The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

2.แผนเผชิญเหตุ

2.แผนเผชิญเหตุ

หน้า |1

โรงเรยี นบำรุงราษฎรว์ ทิ ยาคม

สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพิจติ รเขต 2
สำนักงานคระกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

หน้า |2

บทนำ

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้เกิดขึ้นในหลายพื้นที่และ
แพร่กระจายอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้มีจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ ผู้ป่วยสะสมและผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้น ซึ่งรัฐบาลได้
กำหนดมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวดมาแล้วระยะหนึ่ง จากการประเมินสถานการณ์คาดว่า
แม้การระบาดยังคงมีอยู่อีกระยะหนึ่ง แต่จากการที่รัฐบาลได้ดำเนินมาตรการตรวจคัดกรองเชิงรุกเพิ่มข้ึน
ประกอบกับการเร่งรัดดำเนินการ ฉีดวัคซีนให้แก่ประชาชน ซึ่งหากได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากทุกภาค
ส่วนจะช่วยใหส้ ถานการณ์ มีแนวโน้มที่ดีข้ึนเป็นลำดบั จึงสมควรผ่อนคลายมาตรการควบคุมบางกรณเี พื่อมิให้
สง่ ผลกระทบตอ่ การดำรงชวี ิตและการประกอบอาชีพของประชาชนเกนิ สมควร โดยกำหนดมาตรการควบคุมท่ี
จำเป็น ตามระดับของพื้นที่สถานการณ์ให้สอดคล้องกับสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 ในปัจจุบัน เพื่อให้การดำเนินชีวิตของประชาชนและการขับเคลื่อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม
สามารถดำเนินไปได้อย่างต่อเนื่องควบคู่ไปกับมาตรการด้านสาธารณสุข นายกรัฐมนตรีลงนามประกาศราช
กิจจานุเบกษา ข้อกำหนด ออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนด การบริหารราชการในสถานการณ์
ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (ฉบับที่ 23) ลงวันที่ 15 พฤษภาคม 2564 (ดูภาคผนวก) ในข้อ 2 การกำหนดพื้นที่
สถานการณ์ สำหรับจังหวัดพิจิตร จัดเป็นพื้นที่ควบคุม (สีส้ม) โรงเรียนและสถาบันการศึกษาทุกประเภท ให้
สามารถใช้อาคารสถานที่เพื่อการจัดการเรียนการสอน การสอบ การฝึกอบรม หรือทำกิจกรรมใด ๆ ได้ตาม
ความเหมาะสมและความพร้อม โดยให้ดำเนินการตามคำแนะนำของทางราชการและมาตรการป้องกันโรคที่
ทางราชการกำหนด ภายใต้การกำกับดแู ลของกระทรวงศึกษาธกิ าร

โรงเรียนบำรงุ ราษฎร์วทิ ยาคม มคี วามตระหนักในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 หว่ งใย
สขุ ภาพ และสวัสดภิ าพของนักเรยี น ครู บุคลากรทกุ คน จึงได้มีการกำหนดมาตรการและแนวปฏบิ ตั ิเตรียม
ความพร้อมสำหรบั เปิดภาคเรียนท่ี 2 ประจำปีการศึกษา 2564 ไวด้ งั นี้

หน้า |3

ผลการประเมนิ ความพร้อมของโรงเรียนผ่านระบบ Thai Stop Covid+ (TSC+)

โรงเรียนบำรุงราษฎร์วิทยาคม ได้ประเมินตนเองเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนตามแบบ
ประเมินตนเองในรูปแบบของ Digital Platform ผ่านระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) กรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข เมอื่ วันที่ 21 ตุลาคม 2564

รายงานผลการประเมนิ คะแนนเตม็ : 44 คะแนน คะแนนท่ไี ด้ : 44 คะแนน ระดบั : สีเขียว

หน้า |4

หน้า |5

มาตรการปอ้ งกันและรองรับการจัดการเรียนการสอนในสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของ
โรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ -19)

โรงเรยี นบำรงุ ราษฎร์วทิ ยาคม อำเภอบางมลู นาก จงั หวัดพิจิตร

โรงเรียนบำรุงราษฎร์วิทยาคม จัดทำแผนเผชิญเหตุตามมาตรการป้องกันตามระดับการ
แพร่ระบาดโควดิ 19 ของสถานศึกษา กรณีหากพบผตู้ ดิ เช้อื หรอื พบว่ามีนักเรียน ครู หรือบคุ ลากร
ทางการศึกษามีความเสี่ยงสูง สถานศึกษาต้องมีความพร้อมในเรื่องสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ทาง
การแพทย์ ระบบขนส่งระบบการประสานงานตรงกับบุคลากรทางการแพทย์ในพืน้ ที่ การสร้างการ
รับรู้ข่าวสารภายใน รวมทั้งการคัดกรองเพื่อแบ่งกลุ่มนักเรียน ครูและบุคลากรในสถานศึกษา
ตามท่ีกระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด ดงั นี้

ระดับการแพร่ระบาด มาตรการปอ้ งกนั

ในชมุ ชน ในสถานศึกษา ครู/นักเรยี น สถานศกึ ษา

ไม่มี ไม่พบ 1. ปฏิบัติตามมาตรการ DMHTT 1. เปดิ เรยี น Onsite

ผู้ติดเชือ้ ผูต้ ดิ เชอ้ื ยืนยัน 2. ประเมิน TST เปน็ ประจำ 2. ปฏิบัติตาม TST Plus

3. เฝ้าระวงั คัดกรอง กรณี

โรงเรยี นนอนประจำ,เด็กพเิ ศษ

ไม่พบ 1. ปฏบิ ตั ิตามมาตรการ DMHTT 1. เปดิ เรยี น Onsite

ผู้ตดิ เชอื้ ยนื ยนั 2. ประเมนิ TST ทกุ วัน 2. ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ

TST Plus

3. เฝ้าระวังคัดกรอง กรณี

โรงเรียนนอนประจำ,เดก็ พิเศษ

มีผ้ตู ดิ เชื้อ พบผู้ติดเชือ้ 1. ปฏิบตั ิเขม้ ตามมาตรการ 1. ปดิ ห้องเรยี นที่พบผตู้ ิดเช้ือ

ประปราย ยนื ยนั DMHTT * เน้นใสห่ น้ากาก *เว้น 3 วนั เพ่ือทำความสะอาด

ในห้องเรียน ระยะหา่ งระหว่างบุคคล 1 - 2 ม. 2. เปดิ หอ้ งเรียนอืน่ ๆ Onsite

1 รายขึน้ ไป 2. ประเมนิ TST ทกุ วัน ไดต้ ามปกติ

3. ระบายอากาศทกุ ๒ ช่ัวโมง 3. สุ่มตรวจเฝา้ ระวัง

กรณใี ช้เคร่ืองปรับอากาศ Sentinel Surveillance

4. กรณี High Risk Contact : ทกุ ๒ สปั ดาห์

หน้า |6

งดเรียน Onsiteและกกั ตวั ท่ี 4. ปฏิบัติเขม้ ตามมาตรการ

บ้าน 14 วัน TST Plus

5. กรณี Low Risk Contact :

ใหส้ งั เกตอาการของตนเอง และ

ปฏิบัตติ ามมาตรการของ

กระทรวงสาธารณสุข

ระดบั การแพร่ระบาด มาตรการป้องกัน

ในชุมชน ในสถานศึกษา คร/ู นกั เรยี น สถานศึกษา

พบผตู้ ิดเชอื้ 1. ปฏบิ ตั ิเขม้ ตามมาตรการ 1. ปิดห้องเรียนทพ่ี บผู้ตดิ เช้อื

ยืนยนั มากกวา่ DMHTT *เน้นใสห่ น้ากาก * 3 วัน เพือ่ ทำความสะอาด

1 ห้องเรยี น เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล หรอื มากกว่าตามอำนาจการ

1 – 2 เมตร พจิ ารณาของกระทรวง

2. ประเมิน TST ทกุ วัน ศกึ ษาธกิ าร

3. ระบายอากาศทกุ 2 ชั่วโมง 2. ปฏิบตั ิเขม้ ตามมาตรการ

กรณีใช้เครือ่ งปรับอากาศ TST Plus

มีผตู้ ิดเชอื้ 1. ปฏบิ ตั เิ ขม้ ตามมาตรการ 1. พจิ ารณาการเปิดเรียน

เป็นกลุ่ม DMHTT *เนน้ ใส่หนา้ กาก Onsite

ก้อน *เวน้ ระยะห่างระหวา่ งบุคคล โดยเข้มตามมาตรการทกุ มติ ิ

1-2 เมตร 2. สำหรบั พ้นื ทีร่ ะบาดแบบ

2. ประเมนิ TST ทุกวนั กลมุ่ ก้อน พิจารณาปิดโดย

3. ระบายอากาศทกุ 2 ชั่วโมง คณะกรรมการควบคุมการ

กรณีใช้เครอ่ื งปรบั อากาศ แพร่ระบาดระดบั พืน้ ที่ หาก

4. กรณี High Risk Contact : มหี ลกั ฐานและความจำเป็น

งดเรยี น Onsite และกกั ตัวที่ 3. สมุ่ ตรวจเฝ้าระวงั

บ้าน 15 วัน Sentinel Surveillance

5. กรณี Low Risk Contact : ทกุ 2 สัปดาห์

ใหส้ ังเกตอาการของตนเอง

หน้า |7

มีการ 1. ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ 1. พิจารณาการเปดิ เรียน

แพร่ระบาด DMHTT Onsite โดย เขม้ ตาม

ในชุมชน 2. เฝ้าระวงั อาการเสย่ี งทกุ วนั มาตรการทกุ มิติ

Self Quarantine 2. สำหรบั พ้นื ท่รี ะบาดแบบ

3. ประเมิน TST ทกุ วัน กลุม่ ก้อน พิจารณาปดิ โดย

คณะกรรมการควบคมุ การ

แพรร่ ะบาดระดับพ้ืนท่ี หาก

มีหลักฐานและความจำเป็น

3. สุม่ ตรวจเฝ้าระวงั Sentinel

Surveillance ทุก2 สปั ดาห์

ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข. (2564). คู่มอื การปฏิบตั มิ าตรการ Sandbox Safety Zone in School

เปดิ เรยี นม่ันใจปลอดภยั ไรโ้ ควิด 19 ในสถานศึกษา.กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข.

แนวปฏิบตั ริ ะหวา่ งเปิดภาคเรยี น

ในระหว่างเปิดเรียน โรงเรียนบำรุงราษฎร์วิทยาคม ต้องปฏิบัติตามมาตรการที่กระทรวง

สาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการกำหนดให้ครอบคลุมทุกมิติอย่างเคร่งครัด เพื่อป้องกันการ

แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของ

นกั เรียน ครแู ละบุคลากรในสถานศกึ ษาเปน็ สำคัญ เปน็ 2 กรณี ดังน้ี

1. กรณีเปดิ เรียนได้ตามปกติ (Onsite) โรงเรยี นบำรุงราษฎร์วิทยาคม มีวธิ ีปฏบิ ตั ิ ดังนี้

มาตรการ แนวทางปฏบิ ตั ิ
6 หลัก 6 มาตรการหลัก
6 เสรมิ 1. Distancing เว้นระยะหา่ ง เว้นระยะหา่ งระหว่างบคุ คลอย่างน้อย 1-2 เมตร
7 เขม้ งวด 2. Mask Wearing สวมหนา้ กาก สวมหน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาที่

อยู่ในสถานศึกษา
3. Hand washing ล้างมอื ล้างมอื บ่อย ๆ ดว้ ยสบแู่ ละนำ้ นาน 20 วินาทหี รือใช้

เจลแอลกอฮอล์
4. Testing คดั กรองวัดไข้ วดั ไข้ สังเกตอาการ ซักประวตั ิผสู้ ัมผสั เสยี่ งทกุ คนก่อนเข้า

สถานศึกษา
5. Reducing ลดการแออดั ลดเข้าไปในพืน้ ทีเ่ ส่ียง กลุม่ คนจำนวนมาก
6. Cleaning ทำความสะอาด ทำความสะอาดบริเวณพืน้ ผวิ สมั ผัสรว่ ม อาทิ ทจี่ ับ

หน้า |8

ประตู ลกู บดิ ประตู ราวบนั ได

6 มาตรการเสรมิ
1. Self care ดแู ลตนเอง ดูแลใส่ใจ ปฏบิ ตั ติ น มวี ินยั รับผิดชอบตวั เอง ปฏบิ ตั ิตาม

มาตรการอย่างเคร่งครัด
2. Spoon ใช้ช้อนกลางส่วนตวั ใช้ช้อนกลางของตนเองทกุ ครง้ั เมอ่ื ต้องรบั ประทาน

อาหารร่วมกัน ลดสมั ผสั รว่ มกับผูอ้ นื่
3. Eating รับประทานอาหารปรงุ สุกใหม่ กินอาหารปรงุ สกุ ใหม่รอ้ น ๆ กรณีอาหาร

เก็บเกนิ 2 ชม. ควรนำมาอุน่ ใหร้ อ้ นทั่วถึง กอ่ นกินอีกครัง้
4. Thai Chana ไทยชนะ ลงทะเบยี นตามที่รฐั กำหนดดว้ ย APP ไทยชนะ หรือ

ลงทะเบยี นบนั ทกึ การเข้า - ออกอยา่ งชดั เจน
5. Check สำรวจ ตรวจสอบ สำรวจบุคคล นักเรยี น กลมุ่ เสีย่ งที่เดนิ ทางมาจากพืน้ ท่ี

เสย่ี ง เพือ่ เข้าสกู่ ระบวนการคดั กรอง
6. Quarantine กกั กันตวั เอง กักกนั ตัวเอง 14 วนั เมอ่ื เข้าไปสมั ผสั หรืออยใู่ นพ้ืนที่

เสยี่ งทม่ี กี ารระบาดโรค

มาตรการ แนวทางปฏบิ ตั ิ

7 มาตรการเข้มงวด
1. สถานศกึ ษาผ่านการประเมิน TSC+ และรายงานการติดตามการ ประเมนิ ผลผ่าน

MOECOVID โดยถือปฏิบัติอย่างเข้มข้น ตอ่ เนื่อง
2. ทำกจิ กรรมรว่ มกนั ในรูปแบบ Small Bubble หลีกเล่ียงการทำกิจกรรมขา้ มกลุ่ม

และจดั นกั เรียนในหอ้ งเรียนขนาดปกติ (6 x 8) ไม่เกนิ 25 คน หรือจดั ให้เว้น
ระยะห่างระหว่างนักเรยี นในหอ้ งไมน่ อ้ ยกว่า 1.5 เมตร พิจารณาตามความ
เหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดตอ่ จังหวัด
3. จัดระบบการให้บริการอาหารสำหรบั นักเรยี น ครู และบุคลากรในสถานศึกษา
ตามหลกั มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทเิ ช่น การจัดซ้ือ
จัดหาวตั ถดุ บิ จากแหลง่ อาหาร การปรุงประกอบอาหาร หรือการสง่ั ซ้อื อาหารตาม
ระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ทถ่ี กู สุขลักษณะและตอ้ งมีระบบตรวจสอบทาง
โภชนาการก่อนนำมาบริโภค

หน้า |9

4. จดั การดา้ นอนามัยสง่ิ แวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏบิ ัติด้านอนามยั สิ่งแวดล้อมในการ
ปอ้ งกันโรคโควดิ 19 ในสถานศึกษา ไดแ้ ก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การ
ทำความสะอาด คุณภาพนำ้ อปุ โภคบริโภค และการจัดการขยะ

5. จดั ให้มสี ถานที่แยกกกั ตวั ในโรงเรียน (School Isolation) หรอื พ้ืนทีแ่ ยกกกั
ชวั่ คราว รวมถึงแผนเผชิญเหตุสำหรบั รองรบั การดูแลรกั ษาเบอ้ื งตน้ กรณี
นักเรียน ครูหรือบุคลากรในสถานศึกษามีการติดเช้อื โควิด 19 หรือผลการตรวจ
คัดกรองหาเช้ือเปน็ บวก โดยมกี ารซักซ้อมอย่างเครง่ ครัด โดยมคี วามรว่ มมือกับ
สถานพยาบาลเครือขา่ ยในพ้ืนที่ที่ดูแลอยา่ งใกล้ชิด

6. ควบคุมดแู ลการเดนิ ทางเขา้ และออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มขน้
โดยหลีกเลี่ยงการเข้าไปสมั ผัสในพ้ืนท่ีตา่ ง ๆ ตลอดเสน้ ทางการเดินทางจากบ้าน
ไป-กลบั โรงเรยี น ท้ังกรณีรถรับ-สง่ นกั เรียน รถสว่ นบคุ คล และพาหนะโดยสาร
สาธารณะ

7. ใหจ้ ดั ให้มี School Pass สำหรบั นักเรียน ครู และบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ซ่งึ
ประกอบด้วยข้อมลู ผลการประเมิน TST ผลตรวจตดั กรองหาเชือ้ ตามแนวทาง
คณะกรรมการควบคมุ โรคระดับพนื้ ที่ และประวัตกิ ารรบั วคั ซีน ตามมาตรการ
ของกระทรวงสาธารณสขุ โดยเฉพาะพืน้ ที่ควบคุมสูงสดุ (พนื้ ที่สีแดง) และพน้ื ที่
ควบคุมสงู สดุ และเขม้ งวด (พนื้ ท่ีสีแดงเข้ม)
แนวทางปฏบิ ัติ

1. การระบายอากาศภายในอาคาร
- เปิดประตหู นา้ ตา่ งระบายอากาศก่อนและหลังการใช้งาน อยา่ งน้อย 15 นาที
หน้าต่างหรอื ช่องลม อย่างนอ้ ย 2 ดา้ นของห้อง ให้อากาศภายนอกถา่ ยเทเข้าสู่
ภายในอาคาร
- กรณีใช้เคร่ืองปรบั อากาศ ควรระบายอากาศในอาคารก่อนและหลังการอย่าง
น้อย 2 ชั่วโมง หรือเปดิ ประตหู น้าตา่ งระบายอากาศชว่ ง พกั เทยี่ งหรอื ชว่ งที่ไมม่ ี
การเรยี นการสอน กำหนดเวลาเปดิ -ปดิ เครื่องปรับอากาศ และทำความสะอาด
สมำ่ เสมอ
2. การทำความสะอาด
- ทำความสะอาดวัสดสุ ่ิงของด้วยผงชกั ฟอกหรือน้ำยาทำความสะอาด และลา้ งมอื
ด้วยสบู่และน้ำ

ห น ้ า | 10

- ทำความสะอาดและฆ่าเชื้อโรคบนพนื้ ผวิ ท่ัวไป อปุ กรณ์สัมผัสร่วม เชน่ ห้องน้ำ
ห้องส้วม ลกู บิด ประตู รีโมทคอนโทรล ราวบันได สวติ ชไ์ ฟ (ปมุ่ กดลิฟท์ จุดน้ำ
ดื่ม เปน็ ต้น ด้วยแอลกอฮอล์ 70% นาน 10 นาที และฆ่าเชอื้ โรคบนพ้ืนผวิ วัสดุ
แข็ง เชน่ พน้ื กระเบอื้ ง เซรามคิ สแตนเลส ด้วยน้ำยาฟอกขาว หรอื โซเดยี มไฮโป
คลอไรท์ 0.1% นาน 5 – 10 นาที อยา่ งน้อยวันละ ๒ ครั้ง และอาจเพิ่มความถี่
ตามความเหมาะสมโดยเฉพาะเวลาทมี่ ผี ู้ใช้งานจำนวนมาก
3. คุณภาพนำ้ อุปโภคบรโิ ภค
- ตรวจดูคณุ ลกั ษณะทางกายภาพ สี กลิน่ และไมม่ ีสิ่งเจอื ปน
- ดแู ลความสะอาดจดุ บรกิ ารนำ้ ดม่ื และภาชนะบรรจุนำ้ ดมื่ ทุกวัน (ไม่ใชแ้ ก้วนำ้ ดื่ม
ร่วมกนั เดด็ ขาด)
- ตรวจคุณภาพนำ้ เพอื่ หาเชอ้ื แบคทเี รียดว้ ยชุดตรวจภาคสนามทุก 6 เดอื น
4. การจดั การขยะ
- มถี งั ขยะแบบมฝี าปดิ สำหรับรองรับสิง่ ของที่ไมใ่ ชแ้ ล้วประจำห้องเรียน อาคาร
เรยี นหรือบริเวณโรงเรยี นตามความเหมาะสม และมีการคัดแยก-ลดปริมาณขยะ
ตามหลกั 3R (Reduce Reuse Recycle)
- กรณขี ยะเกดิ จากผสู้ ัมผัสเสยี่ งสงู / กกั กันตัว หรอื หน้ากากอนามัยทีใ่ ช้แล้วนำใส่
ในถุงกอ่ นทงิ้ ใหร้ าดดว้ ยแอลกอฮอล์ หรือ 70% น้ำยาฟอกขาว 2 ฝา ลงในถุงมัด
ปากถุงใหแ้ น่น ซอ้ นด้วยถุงอกี 1 ช้นั ปิดปากถงุ ให้สนิท และฉีดพ่นบรเิ วณปากถุง
ด้วยสารฆ่าเชื้อแล้วทง้ิ ในขยะทัว่ ไป

การใช้ ในการพิจารณาอนุญาตให้ใช้อาคารสถานที่เพื่อการสอบ การฝึกอบรม หรือการทำ
อาคาร กิจกรรมโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรอื ผูข้ ออนญุ าตตอ้ งจดั ทำมาตรการเพ่ือเสนอต่อ
สถานทข่ี อง คณะกรรมการโรคติดต่อระดับอำเภอ หรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดซึ่งจะ
สถานศึกษา พจิ ารณาตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ โดยคณะกรรมการโรคตดิ ต่อระดับ
เพอ่ื การ อำเภอ หรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด จะพิจารณาร่วมกับผู้แทน
สอบ กระทรวงศึกษาธิการทเ่ี กี่ยวขอ้ ง โดยมีแนวปฏิบตั ิ ดังนี้
การ 1. แนวปฏิบตั ิดา้ นสาธารณสุข
ฝกึ อบรม 1.1 กำหนดจดุ คดั กรองช่องทางเขา้ ออก หากพบว่ามีไข้ ไอ จาม มนี ้ำมกู หรือ

ห น ้ า | 11

หรอื ทำ เหนอื่ ยหอบ หรือมอี ุณหภูมิรา่ งกายเท่ากบั หรือมากกวา่ 37.5 องศาเซลเซยี ส ข้ึนไป
กิจกรรม แจง้ งดให้เขา้ รว่ มกิจกรรม และแนะนำไปพบแพทย์ และอาจมีหอ้ งแยกผูท้ ี่มอี าการ
ใดๆ ออกจากพื้นท่ี
ทมี่ ี 1.2 ผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรม และผมู้ าติดตอ่ ตอ้ งสวมหนา้ กากผา้ หรอื หน้ากากอนามยั
ผเู้ ข้าร่วม ตลอดเวลาท่เี ข้าร่วมกิจกรรม
กจิ กรรม 1.3 จัดให้มเี จลแอลกอฮอล์ หรอื จุดล้างมือ สำหรับทำความสะอาดมอื ไว้บรกิ าร
จำนวนมาก บรเิ วณตา่ ง ๆ อยา่ งเพยี งพอ เชน่ บริเวณหน้าหอ้ งประชุม ทางเข้าออก หนา้ ลิฟต์

จดุ ประชาสัมพนั ธ์ และพน้ื ท่ที ่มี ีกจิ กรรมอน่ื ๆ เปน็ ต้น
1.4 จัดบริการอาหารในลักษณะที่ลดการสัมผัสอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกัน เช่น จัด

อาหารว่างแบบกลอ่ ง (Box Set) อาหารกลางวันในรูปแบบอาหารชุดเด่ียว (Course
Menu)

1.5 กรณีท่ีมกี ารจดั ให้มรี ถรบั สง่ ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม ใหเ้ ว้นระยะหา่ ง 1 ทีน่ ั่ง
ทำความสะอาดรถรบั ส่งทุกรอบหลังใหบ้ รกิ าร

1.6 กำกบั ให้นักเรยี นน่ังโดยมีการเว้นระยะหา่ งระหวา่ งทน่ี ่งั และทางเดนิ อย่าง
นอ้ ย 1.5 เมตร

1.7 จัดใหม้ ีถงั ขยะทมี่ ีฝาปดิ เก็บรวบรวมขยะ เพ่ือส่งไปกำจดั อยา่ งถกู ต้อง และ
การจดั การขยะท่ดี ี

1.8 จัดให้มีการระบายอากาศภายในอาคารที่ดี มีการหมุนเวียนของอากาศ
อย่างเพียงพอทง้ั ในอาคารและหอ้ งส้วม และทำความสะอาดเครื่องปรบั อากาศ
สมำ่ เสมอ

1.9 ใหท้ ำความสะอาดและฆา่ เช้อื ท่ัวทง้ั บริเวณ และเนน้ บรเิ วณทีม่ ักมีการสมั ผัส
หรอื ใชง้ านรว่ มกนั บ่อย ๆ ดว้ ยนำ้ ยาฟอกขาวท่ีเตรียมไว้ หรอื แอลกอฮอล์ 70% หรือ
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5% เช็ดทำความสะอาดและฆ่าเชื้ออย่างน้อยวันละ 2
ครั้ง ทำความสะอาดห้องส้วมทุก 2 ชั่วโมงและอาจเพิ่มความถี่ตามความเหมาะสม
โดยเฉพาะเวลาท่ีมีผู้ใช้งานจำนวนมาก
การใช้ 1.10 มมี าตรการตดิ ตามขอ้ มลู ของผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม เช่น การใช้แอปพลิเคชัน
อาคาร หรือใช้มาตรการควบคมุ การเขา้ ออกดว้ ยการบันทกึ ขอ้ มูล
สถานที่ของ 1.11 มีการจัดการคุณภาพนำ้ อปุ โภคบรโิ ภคทเี่ หมาะสม

1.11.1 จดั ใหม้ ีจุดบรกิ ารน้ำดม่ื 1 จุด หรือหัวกอ๊ กตอ่ ผ้บู ริโภค 75 คน

ห น ้ า | 12

สถานศึกษา 1.11.2 ตรวจสอบคุณภาพน้ำดืม่ น้ำใช้

เพื่อการ 1.11.3 ดูแลความสะอาดจดุ บริการนำ้ ด่ืม ภาชนะบรรจนุ ำ้ ดืม่ และใช้แกว้

สอบ น้ำสว่ นตัว

การ 2. แนวทางปฏิบตั ิสำหรบั ผจู้ ดั กจิ กรรม

ฝึกอบรม 2.1 ควบคมุ จำนวนผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม ไมใ่ ห้แออัด โดยคดิ หลักเกณฑ์จำนวนคนต่อ

หรอื ทำ พืน้ ทจ่ี ัดงาน ไม่นอ้ ยกวา่ 4 ตารางเมตรต่อคน พิจารณาเพ่ิมพื้นที่ทางเดินใหม้ ีสัดส่วน

กจิ กรรม มากขน้ึ

ใดๆ 2.2 จำกดั จำนวนผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม และกระจายจดุ ลงทะเบยี นใหเ้ พยี งพอสำหรับ

ทม่ี ี ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม เพอ่ื ลดความแออดั โดยอาจใชร้ ะบบการประชุมผา่ นส่อื

ผู้เข้าร่วม อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ใช้การสแกน QR Code ในการลงทะเบียนหรอื ตอบแบบสอบถาม

กจิ กรรม 2.3 ประชาสมั พันธ์มาตรการ คำแนะนำในการป้องกนั การแพร่ระบาดให้แก่

จำนวนมาก ผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมทราบ

3. แนวทางปฏบิ ตั ิสำหรับผูเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม

3.1 สังเกตอาการตนเองสม่ำเสมอ หากมีไข้ ไอ จาม มีน้ำมูก หรอื เหน่ือยหอบ ให้

งดการเข้าร่วม กิจกรรมและพบแพทยท์ ันที

3.2 สวมหน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามัย เว้นระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คลอย่างนอ้ ย

1 - 2 เมตร งดการรวมกลุ่ม และลดการพดู คยุ เสยี งดัง

3.3 ลา้ งมอื ดว้ ยสบู่ หรอื เจลแอลกอฮอล์บอ่ ย ๆ กอ่ นและหลังใช้บรกิ าร หรือ

หลังจากสัมผัสจุดสัมผสั ร่วมหรอื สง่ิ ของ เครอ่ื งใช้ เม่ือกลบั ถงึ บ้านควรเปล่ยี นเสอ้ื ผ้า

และอาบนำ้ ทนั ที

3.4 ปฏิบตั ติ ามระเบียบของสถานทีอ่ ยา่ งเคร่งครัด และปฏิบัตติ ามมาตรการ

สุขอนามยั สว่ นบุคคลอยา่ งเขม้ ขน้ ไดแ้ ก่ 6 มาตรการหลกั (DMHT-RC) และ

6 มาตรการเสรมิ (SSET-CQ)

2. กรณีโรงเรยี นไมส่ ามารถเปิดเรยี นไดต้ ามปกติ
การจัดการเรยี นการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรสั โคโรนา 2019

(COVID-19) ซึ่งสถานศึกษาไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้อย่าง
ต่อเนอ่ื งสถานศึกษาจึงควรเลือกรปู แบบการเรยี นการสอนให้มคี วามเหมาะสมตามความพร้อมของ
สถานศึกษา ดังน้ี

ห น ้ า | 13

1) การเรียนผ่านโทรทัศน์ (On Air) คือการเรยี นรทู้ ใี่ ช้ส่อื วีดทิ ศั นก์ ารเรียนการสอนของ
มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 6

2) การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) การจัดการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
และแอปพลิเคชันการจัดการเรียนการสอนแบบนี้ สำหรับครูและนักเรียนที่มีความพร้อมทางด้าน
อปุ กรณ์ เชน่ คอมพวิ เตอร์ แท็บเล็ต โทรศัพท์ และมีการเช่ือมต่อสญั ญาณอนิ เทอร์เน็ต

3) การเรียนผ่านหนังสือ เอกสารและใบงาน (ON Hand) การจัดการเรียนการสอนใน
กรณีที่นักเรียนมีทรัพยากรไม่พร้อมในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบข้างต้น โดยสถานศกึ ษา
จดั ทำแบบฝึกหัดหรอื ให้การบ้านไปทำที่บา้ น อาจใช้ร่วมกับรปู แบบอื่น ๆ ตามบริบทของท้องถ่ิน

4) การจัดการเรียนการสอนแบบ (ON Demand) คือการเรยี นร้ผู ่านทางเว็บไซต์ DLTV
(www.dltv.ac.th) หรือ ช่อง YouTube (DLTV Channel 1-15) และแอปพลิเคชัน DLTV บน
สมารท์ โฟนหรือแท็บเล็ต

แผนผัง แนวปฏบิ ัติระหวา่ งเปดิ ภาคเรยี น

แนวปฏบิ ัตริ ะหวา่ งเปิดภาคเรียน

กรณีเปดิ เรยี นได้ตามปกติ (On Site) กรณโี รงเรียนไม่สามารถเปิดเรยี นไดต้ ามปกติ

1. 6 มาตรการหลัก 6 มาตรการเสรมิ และ 1. การเรียนผ่านโทรทศั น์ (On Air)
7 มาตรการเข้มงวด 2. การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online)
3. การเรียนผา่ นหนงั สือ เอกสารและใบงาน
2. ด้านอนามยั ส่ิงแวดล้อม
3. ด้านการจดั การเรียนการสอน (On Hand)
4. ดา้ นสาธารณสขุ 4. การจัดการเรียนการสอนแบบ (On Demand)
5. แนวทางปฏิบัติสำหรบั ผจู้ ัดกจิ กรรม
6. แนวทางปฏบิ ัตสิ ำหรบั ผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม

ห น ้ า | 14

แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาด

ของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19)

โรงเรยี นบำรงุ ราษฎร์วทิ ยาคม อำเภอบางมลู นาก จังหวดั พิจติ ร

แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนบำรุงราษฎร์วิทยาคม พิจารณาเลือกจัดการเรียนการ
สอนโดยพจิ ารณารูปแบบใหม้ ีความเหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษา ให้สอดคลอ้ งกับหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยโรงเรียนสามารถกำหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่
แตกต่างจากที่กำหนดไว้นี้ หรือจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Hybrid) โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภยั ของนักเรียน ครู และบคุ ลากรเป็นสำคญั

รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้

ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)

แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) มี 2 รปู แบบหลกั ดงั นี้

1. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบชั้นเรียน (Onsite) ลักษณะแบบผสมผสาน
(Hybrid) มรี ูปแบบการจัดการเรยี นการสอน ดังน้ี

1.1 รูปแบบที่ 1 การจัดการเรียนการสอนแบบชั้นเรียนปกติ รูปแบบนี้เน้นการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียน หรือในชั้นเรียนเป็นหลัก ครูผู้สอนสามารถนำรูปแบบการเรียน
การสอนอื่น ๆ มาผสมผสาน (Hybrid) ใช้กับการเรียนการสอนเพิ่มเติมในช้ันเรียนได้ เช่น การ
เรียนผ่านโทรทัศน์ (On Air) หรือการเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต ผ่านแอปพลิเคชัน (Online) หรือ
รูปแบบอื่น ๆ ตามความพร้อม และบริบทของสถานศึกษา ทั้งนี้ให้เป็นตามมาตรการสาธารณสุข
อย่างเคร่งครัด

2. รูปแบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) รูปแบบการเรียนการสอน
ทางไกล (Distance Learning) มี 4 รปู แบบ ดังนี้

2.1 รูปแบบการเรียนผ่านโทรทัศน์ (On Air) วิธีการนี้ เป็นกรณีที่ไม่สามารถ
จัดการเรียนการสอนที่โรงเรียนได้ หรือไม่สามารถจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนมาเรียนที่
โรงเรียนพร้อมกันได้ทุกคน เป็นการเรียนรู้ผ่านสื่อวีดิทัศน์การจัดการเรียนการสอนของมูลนิธิ

ห น ้ า | 15

การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ตั้งแต่ชนั้ อนบุ าลปีที่ 2 ถงึ ช้ันประถมศึกษา
ปีที่ 6 โดยดำเนนิ การออกอากาศ มที ้งั หมด 4 ระบบ ได้แก่

1) ระบบดาวเทยี ม (Satellite)
1.1) KU-Band (จานทึบ) ช่อง 186 – 200
1.2) C-Band (จานโปรง่ ) ชอ่ ง 337 – 348

2) ระบบดิจิทัลทีวี (Digital TV) ช่อง 37 – 48
3) ระบบเคเบล้ิ ทวี ี
4) ระบบ IPTV.
2.2 รปู แบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) รูปแบบน้เี ปน็ รปู แบบการ
เรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต และแอปพลิเคชัน การจัดการเรียนการสอนแบบนี้ สำหรับครูและ
นักเรียนที่มีความพรอ้ มทางด้านอุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต โทรศัพท์ และมีการเช่ือมตอ่
สญั ญาณอินเทอร์เน็ต
2.3 รูปแบบการเรียนการสอนผ่านหนังสือ เอกสาร ใบงาน (ON Hand)
รูปแบบนี้เป็นการเรียนการสอนผ่านหนังสือโดยให้แบบฝึกหัด ให้การบ้านไปทำที่บ้าน อาจใช้
ร่วมกับรูปแบบอื่น ๆ ตามความเหมาะสม และความต้องการของนักเรียน ในกรณีที่นักเรียนมี
ทรพั ยากรไม่พรอ้ มในการจดั การเรยี นการสอนในรูปแบบอน่ื ๆ
2.4 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ (ON Demand) รปู แบบนี้เปน็ การ
เรียนร้ผู ่านทางเวบ็ ไซต์ DLTV (www.dltv.ac.th) หรอื ชอ่ ง YouTube (DLTV Channel 1-15)
และแอปพลเิ คชนั DLTV บนสมารท์ โฟน หรือแท็บเล็ต

คลังความรู้ (Knowledge Bank) ทส่ี นบั สนนุ การเรียนการสอนด้วยระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ัล
(Digital Learning Platform)

คลังความรู้ (Knowledge Bank) ที่สนับสนุนการเรียนการสอน ด้วยระบบเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัล (Digital Learning Platform) ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ทำใหน้ ักเรียนไม่สามารถกลับไปเรียนแบบ Onsite ท่ีสถานศึกษาได้ แต่การเรียนของ
นักเรียนยังคงต้องดำเนินต่อไปไม่หยุดยั้ง ดังนั้น คลังความรู้ (Knowledge Bank) ที่จะเป็นแหล่ง
เรยี นรใู้ นระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Learning Platform) สนบั สนนุ การจัดการเรียนการสอน
ให้กับครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียน เลือกนำไปใช้ในการนำไปจัดการเรียนการสอนให้
เหมาะสม และตามบรบิ ทของสถานศกึ ษาแต่ละพืน้ ที่ ดงั นี้

ห น ้ า | 16

1. ครพู รอ้ ม เว็บไซต์ https://www.ครพู รอ้ ม.com/

ครูพร้อม เป็น Web Portal จากกระทรวงศึกษาธิการ ที่จัดทำขึ้นมาใหม่ เพื่อเสริมแฟลต
ฟอร์มต่าง ๆ ที่หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการมีอยู่ โดยจะเป็นคลังสื่อ ข้อมูลการเรียนรู้
ตลอดจนรูปแบบการจัดกจิ กรรม ซง่ึ มีขอ้ มลู ทงั้ ของ สพฐ. สช. สำนกั งานกศน. และสอศ

2. OBEC Content Center เว็บไซต์ https://contentcenter.obec.go.th/
OBEC Content Center คือ คลังเนื้อหาอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เป็นโปรแกรมสำหรับให้บริการเผยแพร่เนื้อหาอิเล็กทรอนิกส์ แก่
นักเรียน ครู ศึกษานิเทศก์ และบุคลากรทางการศึกษา รองรับการเข้าถึงเนื้อหาอิเล็กทรอนิกส์
ไดแ้ ก่ แอปพลิเคชนั หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ต่าง ๆ

3. DLTV เว็บไซต์ www.dltv.ac.th/ แอปพลเิ คชัน DLTV และช่องยูทปู DLTV
1Channel - DLTV 12 Channel และ DLTV 15 Channel

Distance Learning Television (DLTV) คือ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เกิดจาก
พระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ
บพิตรทรงมีพระราชปณิธานในการจัดการศึกษาให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง เท่าเทียม และมี
คุณภาพ ด้วยเทคโนโลยที ี่ทันสมัยทีส่ ดุ ในขณะนั้น เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา แก้ปัญหา
การขาดแคลนครู ครูไม่ครบชัน้ และครูสอนไมต่ รงสาขาวชิ าเอก โดยเฉพาะโรงเรียนในพน้ื ที่หา่ งไกล
ปัจจุบันโครงการนี้อยู่ในความดูแลของมูลนิธิศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในพระบรมราชูปถัมภ์
โดยจ ะถ่ายทอดการเรียนการสอนจากโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ อำเภอหัวหิน
จงั หวัดประจวบคีรขี ันธ์ และเผยแพร่ภาพไปทั่วประเทศ

ห น ้ า | 17

ช่องยูทูบ (YouTube) DLTV 1Channel ถงึ DLTV 15 Channel

4. Scimath เว็บไซต์ https://www.scimath.org/index.php

Scimath คลังความรู้สู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี จัดทำ
โดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมสื่อการ
เรียนการสอน โครงงานบทความ ข้อสอบ และรายการโทรทัศน์และวิทยุที่เกี่ยวข้องกับ
วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี

5. ศูนยเ์ รียนรดู้ ิจิทลั ระดบั ชาตดิ า้ นวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี สสวท.

เว็บไซต์ https://learningspace.ipst.ac.th/ ศูนย์เรียนรู้ดิจิทัลฯ คือ ศูนย์ดิจิทัลชุมชน
เปน็ ศนู ย์การเรียนรู้และต่อยอดเทคโนโลยีด้านดจิ ิทลั ใหก้ บั เด็ก เยาวชน และประชาชนในชุมชนท่ัว

ห น ้ า | 18

ประเทศให้สามารถค้นหาขอ้ มลู เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นการลดความ
เหลือ่ มล้ำในการเขา้ ถงึ เทคโนโลยดี ิจิทัลใหค้ นไทยทุกคนไดใ้ ช้บรกิ ารอยา่ งทวั่ ถงึ และเทา่ เทียมกนั

6. สะเต็มศกึ ษา (STEM Education Thailand) เว็บไซต์
http://www.stemedthailand.org/

สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรู้ใน ๔ สหวิทยาการ ได้แก่
วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนำความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต
จริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการ
ทำงานช่วยนักเรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่าง 4 สหวิทยาการ กับชีวิตจริงและการทำงาน การ
จัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ไม่เน้นเพียงการท่องจำทฤษฎี หรือกฎทาง
วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ แต่เป็นการสร้างความเข้าใจทฤษฎีหรือกฎเหล่านั้นผ่านการปฏิบตั ิ
ให้เห็นจริงควบคู่กับการพัฒนาทักษะการคิด ตั้งคำถาม แก้ปัญหาและการหาข้อมูลและวิเคราะห์
ข้อค้นพบใหม่ ๆ พรอ้ มทงั้ สามารถนำขอ้ คน้ พบนน้ั ไปใชห้ รอื บรู ณาการกับชีวติ ประจำวนั ได้

7. ระบบออนไลน์ข้อสอบ PISA เว็บไซต์ https://pisaitems.ipst.ac.th/

ระบบออนไลน์ข้อสอบ PISA เป็นระบบสารสนเทศที่เผยแพร่ข้อสอบที่ OECD อนุญาตให้
เผยแพร่ และข้อสอบที่พัฒนาโดย สสวท. การลงทะเบยี นเขา้ ใช้งานระบบออนไลน์ข้อสอบ PISA ท่ี
OECD อนุญาตให้เผยแพร่ และข้อสอบที่พัฒนาโดย สสวท. สามารถใช้ชื่อผู้ใช้ (User Name)
เดียวกนั ได้

8. TK Park เวบ็ ไซต์ https://www.tkpark.or.th/tha/home

ห น ้ า | 19

TK Park คือ แอปพลิเคชัน แหล่งรวมสาระความรู้และความความเพลิดเพลินให้เด็กไทย
เรียนรอู้ ย่างสร้างสรรค์ โดยการนำองค์ความรู้ ไทยทม่ี คี วามหลากหลาย

9. หอ้ งเรียนแห่งคณุ ภาพ (DLIT Classroom) เว็บไซต์
https://dlit.ac.th/site/classroom.php/

DLIT คอื เคร่อื งมือทม่ี ีเน้ือหาและเทคโนโลยีสำหรับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างครบ
วงจร ตั้งแต่การวางแผน การจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การจัดการเรียนการสอนเพิม่ เติม การสอบที่มีประสิทธิภาพ และการพัฒนา
วชิ าชพี อยา่ งยง่ั ยืน

แอปพลิเคชัน (Applications) สนับสนนุ การเรยี นการสอนทางไกล
สถานศึกษาสามารถเลือกใช้ Applications สนับสนุนการเรียนการสอนทางไกล ซึ่งเป็น

ช่องทางการสื่อสารการจัดการเรียนการสอนแบบทางไกล ที่เหมาะสมตามสภาพพื้นที่ของ
สถานศกึ ษา ดงั นี้

1. Microsoft Teams โปรแกรมประชุมออนไลนข์ อง Microsoft สำหรบั ใช้พูดคุยประชุม
กันผ่านการแชต และวิดีโอคอล อีกทั้งยังสามารถเปิดดูและแก้ไขไฟล์งานร่วมกันได้แบบเรียลไทม์
เหมาะสำหรับการใช้ทำงานในระดับองค์กรหรือการศึกษา สามารถใช้งานได้ฟรี โดยการใช้
Microsoft Team แบบฟรีจะสามารถเรียนออนไลน์ร่วมกันได้สูงสุด 100 คน นานสุด 60 นาที
พร้อมพน้ื ที่จัดเก็บไฟลค์ นละ 1 GB รองรบั การใชง้ านทง้ั บนเว็บเบราว์เซอร์ ติดตั้งเปน็ โปรแกรมบน
คอมพิวเตอร์ หรือแอปพลเิ คชนั บนอุปกรณ์มือถอื และแทบ็ เล็ต

ห น ้ า | 20

2. Zoom Meeting โปรแกรมประชุมออนไลน์แบบ Video Call ที่มีคนใช้งานกันมาก
ที่สุดในช่วง Work from Home ซึ่งทำให้องค์กรต่าง ๆ สามารถประชุมงานพร้อมกันได้หลายคน
พูดคุยแบบเหน็ หน้ากนั

สามารถแชรห์ น้าจอใหค้ นอ่ืนดูได้ รวมทั้งนกั เรียนนกั ศกึ ษาและครอู าจารย์ก็สามารถใช้ Zoom ใน
การเรียนและสอนออนไลนไ์ ดด้ ว้ ยเชน่ กนั สำหรับการใช้งาน Basic User (โดยไมเ่ สียค่าใชจ้ า่ ย) จะ
รองรับการซูมพร้อมกันสูงสุด 100 คน แต่มีการจำกัดระยะเวลาการประชุมไว้ที่ 40 นาทีต่อคร้ัง
สำหรบั Pro User (เสียคา่ ใชจ้ า่ ย) รองรับการซูมพรอ้ มกนั สงู สุด 300 คน และไมจ่ ำกัดระยะเวลาท่ี
ใชใ้ นการประชุม

3. Google Meet โปรแกรมสำหรับการประชุมทางวิดีโอแบบออนไลน์ โดยผู้สอนที่มี
บัญชี Google จะสามารถสร้างห้องเรียนออนไลน์ที่รองรับนักเรียนได้สูงสุด 100 คน และใช้สอน
ได้สูงสุด 60 นาทีต่อการสร้างห้อง 1 ครั้ง นอกจากนี้ก็ยังมีฟีเจอร์ขั้นสูงที่รองรับนักเรียนภายใน
หรือภายนอกชั้นเรียนสูงสุด 250 คน และสตรีมมิ่งแบบสดสำหรับให้คนเขา้ มาดูพร้อมกันได้สูงสุด
ถึง 100,000 คน

4. LINE LINE เป็นแอปพลิเคชัน ที่นิยมใช้ในการคุยแชต การใช้ LINE สำหรับการสอน
ออนไลน์เป็นวิธีทีส่ ะดวก เพราะทั้งผู้เรียนและผู้สอนไมจ่ ำเป็นต้องไปหาแอปพลิเคชัน อื่น ๆ มาใช้
เพิ่มเติม โดยใช้ฟีเจอร์ Group Call ที่รองรับสูงสุดถึง 200 คน ใช้ได้ทั้งบน PC และมือถือ อีกทั้ง
สามารถแชร์ภาพหน้าจอของตัวเองให้นักเรียนดูได้ หรือจะใช้ฟีเจอร์ Live เพื่อถ่ายทอดสดการ
สอนกไ็ ด้เช่นกนั

5. Facebook Live การใช้ Facebook Live ในการสอนออนไลน์เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ง่าย
และสะดวก เนื่องจากคนส่วนใหญ่มีบัญชี Facebook อยู่แล้ว จึงสามารถสอนออนไลน์แบบ
ถ่ายทอดสดให้นักเรียนสามารถเข้ามาดูได้ง่ายแต่มีข้อเสียคือตัวผู้สอนจะไม่สามารถเห็นหน้าจาก
กล้องของนักเรียนแต่ละคน รวมทั้งไม่สามารถจำกัดผู้เข้าเรียนได้ แต่การแชร์หน้าจออาจต้องใช้
โปรแกรมเพิม่ เติมอย่างเช่น OBS

ห น ้ า | 21

6. YouTube เป็นอีกหนึ่งช่องทางที่สามารถใช้ถ่ายทอดสดการสอนได้เช่นเดียวกับ
Facebook Live โดยตัวผู้สอนจะต้องมีบัญชี YouTube ส่วนผู้เข้าเรียนนั้นจะมีบัญชหี รือไมม่ ีก็ได้
และผู้สอนสามารถตั้งค่าการถ่ายทอดสดเพื่อให้เฉพาะผู้ที่มีลิงก์สามารถเข้าเรียนได้ ส่วนการแชร์
หน้าจออาจต้องใช้โปรแกรมเพิ่มเติมอย่างเช่น OBS เหมือนกับ Facebook Live หากต้องการ
สตรีมแบบสดบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ ช่องของผู้ใช้จะต้องมีผู้ติดตามอย่างน้อย 1,000 คน จึงจะ
สามารถดำเนินการแบบสดผ่านคอมพวิ เตอรแ์ ละเวบ็ แคมได้

7. Google Hangouts Meet สามารถแชทกับเพื่อน คุยแบบเห็นหน้าได้ทั้งแบบเดี่ยว
และแบบกลุม่ เชอื่ มต่อได้ทงั้ คอมพิวเตอร์แท็บเล็ต หรอื ใช้กับสมารท์ โฟน โดยลงชื่อเขา้ ใชด้ ว้ ยบญั ชี
ของ Google เพิ่มอีโมจิ และภาพเคลื่อนไหวแบบ GIF รับส่งข้อความ SMS/ MMS มีแจ้งเตือน
เก็บบันทึกไว้หลังประชุมจบ อีกทั้งยังสามารถแชร์ Location ได้ปัจจุบันรองรับจำนวนผู้เข้าร่วม
สงู สดุ ไดถ้ ึง 50 คน โดยเปดิ ใช้ฟรีท้ังหมด ไม่เสียค่าใช้จา่ ย

8. Padlet คือ เว็บไซต์ที่ให้บริการกระดานแสดงความคิดเห็นออนไลน์ รองรับผู้ใช้หลาย
คนผู้ใช้สามารถเข้ามาอภิปรายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร เขียนคำถาม คำตอบ หรือสรุปเนื้อหา
เป็นช่องทางแสดงความคิดเห็นของนักเรียนและครูหรือเพื่อน ๆ ในชั้นเรียน ได้ดีมากวันนี้จึงนำ
โปรแกรมดี ๆ มฝี ากเพอื่ นครแู ละผทู้ สี่ นใจลองใช้ มีแบบฟรีและเสยี ค่าใชจ้ า่ ย

ห น ้ า | 22

สรปุ ความสามารถในการใช้งานของแตล่ ะโปรแกรม

ห น ้ า | 23

บทบาทของบคุ ลากรและหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ ง

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ยังคงมีการ
แพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สถานศึกษามีแนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนบำรุงราษฎร์วิทยาคม สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน จึงกำหนดบทบาทของ บคุ ลากรและหน่วยงานทเี่ ก่ียวข้อง ดงั นี้
1. บทบาทของนกั เรียน

นักเรียนเป็นหัวใจสำคัญที่ต้องได้รับความคุ้มครอง ดูแลในเรื่องความปลอดภัยอย่างสูงสุด
ทั้งนี้นักเรียนจะต้องถือปฏิบัติตนตามมาตรการความปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสุขและ
กระทรวงศึกษาธิการอย่างเคร่งครัด ตั้งแต่การเดินทางออกจากบ้านมาเรียน ขณะอยู่ในโรงเรียน
จนถึงการกลับบา้ น บทบาทของนักเรยี น ควรมดี ังนี้

1) เตรียมความพรอ้ มในเรื่องอุปกรณ์การเรียน เครอ่ื งใชส้ ่วนตัว และอนื่ ๆ ทจี่ ำเป็นสำหรบั
การเรียน

2) ปฏิบัติตาม 6 มาตรการหลัก 6 มาตรการเสริมของกระทรวงสาธารณสุขกำหนดอย่าง
เคร่งครดั

3) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยง
จากการแพรก่ ระจายของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) จากแหล่งขอ้ มูลทเ่ี ชื่อถอื ได้

4) ประเมินความเสยี่ งของตนเองผา่ นแอพพลิเคชน่ั Thai Save Thai(TST) อยา่ งสมำ่ เสมอ
และสังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ
ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส รีบแจ้งครูหรือผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยง และอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติ
ตามคำแนะนำของเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสขุ อยา่ งเครง่ ครดั

5) ขอคำปรึกษาจากครูผู้สอนเมื่อพบปัญหาเกี่ยวกับการเรียน อุปกรณ์การเรียนเรียน
เครื่องใช้ส่วนตัว หรือพบความผิดปกติของร่างกายที่อาจเสี่ยงต่อการติดเชื้อของ โรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ทนั ที

2. บทบาทของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
ครูและบุคลากรทางการศึกษานั้น ซึ่งถืออยู่ใกล้ชิดนักเรียน มีหน้าที่สำคัญในการจัดการ

เรียนรู้ให้แก่นักเรียนทุกรูปแบบ จึงต้องเตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอน การวัดและ

ห น ้ า | 24

ประเมินผลการเรียนการสอน นอกจากจะต้องดูแลตนเองแล้ว ยังต้องดูแลนักเรียนอีกด้วย
โดยเฉพาะด้านสุขอนามัยตามมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด บทบาทของครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ควรมดี ังนี้

1) ประชุมออนไลน์ (Online) ชแี้ จงผปู้ กครองนักเรียนเพ่ือสร้างความเข้าใจร่วมกัน ในการ
ปอ้ งกัน การเฝ้าระวัง การเตรียมตวั ของนักเรยี นใหพ้ ร้อมก่อนเปดิ เรียน

2) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอพพลิเคชัน Thai Save Thai (TST) อย่าง
สม่ำเสมอและสังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก
เหนื่อยหอบ ไมไ่ ด้กลิน่ ไมร่ รู้ ส ให้หยดุ ปฏบิ ัติงาน และรีบไปพบแพทย์ทนั ที กรณีมีคนในครอบครัว
ป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงและอยู่ในช่วงกักตัว
ใหป้ ฏิบัตติ ามคำแนะนำของเจ้าหน้าทส่ี าธารณสขุ อย่างเคร่งครัด

3) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019(COVID-19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความ
เสี่ยงจากการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือ
ได้

4) จดั หาสื่อประชาสัมพันธใ์ นการปอ้ งกนั และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายโรคตดิ เช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใหแ้ กน่ ักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกตอ้ ง การสวมหน้ากาก
ผ้าหรือหน้ากากอนามัย คำแนะนำการปฏิบัติตัว การเว้นระยะห่างทางสังคม การทำความสะอาด
หลกี เลีย่ งการทำกิจกรรมรว่ มกนั จำนวนมากเพ่ือลดจำนวนคน

5) ปฏิบัติตาม 6 มาตรการหลัก 6 มาตรการเสริม ของกระทรวงสาธารณสุขกำหนดอย่าง
เครง่ ครดั

6) คอยดูแล สอดส่องช่วยเหลือนักเรียนในเรื่องสุขอนามัยให้เป็นไปตามมมาตรการท่ี
กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ไดแ้ ก่

(1) ทำการตรวจคัดกรองสุขภาพนกั เรยี นทกุ คนทีเ่ ขา้ มาในโรงเรียนในตอนเช้า ใช้
เครอ่ื งวัดอุณหภูมริ ่างกายพรอ้ มสังเกตอาการและสอบถามอาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้
ไอ มนี ำ้ มูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไมไ่ ด้กลน่ิ ไมร่ รู้ ส โดยติดสญั ลกั ษณ์ สตกิ เกอร์หรอื
ตราป๊ัม แสดงใหเ้ หน็ ชัดเจนวา่ ผ่านการคัดกรองแล้ว

(2) กรณพี บนกั เรยี นหรอื ผู้มอี าการมไี ข้ อุณหภูมริ ่างกายต้งั แต่ 37.5 องศาเซลเซียส
ขึ้นไปร่วมกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง จัดให้อยู่ในพื้นที่แยกส่วน ประสาน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพื่อตรวจคัดกรองอีกคร้ัง

ห น ้ า | 25

หากพบว่าผลตรวจเบื้องต้นเป็นบวกจึงแจ้งผู้ปกครองมารับ จากนั้นแจ้งผู้บริหารหรือผู้มีส่วน
เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการตามแผนเผชิญเหตุ และมาตรการป้องกันตามระดับการแพร่ระบาดโรค
ติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของสถานศกึ ษา

(3) บันทึกผลการคัดกรองและส่งต่อประวัติการป่วย ตามแบบบันทึกการตรวจ
สุขภาพ

(4) จัดอุปกรณ์การล้างมือ พร้อมใช้งานอย่างเพียงพอ เช่น เจลแอลกอฮอล์วางไว้
บริเวณทางเขา้ สบู่ลา้ งมอื บรเิ วณอา่ งลา้ งมอื

7) ตรวจสอบ กำกับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยู่ในกลุ่ม
เสี่ยงตอ่ การติดโรคโควดิ 19 และรายงานตอ่ ผู้บริหาร

8) ปรับพฤติกรรมสำหรับนักเรียนที่ไม่ร่วมมือปฏิบัติตามมาตรการที่ครูกำหนด ด้วยการ
แก้ปัญหาการเรียนรู้ใหม่ให้ถูกต้อง นั่นคือ “สร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์” หรือ “ลดพฤติกรรมท่ี
ไมพ่ ึงประสงค์”

9) สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติที่เกิดขึ้นได้ในภาวะ
วิกฤติที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และนำกระบวนการการ
จัดการความเครยี ด การฝึกสติให้กลมกลืนและเหมาะสมกับนักเรียนแตล่ ะวัยร่วมกับการฝกึ ทกั ษะ
ชีวิตที่เสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจ (Resilience) ให้กับนักเรียน ได้แก่ ทักษะชีวิตด้านอารมณ์
สงั คม และความคิด เป็นต้น

10) สังเกตอารมณ์ความเครียดของตัวเอง เนื่องจากภาระหน้าที่การดูแลนักเรียนจำนวน
มาก และกำกับให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
เป็นบทบาทสำคัญอาจจะสร้างความเครียดวติ กกังวลท้งั จากการเฝ้าระวังนักเรียน และการป้องกัน
ตวั เองจากการสัมผสั กับเชือ้ โรคดงั นนั้ เมื่อครูมคี วามเครยี ด จากสาเหตตุ ่าง ๆ มขี ้อเสนอแนะ ดงั นี้

(1) กรณมี คี วามสับสนกับมาตรการของโรงเรียนที่ไม่ชดั เจน แนะนำให้สอบถามกับ
ผู้บรหิ ารโรงเรียนหรอื เพ่ือนรว่ มงาน เพือ่ ใหเ้ ขา้ ใจบทบาทหนา้ ทแี่ ละข้อปฏิบตั ิทีต่ รงกนั

(2) กรณีมีความวิตกกังวล กลัวการติดเชื้อในโรงเรียน ให้พูดคุยสื่อสารถึงความไม่
สบายใจและร้องขอสิ่งจำเป็นสำหรับการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อการป้องกันการติดโรคติดเชอื้
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เช่น สถานที่ สื่อการเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู้ การส่ง
งานหรือตรวจการบ้าน เป็นต้น หากตนเองเป็นกลุ่มเสี่ยง หรือมีโรคประจำตัวก็สามารถเข้ารบั การ
ตรวจ รกั ษาตามมาตรการทก่ี ระทรวงสาธารณสขุ กำหนด

ห น ้ า | 26

(3) จัดให้มีกิจกรรมบำบัดความเครียด โดยการฝึกสติให้เป็นกิจวัตรก่อนเริ่มการ
เรียนการสอนเพือ่ ลดความวติ กกังวลต่อสถานการณ์ที่ตึงเครียดนี้

11) กำกับและติดตามการได้รับวัคซีนของนักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนให้เป็นไปตาม
มาตรการท่ีกำหนดและเปน็ ปัจจุบนั

3. บทบาทของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนตั้งแต่การวางแผน การ

กำหนดนโยบายสถานศึกษา การเตรียมความพร้อมการเปิดเรียน การส่งเสริมครูในการออกแบบ
การจัดการเรียนการสอน การกำกับติดตามช่วยเหลือ การประเมินผลการจัดการเรียนการสอน
การแก้ไขปัญหา การประเมินสถานการณ์ การรายงาน ตลอดจนร่วมมือกับครูและบุคลากร
ผ้ปู กครองนักเรียน ใหก้ ารตรวจสอบสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) เพ่ือความปลอดภยั ของนกั เรียน โดยบทบาทของผ้บู ริหารสถานศึกษา ควรมีดงั นี้

1) จัดให้มีการประชุมหารือร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครู
ผู้ปกครองนักเรียน ผู้นำชุมชน และมีมติให้ความเห็นชอบร่วมกันในการจัดพื้นที่ และรูปแบบการ
จัดการเรยี นการสอน

2) ประกาศนโยบายและแนวปฏิบตั กิ ารปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ในโรงเรียน

3) แต่งตั้งคณะทำงานดำเนินการควบคุมดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประกอบด้วย นักเรียน ครู ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ท้องถิน่ ชุมชน และผ้เู กี่ยวข้อง

4) ประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการติดตามการ
ประเมนิ ผลผ่าน MOECOVID

5) ทบทวน ปรับปรงุ ซักซ้อมปฏิบัตติ ามแผนเผชิญเหตุของโรงเรียนในภาวะทม่ี กี ารระบาด
ของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

6) จัดให้มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์แนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เกย่ี วกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏิบัติ และการจดั การเรียนการ
สอนให้แก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการโรงเรียน ผ่านช่องทางสื่อที่เหมาะสม และ
ตดิ ตามข้อมลู ข่าวสารท่ีเกย่ี วข้องจากแหล่งขอ้ มูลทีเ่ ช่อื ถอื ได้

7) สนบั สนุนใหน้ กั เรยี น ครแู ละบุคลากรได้รับวัคซีนครบโดส ตง้ั แต่รอ้ ยละ 85 ข้นึ ไป

ห น ้ า | 27

8) สนับสนนุ ให้มกี ารตรวจคดั กรองหาเช้อื ด้วยวิธกี ารทเ่ี หมาะสมตามมาตรการของภาครัฐ
9) สนับสนุน ส่งเสริม ให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองประเมิน
ตนเองผา่ น Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑ์จำแนกเขตพื้นทีก่ ารแพร่ระบาด
10) สื่อสารสร้างความรู้ความเข้าใจ เพื่อลดการรังเกียจ และลดการตีตราทางสังคม
(Social Stigma) กรณีพบว่ามีบุคลากรในโรงเรียน นักเรียน หรือผู้ปกครองติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19)
11) กำหนดมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเข้าไปในโรงเรียน (Point of
Entry) ให้แก่ นักเรยี น ครู บุคลากร และผมู้ าตดิ ต่อ และจัดใหม้ ีพน้ื ท่ีแยกโรค อปุ กรณป์ อ้ งกัน เช่น
หน้ากากผ้า หรือหน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ อย่างเพียงพอ รวมถึงเพิ่มช่องทางการสื่อสาร
ระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในกรณีที่พบนักเรียนกลุ่มเสี่ยงหรือ
สงสัย
12) จัดใหน้ กั เรยี นสามารถเขา้ ถงึ การเรยี นการสอนที่มคี ุณภาพเหมาะสมตามบริบทได้อย่าง
ต่อเนื่อง ตรวจสอบ ติดตาม กรณีนักเรียนขาดเรียน ลาป่วย การปิดโรงเรียน การจัดให้มีการเรียน
การสอนทางไกล สื่อออนไลน์ การติดต่อทางโทรศัพท์ หรือ Social Media เป็นรายวัน หรือราย
สปั ดาห์

13) กรณีพบนกั เรียน ครู บคุ ลากร หรอื ผปู้ กครองอยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ปว่ ยยนื ยันเข้ามาใน
โรงเรียน ให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่เพื่อดำเนินการสอบสวนโรค และพิจารณา
ดำเนินการตามแผนเผชิญเหตุ และมาตรการป้องกันตามระดับการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ของสถานศกึ ษา

14) มีมาตรการให้นักเรียนได้รับอาหารกลางวันและอาหารเสริมนม ตามสิทธิที่ควรได้รับ
กรณีพบอยูใ่ นกลุ่มเส่ยี งหรืออยู่ในชว่ งกักตวั

15) ควบคุม กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผลการดำเนินงาน ตามมาตรการ
ป้องกนั การแพร่ระบาดภายในโรงเรียนอย่างเครง่ ครัด และตอ่ เน่อื ง

16) เยีย่ มบา้ น สร้างขวัญกำลงั ใจนกั เรียน ทั้งนกั เรียนทม่ี าเรียนแบบปกติ และทไ่ี มส่ ามารถ
มาเรยี นแบบปกตไิ ด้

ห น ้ า | 28

4. บทบาทของผปู้ กครองนักเรียน
ผู้ปกครองนักเรียนเป็นบุคคลที่มีสำคัญยิ่ง มีหน้าที่ต้องดูแลเอาใจใส่นกั เรียนและตนเองใน

ด้านสุขอนามัยและการป้องกันความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) อย่างเครง่ ครดั ต้องให้ความรว่ มมือกับโรงเรียน ครปู ระจำชั้น หรือครูที่ปรึกษา
เกี่ยวกับมาตรการการดูแลนักเรียน ผู้ปกครองนักเรียนจึงมีบทบาทสำคัญร่วมกับครูเพื่อช่วย
นักเรียนทั้งในเรื่องการเรียนรู้ และการดูแลความปลอดภัยของนักเรียน บทบาทของผู้ปกครอง
นักเรยี น ควรมีดังน้ี

1) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยง
จากการแพรก่ ระจายของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากแหล่งข้อมูลท่เี ชือ่ ถอื ได้

2) ประเมินความเสี่ยงของตนเอง นักเรียน และคนในครอบครัวผ่านแอปพลิเคชัน Thai
Save Thai (TST) อย่างสม่ำเสมอ สังเกตอาการป่วยของนักเรียน ของตนเอง และของคนใน
ครอบครัว หากมีอาการไข้ ไอ มนี ำ้ มูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รรู้ ส ให้รีบ
พาไปพบแพทย์ ควรแยกเด็กไม่ให้ไป เล่นกับคนอื่น ให้พักผ่อนอยู่ที่บ้านจนกว่าจะหายเป็นปกติ
กรณีมคี นในครอบครวั ปว่ ยดว้ ยโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) หรือกลบั จากพ้ืนท่เี ส่ยี ง
อย่ใู นชว่ งกกั ตัวให้ปฏิบตั ติ ามคำแนะนำของเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสขุ อย่างเคร่งครดั

3) จัดหาของใช้ส่วนตัวให้นักเรียนอย่างเพียงพอในแต่ละวัน ทำความสะอาดทุกวัน เช่น
หน้ากากผา้ ชอ้ น ส้อม แก้วนำ้ แปรงสฟี นั ยาสีฟนั ผ้าเช็ดหน้า ผา้ เชด็ ตัว เป็นตน้

4) จัดหาสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์และกำกับดูแลนักเรียนให้ล้างมือบ่อย ๆ ก่อนกินอาหาร
หลงั ใชส้ ้วม หลีกเลย่ี งการใชม้ อื สัมผสั ใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไมจ่ ำเปน็ และสร้างสขุ นิสัยที่ดีหลงั
เลน่ กบั เพือ่ นและเม่ือกลับมาถงึ บา้ น ควรอาบน้ำ สระผม และเปลี่ยนชดุ เสือ้ ผ้าใหม่ทันที

5) ดูแลสุขภาพนักเรียน จัดเตรียมอาหารปรุงสุก ใหม่ ส่งเสริมให้กินอาหารร้อน สะอาด
อาหาร
ครบ 5 หมู่และผัก ผลไม้ 5 สี และควรจัดอาหารกล่อง (Box Set) ให้แก่นักเรียนในช่วงเช้าแทน
การซื้อจากโรงเรียน (กรณีที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าจากที่บ้าน) เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
ออกกำลงั กาย อย่างนอ้ ย 60 นาที ทกุ วนั และนอนหลับอยา่ งเพียงพอ 9 - 11 ชั่วโมงต่อวัน

6) หลีกเลยี่ งการพานักเรียนไปในสถานเสีย่ งต่อการตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
สถานที่แออัดที่มีการรวมกันของคนจำนวนมาก หากจำเป็นต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก
อนามัยล้างมอื บอ่ ย ๆ 7 ขัน้ ตอน ด้วยสบู่และน้ำนาน 20 วินาที หรือใช้เจลแอลกอฮอล์

ห น ้ า | 29

7) กรณีนักเรียนเดินทางมาโรงเรียน โดยรถโรงเรียน รถตู้ หรือรถอื่น ๆ ผู้ปกครองและ
โรงเรียนตอ้ งขอความร่วมมือกบั คนขบั รถใหป้ ฏิบตั ติ ามมาตรการของสาธารณสขุ อย่างเครง่ ครดั

8) กรณีมีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครู
ในการดูแลจัดการเรียนการสอนแกน่ กั เรยี น เช่น การสง่ การบา้ น การร่วมทำกิจกรรม เป็นต้น

5. บทบาทขององค์กรสนบั สนุน
5.1 สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา
1) ประชาสัมพันธส์ ร้างความรู้ความเข้าใจใหโ้ รงเรียนในสงั กัด เกี่ยวกับการปอ้ งกัน

ตนเอง การดแู ลสขุ อนามยั ของตนเอง และบุคคลในครอบครัว
2) ประสานงานองค์กรต่าง ๆ ในเขตพื้นที่การศึกษาในการช่วยเหลือสนับสนุน

โรงเรียน
3) นิเทศ กำกับ ติดตาม โรงเรียนในสังกัดด้านการบริหารโรงเรียนภายใต้

สถานการณก์ ารแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
4) กำกับ ติดตาม โรงเรียนในสังกัดด้านการบริหารข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการ

ไดร้ ับวคั ซีนของนักเรียน ครู ผ้บู ริหารโรงเรียน และผู้ปกครองนักเรียนให้ได้รับวัคซีนตามมาตรการ
ทก่ี ำหนด

5) รายงานผลการดำเนินการต่อหนว่ ยงานต้นสังกัดให้ทราบความเคล่ือนไหวอย่าง
ตอ่ เนื่องสมำ่ เสมอ

ห น ้ า | 30

6) ประชมุ ตรวจเย่ียมสถานศกึ ษา สรา้ งขวญั กำลังใจในการเตรียมความพร้อมก่อน
เปิดภาคเรียนท้งั แบบปกตแิ ละแบบทางไกล

5.2 สำนกั งานสาธารณสขุ
1) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับข้อควรปฏิบัติของสถานศึกษา สนับสนุนการดำเนินงาน

ของโรงเรียนให้สอดคลอ้ งตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด
2) สนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์ อาทิ ชุดตรวจคัดกรองหาเชื้อที่เหมาะสม

อปุ กรณว์ ดั อุณหภมู ิหนา้ กากอนามยั เจลล้างมือ ฯลฯ
3) สนบั สนุนบคุ ลากรทางการแพทย์ในการบรกิ ารตรวจคัดกรองความเสย่ี งให้แก่

นกั เรียน ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
4) จัดให้มีช่องทางการสื่อสาร การให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง เป็นปัจจุบันให้กับ

สถานศกึ ษาและจัดระบบสนับสนนุ เม่ือมีนักเรยี น ครหู รอื บคุ ลากรมคี วามเสี่ยงตอ่ การติดเชื้อ ไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19)

5) สำรวจ ติดตามสถานการณ์ในพื้นที่บริการอย่างต่อเนื่อง กรณี พบผู้มีอาการ
เสี่ยงหรือป่วยต้องดำเนินการทันที และรายงานให้สถานศึกษาทราบเพื่อดำเนินการตามมาตรการ
ต่อไป

6) ออกให้บริการตามที่สถานศกึ ษาร้องขอ เช่น จัดเจ้าหน้าที่ อสม.ประจำหมู่บ้าน
ตำบลตรวจเวรยาม บันทกึ ตแู้ ดงตามจุดท่ีโรงเรียนกำหนด และอืน่ ๆ ตามความตอ้ งการจำเปน็

5.3 องคก์ รทางปกครอง
หมายถึง หน่วยงานทางปกครอง ได้แก่ จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน และ

หน่วยงานทอ้ งถิ่น ไดแ้ กอ่ งค์การบรหิ ารส่วนตำบล เทศบาล เมอื งพัทยา กรงุ เทพมหานคร
1) ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจให้โรงเรียน และชุมชนในเขตการปกครองมี

ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเอง การดูแลสุขอนามัยของตนเอง และบุคคลใน
ครอบครวั

2) สนับสนนุ ช่วยเหลอื โรงเรียนในเขตปกครองตามคำสัง่ ของจังหวัดอยา่ งเคร่งครดั
3) กำกับ ตดิ ตามการได้รบั วคั ซนี ของประชาชนในเขตปกครองและมขี ้อมูลทางสถติ ิ
ทอี่ า้ งองิ เชื่อถอื ได้
4) ใหบ้ ริการตามท่สี ถานศึกษารอ้ งขอตามความตอ้ งการเรง่ ดว่ นและจำเป็น

5.4 องค์กรเอกชน

ห น ้ า | 31

1) สนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์ อาทิ ชุดตรวจคัดกรองหาเชื้อที่เหมาะสม
อปุ กรณ์วัดอณุ หภมู ิหน้ากากอนามยั เจลลา้ งมือ ฯลฯ

2) สนบั สนนุ งบประมาณใหแ้ ก่สถานศึกษาในการนำไปใช้บรหิ ารจัดการภายใต้
สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

3) อำนวยความสะดวกให้ความช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน จำเป็นในการส่งตัวนักเรียน
ครแู ละบุคลากรท่ีคาดวา่ จะได้รบั เชื้อหรือเปน็ กล่มุ เสย่ี งสง่ หนว่ ยงานสาธารณสุขได้อยา่ งรวดเร็ว

4) สร้างระบบการติดต่อสื่อสารหน่วยงานภายในจังหวัด อำเภอ ตำบล ให้มีความ
รวดเร็วในการช่วยเหลือ ดูแล นักเรียน ครู บุคลากร และผู้ปกครอง ที่สถานศึกษาได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ


Click to View FlipBook Version