1
สารสนเทศพน้ื ฐานสถานศกึ ษา
โรงเรยี นอสั สมั ชญั อบุ ลราชธานี
ปกี ารศกึ ษา 2564
วริ ิยะ อตุ สาหะ นามาซึง่ ความสาเร็จ
LABOR OMNIA VINCIT
Update 25/06/2564
2
สารสนเทศพืน้ ฐานของสถานศึกษาโรงเรียนอสั สมั ชัญอุบลราชธานี
ปีการศึกษา 2564
สารสนเทศพ้นื ฐานของสถานศึกษา ของโรงเรียนอสั สัมชัญอบุ ลราชธานี แยกเป็นหัวข้อดังน้ี
1. ขอ้ มูลทัว่ ไปของสถานศึกษา
2. แผนพฒั นาการศกึ ษาโรงเรยี นอัสสัมชญั อบุ ลราชธานี ปกี ารศึกษา 2562 – 2564
3. บุคลากร โรงเรียนอัสสมั ชัญอุบลราชธานี
4. คณะกรรมการบริหารโรงเรียน
5. หลกั สตู รและการเรยี นการสอน
6. การวดั และประเมนิ ผล
1. ขอ้ มลู ท่วั ไปของสถานศกึ ษา
➢1.1 ประวตั ิ
โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานีเป็นโรงเรียนอันดับท่ี 10 ในจานวน 17 สถาบันของสถาบันการศึกษามูลนิธิ
คณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย เดมิ โรงเรียนแห่งนี้มีชื่อว่า“โรงเรียนสัพพัญญูวิทยาสงเคราะห์” เปดิ ทาการสอน
คร้ังแรกเม่ือ วันท่ี 31 พฤษภาคม 2500 ขณะนั้นอยู่ภายใต้การดูแลของมิสซังคาทอลิกอุบลราชธานีโดยมีบาทหลวง
บุปผา สลบั เชื้อ เป็นผอู้ านวยการ ต่อมาในปีการศึกษา 2508 มสิ ซังคาทอลิก โดยมขุ นายกในสมัยน้ันคือ พระสงั ฆราช
เกลาดิอุส บาเย ได้เชิญภราดาคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทยเข้ามาบริหารงานจึงเปล่ียนช่ือเป็น”โรงเรียน
อัสสมั ชัญอบุ ลราชธานี”
➢1.2 สถานทต่ี ั้ง
เลขที่ 500 ถ.ชยางกรู ต.ในเมือง อ.เมือง จงั หวัดอบุ ลราชธานี 34000
➢1.3 การตดิ ตอ่
โทรศัพท์ 045-284444 โทรสาร 045-313440 website : http://www.acu.ac.th
➢1.4 เนือ้ ที่ปจั จุบนั
20 ไร่ 2 งาน 4 ตารางวา
➢ 1.5 ระดับชั้นที่เปดิ สอน
ชน้ั บรบิ าล - มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 (รับทงั้ นกั เรียนชายและหญิง)
3
➢1.6 อาคารสถานทขี่ องโรงเรยี น
❖ ตารางที่ 1 แสดงหอ้ งต่าง ๆ ในอาคารเรยี นท้งั โรงเรียน ปีการศกึ ษา 2564
ที่ ชื่ออาคาร ห้องเ ีรยน
ห้องประกอบการเ ีรยน
ห้องพักค ูร
ห้องสา ันกงาน
้หองพยาบาล
โรงอาหาร
้หองประชุม
ห้องควบ ุคมระบบ
ห้อง ้นา ช-ญ
รวม
1 เซนต์คาเบรียล 12 3 1 2 0 0 1 0 18 37
2 เซราฟนิ 14 3 3 1 0 0 0 0 0 21
3 บาเยต์ 0 15 1 0 0 0 0 0 20 36
4 หลุยส์ มารี 15 4 2 0 1 1 1 1 19 44
5 เซนตแ์ มรี่ 2 2 4 0 0 0 1 0 30 39
6 เซนตย์ อหน์ 0202000004
7 โยธวาทติ 0110000013
8 ศนู ยก์ ารเรียนร้ปู ฐมวยั 0 4 0 0 0 0 0 0 0 4
9 หอพักมงฟอร์ต (ชาย) 1 0 2 1 0 0 0 2 29 35
10 หอพกั มงฟอรต์ (หญิง) 1 0 2 1 0 0 0 2 35 41
11 สพั พัญญู 0 19 0 4 0 1 2 5 36 67
12 EBP 26 0 2 1 1 0 0 6 13 49
13 อัสสมั ชญั 0 1 0 9 0 0 2 0 7 19
รวม 71 54 18 21 2 2 7 16 208 399
(ขอ้ มูล ณ วันท่ี 25/06/2564)
❖ตารางท่ี 2 แสดงสนามกฬี า/โรงจอดรถปกี ารศึกษา 2564
ท่ี สนาม จานวน ท่ี สนาม จานวน
1 สนามฟตุ บอล 1 5 สนามบาสเกตบอล 1
2 สนามฟุตซอล
3 สนามตะกร้อ 1 6 สระว่ายนา้ 1
4 สนามวอลเลย่ บ์ อล
1 7 โตะ๊ ปงิ ปอง 4
1 8 โรงจอดรถ 3
4
❖ตารางท่ี 3 แสดงแหลง่ เรยี นรู้ภายในโรงเรียนอัสสมั ชญั อุบลราชธานี ปีการศกึ ษา 2564
แหลง่ เรยี นร้ภู ายในโรงเรียน แหลง่ เรียนรูภ้ ายในโรงเรียน
(ช่ือแหล่งเรียนรู้) (ช่อื แหลง่ เรยี นร)ู้
1 ห้องคอมพวิ เตอร์ 1-4 18 สนามฟตุ บอล
2 ห้องปฏิบตั ิการ IPAD 19 สนามบาสเกตบอล
3 ห้องปฏิบัติการ ROBOTIC 20 สนามวอลเลย์บอล
4 ห้องปฏิบตั ิการอาหาร 21 สนามตะกร้อ
5 ห้องคอมพวิ เตอร์ Leran Ed 22 สระวา่ ยน้า
6 หอ้ ง A-Math 23 วงโยธวาทติ
7 หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารภาษาจีน 24 ห้องนาฏศิลป์มธั ยม
8 ห้องวฒั นธรรมจนี ศึกษา 25 ห้องนาฏศลิ ปป์ ระถม
9 หอ้ งสมดุ สิรนิ ธร 26 ห้องปฏบิ ตั กิ ารดนตรี
10 หอ้ งอฉั รยิ ะภาพ 27 ห้องคบี อรด์
11 หอ้ งแนะแนว 28 ห้องเรยี นดนตรี อ.-ป.2
12 ห้องวิทย์ประถม 29 หอ้ งศิลปะ
13 ห้องปฏิบตั ิการชีววิทยา 30 ห้องกลองชดุ
14 หอ้ งปฏิบัตกิ ารเคมี 31 หอ้ งร้องเพลง
15 หอ้ งปฏิบตั ิการฟสิ กิ ส-์ โลก 32 หอ้ งเปยี โน
16 หอ้ งพระพทุ ธศาสนา 33 หอ้ งอคูเลเล่/ห้องไวโอลิน
17 หอ้ งคลนี คิ ภาษาไทย 34 หอ้ งแสต็ก
ขอ้ มูล ณ วันที่ 25/06/2564
ความหมายของคาวา่ “อัสสมั ชญั ”
อสั สมั มาจากคาว่า “อาศรม” แปลว่า “ท่ีอยขู่ องนักพรต”
ชญั มาจากคาว่า “ชญญ” แปลว่า “ความรู้”
อัสสมั ชัญ เปน็ คาไทยแปลวา่ “ทีอ่ ยู่ของความรู้”
อัสสัมชัญ มาจากภาษาอังกฤษ ASSUMPTION มีความหมายทางคริสต์ศาสนา คือ การได้รับ
เกียรติยกขึ้นสวรรค์ทั้งกายและวิญญาณของพระนางมารี พระมารดาของพระเยซูคริสตเจ้า เป็นคายก
ย่องถวายเกยี รติแด่พระนางผทู้ รงเปน็ องค์อุปถมั ภ์ของโรงเรียน
5
➢ 1.7 จานวนนักเรยี น
❖ตารางท่ี 4 แสดงจานวนนักเรียน ปกี ารศกึ ษา 2564
หอ้ ง หอ้ ง 1 ห้อง 2 หอ้ ง 3 ห้อง 4 ห้อง 5 รวมทง้ั หมด
ระดบั ชน้ั ช ญ รวม
บริบาล 495 8 10 18
รวมบรบิ าล
อนบุ าล 1 495 8 10 18
อนุบาล 2
อนบุ าล 3 32 29 33 28 57 65 122
รวมอนุบาล
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 28 30 27 29 65 49 114
ประถมศึกษาปีท่ี 2
ประถมศึกษาปที ่ี 3 38 38 39 40 74 81 155
รวม ป.ตน้
ประถมศกึ ษาปีที่ 4 98 97 99 97 196 195 391
ประถมศกึ ษาปีท่ี 5
ประถมศึกษาปที ี่ 6 35 35 22 41 63 70 133
รวม ป.ปลาย
มัธยมศึกษาปที ่ี 1 34 27 21 33 63 52 115
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2
มัธยมศึกษาปที ่ี 3 30 29 34 34 67 60 127
รวม ม.ตน้
มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 99 91 77 108 193 182 375
มัธยมศึกษาปีท่ี 5
มัธยมศึกษาปีท่ี 6 39 24 21 29 50 63 113
รวม ม.ปลาย
40 35 40 52 63 115
รวมบริบาล - ม.6
33 31 28 50 42 92
รวม อ.1-ม.6
112 90 89 29 152 168 320
29 35 35 37 35 85 86 171
22 28 30 32 36 77 71 148
31 30 33 29 31 82 72 154
82 93 98 98 102 244 229 473
31 44 25 42 18 73 87 160
27 46 31 43 28 85 90 175
40 34 24 40 75 63 138
98 124 80 125 46 233 240 473
493 504 448 457 148 1,026 1,024 2,050
489 495 443 457 148 1,018 1,014 2,032
ข้อมูล ณ วันที่ 25/06/2564
6
2. แผนพฒั นาการศกึ ษาโรงเรียนอัสสมั ชญั อบุ ลราชธานี ปกี ารศึกษา 2562– 2564
➢คติพจน์ประจาโรงเรยี น
“LABOR OMNIA VINCIT” ความวิริยะ อตุ สาหะ นามาซง่ึ ความสาเร็จ
➢ปรชั ญาของโรงเรียน
1. จดุ หมายของชวี ิต คือ การร้จู กั สัจธรรมและการเข้าถงึ ธรรมอันสูงส่งอันเป็นบ่อเกิดแหง่ ชวี ติ
2. มนษุ ยท์ กุ คนต้องทางาน ความวิริยะอตุ สาหะ เป็นหนทางนาไปสู่ความสาเรจ็ ดังคตพิ จน์ท่ีว่า
“Labor Omnia Vincit” (Labor conquers all things)
➢วิสยั ทศั น์ (Vision)
ระดบั ขั้นพน้ื ฐาน “ผู้เรียนโรงเรียนอสั สมั ชญั อบุ ลราชธานี มรี ะเบียบวินัย และคุณภาพมาตรฐานสากล”
ระดบั ปฐมวัย “เด็กโรงเรียนอัสสมั ชัญอบุ ลราชธานี มีระเบียบวนิ ัย และคุณภาพมาตรฐานสากล”
➢พันธกิจ (Mission) ระดับขั้นพื้นฐาน
1. ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นให้มมี าตรฐานสากล
2. พัฒนาผ้เู รียนใหม้ คี ุณภาพตามอัตลกั ษณข์ องมูลนิธคิ ณะเซนต์คาเบรยี ลแห่งประเทศ
3. พฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคณุ ภาพตามเอกลักษณข์ องโรงเรียน
4. พฒั นาคุณภาพของผู้เรียน
5. พัฒนาครู บุคลากร และผู้บรหิ ารใหม้ ีศักยภาพตามมาตรฐานวิชาชพี
6. พฒั นาระบบบริหารโรงเรียนใหม้ ีประสทิ ธิภาพ และเกิดประสิทธผิ ล
7. สง่ เสรมิ และสนับสนุนให้ชุมชน ผ้ปู กครอง และภาคเี ครอื ขา่ ยมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษา
➢พันธกิจ (Mission) ระดบั ขั้นปฐมวัย
1. ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาโรงเรียน ให้มีมาตรฐานสากล
2. พฒั นาเดก็ ใหม้ คี ุณภาพตามอตั ลกั ษณ์ของมลู นิธคิ ณะเซนตค์ าเบรยี ลแห่งประเทศ
3. พัฒนาเด็กให้มีคุณภาพตามเอกลักษณข์ องโรงเรยี น
4. พฒั นาคุณภาพของเดก็ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปญั ญา
5. พัฒนากระบวนการ และการจดั การ ใหม้ ีประสิทธิภาพ และเกิดประสทิ ธิผล
6. พัฒนาการจัดประสบการณท์ ี่เนน้ เด็กเป็นสาคัญ
➢อตั ลักษณ์ “ผเู้ รยี นยึดมัน่ สัจธรรม มีวริ ิยะอตุ สาหะ รบั ผิดชอบต่อสังคม”
➢เอกลักษณ์ “มีระเบียบวนิ ยั เนน้ ภาษาอังกฤษ และมจี ติ สาธารณะ”
7
➢เป้าหมาย (GOALS) ระดับขัน้ พนื้ ฐาน ปกี ารศึกษา 2562 - 2564
1. ผู้เรยี นมีคุณภาพระดับมาตรฐานสากล
2. จดั การเรียนการสอนใหม้ คี ุณภาพเทยี บเคียงมาตรฐานสากล
3. ผเู้ รียนมคี ุณภาพตามอัตลักษณ์ของมูลนธิ คิ ณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย
4. ผูเ้ รยี นมคี ุณภาพตามเอกลักษณข์ องโรงเรยี น
5. ผเู้ รียนมีผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ
6. ผู้เรยี นมคี ุณลกั ษณะพึงประสงค์
7. ผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา มคี ณุ ภาพ ปฏิบัตติ ามบทบาทหน้าทอ่ี ย่างมีประสทิ ธภิ าพ และ
ประสทิ ธิผล
8. โรงเรยี นมีระบบบรหิ ารจดั การศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล
9. โรงเรียนมหี ลักสูตร กระบวนการเรยี นรู้ และพฒั นาผเู้ รียนอย่างรอบคา้ น
10. โรงเรียนมีการจดั สภาพแวดลอ้ มและการบรกิ ารท่ีสง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นพฒั นาเตม็ ศักยภาพ
11. ชมุ ชน ผูป้ กครอง และภาคีเครอื ข่ายมีสวนรว่ มในการสง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั การศกึ ษา
➢เปา้ หมาย (GOALS) ระดับขัน้ ปฐมวยั ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2564
1. เด็กมคี ุณภาพระดับมาตรฐานสากล
2. โรงเรยี นมีระบบการบริหารจัดการสคู้ วามเปน็ เลศิ อย่างย่งั ยืน
3. เด็กมคี ณุ ภาพตามอัตลกั ษณ์ของมลู นิธคิ ณะเซนตค์ าเบรยี ลแหง่ ประเทศไทย
4. เด็กมีคุณภาพตามอตั ลักษณ์ของโรงเรยี น
5. เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มสี ขุ นิสัยท่ดี ี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้
6. เด็กมีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณไ์ ด้
7. เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชิกทด่ี ีของสงั คม
8. เดก็ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สอื่ สารได้ มีทักษะการคิดพนื้ ฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้
9. มีหลักสูตรครอบคลุมพฒั นาการทั้ง 4 ด้าน สอดคลอ้ งกบั บริบทของทอ้ งถ่ิน
10. ครูมเี พยี งพอกับชัน้ เรียน และมคี วามเช่ียวชาญการจัดประสบการณ์
11. มสี ภาพแวดล้อมและสื่อเพือ่ การเรียนรู้ อย่างปลอด ภัย และเพยี งพอ
12. มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพท่เี ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ กย่ี วขอ้ งทกุ ฝ่ายมีส่วนรว่ ม
13. สร้างและจดั ประสบการณ์ทส่ี ง่ เสริมให้เดก็ มีพฒั นาการทกุ ด้านอย่างสมดลุ เต็มศักยภาพ
14. จัดบรรยายกาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สือ่ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม
15. ประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริงและนาผลการประเมินพฒั นาการเด็กไปรบั ปรุงการจัด
ประสบการณแ์ ละพัฒนาเดก็
8
❖ตารางที่ 5 แสดงจานวน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปกี ารศึกษา 2564
ท่ี ฝ่าย แผนงาน โครงการ กิจกรรม รวม
1 ฝ่ายธุรการการเงิน 10 - - 10
2 ฝา่ ยบริหารทวั่ ไป 7-2 9
3 ฝา่ ยวชิ าการ 16 1 26 43
4 แผนกปฐมวยั 13 2 25 40
5 ฝ่ายกิจการนกั เรียน 13 - 42 55
6 สานักผูอ้ านวยการ 9 1 23 33
รวม 68 4 118 190
➢โครงสร้างบรหิ ารโรงเรยี นอสั สัมชญั อบุ ลราชธานี
9
3. บคุ ลากร โรงเรียนอัสสมั ชญั อุบลราชธานี
❖ตารางท่ี 6 แสดงจานวนบุคลากรครู จาแนกตามเพศ และการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564
ที่ ระดบั การศกึ ษา ชาย หญิง รวม
1 ผู้บรหิ ารและผูร้ ่วมบริหาร
-ปรญิ ญาเอก 202
-ปริญญาโท 224
-ปริญญาตรี 112
รวมผูบ้ รหิ ารและผู้รว่ มบรหิ าร 5 3 8
2 ครูผู้สอน 2 17 19
2.1 ครไู ทย 26 64 90
28 81 109
-ปรญิ ญาโท
202
-ปริญญาตรี 12 6 18
202
รวม 16 6 22
2.2 ครตู ่างชาติ 44 87 131
-ปรญิ ญาโท
-ปรญิ ญาตรี
-ตา่ กว่าปรญิ ญาตรี
รวม
รวมครผู ู้สอน
3 บุคลากรทางการศกึ ษา 257
3.1 สนบั สนนุ การสอน/เจา้ หน้าท่ี 6 15 21
246
-ปริญญาโทข้นึ ไป
066
-ปริญญาตรี 055
-ต่ากวา่ ปริญญาตรี 022
325
3.2 ครพู ี่เลย้ี ง 13 39 52
62 129 191
-ปริญญาตรี
-ต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี
3.3 อตั ราจ้าง / อ.พิเศษ
-ปริญญาโท
-ปริญญาตรี
รวมบคุ ลากรทางการศกึ ษา
รวมท้ังสิ้น
ข้อมูล ณ วันท่ี 25/06/2564
10
❖ตารางที่ 7 แสดงการจัดครสู อนตรงตามวชิ าเอก / โท หรือความถนดั ปีการศกึ ษา 2564
การจดั ครเู ข้าสอน
ประเภทครผู สู้ อน ตรงวิชาเอก/โท % % รวม
ท่ี จานวน หรือความถนัด
ไ ่มตรงวิชาเอก/โท
หรือความถนัด
1 ภาษาไทย 10 10 100 0 0.00 100
2 คณิตศาสตร์ 14 14 100 0 0.00 100
3 วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 18 18 100 0 0.00 100
4 สงั คมศึกษาศาสนาฯ 11 11 100 0 0.00 100
5 สขุ ศึกษา และพลศกึ ษา 77 100 0 0.00 100
6 ศลิ ปะ 77 100 0 0.00 100
7 การงานอาชพี ฯ 22 100 0 0.00 100
8 ภาษาต่างประเทศ
17 17 100 0 0.00 100
- ครูไทย 22 22 100 0 0.00 100
- ครูตา่ งประเทศ 22 100 0 0.00 100
9 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 21 21 100 0 0.00 100
10 ปฐมวยั /อนุบาล 131 131 100 0 0.80 100
รวม ขอ้ มูล ณ วันท่ี 25/06/2564
***ครสู อนตามความถนดั หมายถงึ
1. ครทู ่ีสอนในกลมุ่ สาระฯ หรอื ในแผนกอนุบาล ไม่ตา่ กว่า 10 ปี
2. ครทู ีม่ คี วามรู้ความสามารถหรอื มีผลงานในกลมุ่ สาระ ฯ /แผนกอนบุ าล เปน็ ทีป่ ระจกั ษ์หรือเป็นเจา้ ของภาษา
❖ตารางท่ี 8 แสดงสดั ส่วนครูตอ่ นักเรียน ปกี ารศึกษา 2564
ที่ ระดับ จานวนครู จานวน นร. อัตราสว่ น เกณฑ์ ก.ค.ศ.
1 ปฐมวยั / อนุบาล 27 409 1 : 15 1:25
2 ประถมศึกษา (ชว่ งชน้ั ที่ 1 - 2) 47 695 1 : 15 1:22 - 1:28
3 มธั ยมศึกษา (ช่วงชนั้ ที่ 3 - 4) 57 946 1 : 17 1:18 - 1:22
ข้อมลู ณ วันท่ี 25/06/2564
11
❖ตารางท่ี 9 แสดงสัดส่วนนักเรียนตอ่ หอ้ ง ปกี ารศึกษา 2564
ที่ ระดับ จานวน จานวน ห้อง อัตราส่วน เกณฑ์ ก.ค.ศ.
นักเรยี น
1 ปฐมวัย / อนุบาล 15 27 : 1 30 :1
2 ประถมศกึ ษา (ช่วงช้นั ที่ 1 - 2) 409 22 32 : 1 36:1 - 44:1
3 มัธยมศกึ ษา (ช่วงช้นั ท่ี 3 - 4) 695 29 33 : 1 36:1 - 44:1
946
ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 25/06/2564
❖ตารางท่ี 10 แสดงจานวนพนักงาน ปีการศึกษา 2564 ชาย หญงิ รวม
ท่ี ประเภทบุคลากร 10 19 29
1 พนกั งานชา่ ง/ทาความสะอาด 2 02
2 พนักงานขบั รถ 7 07
3 พนักงานรกั ษาความปลอดภยั 0 23 23
4 พนักงานโรงอาหาร/ Bakery/หอพกั
19 44 63
รวม
ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 25/06/2564
❖ตารางที่ 11 แสดงจานวนนกั เรียนที่ได้รบั ทนุ การศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564
ที่ ประเภททุน จานวนคน จานวนเงิน
1 ทนุ บุตรครแู ละบตุ รเจ้าหน้าท่ี 57 720,000.00
2 ทนุ บุตรพนกั งาน 2 54,000.00
3 ทนุ ผปู้ กครองท่ีมีบุตร 3 คนข้ึนไป 11 60,000.00
4 ทนุ นักเรียนบา้ นเณรคริสตประจกั ษ์ 13 276,000.00
5 ทุนนกั เรียนเณรี คณะนักบุญยอรแ์ ซฟแห่งการประจักษ์ 2 60,000.00
6 ทนุ เซราฟิน 26 240,000.00
7 ทนุ ความสามารถพิเศษ ด้านดนตรี 28 680,000.00
8 ทนุ ความสามารถพิเศษ ดา้ นกฬี า 5 85,000.00
9 ทุนช่วยเหลือกรณพี ิเศษ 5 85,000.00
10 ทุนกรณพี ิเศษ (ตชด.22) 10 320,000.00
11 ทนุ การศึกษา GIFTED 5 194,000.00
ยอดรวม 164 2,774,000.00
ข้อมลู ณ วันท่ี 25/06/2564
12
4. คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น
❖ตารางท่ี 12 คณะกรรมการทปี่ รึกษาผอู้ านวยการ (Board of Director) ปกี ารศึกษา 2564
ที่ ช่อื -สกุล ตาแหน่ง
1 ภราดา ดร.อาวุธ ศลิ าเกษ ประธานกรรมการ
2 ภราดา ดร.วิศิษฐ์ ศรวี ิชัยรัตน์ กรรมการ
3 ภราดาพิชติ พล บรู ะพันธ์ กรรมการ
4 มิสปริญญท์ พิ ย์ แสนใจ กรรมการ
5 ม.ภมู ชิ าย สิมมาเคน กรรมการ
6 มสิ ศริ ิพัฒน์ แก่นจนั ทร์ กรรมการ
7 ม.เอกสิทธิ์ ออ่ นสมจิตร์ กรรมการ
8 มิสกนกภรณ์ พวงสวัสดิ์ กรรมการและเลขานุการ
❖ตารางที่ 13 คณะกรรมการบริหารโรงเรยี นอัสสัมชญั อบุ ลราชธานี ปกี ารศกึ ษา 2564
ท่ี ชื่อ-สกลุ ตาแหน่ง
1 นายอาวุธ ศิลาเกษ ผู้แทนผู้รบั ใบอนญุ าต/ผอู้ านวยการ
2 นายศิรชิ ยั ฟอนซกี า ผู้ทรงคณุ วุฒิ
3 นายวรี ยุทธ บญุ พราหมณ์ ผทู้ รงคุณวุฒิ
4 นายสอาด วงศาเจรญิ ภกั ดี ผู้ทรงคณุ วุฒิ
5 นายพิชติ พล บูระพันธ์ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ
6 นายประชา กจิ ตรงศิริ ผูท้ รงคณุ วุฒิ
7 นายธีระชัย จึงวิวัฒนาภรณ์ ผู้แทนผู้ปกครอง
8 นางปริญญท์ ิพย์ แสนใจ ผู้แทนคร/ู เลขานุการ
13
*ห5ม.ายหเหลตุกั : ไสดูตร้ บั รกแารลแตะง่ กตง้ั าเมรื่อเวรันยีที่น**ก25า6ร0สโอดยนมกี าหนดวาระ 2 ปี ถงึ วนั ที่ 31 พฤษภาคม **
❖ ระดับปฐมวัย
ระดับก่อนปฐมวัย (สาหรับเด็กอายุต่ากว่า 3 ปี) ระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3) ระดับบริบาลโรงเรียน
อสั สมั ชญั อุบลราชธานี เปิดทาการสอนตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สาหรับเดก็ อายุต่ากว่า
3 ปี โดยมุ่งพัฒนาส่งเสริมให้เด็กได้รับการพัฒนาตามพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน (ด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม
และสติปัญญา) อย่างมีคุณภาพตลอดจนได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้และส่งเสริมให้เด็กมีทักษะชีวิต
ผ่านกระบวนการเรียนปนเล่นเหมาะสมตามวัยและการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เสริมสร้างนิสัยการอนุรักษ์
ส่ิงแวดล้อม เสริมสร้างวินัย และรู้จักรับผิดชอบต่อส่วนรวม ส่งเสริมวัฒนธรรมไทย และวันสาคัญทางศาสนา
รวมท้ังเทศกาลและประเพณีของท้องถนิ่ เพ่ือฝึกความรับผิดชอบ ฝึกฝนให้นักเรียนมีวินัย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีนิสัยรัก
ธรรมชาติ มีความรู้สึกเป็นเจ้าของในสิ่งแวดล้อม ท้ังทางธรรมชาติ และศิลปวัฒนธรรม ปลูกฝังให้รักธรรมชาติ
ได้แก่ กิจกรรมหมุนเวียนวันศุกร์ กิจกรรมศึกษานอกสถานที่
ระดับการศึกษาปฐมวัย โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี เปิดทาการเรียนการสอนหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัยพุทธศักราช 2560 สาหรับเด็กอายุ 3 - 5 ปี เป็นการจัดการศึกษาในลักษณะของการอบรมเลี้ยงดูและให้
การศึกษา เด็กจะได้รับการพัฒนาการทั้งด้าน ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ตามวัยและ
ความสามารถของแต่ละบุคคลเปิดทาการเรียนการสอนโดยมุ่งเน้นพัฒนาท้ัง 4 ด้าน ท่ีส่งเสริมศักยภาพของเด็ก
ตามความถนดั ความสนใจและความแตกต่างของแต่ละบคุ คล
❖ ระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน (ป.1 - ม.6)
สอนตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ 2561) ตามหลักสูตรกระทรวง
ศึกษาธิการกาหนด โดยแบ่งออกเป็น 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังน้ี ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคม
ศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาตา่ งประเทศ
ซงึ่ มกี ารจัดระบบการเรียนการสอน โดยเน้นภาษาองั กฤษ ต้ังแต่ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึง มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 โดย
ครูชาวต่างชาติ ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษา แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาของมูลนิธิคณะเซนต์
คาเบรียลแห่งประเทศไทย แผนพัฒนาโรงเรียน และความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ที่
เกย่ี วข้องกับการจดั การศึกษา ที่มงุ่ เน้นการ พฒั นานกั เรยี นใหเ้ ป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และมี มาตรฐานสากลใน
การใชภ้ าษาอังกฤษเป็นสอื่ การ เรียนรจู้ ึงได้จดั การเรียนการสอนทกุ มติ ิ โดยเนน้ ภาษาองั กฤษในรายวชิ าเพ่ิมเติม
ใน 4 รายวชิ า ดงั น้ี คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา และภาษา องั กฤษ ซึง่ สอนโดยครชู าวต่างชาติ และใช้
ตารากลางของมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ท่ี เป็นภาษาอังกฤษ ส่วนวิชาอ่ืน ๆ จัดการเรียนการ
สอนเป็นภาษา ไทยรวมทั้งส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนได้เรียนภาษา จีน ต้ังแต่ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้น
มัธยมศึกษา ปีที่ 6 ส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาตามศักยภาพ ตาม ความถนัดและความสนใจ รวมทั้งปลูกฝังด้าน
คุณธรรม จริยธรรม โดยเพิ่มเติม เน้ือหา สาระใน กิจกรรมหลากหลายรูปแบบ เช่น กิจกรรมค่าย วิทยาศาสตร์
เชิงอนุรักษ์ กิจกรรมสัมผัสสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กิจกรรมเสริมบรรยากาศทาง วิชาการ โครงการ
ACU Student Exchange to France โครงการ ACU Student Exchange to Chinese เป็นต้น
14
โรงเรียนไดจ้ ดั สดั ส่วนระหว่างสาระการเรยี นรูก้ บั เวลาเรยี นในแตล่ ะระดับช้นั ดงั ปรากฏในตารางดงั นี้
ระดับประถมศึกษา (ป.1 - ป.6 ) ปีการศกึ ษา 2564
เวลาเรียน (คิดเป็นชั่วโมงต่อปี)
รวม
ระ ัดบ ั้ชน
ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์
ัสงคมศึกษา ศาสนาฯ
ุสขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพ
ภาษา ่ตางประเทศ
ิกจกรรมพัฒนา ู้ผเ ีรยน
ราย ิวชา/ ิกจกรรมเ ิ่พมเติม
หน้า ่ีทพลเมือง(เ ิ่พมเ ิตม)
ป.1(MSEP) 160 160 140 120 40 80 20 120 120 360 40 1,360
1,360
ป.1(S-MSEP) 160 160 140 120 40 80 20 120 120 360 40 1,360
1,360
ป.1(EIP) 160 160 140 120 40 80 20 120 120 360 40 1,360
1,360
ป.2(MSEP) 160 160 140 120 40 80 20 120 120 360 40 1,360
1,280
ป.2(EIP) 160 160 140 120 40 80 20 120 120 360 40 1,280
1,280
ป.3(MSEP) 160 160 140 120 40 80 20 120 120 360 40 1,280
1,280
ป.3(EIP) 160 160 140 120 40 80 20 120 120 360 40 1,280
1,280
ป.4(MSP) 160 160 120 120 80 80 40 80 120 360 40 1,280
1,280
ป.4(EBP) 160 160 120 120 80 80 40 80 120 280 40
ป.4(S-EBP) 160 160 120 120 80 80 40 80 120 280 40
ป.4(IEP) 160 160 120 120 80 80 40 80 120 280 40
ป.5(MSP) 160 160 120 120 80 80 40 80 120 360 40
ป.5(EBP) 160 160 120 120 80 80 40 80 120 280 40
ป.5(IEP) 160 160 120 120 80 80 40 80 120 280 40
ป.6(EBP) 160 160 120 120 80 80 40 80 120 280 40
ป.6(IEP) 160 160 120 120 80 80 40 80 120 280 40
***หมายเหตุ
1. ภาษาอังกฤษระดับช้ัน ป.1 – 3 จดั การเรียนรู้ปลี ะ 200 ช่ัวโมง (รายวชิ าพ้นื ฐาน 120 ช่วั โมง รายวิชาเพม่ิ เตมิ 80 ชั่วโมง)
2. กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร ได้แก่ รายวชิ าทกั ษะการวา่ ยน้า จานวน 40 ชม (ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 – 4)
3. กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร ได้แก่ เสริมการอา่ น 40 คณิตคดิ เรว็ 40 Intensive Course 13 Field Trips 3 time CEFR 2 time
15
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ (ม.1 - ม.3 ) ปกี ารศกึ ษา 2564
เวลาเรยี น (คดิ เป็นช่วั โมงตอ่ ป)ี
ระ ัดบ ั้ชน รวม
ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์
ัสงคมศึกษา ศาสนา
และ ัวฒนธรรม
ุสขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพ
ภาษา ่ตางประเทศ
ิกจกรรมพัฒนา ู้ผเ ีรยน
สาระเ ่ิพมเ ิตม
ม.1 (GP ) 120 120 200 160 40 80 40 120 120 440 1,440
ม.1 (MSEP) 120 120 200 160 40 80 40 120 120 440 1,440
ม.1 (จนี / Eng ) 120 120 200 160 40 80 40 120 120 440 1,440
ม.1 (สหศิลป)์ 120 120 200 160 40 80 40 120 120 440 1,440
ม.2 (GP ) 120 120 200 160 40 80 40 120 120 440 1,440
ม.2 (MSEP) 120 120 200 160 40 80 40 120 120 440 1,440
ม.2 (จีน / Eng ) 120 120 200 160 40 80 40 120 120 440 1,440
ม.2 (สหศิลป)์ 120 120 200 160 40 80 40 120 120 440 1,440
ม.3 ( EBP ) 120 120 200 160 40 80 40 120 120 440 1,440
ม.3 ( IEP ) 120 120 200 160 40 80 40 120 120 440 1,440
หมายเหตุ
1. ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 หลกั สตู รสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 (พฒั นาและปรบั ปรุงโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา 2563)
2. ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 หลกั สตู รสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2563 (พฒั นาและปรับปรุงโครงสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษา 2562)
3. ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 หลกั สตู รสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2562
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6) แผนการเรียนศลิ ป์-ภาษา ปีการศกึ ษา 2563-2565
เวลาเรียน (คดิ เป็นชัว่ โมงต่อป)ี
ระดับชั้น รวม
ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์
สังคม ึศกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
ุสข ึศกษาและพล ึศกษา
ิศลปะ
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี
ภาษา ่ตางประเทศ
ิกจกรรม ัพฒนา ู้ผเ ีรยน
สาระเ ่ิพมเ ิตม
ม.4 80 80 100 120 40 40 20 80 120 660 1,340
ม.5 80 80 100 100 40 40 40 80 120 660 1,340
ม.6 80 80 60 100 40 40 40 80 120 560 1,200
หมายเหตุ รวมเวลาเรียน 3 ปี 3,880 ชว่ั โมง /ปี
ระ ัดบ ้ัชน 16
ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6) แผนการเรยี นคณติ -วทิ ย์ ปีการศกึ ษา 2563-2565
ิวทยาศาสตร์ เวลาเรยี น (คิดเป็นชวั่ โมงต่อป)ี
ัสงคมศึกษา ศาสนา
และ ัวฒนธรรม รวม
ุสขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะม.4 80 80 180 120 40 40 20 80 120 440 1,200
การงานอาชีพและม.5 80 80 40 100 40 40 40 80 120 760 1,380
เทคโนโลยีม.6 80 80 40 100 40 40 40 80 120 680 1,300
ภาษา ่ตางประเทศหมายเหตุ รวมเวลาเรียน 3 ปี 3,880 ชัว่ โมง /ปี
กิจกรรมพัฒนา ู้ผเ ีรยน
สาระเ ิ่พมเ ิตมระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6)แผนการเรียนวทิ ย์-คณิต เขม้ ขน้ (GP) ปกี ารศกึ ษา 2563-2565
เวลาเรียน (คดิ เป็นชวั่ โมงตอ่ ป)ี
ระดับ ้ชัน
ภาษาไทย รวม
ค ิณตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ม.4 80 80 180 120 40 40 20 80 120 800 1,560
สังคม ึศกษา ศาสนาม.5 80 80 40 100 40 40 40 80 120 800 1,420
และวัฒนธรรมม.6 80 80 40 100 40 40 40 80 120 760 1,380
สุข ึศกษาและพลศึกษาหมายเหตุ รวมเวลาเรยี น 3 ปี 4,360 ช่ัวโมง /ปี
ิศลปะ
การงานอาชีพระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6)แผนการเรยี นวทิ ย์-คณติ ปีการศกึ ษา 2563-2565
ภาษา ่ตางประเทศเวลาเรียน (คดิ เป็นช่ัวโมงต่อปี)
ิกจกรรม ัพฒนา ู้ผเ ีรยน
สาระเ ิ่พมเ ิตม รวม
ม.4 80 80 180 120 40 40 20 80 120 400 1,160
ม.5 80 80 40 100 40 40 40 80 120 720 1,340
ม.6 80 80 40 100 40 40 40 80 120 680 1,300
หมายเหตุ รวมเวลาเรียน 3 ปี 3,800 ชั่วโมง /ปี
ระ ัดบ ั้ชน
ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
ัสงคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
ุสข ึศกษาและพล ึศกษา
ิศลปะ
การงานอาชีพ
ภาษา ่ตางประเทศ
ิกจกรรม ัพฒนา ู้ผเรียน
สาระเ ่ิพมเ ิตม
17
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6)แผนการเรยี นศลิ ป์ – ภาษาองั กฤษ ปกี ารศกึ ษา 2563-2565
เวลาเรยี น (คดิ เปน็ ช่วั โมงต่อปี)
รวม
ระ ัดบ ้ัชน
ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์
ัสงคมศึกษา ศาสนา
และ ัวฒนธรรม
ุสขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพ
ภาษา ่ตางประเทศ
กิจกรรมพัฒนา ู้ผเ ีรยน
สาระเ ่ิพมเ ิตม
ม.4 80 80 100 120 40 40 20 80 120 640 1,320
ม.5 80 80 100 100 40 40 40 80 120 640 1,320
ม.6 80 80 60 100 40 40 40 80 120 560 1,200
หมายเหตุ รวมเวลาเรยี น 3 ปี 3,840 ชัว่ โมง /ปี
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6)แผนการเรียนศิลป์ภาษาองั กฤษ-จนี (เลือกอังกฤษ)
ปกี ารศกึ ษา 2563-2565
เวลาเรียน (คิดเปน็ ช่วั โมงตอ่ ป)ี
ระดับ ้ัชน รวม
ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และ ัวฒนธรรม
ุสขศึกษาและพลศึกษา
ิศลปะ
การงานอาชีพ
ภาษา ่ตางประเทศ
กิจกรรมพัฒนา ู้ผเรียน
สาระเ ิ่พมเ ิตม
ม.4 80 80 100 120 40 40 20 80 120 600 1,320
ม.5 80 80 100 100 40 40 40 80 120 600 1,320
ม.6 80 80 60 100 40 40 40 80 120 560 1,200
หมายเหตุ รวมเวลาเรยี น 3 ปี 3,840 ช่วั โมง /ปี
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6)แผนการเรยี นศิลปภ์ าษาอังกฤษ-จนี (เลือกจนี )
ปีการศึกษา 2563-2565
เวลาเรยี น (คดิ เป็นชว่ั โมงตอ่ ปี)
ระดับช้ัน รวม
ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สังคม ึศกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
ุสข ึศกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพ
ภาษา ่ตางประเทศ
ิกจกรรมพัฒนา ู้ผเรียน
สาระเ ่ิพมเ ิตม
ม.4 80 80 100 120 40 40 20 80 120 600 1,280
ม.5 80 80 100 100 40 40 40 80 120 600 1,280
ม.6 80 80 60 100 40 40 40 80 120 560 1,200
หมายเหตุ รวมเวลาเรียน 3 ปี 3,760 ช่วั โมง /ปี
18
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6) แผนการเรียนสหศลิ ป์ (เลอื กเทคโนโลยี)
ปีการศกึ ษา 2563-2565
เวลาเรียน (คิดเป็นชวั่ โมงต่อปี)
ระ ัดบ ้ัชน รวม
ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์
ัสงคมศึกษา ศาสนา
และ ัวฒนธรรม
ุสขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพ
ภาษา ่ตางประเทศ
กิจกรรมพัฒนา ู้ผเ ีรยน
สาระเ ่ิพมเ ิตม
ม.4 80 80 100 120 40 40 20 80 120 520 1,200
100 40 40 40 80 120 520 1,200
ม.5 80 80 100 100 40 40 40 80 120 560 1,200
ม.6 80 80 60
หมายเหตุ รวมเวลาเรียน 3 ปี 3,600 ชั่วโมง /ปี
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6)แผนการเรียนสหศลิ ป์ (เลอื กศลิ ปะการประกอบอาหาร)
ปีการศกึ ษา 2563-2565
เวลาเรยี น (คิดเปน็ ชวั่ โมงตอ่ ปี)
ระดับ ั้ชน รวม
ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์
สังคม ึศกษา ศาสนา
และ ัวฒนธรรม
ุสขศึกษาและพลศึกษา
ิศลปะ
การงานอาชีพ
ภาษา ่ตางประเทศ
กิจกรรมพัฒนา ู้ผเรียน
สาระเ ่ิพมเ ิตม
ม.4 80 80 100 120 40 40 20 80 120 520 1,200
ม.5 80 80 100 100 40 40 40 80 120 520 1,200
100 40 40 40 80 120 560 1,200
ม.6 80 80 60
หมายเหตุ รวมเวลาเรียน 3 ปี 3,600 ชวั่ โมง /ปี
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6)แผนการเรยี นสหศิลป์ (เลอื กดนตรี)
ปีการศกึ ษา 2563-2565
เวลาเรียน (คดิ เป็นชัว่ โมงต่อป)ี
ระดับช้ัน รวม
ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และ ัวฒนธรรม
สุข ึศกษาและพล ึศกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพ
ภาษา ่ตางประเทศ
ิกจกรรม ัพฒนา ู้ผเ ีรยน
สาระเ ่ิพมเ ิตม
ม.4 80 80 100 120 40 40 20 80 120 520 1,200
ม.5 80 80 100 100 40 40 40 80 120 520 1,200
100 40 40 40 80 120 560 1,200
ม.6 80 80 60
หมายเหตุ รวมเวลาเรียน 3 ปี 3,600 ชว่ั โมง /ปี
19
6. เกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผล
❖ระดับประถมศกึ ษา
การตดั สนิ ผลการเรียนและการเลื่อนชน้ั
สถานศกึ ษากาหนดหลักเกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เพอื่ ตัดสินผลการเรยี นของผู้เรยี น ดงั นี้
1) ผเู้ รียนต้องมีเวลาเรียนไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของเวลาเรยี นทัง้ หมด
2) ผู้เรียนต้องได้รบั การประเมนิ ทกุ ตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากาหนด
3) ผเู้ รยี นตอ้ งได้รบั การตดั สนิ ผลการเรียนทกุ รายวชิ า
4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ในการ
อา่ นคิดวเิ คราะห์และเขยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน
❖ระดบั มัธยมศกึ ษา
การตดั สินผลการเรียน
หลักเกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพ่ือตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มดี งั น้ี
1) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
ของเวลาเรยี นทัง้ หมดในรายวชิ าน้นั
2) ผเู้ รียนตอ้ งได้รบั การประเมินทกุ ตวั ช้วี ดั และผ่านตามเกณฑ์ทสี่ ถานศกึ ษากาหนด
3) ผู้เรยี นต้องได้รับการตัดสนิ ผลการเรียนทุกรายวชิ า
4) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ บั การประเมินและมีผลการประเมินผา่ นตามเกณฑท์ ่สี ถานศกึ ษากาหนดในการอ่าน
คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคแ์ ละกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน
การเลือ่ นชน้ั
ผู้เรียนจะไดร้ ับการตดั สนิ ผลการเรยี นทุกภาคเรยี นและไดร้ บั การเลื่อนช้นั เม่อื สน้ิ ปกี ารศกึ ษา โดยมคี ณุ สมบัติ
ตามเกณฑ์ ดงั น้ี
1) รายวิชาพ้ืนฐาน ไดร้ ับการตัดสินผลการเรยี นผา่ นทุกรายวชิ า
2) รายวิชาเพิม่ เติม ได้รบั การตัดสินผลการเรียนผา่ นตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากาหนด
3) ผูเ้ รียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผา่ นตามเกณฑ์ท่ีสถานศกึ ษากาหนด ในการอ่าน
คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์และกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน
4) ระดับผลการเรียนเฉลย่ี ในปีการศกึ ษานั้นควรไดไ้ มต่ า่ กว่า 1.00
20
การดาเนินการตามกฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบประกนั คณุ ภาพภายใน พทุ ธศกั ราช 2564
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และมาตรา 47 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ว่าด้วยการ
ประกันคุณภาพการศึกษา เป็นกระบวนการดาเนินงานตามภารกิจของสถานศึกษา เพื่อสร้างความม่ันใจให้กับ
นักเรียน ผปู้ กครอง ชมุ ชนและสังคมโดยรวมวา่ การดาเนนิ งานของสถานศึกษาจะมีประสิทธภิ าพและทาใหผ้ ู้เรียน
มคี ณุ ภาพ หรอื คุณลกั ษณะพึงประสงคต์ ามมาตรฐานการศึกษาทีไ่ ดก้ าหนดไว้องค์ประกอบของระบบการประกัน
คุณภาพการศึกษา ประกอบด้วยการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การติดตามตรวจสอบเพ่ือควบคุมคุณภาพ
การศึกษา การประเมินคุณภาพการศึกษาซึ่งรวมถึงการใช้ผลประเมินเป็นฐาน เพ่ือการพัฒนาคุณภาพในวงจร
การพัฒนาใหม่ต่อเนื่องจึงนามาสู่การยกเลิกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ.2553 และประกาศใช้กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ลงวันที่20
กุมภาพันธ์ 2561 นาไปสู่การเปล่ียนแปลงหลักเกณฑ์และแนวดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ให้
สถานศึกษาแต่ละแห่งบริหารจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบตามหลักการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อใช้เป็น
กลไกเกิดการพัฒนาคุณภาพ โดยแนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงการ
ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 เน้นให้มีกระบวนการดาเนินงานความยืดหยุ่นสอดคล้องกับบริบทเฉพาะ
ของสถานศึกษาเป็นสาคัญทุกขั้นตอน ทั้งการกาหนดมาตรฐานการศึกษา การวางแผนและดาเนินการตาม
แผนพัฒนาการจัดการศึกษา การดาเนินการตามแผนและติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และการประเมิน
คณุ ภาพภายในและใชผ้ ลประเมินเพือ่ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาต่อเนือ่ ง โดยดาเนนิ การดังนี้
1. การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาและการประกาศคา่ เปา้ หมาย
2. การจดั ทาแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
3. การดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา
4. การประเมินผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา
5. การติดตามผลการดาเนินการเพ่ือพฒั นาสถานศึกษาใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
6. การจัดทารายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ของสถานศกึ ษา
7. การพัฒนาสถานศึกษาให้มคี ุณภาพอย่างตอ่ เนื่อง