารถ และผลงานของตนเองและผู้อน่ื  - 351 95.90

2.4 รอ้ ยละของเด็กมีจติ สำนกึ และคา่ นยิ ม
ทีด่ ี
2.5 รอ้ ยละของเด็กมคี วามมั่นใจ กลา้ พดู กลา้
แสดงออก
2.6 รอ้ ยละของเดก็ ช่วยเหลือแบ่งปนั

21

ประเดน็ พิจารณา การปฏบิ ตั งิ าน เป้าหมาย จำนวน จำนวนเดก็ *** ผลการ
(ร้อยละ) เด็กทั้งหมด ผ่านเกณฑท์ ่ี ผลการประเมิน ประเมนิ
ปฏบิ ตั ิ ไม่ คณุ ภาพทีไ่ ด้
ปฏิบตั ิ (คน) โรงเรยี น (รอ้ ยละ)
กำหนด(คน) ยอดเยี่ยม
2.7 ร้อยละของเด็กเคารพสทิ ธิ รู้หนา้ ท่ี - 95.08
รบั ผิดชอบ อดทนอดกลน้ั 348 94.81
95.90
2.8 ร้อยละของเด็กซอื่ สตั ย์สจุ ริต มคี ุณธรรม  - 347 95.63

จริยธรรม ตามท่สี ถานศึกษากำหนด 351 95.63
95.08
2.9 ร้อยละของเด็กมีความสุขกับศลิ ปะดนตรี  - 350

และการเคลื่อนไหว 350

3 มพี ัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลอื 94 366 348

ตนเองและเปน็ สมาชิกทด่ี ขี องสังคม

3.1 รอ้ ยละของเดก็ ชว่ ยเหลอื ตนเอง  -

ในการปฏิบัตกิ ิจวัตรประจำวนั มีวินยั ในตนเอง

3.2 รอ้ ยละของเดก็ ประหยดั และพอเพยี ง -

3.3 รอ้ ยละของเดก็ มีส่วนร่วมดแู ลรักษา - 346 94.54
359 98.09
ส่ิงแวดลอ้ มในและนอกห้องเรยี น 348 95.08

3.4 รอ้ ยละของเดก็ มีมารยาทตามวัฒนธรรม  - 350 95.63
352 96.17 ยอดเยี่ยม
ไทย เชน่ การไหว้ การยิ้ม ทกั ทาย และ
353 96.45
มีสัมมาคารวะกบั ผู้ใหญ่ ฯลฯ 349 95.36
350 95.63
3.5 ร้อยละของเดก็ ยอมรบั หรือเคารพ - 353 96.45

ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล เช่น ความคดิ

พฤติกรรม พ้ืนฐานครอบครวั เช้อื ชาติ ศาสนา

วฒั นธรรม เป็นต้น

3.6 ร้อยละของเดก็ เล่นและทำงานร่วมกับ  -

ผอู้ ืน่ ได้ แกไ้ ขข้อขัดแย้งโดยปราศจาก

การใชค้ วามรุนแรง

4 มีพฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา ส่อื สารได้ 94 366

มที ักษะการคดิ พ้ืนฐาน และแสวงหา

ความรู้ได้

4.1 ร้อยละของเดก็ สนทนาโตต้ อบและ -

เลา่ เร่ืองใหผ้ ู้อืน่ เข้าใจ

4.2 รอ้ ยละของเด็กตง้ั คำถามในสงิ่ ที่ -

ตนเองสนใจหรือสงสัย และพยายามค้นหา

คำตอบ

4.3 รอ้ ยละของเดก็ อ่านนิทานและเล่าเรอื่ ง  -

ทตี่ นเองอา่ นได้เหมาะสมกับวยั

4.4 รอ้ ยละของเด็กมีความสามารถในการคิด  -

รวบยอด การคิดเชงิ เหตผุ ลทางคณิตศาสตร์

และวิทยาศาสตร์ การคิดแกป้ ัญหาและ

สามารถตัดสินใจในเร่อื ง

ง่าย ๆ ได้

22

ประเด็นพิจารณา การปฏบิ ตั งิ าน เปา้ หมาย จำนวน จำนวนเด็ก *** ผลการ
ไม่ (ร้อยละ) เดก็ ทัง้ หมด ผ่านเกณฑ์ที่ ผลการประเมิน ประเมนิ
4.5 ร้อยละของเด็กสรา้ งสรรค์ผลงานตาม คุณภาพท่ีได้
ความคิดและจินตนาการ เชน่ งานศิลปะ การ ปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิ (คน) โรงเรียน (ร้อยละ)
เคล่ือนไหวท่าทาง การเลน่ อสิ ระ ฯลฯ กำหนด(คน) ยอดเยี่ยม
4.6 รอ้ ยละของเด็กใช้สอื่ เทคโนโลยี เชน่ แว่น - 96.45
ขยาย แมเ่ หลก็ กลอ้ งดจิ ิตอล ฯลฯ เปน็ 353
เครอื่ งมอื ในการเรยี นรแู้ ละแสวงหาความรไู้ ด้
- 352 96.17
สรุปผลการประเมนิ =
ผลรวมผลการประเมินทุกประเด็นพจิ ารณา 95.83
หมายเหตุ กรอกขอ้ มลู เฉพาะแถบสีขาว จำนวนประเด็นพิจารณา
วธิ คี ำนวณ
= 100 x จำนวนเดก็ ผ่านเกณฑ์ทโ่ี รงเรียนกำหนด
*** ผลการประเมนิ (ร้อยละ) จำนวนเด็กท้ังหมด

แปลผลการประเมนิ คุณภาพทไี่ ด้ = กำลังพัฒนา
ร้อยละ 00.00 – 49.99 = ปานกลาง
รอ้ ยละ 50.00 – 59.99 = ดี
ร้อยละ 60.00 – 74.99 = ดีเลิศ
รอ้ ยละ 75.00 – 89.99 = ยอดเย่ียม
รอ้ ยละ 90.00 – 100

23

กระบวนการพัฒนาที่สง่ ผลต่อระดบั คุณภาพของมาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพเด็ก

ตัวบ่งชี้ กระบวนการพฒั นาและผลการดำเนินงาน ระดับคุณภาพ
1.1มีพัฒนาการด้านร่างกาย ยอดเยย่ี ม
แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดีและ 1.สถานศึกษาได้กำหนดยุทธศาสตร์เพ่ือพัฒนาไว้ในเอกสารแผนพัฒนา
ดู แ ล ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง คุณภาพการจัดการศึกษาระยะ3 ปี (พ.ศ. 2562-2564 ) พันธกิจที่ 4
ต น เองได้ เด็ ก มี น้ ำห นั ก พัฒนาคุณภาพของเด็กด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา
ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน เป้าหมายที่ 5 เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรงมีสุขนิสัยท่ีดีและดูแล
เค ลื่ อ น ไ ห ว ร่ า ง ก า ย ความปลอดภัยของตนเองได้ โดยมีตัวชี้วัดความสำเร็จเพื่อ 5.1.เด็กมี
คล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใช้ น้ำหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 5.2.เด็กมีทักษะการ
มือและตาประสานสัมพันธ์ เคลื่อนไหวตามวัย 5.3. เด็กมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตนและ
ได้ ดี ดูแล รัก ษ าสุข ภ าพ ปฏิบัติจนเป็นนิสัย 5.4 หลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรคส่ิงเสพติดระวัง
อนามัยส่วนตนและปฏิบัติ ภัยจากคนส่ิงแวดล้อมและอุบัติเหตุ โรงเรียนได้ส่งเสริมพัฒนาสุขนิสัยใน
จนเป็นนิสัย ปฏิบัติตนตาม การดูแลสุขภาพของเด็ก เช่น การล้างมือก่อนรับประทานอาหารและหลัง
ข้อตกลง เกี่ยวกับความ เข้าห้องน้ำให้สม่ำเสมอ การแปรงฟันอย่างถูกวิธี และการรับประทาน
ปลอดภัย หลีกเลี่ยงสภาวะ อาหารที่มีประโยชน์ครูผู้สอน/ครูประจำช้ัน ดูแลและให้การแนะนำอย่าง
ที่เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติด ใกล้ชิดในการดูแลให้มีสุขนิสัยที่ดีและดูแลความปลอดภัยของตนเองได้
แ ล ะ ร ะ วั ง ภั ย จ า ก บุ ค ค ล และการสง่ เสรมิ การใชท้ ักษะในชวี ติ ประจำวันฝึกความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง
ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ และผู้อืน่ สง่ เสริมใหเ้ ดก็ มีสุขภาพตามวัย มีการตรวจสุภาพ มีการบันทกึ
สถานการณ์ทเ่ี สีย่ งอันตราย การช่ังน้ำหนัก วัดส่วนสูง การทดสอบสมรรถภาพทางกายเด็กมีน้ำหนัก
ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน เดก็ สว่ นใหญ่มีนำ้ หนัก สว่ นสูง ตามเกณฑ์ ของ
กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุขดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนและ
ปฏิบัติจนเป็นนิสัย ปฏิบัติตนตามข้อตกลง เก่ียวกับความปลอดภัย
หลีกเลี่ยงสภาวะที่เส่ียงต่อโรค ส่ิงเสพติดและระวังภัยจากบุคคล
ส่ิงแวดล้อม และสถานการณท์ ่เี ส่ยี งอันตรายได้ ร้อยละ 96.54

1.2 มี พั ฒ น า ก า ร ด้ า น 1.สถานศึกษาได้กำหนดยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาไว้ในเอกสารแผนพัฒนา ยอดเยีย่ ม

อารมณ์ จิตใจ ควบคุมและ คุณภาพการจัดการศึกษาระยะ 3ปี (พ.ศ. 2562-2564) พันธกิจข้อท่ี 4

แสดงออกทางอารมณ์ได้ พัฒนาคุณภาพของเด็กด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา
เด็กร่าเริงแจ่มใส แสดง เป้าหมายท่ี 6 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออก
อ า ร ม ณ์ ค ว า ม รู้ สึ ก ได้ ทางอารมณ์ได้โดยมีตัวช้ีวัดความสำเร็จเพื่อ 6.1. เด็กร่าเริงแจ่มใส มี
เหมาะสม รู้จักยับย้ังช่ังใจ ความรสู้ กึ ที่ดีต่อตนเอง 6.2 เด็กควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกบั วัย
อ ด ท น ใน ก า ร ร อ ค อ ย 6.3. เด็กมีความม่ันใจและกล้าแสดงออก 6.4. เด็กช่วยเหลือ 6.5. เด็ก
ช่ืนชมและเข้าร่วมกิจกรรมศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว แบ่งปัน มี
ย อ ม รั บ แ ล ะ พ อ ใ จ ใ น ความซ่อื สัตย์สจุ ริต และมีคุณธรรม จริยธรรม
ความสามารถและผลงาน

ของต น เองแล ะผู้ อื่ น มี 1.โรงเรียนได้มีการดำเนินการส่งเสริมการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ให้เด็กมี

จิตสำนึกและค่านิยมที่ดี มี ความร่าเริงแจ่มใสแสดงอารมณ์ความรู้สึกได้เหมาะสมรู้จักยับยั้งช่ังใจ

ความมั่นใจ กล้าพูด กล้า อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในความสามารถและผลงานของ

แ ส ด ง อ อ ก ช่ ว ย เห ลื อ ตนเองและผู้อ่นื มจี ิตสำนึกและคา่ นิยมที่ดี มีความรู้สึกท่ีดีต่อตนเอง ม่ันใจ

24

ตัวบ่งชี้ กระบวนการพฒั นาและผลการดำเนนิ งาน ระดับคณุ ภาพ

แบ่งปัน เคารพสิทธิ รหู้ น้าท่ี กล้า แสดงออก ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย รู้จกั ช่ืนชมศิลปะ

รับผิดชอบ อดทนอดกล้ัน ดนตรี การเคล่ือนไหว และรักธรรมชาติ เด็กส่วนใหญ่ร่าเริงแจ่มใส มีความ

ซ่ือสัตย์สุจริต มีคุณธรรม ม่นั ใจและกลา้ แสดงออกเหมาะสมตามวยั

จริยธรรมตามที่สถานศึกษา 2. โรงเรียนได้ดำเนินการจัดกิจกรรมประจำวันและกิจกรรมเสริมหลักสูตร

ก ำ ห น ด ชื่ น ช ม แ ล ะ มี เพื่อท่ีส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กส่วนใหญ่มเี ดก็ ไดม้ ีความม่ันใจ กลา้ พูด กล้า

ความสุขกับศิลปะ ดนตรี แสดงออก ช่วยเหลอื แบ่งปัน เคารพสิทธิ รหู้ น้าที่รับผิดชอบ อดทนอดกล้ัน

และการเคล่อื นไหว ซ่ือสัตย์สุจริต มีคุณธรรม จริยธรรม และช่วยเหลือแบ่งปันเพ่ือนท้ังใน-

นอกห้องเรียน และกิจกรรมต่างๆของโรงเรียนจัดให้

3. เด็กส่วนใหญ่สนใจซกั ถามในเรื่องตา่ งๆอย่างตง้ั ใจเหมาะสมตามวยั

4.เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ร่าเริงแจ่มใสมีความรู้สึกที่ดีต่อ

ตนเอง มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก เช่น กล้าพูดกล้าพูด กล้าทำ กล้า

แสดงออกควบคุมอารมณ์ตนเองได้สนใจและเข้ารว่ มกิจกรรมศิลปะ ดนตรี

การเคลอื่ นไหว และรักธรรมชาติ คิดเป็นได้ร้อยละ 95.63

1.3 มีพัฒนาการด้านสังคม สถานศึกษาได้กำหนดยุทธศาสตร์เพ่ือพัฒนาไว้ในเอกสารแผนพัฒนา ยอดเย่ียม

ช่วยเหลือตนเองและเป็น คุณภาพการจัดการศึกษาระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2562-2564) พันธกิจท่ี 4

สมาชิกที่ ดีของสังคมเด็ก พัฒนาคุณภาพของเด็กด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา

ชว่ ยเหลือตนเองในการปฏิบัติ เป้าหมายท่ี 7 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็น

กิจวัตรประจำวัน มีวินัยใน สมาชิกที่ดีของสังคมโดยมีตัวชี้วัดความสำเร็จเพ่ือ 7.1 เด็กรู้จักประหยัด

ตนเอง ประหยัดและพอเพียง และมีความพอเพียง 7.2 เดก็ ประพฤตติ นตามวัฒนาธรรมไทยและศาสนา

มี ส่ ว น ร่ ว ม ดู แ ล รั ก ษ า ท่ีตนเองนับถือ 7.3 เดก็ สามารถเล่นและทำงานรว่ มกับผูอ้ ื่นได้

ส่ิ งแ ว ด ล้ อ ม ใน แ ล ะ น อ ก โรงเรยี นได้มีการดำเนนิ การส่งเสรมิ การเรยี นรใู้ นรปู แบบตา่ งๆ ดังนี้

ห้องเรียน มีมารยาทตาม 1.เด็กช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน มีวินัยในตนเอง

วัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ ประหยัดและพอเพยี ง มีสว่ นร่วมดแู ลรกั ษาส่งิ แวดล้อมมคี วามเปน็ ผู้นำและ

การย้ิม ทักทาย และมีสัมมา ผู้ตาม ครูผู้สอน/ครูประจำช้ัน เปิดโอกาสในการให้เด็กได้เลือกหวั หน้าหรือ

คารวะกับผู้ใหญ่ เป็น ต้ น ในการกระตุ้นให้เด็กมีโอกาสเสนอตัวเองหรือเพื่อนในการปฏิบัติกิจกรรม

ยอมรับ หรือเคารพ ความ ตา่ งๆ

แตกต่างระหว่างบุคคล เช่น 2โรงเรียนได้ดำเนินการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริม สนับสนุนให้ มีมารยาทตาม

ความคิด พฤติกรรม พ้ืนฐาน วัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การยิ้ม ทักทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่

ครอบครัว เชื้อชาติ ศาสนา เป็นต้น ยอมรับหรือเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น ความคิด

วัฒนธรรม เป็นต้น เล่นและ พฤตกิ รรม พน้ื ฐานครอบครวั เชอ้ื ชาติ ศาสนา วฒั นธรรม เปน็ ต้น เลน่ และ

ทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้ แก้ไข ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ แก้ไขข้อขัดแย้งโดยปราศจากการใช้ความรุนแรง

ข้อขัดแย้งโดยปราศจากการ รอ้ ยละ 95.63

ใชค้ วามรนุ แรง

1.4 มี พั ฒ น า ก า ร ด้ า น สถานศึกษาได้กำหนดยุทธศาสตร์เพ่ือพัฒนาไว้ในเอกสารแผนพัฒนา ยอดเยี่ยม

สติปั ญ ญ า สื่อสารได้ มี คุณภาพการจัดการศึกษาระยะ 3ปี (พ.ศ. 2562-2564) พันธกิจที่ 4

25

ตวั บ่งช้ี กระบวนการพฒั นาและผลการดำเนนิ งาน ระดบั คุณภาพ

ทักษะการคิดพื้นฐานและ พัฒนาคุณภาพของเด็กด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา

แสวงหาความรไู้ ด้ เป้าหมายที่ 8 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิด

เด็กสนทนาโต้ตอบและเล่า พ้ืนฐาน และแสวงหาความรู้ได้โดยมีตัวช้ีวัดความสำเร็จเพื่อ 8.1 เด็ก

เร่ื อ ง ให้ ผู้ อื่ น เข้ า ใจ ตั้ ง สนใจเรียนรู้ส่ิงรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้ 8.2 มี

คำถามในสิ่งท่ีตนเองสนใจ ความคิดรวบยอดเกยี่ วกับสิ่งตา่ งๆ ทีเ่ กิดจากประสบการณ์ การเรียนรู้

หรือสงสัยและพยายาม 8.3 มีทักษะทางภาษาท่ีเหมาะสมกับวัย 8.4. เด็กมีทกั ษะกระบวนการทาง

ค้นหาคำตอบ อ่านนิทาน วทิ ยาศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ 8.5 มจี ินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์

และเล่าเร่ืองที่ตนเองอ่านได้ 1.โรงเรียนได้ดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล

เห ม า ะ ส ม กั บ วั ย มี ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การคดิ แกป้ ญั หาและสามารถตัดสินใจใน

ความสามารถในการคิดรวบ เร่ืองง่ายๆ ได้ สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ เช่น งาน

ยอด การคิดเชิงเหตุผลทาง ศิลปะ การเคล่ือนไหวท่าทาง การเล่นอิสระ เป็นต้น และใช้ส่ือเทคโนโลยี

ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เช่น แวน่ ขยาย แม่เหล็ก กล้องดิจิตอล เป็นต้น เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้

วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ก า ร คิ ด และแสวงหาความรู้ได้

แ ก้ ปั ญ ห าแ ล ะ ส าม ารถ 2.โรงเรียนได้ดำเนินการพัฒนาในรูปของโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริมให้

ตัดสินใจในเร่ืองง่ายๆ ได้ ผู้เรียนได้มีพัฒนาการทางด้านสติปัญญา ดังน้ี แผนการจัดประสบการณ์

ส ร้างส รรค์ ผ ล งาน ต าม การเรียนรู้งานการจัดประสบการณ์เรียนร,ู้ กิจกรรมประจำวันและกิจกรรม

ความคิดและจินตนาการ เสริมหลักสูตร, กิจกรรมห้องสมุดของเล่น, กิจกรรมห้ องทักษะ

เช่ น ง า น ศิ ล ป ะ ก า ร กระบวนการคิด กิจกรรมจดั มุมอ่านหนังสือ/หนังสือพิมพ์/นิตยสารภายใน

เคลื่อนไหวท่าทาง การเล่น อาคาร, ห้องเรยี นพหุปญั ญา ส่งเสริมการเรียนรู้กฎจราจร สนามฝึกขับรถ

อิสระ เป็นต้น และใช้สื่อ สำหรับเด็กปฐมวัย 1-3 กิจกรรมส่งเสริมเด็กประกวดภายใน/ภายนอก

เทคโนโลยี เช่น แว่นขยาย กิจกรรมวันรับวุฒิบัตรกิจกรรมส่งเสริมหนูน้อยคอมพิวเตอร์ และผลการ

แม่เหล็ก กล้องดิจิตอล เป็น ประเมินนักเรียนตามมาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย พ.ศ.2560 โครงการ

ต้น เป็นเคร่ืองมือในการ จัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อทำให้เด็กได้รับการพัฒนา

เรียนรู้และแสวงหาความรู้ ด้านสติปัญญาด้วยกระบวนการท่ีหลากหลาย

ได้ 3. มีการสรุปความคิดรวบยอดเก่ียวกับส่ิงต่างๆท่ีเกิดจากประสบการณ์

เรียนรู้ของเด็กมีการพัฒนาส่งเสริมท่ีชัดเจนมากขึ้น ครูผู้สอน/ครูประจำช้ัน

ได้กระตุ้นซักถามและจัดกิจกรรมให้เด็กได้มีโอกาสสรุปมากข้ึนในการจัด

กิจกรรมท้งั 6 กิจกรรมมผี ลการประเมนิ ดา้ นสตปิ ญั ญาคิดเป็นร้อยละ 96.17

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ การปฏิบตั ิงาน *** 26
คา่ เปา้ หมาย
ประเด็นพจิ ารณา ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏบิ ัติ ผลการประเมิน
83 คณุ ภาพทไ่ี ด้
1 มหี ลกั สูตรครอบคลุมพฒั นาการทง้ั สีด่ า้ น สอดคล้องกับ - ยอดเยีย่ ม
บริบทของทอ้ งถิน่ - 83
1.1 มีหลักสตู รสถานศึกษาทย่ี ืดหยุ่น และสอดคลอ้ งกบั - ยอดเยีย่ ม
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย - 83
1.2 ออกแบบจัดประสบการณ์ทเี่ ตรียมความพร้อมและไม่ ยอดเยย่ี ม
เร่งรัดวิชาการ -
1.3 ออกแบบการจัดประสบการณท์ ่ีเนน้ การเรยี นรผู้ า่ นการ
เล่น และการลงมือปฏิบัติ (Active learning) -
1.4 ออกแบบการจัดประสบการณท์ ต่ี อบสนองความ
ต้องการและความแตกตา่ งของเดก็ ปกติและกลุ่มเป้าหมาย
เฉพาะทส่ี อดคลอ้ งกบั วถิ ชี ีวิตของครอบครวั ชมุ ชนและ
ทอ้ งถิ่น
1.5 มกี ารประเมิน ตรวจสอบ และปรบั ปรุง / พฒั นา
หลักสตู รอยา่ งตอ่ เนื่อง

2 จัดครใู ห้เพียงพอกบั ชน้ั เรยี น
2.1 จดั ครคู รบช้นั เรยี น

2.2 จดั ครใู หม้ คี วามเหมาะสมกับภารกิจการจัดประสบการณ์  -

2.3 จดั ครไู มจ่ บการศึกษาปฐมวัยแต่ผ่านการอบรม -
การศึกษาปฐมวยั -
2.4 จดั ครจู บการศกึ ษาปฐมวัย

2.5 จัดครูจบการศกึ ษาปฐมวัยและผ่านการอบรม  -
การศกึ ษาปฐมวยั
3 สง่ เสรมิ ใหค้ รมู คี วามเช่ยี วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์  -
3.1 มกี ารพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรคู้ วามสามารถ  -
ในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสตู รสถานศกึ ษา  -
3.2 สง่ เสริมครูใหม้ ที กั ษะในการจดั ประสบการณแ์ ละการ
ประเมนิ พัฒนาการเด็ก  -
3.3 ส่งเสรมิ ครูใชป้ ระสบการณ์สำคญั ในการออกแบบการ
จัดกิจกรรม จัดกจิ กรรม สงั เกตและประเมินพัฒนาการเด็ก
เป็นรายบคุ คล
3.4 สง่ เสริมให้ครมู ปี ฏิสมั พนั ธ์ทด่ี กี บั เด็กและครอบครัว

3.5 ส่งเสริมใหค้ รูพฒั นาการจดั ประสบการณ์โดยใช้ชมุ ชน  -
แหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC)

ประเดน็ พจิ ารณา การปฏบิ ัติงาน *** 27
คา่ เป้าหมาย
4 จดั สภาพแวดลอ้ มและสื่อเพอื่ การเรียนรู้อย่างปลอดภยั ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏบิ ัติ ผลการประเมิน
และเพยี งพอ 83 คุณภาพทีไ่ ด้
4.1 จัดสภาพแวดลอ้ มภายในห้องเรยี นท่ีคำนงึ ถึงความ - ยอดเยย่ี ม
ปลอดภยั - 83
4.2 จัดสภาพแวดล้อมภายนอกหอ้ งเรียนทค่ี ำนึงถึงความ - ยอดเยี่ยม
ปลอดภยั - 83
4.3 ส่งเสริมใหเ้ กิดการเรียนรทู้ ี่เปน็ รายบคุ คลและกลมุ่ เลน่ ยอดเยยี่ ม
แบบรว่ มมอื ร่วมใจ -
4.4 จัดให้มมี ุมประสบการณ์หลากหลาย มสี อ่ื การเรียนรู้ ท่ี
ปลอดภยั และเพียงพอ เชน่ ของเลน่ หนงั สือนทิ าน ส่อื จาก -
ธรรมชาติ สือ่ สำหรับเดก็ มุดลอด ปนี ป่าย สือ่ เทคโนโลยกี าร -
สบื เสาะหาความรู้ -
4.5 จดั หอ้ งประกอบทเ่ี อ้ือต่อการจัดประสบการณแ์ ละ
พฒั นาเด็ก

5 ใหบ้ รกิ ารสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรยี นรเู้ พอื่
สนบั สนุนการจัดประสบการณ์
5.1 อำนวยความสะดวกและให้บรกิ ารส่อื เทคโนโลยี
สารสนเทศ วัสดุ อุปกรณ์และสื่อการเรยี นรู้
5.2 พัฒนาครูใหม้ คี วามรู้ความสามารถในการผลติ และใช้
สื่อในการจัดประสบการณ์
5.3 มีการนเิ ทศติดตามการใช้ส่ือในการจัดประสบการณ์

5.4 มกี ารนำผลการนเิ ทศติดตามการใชส้ อื่ มาใช้เปน็ ข้อมูล  -
ในการพฒั นา  -
5.5 สง่ เสริม สนับสนุนการเผยแพร่การพฒั นาส่อื และ
นวัตกรรมเพือ่ การจดั ประสบการณ์  -
6 มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพที่เปิดโอกาสใหผ้ ู้เกยี่ วข้องทกุ ฝ่ายมี  -
สว่ นร่วม  -
6.1 กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ี
สอดคล้องกับมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัยและอตั ลักษณข์ อง
สถานศกึ ษา
6.2 จดั ทำแผนพัฒนาการศึกษาทส่ี อดรับกบั มาตรฐานท่ี
สถานศกึ ษากำหนดและดำเนนิ การตามแผน
6.3 มีการประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพภายใน
สถานศึกษา

28

ประเด็นพจิ ารณา การปฏิบตั งิ าน *** ผลการประเมิน
ค่าเป้าหมาย คุณภาพที่ได้
ปฏิบตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิ
5 ยอดเยี่ยม
6.4 มกี ารตดิ ตามผลการดำเนินงาน และจัดทำรายงานผล  -

การประเมินตนเองประจำปี และรายงานผลการประเมิน

ตนเอง ใหห้ นว่ ยงานตน้ สงั กัด

6.5 นำผลการประเมนิ ไปปรับปรุงและพัฒนาคณุ ภาพ -

สถานศึกษา โดยผปู้ กครองและผเู้ กย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมีส่วน

รว่ ม

สรุปผลการประเมิน = ผลรวมคา่ เปา้ หมายทุกประเด็นพิจารณา

จำนวนประเดน็ พจิ ารณา

หมายเหตุ กรอกขอ้ มลู เฉพาะแถบสขี าว
*** ค่าเปา้ หมาย = จำนวนขอ้ การปฏบิ ัติในแตล่ ะประเดน็ พจิ ารณา

แปลผลการประเมินคณุ ภาพทไ่ี ด้ คา่ เฉลีย่ ผลการประเมนิ คณุ ภาพทไ่ี ด้
ปฏิบัติ 1 ขอ้ ได้ระดบั คณุ ภาพ กำลังพัฒนา 1.00 – 1.49 ระดบั คณุ ภาพ กำลังพัฒนา
ปฏบิ ตั ิ 2 ขอ้ ไดร้ ะดับคุณภาพ ปานกลาง 1.50 – 2.49 ระดบั คณุ ภาพ ปานกลาง
ปฏิบตั ิ 3 ขอ้ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ดี 2.50 – 3.49 ระดับคณุ ภาพ ดี
ปฏิบัติ 4 ขอ้ ได้ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลิศ 3.50 – 4.49 ระดับคณุ ภาพ ดเี ลิศ
ปฏิบตั ิ 5 ข้อ ได้ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 4.50 – 5.00 ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม

29

กระบวนการพัฒนาท่สี ่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

ตัวบ่งชี้ กระบวนการพฒั นาและผลการดำเนินงาน ระดบั คุณภาพ
ยอดเย่ยี ม
2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการ โรงเรียนมกี ารจัดทำหลกั สตู รโดยจดั ให้มกี ารวิเคราะห์หลกั สตู ร
ยอดเยย่ี ม
ทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของ มหี ลกั สูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาและนำสู่การปฏิบัติ

ทอ้ งถ่ิน ได้อย่างมีประสิทธิภาพครอบคลุมพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน

สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่ สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่นมีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนร่วม

ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตร ทกุ ฝ่ายตระหนกั และเข้าใจการจดั การศกึ ษาปฐมวยั

การศึกษาปฐมวัย โดยสถานศึกษา -สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรอย่างมีระบบ วิเคราะห์

ออกแบบการจัดประสบการณ์ ท่ี หลกั สูตรและมกี ารวางแผนพัฒนาหลักสูตร ดำเนินการ ตดิ ตาม

เตรียมความพร้อมและไม่เร่งรัด และประเมินผลการใช้หลักสูตร นำผลประเมินมาปรับปรุงและ

วิชาการ เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่น พัฒนา จนได้หลักสูตรสถานศึกษา ที่มีคุณภาพมีความยืดหยุ่น

และการลงมือปฏิบัติ ตอบสนองความ เหมาะสมกับสภาพทอ้ งถ่นิ

ต้องการและความแตกต่างของเด็ก -ครูมีความรู้ความเข้าใจในเรอ่ื งของการจัดทำหลักสูตร มหี ลกั สูตร

ปกติและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ และ ฉบับครูผู้สอนในระดับชั้นท่ีตนเองรับผิดชอบและมีการพัฒนา

สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว อย่างต่อเน่ือง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรม

ชมุ ชนและท้องถน่ิ เสริมหลักสูตร เพ่ือเสริมสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจ

หลักการจัดการศึกษาปฐมวัยการจัดประสบการณ์การเตรียม

ความพร้อม เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติ

ตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของเด็กมีการสร้าง

การมีส่วนร่วมและแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน

และท้องถน่ิ

2.2 จัดครใู หเ้ พยี งพอกบั ชน้ั เรยี น สถานศึกษาได้กำหนดยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาไว้ในเอกสาร

สถานศึกษาจัดครูให้เหมาะสมกับ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาระยะ3ปี (พ.ศ.2562-

ภารกิจการเรียนการสอนหรือจัดครูที่ 2564) พันธกิจข้อที่ 5 พัฒนากระบวนการและการจัดการให้มี

จบการศึกษาปฐมวัยหรือผ่านการ ประสิทธภิ าพและเกดิ ประสิทธิผล เป้าหมายที่ 10 ครูมีเพียงพอ

อบรมการศึกษาปฐมวัยอย่างพอเพียง กับช้ันเรียนละมีความเชี่ ยวชาญ การจัดประสบ การณ์

กบั ชนั้ เรยี น วัตถปุ ระสงค์เพอ่ื 10.1 ครูมีวุฒิและความรคู้ วามสามารถในด้าน

การศึกษาปฐมวัย 10.2 ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคคลากร

ให้มีประสิทธิภาพสถานศึกษาได้จัดครูให้เพียงพอกับช้ันเรียน

โดยครทู ุกคนมีวุฒิทางการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษา

ข้ึนไปหรือได้รับการพัฒนา/อบรมไม่น้อยกว่า20ชั่วโมงต่อปี)

มีความรู้ความสามารถในการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็น

สำคัญและมคี รทู ี่เพยี งพอกบั ชั้นเรียนโดย

-คร1ู 00%มีวุฒิปริญญาตรีและมีวุฒิตรงตามระดับ/สาขาที่สอน

หรือมีประสบการณไ์ ม่นอ้ ยกว่า2ปี

-ในปีการศึกษา 2564 โรงเรียน มีสัดส่วนครูที่เหมาะสมกับ

จำนวนของเดก็

ตวั บง่ ช้ี กระบวนการพฒั นาและผลการดำเนินงาน 30

ระดบั คณุ ภาพ

2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญ สถานศึกษาได้กำหนดยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาไว้ในเอกสาร ยอดเยยี่ ม
ยอดเยี่ยม
ดา้ นการจัดประสบการณ์ แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาระยะ3ปี(พ.ศ.2562-2564)

พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ พันธกิจข้อท่ี5 พัฒนากระบวนการและการจัดการให้มี

ความสามารถในการวิเคราะห์และ ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล เป้าหมายที่10 ครูมีเพียงพอ

ออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา มี กบั ช้นั เรียนและมคี วามเช่ียวชาญการจดั ประสบการณ์

ทักษะในการจัดประสบการณ์และการ -ครูทุกคนได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถมีทักษะและ

ป ร ะ เมิ น พั ฒ น า ก า ร เ ด็ ก ใ ช้ เทคนคิ ในการจดั ประสบการณ์อยา่ งตอ่ เน่อื ง

ประสบการณ์สำคัญในการออกแบบ -ครูปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐานด้วยความมุ่งมั่น ทุ่มเทการสอน

การจัดกิจกรรม มีการสังเกตและ อย่างเต็มเวลาและเต็มความสามารถ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี

ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล คุณภาพ บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร มีความเข้าใจปรัชญา

มีปฏิสัมพันธท์ ่ดี ีกับเดก็ และครอบครัว หลักการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย จัดทำ

แผนการจัดประสบการณ์ ท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา

ปฐมวัย การเรียนการสอน การจัดทำ google site บริหาร

จัดการชั้นเรียนท่ีสร้างวินัยเชิงบวก ใช้สื่อและเทคโนโลยี

สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก ใช้เครื่องมือการวัดและ

ประเมินพัฒนาการอย่างหลากหลาย มีการวิจัย เพ่ือพัฒนาการ

การเรียนรู้ พร้อมกับจัดสิ่งแวดล้อมให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ มี

ปฏิสัมพันธ์ที่ดี มีวุฒิและความรู้ความสามารถในด้านการจัด

การศึกษาปฐมวัย ตลอดจนสามารถ จัดทำสารนิทัศน์ เพ่ือใช้

ประโยชน์การพัฒนาเดก็

2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและสื่อเพื่อการ -โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อม ภายในและ ภายนอก

เรยี นรูอ้ ยา่ งปลอดภัยและเพียงพอ ห้องเรียน โดยคำนึงถึง ความปลอดภัย ส่งเสริมให้เกิดการ

สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมภายใน เรียนรู้เป็นรายบุคคล และกลุ่ม ดัง รายละเอียดต่อไปนี้ งาน

และภายนอกห้องเรียนท่ีคำนึงถึง อาคารสถานที่กำหนดมาตรการความปลอดภัย เช่น การเฝ้า

ความปลอดภัย ส่งเสริมให้เกิดการ ระวังโรคท่ีมาจากยุงเป็นพาหนะ การกำหนดการทำความ

เรียนรู้เป็นรายบุคคลและกลุ่ม เล่น สะอาด เคร่ืองปรับอากาศในห้องเรยี น รวมทั้งจัดบรรยากาศใน

แบบร่วมมือร่วมใจ มมี มุ ประสบการณ์ ช้ันเรียนที่ มีแสงสว่างเพียงพออุปกรณ์การเล่น เพียงพอกับ

หลากหลาย มีส่อื การเรียนรู้ เช่น ของ จำนวนผู้เรียน การจัด ให้มีอุปกรณ์ความปลอดภัยบริเวณ

เล่น หนังสือนิทาน ส่ือจากธรรมชาติ อาคารเรียน เชน่ แผน่ กันลื่น ถงั ดับเพลงิ ป้ายสัญญาลักษณ์เดิน

ส่ือสำหรับเด็กมุด ลอด ปีนป่าย สื่อ ขึ้น-ลงบันได รวมทั้ง การจัดครูเวรประจำวันบริเวณจุด รับ-ส่ง

เทคโนโลยี ส่ือเพื่อการสืบเสาะหา ในช่วงเช้าและเย็น บันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วง การปฏิบัติ

ความรู้ หน้าท่ีเวรประจำวัน จัดแหล่งการเรียนรู้ภายในและ ภายนอก

บริเวณห้องเรียนเพื่ออำนวยความสะดวกในการสืบค้น ข้อมูลที่

หลากหลายให้กับเด็ก เช่นการจัดมุมประสบการณ์ ภายใน

ห้องเรียนท่ีส่งเสริม พัฒนาการท้ัง 4 ด้าน ห้องแหล่งการเรียนรู้

ห้องฝึกกระบวนการคิดทางวิทยาศาสตร์ ห้องพหุปัญญา

31

ตัวบ่งช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดับคณุ ภาพ
ยอดเย่ยี ม
ห้องดนตรี ห้องCooking การฝึกฝนวินัยจราจร เรียนรู้ทักษะ
ยอดเย่ียม
การใช้ชวี ติ การจัดป้ายนิเทศตามหนว่ ยการเรยี น วนั สำคญั ตา่ ง

ๆ เหตุการณ์สำคัญ (เหตุการณ์มลพิษทางการอากาศ) รวมทั้ง

การจดั กจิ กรรมทัศนศกึ ษา เพอ่ื สง่ เสริมการเรียนรูแ้ ก่เดก็ ครูมี

การจัดสภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกห้องเรียนเพ่ือให้

เด็กเกิดการเรียนรู้และมีความปลอดภัยครไู ด้ส่งเสริมให้เกิดการ

เรียนรู้เป็นรายบุคคลและกลุ่ม มีมุมประสบการณ์ 4-6 มุมใน

ห้องเรียน มีส่ือการเรียนรู้ เช่น ของเล่น หนังสือนิทาน ส่ือจาก

ธรรมชาติ ส่ือสำหรับเด็ก ส่ือเทคโนโลยี ส่ือเพ่ือการสืบเสาะหา

ความรู้ทห่ี ลากหลาย

2.5 ให้ บ ริ ก า ร ส่ื อ เท ค โ น โ ล ยี โรงเรียนมีการให้บริการเทคโนโลยี สารสนเทศทุกรูปแบบที่เอ้ือ

สารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อ ต่อการเรยี นดว้ ยตนเองและการเรียนรูแ้ บบมีส่วนรว่ ม

สนับสนนุ การจดั ประสบการณ์ -มีห้องเรียน ห้องสมุดของเล่น ห้องฝึกปฏิบัติการต่างๆ สนาม

สถานศึกษาอำนวยความสะดวก และ เด็กเล่น พ้ืนท่ีสีเขียวและส่ิงอำนวยความสะดวกเพียงพอและ

ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อยู่ในสภาพใชก้ ารไดด้ ี

วัสดุ และอุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนการ -มีการจัดและใช้แหล่งเรียนรู้ท้ังภายในและภายนอก-มีห้องสื่อ

จัดประสบการณ์และพฒั นาครู เทคโนโลยีทางการศึกษา มีเคร่ืองฉายมีโปรเจคเตอร์ทุก

หอ้ งเรียน

-มสี ่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรยี นรู้เพ่ือสนับสนุนการ

จัดประสบการณ์

-มีหอ้ งเรียนไอแพค ใหเ้ ด็กไดใ้ ช้เรียนครบทุกคน

-มีหอ้ งเรียนส่งเสรมิ พหปุ ัญญา -มีหอ้ งเรียนดนตรี

-มีห้องเรียนCooking -ห้องเรียนฝึกกระบวนการคิดทาง

วทิ ยาศาสตร์

-สนามฝึกขับรถ ส่งเสริมการเรียนรู้กฎจราจร สำหรับเด็ก

ปฐมวยั 1-3

-มีการนำความรู้และเทคโนโลยีท่ีมีในท้องถ่ินมาเป็นสื่อในการ

เรียนรู้ ครูไดด้ ำเนนิ การจดั การจดั ทำ google site

2.6 มีระบบบริหารคุณ ภาพที่เปิด -โรงเรียนดำเนินนโยบายในการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม

โอกาสใหผ้ ูเ้ ก่ียวขอ้ งทุกฝ่ายมสี ่วนร่วม เปิดโอกาสในทุกภาค ส่วนที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้แสดงความ

ส ถ าน ศึ ก ษ าก ำห น ด ม า ต ร ฐ า น คิดเห็น ตัดสินใจในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สร้างความ

การศกึ ษาของสถานศึกษาท่ีสอดคล้อง ตระหนักใน บทบาทหน้าที่ของตน และมีโครงการส่งเสริม

กับ ม าต รฐาน การศึ กษ าป ฐม วัย สนับสนุนคือประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาฯ ประชุม

และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด ผู้ปกครองประจำปี ฯลฯ ทำให้สถานศึกษามีความพร้อมและ

จัดทำแผนพัฒ นาการศึกษาของ เข้มแข็งในการบริหารจัดการศึกษาสามารถ ยกระดับคุณภาพ

สถานศึกษาที่สอดรับกับมาตรฐานท่ี การศกึ ษาและธรรมาภบิ าล

สถานศึกษากำหนดและดำเนินการ -เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและชุมชนร่วมแสดงความเห็นและ

ตามแผน มีการประเมินผลและ ข้อเสนอแนะในการพฒั นาสถานศกึ ษา

32

ตวั บง่ ชี้ กระบวนการพฒั นาและผลการดำเนนิ งาน ระดบั คุณภาพ

ตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา -เปิดโอกาสให้ผู้เกีย่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายมีสว่ นร่วม

ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำ สถานศึกษากำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ี

ราย งาน ผ ล ก ารป ระ เมิ น ต น เอ ง สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ท่ี

ป ระจำปี น ำผ ล การป ระเมิ น ไป สถานศึกษากำหนดจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา

ป รั บ ป รุ ง แ ล ะ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ทีส่ อดรับกับมาตรฐานท่ีสถานศึกษากำหนดและดำเนนิ การตาม

สถานศึกษา โดยผู้ป กครองและ แผน

ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและ - มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา

จัดส่งรายงานผลการประเมิน ตนเอง ด้วยคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนและมี

ให้หน่วยงานตน้ สังกดั ภายนอกมาร่วมประเมินจากมูลนิธิฯ ติดตามผลการดำเนินงาน

และจดั ทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี

33

มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ ี่เนน้ เด็กเปน็ สำคญั

ประเด็นพจิ ารณา การปฏบิ ัตงิ าน เป้าหมาย จำนวน จำนวนครู *** ผลการ
(ร้อยละ) ครู ผา่ นเกณฑ์ที่ ผลการประเมนิ ประเมิน
1 จัดประสบการณ์ท่สี ง่ เสริมให้เด็กมี ปฏิบตั ิ ไม่ คุณภาพทไ่ี ด้
ปฏบิ ตั ิ 85 ทง้ั หมด โรงเรียน (รอ้ ยละ)
พฒั นาการทุกด้าน อยา่ งสมดุลเต็มศักยภาพ (คน) กำหนด(คน) ยอดเย่ยี ม
1.1 มกี ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู เดก็ เปน็ รายบคุ คล - 85 96.88
32 31 ยอดเย่ียม
- 96.88
32 31

1.2 จัดทำแผนและใชแ้ ผนการจัดประสบการณ์  - 85 32 31 96.88 ยอดเยี่ยม
จากการวิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพงึ  - 85 32 31 96.88 ยอดเย่ียม
ประสงคใ์ นหลักสตู รสถานศกึ ษา
 - 85 32 31 96.88 ยอดเย่ียม
1.3 จดั กิจกรรมที่ส่งเสรมิ พัฒนาการเดก็ ครบ  - 85 32 31 96.88 ยอดเย่ียม
ทุกดา้ น ทง้ั ด้านร่างกาย ดา้ นอารมณจ์ ติ ใจ  - 85 32 31 96.88 ยอดเยี่ยม
ด้านสังคม และด้านสตปิ ญั ญา โดย ไม่มงุ่ เนน้
การพฒั นาด้านใดดา้ นหนง่ึ เพยี งด้านเดียว  - 85 32 31 96.88 ยอดเย่ียม
 - 85 32 31 96.88 ยอดเย่ียม
2 สร้างโอกาสให้เด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เลน่  - 85 32 31 96.88 ยอดเย่ยี ม
 - 85 32 31 96.88 ยอดเยยี่ ม
และปฏิบัตอิ ย่างมีความสขุ

2.1 จัดประสบการณท์ ่เี ชื่อมโยงกบั
ประสบการณ์เดมิ
2.2 ใหเ้ ด็กมีโอกาสเลอื กทำกิจกรรมอยา่ ง
อิสระ ตามความต้องการความสนใจ
ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธีการเรยี นรู้ของ
เด็กเป็นรายบุคคล หลากหลายรปู แบบจาก
แหล่งเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย

2.3 เดก็ ได้เลอื กเล่น เรยี นรลู้ งมือ กระทำ และ
สรา้ งองคค์ วามรู้ด้วยตนเอง

3 จดั บรรยากาศทีเ่ อ้อื ตอ่ การเรียนรู้ ใช้ส่อื และ

เทคโนโลยที ี่เหมาะสมกบั วยั
3.1 จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมใน
ห้องเรียนไดส้ ะอาด ปลอดภัย และอากาศ
ถา่ ยเทสะดวก
3.2 จดั ใหม้ ีพืน้ ทีแ่ สดงผลงานเดก็ พืน้ ท่ีสำหรับ
มมุ ประสบการณ์และการจดั กจิ กรรม

3.3 จัดใหเ้ ด็กมีส่วนร่วมในการจัดภาพแวดล้อมใน  - 85 32 31 96.88 ยอดเยย่ี ม

หอ้ งเรยี น เช่น ปา้ ยนเิ ทศ การดูแลต้นไม้ เปน็ ตน้

3.4 ใช้ส่อื และเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกับช่วงอายุ  - 85 32 31 96.88 ยอดเย่ียม
ระยะความสนใจ และวถิ กี ารเรียนรขู้ องเด็ก เช่น
กล้องดิจติ อล คอมพิวเตอร์ สำหรับการเรียนรู้
กลมุ่ ยอ่ ย สื่อของเล่นท่ีกระตนุ้ ใหค้ ิดและหา
คำตอบ เป็นตน้

34

ประเดน็ พิจารณา การปฏบิ ตั งิ าน จำนวน จำนวนครู *** ผลการ
ปฏิบตั ิ ไม่ เปา้ หมาย ครู ผา่ นเกณฑท์ ี่ ผลการประเมนิ ประเมิน
(ร้อยละ) ท้ังหมด โรงเรียน คุณภาพท่ไี ด้
(รอ้ ยละ)
ปฏบิ ตั ิ (คน) กำหนด(คน) ยอดเยย่ี ม
96.88
4 ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริง  - 85 32 31 ยอดเย่ยี ม
96.88
และนำผลการประเมนิ พฒั นาการเด็กไป ยอดเยย่ี ม
96.88 ยอดเย่ยี ม
ปรับปรุงการจดั ประสบการณ์และ 96.88 ยอดเยี่ยม
96.88
พฒั นาเด็ก ยอดเย่ียม
96.88
4.1 ประเมนิ พัฒนาการเดก็ จากกจิ กรรมและ  - 85 32 31

กจิ วัตรประจำวันดว้ ยเคร่ืองมือและวิธกี ารที่

หลากหลาย

4.2 วิเคราะหผ์ ลการประเมนิ พฒั นาการเด็ก - 85 32 31
โดยผู้ปกครองและผู้เกยี่ วขอ้ งมีสว่ นร่วม

4.3 นำผลการประเมนิ ทไ่ี ด้ไปพัฒนาคณุ ภาพ  - 85 32 31

เด็กอย่างเปน็ ระบบและตอ่ เนอ่ื ง

4.4 นำผลการประเมนิ แลกเปลยี่ นเรียนร้โู ดยใช้  - 85 32 31

กระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชพี

สรุปผลการประเมิน = ผลรวมผลการประเมนิ ทุกประเดน็ พจิ ารณา

จำนวนประเดน็ พจิ ารณา

หมายเหตุ กรอกข้อมลู เฉพาะแถบสขี าว

วิธีคำนวณ

*** ผลการประเมิน (รอ้ ยละ) = 100 x จำนวนครูผา่ นเกณฑท์ โี่ รงเรียนกำหนด

จำนวนครูท้ังหมด

แปลผลการประเมนิ คุณภาพทไ่ี ด้

ร้อยละ 00.00 – 49.99 = กำลงั พัฒนา

ร้อยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง

ร้อยละ 60.00 – 74.99 = ดี

ร้อยละ 75.00 – 89.99 = ดเี ลศิ

ร้อยละ 90.00 – 100 = ยอดเย่ยี ม

35

กระบวนการพัฒนาทีส่ ง่ ผลต่อระดบั คุณภาพของมาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ี่เน้นเด็กเป็นสำคญั

ตัวบ่งช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดับคณุ ภาพ

3.1 จดั ประสบการณ์ทสี่ ง่ เสริมให้ โรงเรยี นได้กำหนดพันธกิจท่ีส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีพัฒนาการ ความรู้ ยอดเย่ียม

เด็กมีพฒั นาการทกุ ดา้ นอยา่ ง ความสามารถ เต็มศักยภาพ ตามหลักสูตรกำหนด โดยครูดำเนินการจัด

สมดลุ เต็มศักยภาพ กิจกรรมที่สามารถ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้าน ตามกระบวนการ

ครวู ิเคราะหข์ อ้ มลู เด็กเปน็ ตอ่ ไปนี้

รายบุคคล จดั ทำแผนการจดั 1.จัดกจิ กรรมให้ครูพัฒนาความรูข้ องตนเกยี่ วกบั การจัดการเรียนการสอน โดย

ประสบการณ์ จากการวเิ คราะห์ จดั การอบรม/สมั มนา สืบค้นนำแหล่งขอ้ มูลมาใช้ประกอบการจัดกระบวนการ

มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ เรียนการสอน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพ-ประสิทธิผลทางการเรียนการสอน อีก

ประสงคใ์ นหลกั สตู รสถานศึกษา ทั้งครูได้ผา่ นการอบรมในเร่ืองการจัดการเรยี นการสอนจัดทำ google site

โดยมีกจิ กรรมท่ีสง่ เสริม 2.ครวู ิเคราะห์เดก็ เปน็ รายบคุ คล และออกแบบกิจกรรมที่ เหมาะกับ

พัฒนาการเด็กครบทุกดา้ น ท้งั พัฒนาการของเดก็ และ สอดคลอ้ งกับมาตรฐานอนั พึง ประสงค์ของเดก็ ที่

ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ตอ้ งการ ครูมกี ระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ เด็กเป็นสำคญั สามารถ

ดา้ นสงั คม และด้านสติปญั ญา ไม่ กำหนด เปา้ หมายในการพฒั นาคณุ ภาพ ผู้เรยี นครอบคลุม ทั้งดา้ นความรู้

มงุ่ เนน้ การพฒั นาด้านใดดา้ นหน่ึง ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะ สำคัญ และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคท์ ี่

เพียงด้านเดยี ว สอดคลอ้ งของหลักสูตรสถานศึกษา ครูสามารถวเิ คราะห์ ผูเ้ รียนเปน็

รายบุคคล ใช้ข้อมูล จากการวเิ คราะหเ์ ดก็ มาใช้ในการ วางแผนจัดการเรยี นรู้

เพื่อพฒั นา ศักยภาพเด็กโดยคำนึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคล

3. ครูออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใชว้ ธิ ีสอน เทคนิคการสอนที่

หลากหลาย และจัดกิจกรรมการเรียนรตู้ าม-ครจู ดั ประสบการณ์ให้เด็กมี

พัฒนาการทุกด้านอย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ รู้จักเดก็ เป็นรายบุคคลและสรา้ ง

โอกาสให้เด็กทกุ คนไดร้ ับประสบการณต์ รง เลน่ และลงมือทำผ่านประสาท

สมั ผสั จัดบรรยากาศท่เี อื้อตอ่ การเรยี นรู้ ใช้สือ่ และเทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกับ

วยั มกี ารตดิ ตามและประเมินผลพฒั นาการเด็กอย่างเป็นระบบจดั กจิ กรรมท่ี

ส่งเสริมพฒั นาการเดก็ ครบทุกดา้ น ทง้ั ดา้ นร่างกาย ด้านอารมณ์ จติ ใจ ดา้ น

สงั คม และดา้ นสตปิ ญั ญา

3.2 สร้างโอกาสให้เดก็ ได้รับ โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรยี น การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีกระบวนการ ยอดเย่ยี ม

ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏิบตั ิ เรยี นการสอนทส่ี รา้ ง โอกาสให้ผเู้ รียนทุกคนมีส่วนร่วม โดยมกี ารจัดกิจกรรมท่ี

อยา่ งมีความสขุ ครูจดั ประสบการณ์ท่ี ส่งเสริมให้ เด็กได้รับประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับ วฒั นธรรม ประเพณีไทยอย่าง

เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม ใหเ้ ด็ก ชัดเจนและต่อเน่ือง ผ่านการลงมือ ปฏิบัติจริง ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ อย่าง

มโี อกาสเลอื กทำกจิ กรรมอย่างอิสระ เหมาะสมตามวัย การจัดการเรียนการสอนจัดทำ google site ครูจัด
ตามความต้องการ ความสนใจ ประสบการณ์ทเ่ี ช่ือมโยงกบั ประสบการณ์เดมิ ให้เด็กมีโอกาสเลือก ทำกิจกรรม
ความสามารถ ตอบสนองตอ่ วธิ กี าร อยา่ งอสิ ระ ตามความตอ้ งการ ความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองตอ่ วิธกี าร
เรียนรขู้ องเดก็ เปน็ รายบคุ คล
เรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล หลากหลายรูปแบบจากแหล่งเรียนรู้ท่ี
หลากหลายรูปแบบ จากแหลง่ เรียนรู้ หลากหลาย เด็กได้เลือกเล่นเรียนรู้ ลงมือ กระทำ และสร้างองค์ความรู้ด้วย
ทีห่ ลากหลาย เดก็ ไดเ้ ลอื กเลน่ ตนเอง
เรยี นรู้ ลงมอื กระทำ และสรา้ งองค์

ความรู้ด้วยตนเอง

36

ตัวบ่งช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนนิ งาน ระดบั คณุ ภาพ

3.3 จัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการ โรงเรียนส่งเสริมให้ครใู ช้สือ่ ท่ี เหมาะสมและสอดคลอ้ งกับ พัฒนาการของเด็ก ยอดเยี่ยม

เรียนรู้ ใช้ส่ือและเทคโนโลยีท่ี โดยได้จัดหา สอ่ื การเรียนการสอนทสี่ ง่ เสรมิ พัฒนาเด็กปฐมวยั ทั้งทางร่างกาย

เหมาะสมกบั วัย อารมณ์ จิตใจ สังคมและ สติปัญญา มีส่ือท้ังเป็นของจริงและ สื่อธรรมชาติ ท่ี

ครูจัดห้องเรียนให้สะอาด อากาศ อย่ใู กล้ตัวเดก็ โดยมี การจดั สภาพแวดลอ้ มใหเ้ อ้ือต่อการ เรยี นรู้ตามหนว่ ยการ

ถ่ายเท ปลอดภัย มีพื้นท่ีแสดงผล เรียนของเด็ก เช่น ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องสมุดของเล่นมีนิทาน การสนับสนุน

ง า น เด็ ก พื้ น ที่ ส ำ ห รั บ มุ ม ให้ครูมีศักยภาพ ด้านส่ือ เทคโนโลยี กล่าวคือส่งเสริมให้ ผู้เรียนมี

ประสบการณ์และการจัดกจิ กรรม ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่ือสาร(ICT)

เด็ ก มี ส่ ว น ร่ ว ม ใน ก า ร จั ด อินเตอร์เน็ต (Internet) และส่ือสังคม (Social Media) ในการเรียนรู้มี การ

สภาพแวดล้อมในห้องเรียน เช่น แลกเปลี่ยนเรียน รู้และเรียนรู้ร่วมกันและสามารถใช้เทคโนโลยี นำเสนอ

ป้ายนิเทศ การดูแลต้นไม้ เป็นต้น ผลงานอย่างสร้างสรรค์ จากการจัดกิจกรรมดังกล่าวส่งผล ให้ผู้เรียนเกิด

ค รู ใช้ ส่ื อ แ ล ะ เท ค โน โล ยี ท่ี กระบวนการเรียนรู้ พฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง และ เป็นบคุ คลแห่งการเรยี นรู้

เหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความ -ครูจัดห้องเรียนให้สะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพื้นท่ีแสดงผลงานเด็ก

สนใจ และวิถีการเรียนรู้ของเด็ก พ้ืนท่ีสำหรับมุมประสบการณ์และการจัดกิจกรรม เด็กมีส่วนร่วมในการจัด

เช่น กล้องดิจิตอล คอมพิวเตอร์ สภาพแวดล้อมในห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศการดูแลต้นไม้ เป็นต้น ครูใช้ส่ือ

สำหรับการเรียนรู้กลุ่มย่อย ส่ือ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกบั ช่วงอายุ ระยะความสนใจ และวิถีการเรยี นรขู้ อง

ของเล่นท่ีกระตุ้นให้คิดและหา เด็ก เช่น กล้องดิจิตอล คอมพิวเตอรส์ ำหรับการเรียนรู้กลุ่มย่อย สื่อของเล่นท่ี

คำตอบ เป็นตน้ กระตุ้นใหค้ ิด และหาตำตอบ เป็นต้น

3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตาม การประเมินพัฒนาการและการ เรียนรู้ของเด็กในระดับปฐมวัยเป็น ภารกิจ ยอดเยีย่ ม

สภาพจริงและนำผลการประเมิน สำคัญท่ีเกิดขึ้นควบคู่ไปกับ การจัดประสบการณ์เรียนรู้ ครูต้อง สามารถเก็บ

พัฒนาการของเดก็ ไปปรบั ปรงุ การ ร่องรอย หลักฐานการ เรียนรู้และ ดำเนินการประเมินอย่างเป็นระบบเพ่ือให้

จัดประสบการณ์และพฒั นาเด็ก ได้ผลการประเมิน ท่ีตรงตามความเป็นจรงิ ซึ่งครูมีการ จัดการในการประเมิน

ครูประเมินพัฒนาการเด็กจาก พัฒนาการ และการเรียนรู้ของเด็กอย่าง ต่อเน่ือง มีรูปแบบการประเมินที่

กิจกรรมและกิจวัตรประจำวัน เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบท ของโรงเรียน อีกท้ังยังเปิดโอกาสให้ เด็ก

ด้ วย เค รื่อ งมื อ แ ล ะ วิธีก าร ท่ี และผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมใน การประเมินผลงานของตนเองและ ของบุตร

หลากหลาย ไม่ใช้แบบทดสอบ หลาน ซ่ึงมีความ สอดคล้องกับแนวทางในการ ประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน

วิ เค ร า ะ ห์ ผ ล ก า ร ป ร ะ เมิ น การศึกษาระดับปฐมวยั

พัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครองและ -ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรม และกิจวตั รประจำวัน ด้วยเครื่องมือ

ผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมและนำผล และวิธีการที่หลากหลาย ไม่ใช้แบบทดสอบวิเคราะห์ผลการประเมิน

ก า ร ป ร ะ เมิ น ท่ี ได้ ไป พั ฒ น า พัฒนาการ เดก็ โดยผปู้ กครองและผเู้ กย่ี วข้องมีส่วนร่วม และนำผลการประเมิน

คุณ ภาพเด็กและแลกเป ลี่ยน ที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็ก และแลกเปล่ียนเรียนรู้การจัดประสบการณ์ที่มี

เรียนรู้การจัดประสบการณ์ท่ีมี ประสทิ ธภิ าพ

ประสิทธิภาพ -ครสู ามารถวิเคราะห์ผู้เรยี น เป็นรายบุคคล ใช้ข้อมูลจากการ วิเคราะหผ์ ู้เรยี น

มาใช้ในการ วางแผนจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ศักยภาพผู้เรียนโดยคำนึงถึง

ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล

2. สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา 37
ระดบั ปฐมวยั
ระดับคณุ ภาพ
มาตรฐานการศกึ ษา 95.83 ยอดเยยี่ ม
96.54 ยอดเย่ยี ม
มาตรฐานท่ี คณุ ภาพของเดก็ 95.63 ยอดเยี่ยม
1 1. มีพฒั นาด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มีสุขนิสยั ท่ีดี และดแู ลความปลอดภยั ของตนองได้ 95.63 ยอดเยี่ยม
2. มีพฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ 96.17 ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี 3. มพี ัฒนาการดา้ นสังคม ช่วยเหลอื ตนเองและเป็นสมาชิกทีด่ ีของสงั คม
2 4. มีพฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา สอื่ สารได้ มีทกั ษะการคิดพืน้ ฐาน และแสวงหา 5 ยอดเย่ยี ม
ความรไู้ ด้ 5 ยอดเยยี่ ม
มาตรฐานที่ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 5 ยอดเย่ียม
3 5 ยอดเยย่ี ม
1. มหี ลกั สตู รครอบคลมุ พฒั นาการทัง้ สี่ดา้ น สอดคลอ้ งกบั บริบทขอทอ้ งถน่ิ
5 ยอดเยย่ี ม
2. จัดครใู ห้เพียงพอกับชัน้ เรียน 5 ยอดเยย่ี ม

3. สง่ เสรมิ ให้ครมู คี วามเช่ียวชาญด้านการจดั ประสบการณ์ 5 ยอดเย่ียม
96.88 ยอดเยย่ี ม
4. จดั สภาพแวดล้อมและสื่อเพ่อื การเรยี นรอู้ ย่างปลอดภยั และเพยี งพอ 96.88 ยอดเยย่ี ม
5. ให้บรกิ ารสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรยี นรเู้ พ่อื สนบั สนนุ การจัด 96.88 ยอดเย่ียม
ประสบการณ์ 96.88 ยอดเยี่ยม
6. มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพท่เี ปดิ โอกาสให้ผู้เกยี่ วขอ้ งทุกฝ่ายมสี ่วนร่วม 96.88 ยอดเยี่ยม
การจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นเดก็ เปน็ สำคัญ
1. จดั ประสบการณท์ ส่ี ่งเสรมิ ให้เดก็ มีพัฒนาการทุกด้าน อยา่ งสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ ยอดเย่ียม
2. สร้างโอกาสใหเ้ ด็กได้รับประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ัติอย่างมีความสุข
3. จัดบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้ ใช้สอ่ื และเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกบั วยั
4. ประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมินพัฒนาการเดก็ ไป
ปรับปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเดก็

สรุปผลการประเมินคณุ ภาพ ระดบั ปฐมวัย

38

3. จุดเด่นระดับปฐมวยั
คุณภาพของเด็ก
1.เด็กมีสุขภาพอารมณแ์ ละจิตใจท่ีดี เด็กสว่ นใหญ่อารมณ์ดีรา่ เริงแจม่ ใส มคี วามมัน่ ใจ และกล้าแสดงออก
เหมาะสมตามวัยมีความซื่อสัตยแ์ ละช่วยเหลอื แบ่งปันทั้งในห้องเรยี นและกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน
2.เด็กมีสุขภาพกายท่ีแข้งแรง มีน้ำหนกั สว่ นสูงตามเกณฑ์ที่กำหนด
3.เด็กสว่ นใหญ่มคี วามสามารถพเิ ศษแววเดน่ ๆ ในแตล่ ะดา้ นท้ังในดา้ นทักษะตา่ งๆ เชน่ ทกั ษะทางภาษา ศลิ ปะ ดนตรี
กฬี า และสามารถสรา้ งผลงานดว้ ยจนิ ตนาการสรา้ งสรรค์
4. เด็กใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ค้นควา้ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับวัย
กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
1.ผบู้ ริหารมวี ิสัยทศั นท์ ่ีกวา้ งไกล มีภาวะผู้นำ มีการเนน้ ในการพัฒนาผู้เรยี นโดยใชห้ ลักการบรหิ ารแบบมี
สว่ นร่วม มคี วามตงั้ ใจ มุ่งม่ันในการพฒั นาสถานศึกษา และเป็นตัวอย่างที่ดีในการทำงาน
2.โรงเรยี นมกี ารบริหารและการจดั การอย่างเปน็ ระบบ มีการกระจายอำนาจอยา่ งทัว่ ถุงเนน้ การมีส่วนร่วมเพือ่ ใหท้ ุกฝา่ ย
ได้มสี ่วนร่วมในการพฒั นาสถานศกึ ษา มกี ารกำหนดเปา้ หมายทชี่ ัดเจน มีแผนการปฏิบัตงิ านประจำปที ีส่ อดคลอ้ งกับ
สภาพปัญหา ความตอ้ งการของสถานศึกษา ผู้เรียน ม่งุ เนน้ ให้ผู้เรียนมีคณุ ภาพตามมาตรฐานของหลักสูตรสถานศึกษา มี
การนิเทศ กำกบั ติดตามอยา่ งเปน็ ระบบ มกี ารนำผลการประเมนิ เม่อื เสรจ็ สิน้ กิจกรรมาใช้วางแผนพัฒนาคณุ ภาพต่อไป
3.ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกำหนดวสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ เปา้ หมายทช่ี ัดเจนมีการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนปฏบิ ตั ิการประจำปที เ่ี ป็นรปู ธรรม มกี ารประชุมแบบมสี ว่ นร่วมของแต่ละฝ่ายเพอ่ื ระดมพลงั สมองพฒั นาคุณภาพ
การศึกษา
4.ครูผู้สอนไดร้ บั การสง่ เสรมิ ในการพัฒนาตนเองโดยการส่งไปอบรม สมั มนา ศกึ ษาดูงานท้ังภายในและหนว่ ยงาน
ภายนอกและได้เชิญวิทยากรท่มี คี วามเชย่ี วชาญเฉพาะด้าน มาฝกึ อบรมใหก้ บั บุคลากร เพื่อนำความรู้มาพัฒนางานในแต่
ละดา้ นให้มคี ุณภาพกับผเู้ รียนสงู สุด
5.บุคลากรไดร้ บั การสง่ เสริมพฒั นาการส่อื สารด้านภาษาองั กฤษโดยการสนบั สนุนให้ไปศกึ ษาตอ่ ทีต่ า่ งประเทศ และมีการ
จดั ใหม้ กี ารสอบวัดระดบั ความร้ดู า้ นภาษาองั กฤษของบุคลากรในโรงเรียนท้งั หมด ปกี ารศกึ ษา ละ 1 คร้ัง และนำผลมา
วเิ คราะห์ เพอื่ พฒั นาด้านภาษาอังกฤษ โดยมีการเรียนออนไลน์ เพ่ือนำความร้มู าพฒั นางานใหเ้ กดิ กับผู้เรียนไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ อย่างนอ้ ย 40 ชว่ั โมง
6.มีการจดั การเรยี นการสอนโดยพฒั นาระบบห้องเรียนคณุ ภาพ (Quality Classroom System)โดยการจดั บรรยากาศ
การเรยี นรใู้ นหอ้ งเรียนอำนวยต่อการจัดการเรียนการสอน มีบอรด์ ความรู้ และสอ่ื เทคโนโลยที ท่ี นั สมัย มีห้องปฏบิ ัตกิ ารท่ี
ทนั สมัยพยี งพอตอ่ ความต้องการของนกั เรียน เพ่อื สนับสนนุ ให้นกั เรยี นไดล้ งมอื ปฏบิ ัตจิ ริง เรียนรรู้ ว่ มกัน ส่งผลใหเ้ ด็กได้
เกิดองคค์ วามรู้ที่ยั่งยืน

39

การจดั ประสบการณ์ท่เี นน้ เดก็ เปน็ สำคัญ
1.ครมู ีความรู้ ความเข้าใจและมงุ่ มัน่ ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั โดยคำนึงถึงความแตกต่าง
ระหวา่ งบุคคล จดั กจิ กรรมให้ผู้เรยี นเรยี นรู้จากประสบการณ์จรงิ มีการวัดและประเมนิ ผลอยา่ งหลากหลาย มีการ
วจิ ัยในชนั้ เรยี นเพอื่ สง่ เสรมิ และพฒั นาผู้เรยี น
2.ครมู ีความรู้ความสามารถทางด้านการใชส้ ื่อเทคโนโลยตี ่างๆมาใช้เป็นสอื่ และใชป้ ระกอบในการจดั การเรยี นการ
สอน
3.ครูทำงานเป็นทมี มีการวางแผนการทำงานรว่ มกนั มีทิศทางการทำงานที่สอดคล้องและตรงกับนโยบายทางการ
ศกึ ษาของโรงเรียนและมลู นิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย
4. มีการจดั การเรยี นการสอนภายใตก้ ารดูแลของมลู นิธิคณะเซนตค์ าเบรียลแห่งประเทศไทย ซ่ึงผลิตตำรากลาง
ให้โรงเรียนไดจ้ ดั การเรยี นการสอนโดยใชภ้ าษาอังกฤษเปน็ สอ่ื ได้แก่ English Math Science กำกบั ติดตามการ
ใช้ส่ือและดแู ลคณุ ภาพครูผู้สอนโดยงานการเรยี นการสอนและการนเิ ทศ ครใู ช้แบบเรยี น หนงั สือเรียนและส่ือ
อเิ ล็กทรอนิกส์ (ICT)ท่ีมคี ุณภาพระดบั สากล มาใช้ในกระบวนการจดั การเรยี นการสอน

4. จุดควรพัฒนาระดับปฐมวยั
คณุ ภาพของเด็ก
1.ควรส่งเสริมดา้ นสุขนสิ ยั ในการดูแลสุขภาพของเด็กบางส่วน เช่น การล้างมอื ก่อนรับประทานอาหารและหลงั
เขา้ ห้องนำ้ ใหส้ มำ่ เสมอ
2.ในกิจกรรมการเรยี นการสอนกิจกรรมกลุ่ม ควรสง่ เสริมใหเ้ ดก็ เล่นและทำงานรว่ มกบั ผู้อนื่ เพอื่ การปฏสิ ัมพันธ์
ระหวา่ งเพ่ือนกลมุ่ การยอมรับการเปน็ ผูน้ ำกลุ่ม การยอมรับขอ้ ตกลงสมาชิกในกล่มุ การยอมรับฟังความ
คิดเห็นของผู้อืน่ และควรเปิดโอกาสในการให้เด็กได้เลือกหัวหน้าหรือในการกระตุ้นให้เดก็ มโี อกาสเสนอตวั เองหรือ
เพือ่ นในการปฏบิ ัติกิจกรรมต่างๆให้มากข้ึน
กระบวนการบริหารและการจัดการ
1.ส่งเสรมิ ให้ครูพฒั นาตนเองอย่างต่อเนื่องในการใชเ้ ทคโนโลยี และสร้างนวัตกรรมเพื่อการเรยี นการสอน
2.ครไู ดร้ ับการอบรม จากผเู้ ช่ียวชาญดา้ นการดแู ลเด็กพเิ ศษ เดก็ สมาธิสนั้ เพื่อใหส้ ามารถดูแลเดก็ และจดั
ประสบการณเ์ พ่ือพัฒนาเด็กได้อย่างถูกวิธี
การจัดประสบการณท์ ี่เน้นเด็กเปน็ สำคัญ
1.ครูควรจัดการเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจรงิ ในกจิ กรรมการเรยี นการสอนควร สง่ เสริมใหเ้ ดก็ เล่น
และทำงานร่วมกับผู้อ่ืน ใช้แหลง่ เรียนรทู้ เี่ อื้อตอ่ การเรียนรูใ้ ห้มากขนึ้
2.ครไู ดร้ บั การอบรมจากผู้เช่ียวชาญด้านการดแู ลเด็กพิเศษ เด็กสมาธสิ นั้ เพอ่ื ให้สามารถดูแลเดก็ และจดั
ประสบการณ์เพ่ือพฒั นาเด็กไดอ้ ยา่ งถูกวธิ ี

40

5. แนวทางการพัฒนา
1. ครผู ู้สอนนำภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ องค์กรตา่ งๆ เขา้ มามีบทบาทและมาใช้ในการจดั การเรียนการสอน
2. หลักสูตรสำหรับครูในศตวรรษที่ 21 เพื่อการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้เกิดการสร้างองค์

ความรู้ดว้ ยตนเอง และจดั การศึกษาเพอื่ พัฒนาศักยภาพเฉพาะบุคคลของผู้เรยี น
3. ครูผู้สอนได้รับการอบรมสัมมาในเรื่องการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิควิธี การใช้เทคโนโลยี

และมีนวัตกรรมที่หลากหลาย เพ่ือก้าวสู่การครูยคุ ใหม่ซ่ึงมีทกั ษะพ้นื ฐานทางดิจทิ ัลและความรู้เกี่ยวกบั การใช้เทคโนโลยี
เพื่อการศกึ ษาในนำมาใช้ในการผลิตสื่อและนวตั กรรมเพ่ือการจัดการเรยี นรู้

6. ความต้องการช่วยเหลือ
1. ครผู ู้สอนนำภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ องค์กรต่างๆ เขา้ มามบี ทบาทและมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
2. หลักสูตรสำหรับครูในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้เกิดการสร้างองค์

ความรู้ด้วยตนเอง และจดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาศักยภาพเฉพาะบคุ คลของผู้เรียน
3. ครูผู้สอนได้รับการอบรมสัมมาในเรื่องการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิควิธี การใช้เทคโนโลยี

และมนี วัตกรรมท่ีหลากหลาย เพ่อื กา้ วสูก่ ารครูยคุ ใหมซ่ ึ่งมีทกั ษะพ้นื ฐานทางดิจิทลั และความรเู้ กยี่ วกับการใชเ้ ทคโนโลยี
เพ่อื การศึกษาในนำมาใช้ในการผลิตส่ือและนวตั กรรมเพ่ือการจัดการเรียนรู้

41

ภาคผนวก

1. ประกาศโรงเรียน เรื่อง การกำหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเปา้ หมายความสำเรจ็ ของโรงเรยี นระดบั
ปฐมวัย และระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
2. รายงานการประชมุ หรือการให้ความเหน็ ชอบ SAR ของคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น
3. คำส่ังแต่งตง้ั คณะทำงานจัดทำ SAR
4. หลักฐานการเผยแพร่ SAR ให้ผูม้ สี ่วนเก่ยี วขอ้ งหรือสาธารณชนรบั ทราบ
5. แผนผังอาคารสถานที่
6. โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรียน
7. โครงสรา้ งหลักสตู ร เวลาเรียน ของโรงเรยี น

(ควรแสกนไฟล์เป็นไฟล์ .pdf ใหพ้ รอ้ มต่อการแนบไฟล์ในระบบ)


Click to View FlipBook Version