The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการความรู้ เทคโนโลยีการผลิตโกโก้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by herbbask, 2021-11-22 00:14:43

การจัดการโกโก้

การจัดการความรู้ เทคโนโลยีการผลิตโกโก้

Keywords: โกโก้,KM

บทท่ี 7
เคร่ืองจักรกลทางการเกษตร

อนสุ รณ์ สุวรรณเวียง และบณั ฑติ จิตรจำนงค์

การวจิ ัยและพัฒนาเครอ่ื งแยกเมล็ดโกโก้ออกจากผล

เมล็ดโกโกที่ผลิตไดจะนำมาแปรรูปเปนวัตถุดิบสำหรับการผลิตเครื่องดื่ม อาหารและขนมหวาน
หลากหลายชนิด โดยมีผลิตภัณฑโกโกที่สำคัญ เชน ผงโกโก ไขมันและน้ำมันจากเมล็ดโกโก ช็อกโกแลต เปนตน
การแปรรูปโกโกขั้นตน เริ่มจากการแกะเมล็ดโกโกออกจากผลโดยใชแ รงงานคนทั้งหมด ซึ่งในสวนนีม้ ีปญหาเรือ่ ง
แรงงานมีความสามารถในการทำงานต่ำและการขาดแคลนแรงงาน จึงเปนที่มาในการวิจัยและพัฒนาเครื่องแยก
เมลด็ โกโกอ อกจากผลสำหรับลดการใชแรงงานคนในกระบวนการผลติ เมลด็ โกโกแหง

คุณลักษณะเคร่ืองแยกเมล็ดโกโกอ้ อกจากผล

เครื่องแยกเมล็ดโกโกออกจากผล (ภาพท่ี 7.1) มีขนาด (กวางxยาวxสูง) 1.2 x 3 x 1.8 เมตร
ประกอบดวยชุดผาผลโกโกและชุดคัดแยกเมล็ดโกโก ชุดผาผลโกโกใชใบมีดทำจากวัสดุเหล็กชุบแข็ง ขนาด
ความหนา 1.2 มิลลิเมตร ความกวาง 25 มิลลิเมตร และยาว 350 มิลลิเมตร มีหลักการทำงานคือ ปอนผล
โกโกลงในหองผาผลโกโกในแนวตั้งตรง ผลโกโกจะถูกผลักดันเขาสูใบมีดผาดวยแผนสแตนเลสแบบกลไกลชัก
เพลาลูกเบี้ยว (ภาพที่ 7.2) เมื่อผลโกโกถูกผาแลว จะตกลงสูชุดคัดแยกเมล็ดโกโก ซึ่งออกแบบเปนระบบ
ตะแกรงหมนุ สแตนเลสทรงกระบอกขนาดเสนผานศนู ยกลาง 600 มิลลิเมตร ภายในตะแกรงมีใบกวาดสำหรับ
กวาดหมุนคัดแยกเมล็ดออกจำกเศษผลโกโก โดยเมล็ดจะลอดชองตะแกรง (กวาง 20 มิลลิเมตร ยาว 35
มิลลิเมตร) ตกลงสูอางรับเมล็ดดานลาง และเศษผลโกโกที่ถูกผาจะถูกกวาดลำเลียงออกที่สวนปลายของ
ตะแกรงคัด ชุดคัดแยกเมล็ดโกโกใชตนกำลังมอเตอรไฟฟารวมกับชุดผาผลโกโกขนาด 1 แรงมา ผานชุดสง
กำลังแบบเฟองโซ (ภาพท่ี 7.3)

ภาพท่ี 7.1 เคร่ืองแยกเมลด็ โกโกอ อกจากผล

91

ภาพที่ 7.2 กลไกการทำงานของชดุ ผาผลโกโก

ภาพท่ี 7.3 รูปแบบการทำงานและการสงกำลังของชุดคัดแยกเมล็ดโกโก
ผลการทดสอบ

ผลการทดสอบพบวากลไกชักเพลาลูกเบี้ยวของชุดผาผลโกโกที่เหมาะสม 29 ครั้งตอนาที และ
ความเร็วรอบตะแกรงชุดคัดแยกเมล็ดโกโกที่เหมาะสม 45 รอบตอนาที เครื่องแยกเมล็ดโกโกออกจากผลมี
ความสามารถในการทำงาน 500 กิโลกรัมตอชั่วโมง สูงกวาการใชแรงงานคนซึ่งมีความสามารถในการทำงาน
85 กิโลกรัมตอชั่วโมงตอคน การใชพลังงานไฟฟาของเครื่อง 0.6 กิโลวัตตตอชัว่ โมง โดยปริมาณเมล็ดที่ถูกผา
ออกจากผลและคัดแยกไดไมแตกตางจากวิธีการใชแรงงาน แตการใชเครื่องจะมีการสูญเสียและประสิทธิภาพ
การคัดแยกต่ำกวา วิธีการใชแรงงานท่ี 0.67 กิโลกรมั และ 94.69 เปอรเซ็นต ตามลำดับ (ตารางท่ี 7.1)

92

ตารางท่ี 7.1 การเปรียบเทียบประสิทธภิ าพการคดั แยกเมล็ดโกโกออกจากผลสด

วิธีการ เมลด็ โกโก้ผา่ น การสญู เสีย ประสทิ ธภิ าพการ ความสามารถใน
การแยก เมล็ดโกโก้ แยกเมล็ดโกโก้ การทำงาน
เครอ่ื งคัดแยกเมลด็ โกโก
แรงงานคน (กก.) (กก.) ( เปอร์เซ็นต์) (กก./ช่วั โมง)
t-test
11.92 0.67 b 94.69 b 500 a

12.80 0a 100 a 85 b

* **

ผลการวิเคราะหดานเศรษฐศาสตรวิศวกรรมพบวา วิธีใชแรงงานมีตนทุนคาใชจาย 86.50 บาทตอ
กิโลกรัมเมล็ดแหง ในขณะที่เครื่องแยกเมล็ดโกโกออกจากผลมีตนทุนคาใชจายต่ำกวาท่ี 84 บาทตอกิโลกรัม
เมล็ดแหง มีจุดคุมทุนในการใชงาน เมื่อใชผาและคัดแยกเมล็ดโกโกออกจากผล 60.5 ตันผลสดตอป
(อัตราสว นน้ำหนักผลโกโกสด : เมลด็ โกโกแ หง ท่ีความช้ืนมาตรฐานเปยก 7 เปอรเ ซน็ ต คือ 10:1) มีระยะเวลา
คืนทุน 2 ป ท่อี ัตราผลตอบแทนเงินลงทุนของเครื่องแยกเมลด็ โกโกอ อกจากผล 67.75 เปอรเ ซน็ ตตอป

เคร่ืองอบแห้งแบบโรตารร่ี ่วมกับโรงตากพลังงานแสงอาทิตย์สาหรับผลติ เมล็ดโกโก้
แหง้

เมล็ดโกโกตากแหงเปนวตั ถุดิบเริ่มตนที่กลุมเกษตรกรทำเองแลว สงขายโรงงานอุตสาหกรรมเพือ่ แปร
รูปเปนผลิตภณั ฑอื่นตอไป ขั้นตอนการทำเมลด็ โกโกต ากแหง เริ่มจากแกะเมลด็ โกโกออกจากผล จากนั้นนำมา
หมักอีกประมาณ 6 วัน เพื่อใหไดกลิ่นและรสชาติที่ดีขึ้น เมื่อหมักเสร็จแลวจะนำเมล็ดโกโกมาตากใหแหง ใช
เวลาประมาณ 1-2 สัปดาห เพื่อลดความชนื้ จาก 60 เปอรเ ซ็นต ใหเ หลอื เพยี งประมาณ 7 เปอรเซน็ ต (ภาพท่ี
7.4) เมล็ดโกโกทีแ่ หง แลวจะถูกนำมารวบรวมบรรจุในกระสอบเพื่อจัดสง ไปยังโรงงาน โดยในขั้นตอนการตาก
เมลด็ โกโกใหแ หงจะมปี ญ หาทส่ี ำคญั คือ สภาพพื้นท่ปี ลูกโกโกในเขตภาคใตและภาคตะวนั ออกท่ีผลติ โกโกสวน
ใหญมีฝนตกบอย ปริมาณน้ำฝนมากและความชื้นสูง ทำใหเกิดปญหาการตากเมล็ดโกโกไมแหง เกิดเชื้อราที่
เปนพิษ ทำลายคุณภาพของเมล็ดโกโกซ ่ึงสงผลตอราคาในการจำหนาย ดังนั้นจึงมีความจำเปนตองดำเนินการ
วจิ ัยและพัฒนาเครื่องอบแหงแบบโรตารีโ่ ดยผสมผสานการใชงานรว มกับโรงตากแบบพลังงานแสงอาทิตยเพื่อ
ทดแทนการตากลาน ซึง่ จะชว ยพัฒนากระบวนการผลติ เมลด็ โกโกแ หงของเกษตรกรใหไดคณุ ภาพมากขึ้น

93

ภาพท่ี 7.4 การตากเมลด็ โกโกโ ดยวธิ เี กษตรกร
คุณลกั ษณะของเครอ่ื งอบแหงแบบโรตาร่รี วมกับโรงตากพลงั งานแสงอาทติ ย

การออกแบบโรงตากพลังงานแสงอาทิตยแบบของสถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม สวนลางเปนหองส่ีเหลีย่ ม
ขนาด กวาง x ยาว x สูง เทา กบั 6 x 6 x 1.8 เมตร สว นบนเปนหลังคาหนาจั่วสูง 1.4 เมตร ใชแ ผน โพลีคารบอเนต
ใสเปนวัสดุคลุม โครงสรางใชเหล็กกลองขนาด 1 x 1 นิ้ว ออกแบบใหสามารถถอดประกอบได มีพื้นที่ในการตาก
24 ตารางเมตร (ภาพท่ี 7.5)

ภาพท่ี 7.5 โรงตากพลังงานแสงอาทติ ย
การออกแบบเคร่ืองอบแหงแบบโรตาร่ี (ภาพท่ี 7.6) มีเงื่อนไขการออกแบบ คอื สามารถอบเมล็ดโกโกได
ครั้งละ 350 กิโลกรัม รองรับกับปริมาณการผลิตโกโกของกลุมเกษตรกร ลักษณะของถังอบเปนรูปทรงกระบอก
สิบสองเหลี่ยมมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 1.2 เมตร ยาว 1.1 เมตร ปริมาตรของถังอบ 1.25 ลูกบาศกเมตร ใช
พลังงานความรอนจากแกสหุงตมในการอบแหง โดยใชระบบไฟฟาในการจุดแกส และควบคุมการเปด-ปดแกส
ดวยโซลินอยดวาลว มีระบบปองกันแกสรั่วสะสมในเครื่องเมือ่ ไฟดับ มีชุดควบคุมอุณหภูมิ สำหรับตั้งอุณหภูมิใน
การอบทเ่ี หมาะสมกับเมล็ดโกโก นำพาและกระจายความรอนภายในถังอบดว ยชุดพัดลมแบบหอยโขงขนาดใบพัด

94

40 เซนติเมตร ซึ่งใชมอเตอรไฟฟาขนาด 1 แรงมา เปนตนกำลัง มีชุดควบคุมการหมุนของถังอบสามารถตั้งเวลา
ใหถังอบหมุนและหยดุ หมนุ ไดเพื่อใหเ มล็ดโกโกแยกออกจากกัน

ภาพที่ 7.6 เคร่อื งอบแหงแบบโรตาร่ี

การทดสอบเคร่อื งอบแหงเมล็ดโกโกท ง้ั 3 แบบ ไดแก
1. การอบแหงเมลด็ โกโกด วยเครอ่ื งอบแหงแบบโรตารี่
2. การอบแหงเมล็ดโกโกด วยโรงตากพลงั งานแสงอาทิตย
3. การอบแหง เมล็ดโกโกด ว ยเคร่อื งอบแหงแบบโรตารีร่ ว มกับโรงตากพลังงานแสงอาทติ ย

1. การทดสอบอบแหงเมล็ดโกโกดวยเครื่องอบแหงแบบโรตารี่ อุณหภูมิในการอบแหงที่เหมาะสม 65 องศา
เซลเซียส ใชเวลาในการอบแหง 20 ชั่วโมง อัตราการใชพลังงานแกสหุงตม 1.1 กิโลกรัม/ชั่วโมง น้ำหนักเมล็ด
โกโกกอนอบแหง 320 กิโลกรัม ความชื้นเมล็ดโกโกกอนอบแหง 51.4 เปอรเซ็นตมาตรฐานเปยก และน้ำหนัก
เมล็ดโกโกหลังอบแหง 161 กิโลกรัม ความชื้นเมล็ดโกโกหลังอบแหง 7 เปอรเซ็นตมาตรฐานเปยก โดยผลการ
ทดสอบแสดงไวในตารางที่ 7.2 และเสนแนวโนม การลดลงของความชนื้ เมล็ดแสดงไวใ นภาพที่ 7.7

ตารางที่ 7.2 การทดสอบอบแหงเมล็ดโกโกดวยเคร่ืองอบแหงแบบโรตารี่

รายการทดสอบ ผลการทดสอบ

น้ำหนกั เมล็ดโกโกกอนอบแหง (กิโลกรัม) 320
ความช้ืนเมลด็ โกโกกอนอบแหง ( เปอรเ ซ็นต) 51.4
น้ำหนกั เมลด็ โกโกห ลังอบแหง (กโิ ลกรัม) 161
ความชน้ื เมลด็ โกโกห ลังอบแหง ( เปอรเ ซน็ ต) 7
เวลาในการอบแหง (ชั่วโมง) 20
อัตราการใชพ ลงั งานแกส หุงตม (กโิ ลกรมั /ช่ัวโมง) 1.1

95

ชั่วโมง

ภาพที่ 7.7 เสน แนวโนม การลดลงของความชนื้ เมลด็ โกโก

2. การอบแหงเมล็ดโกโกด ว ยโรงตากพลังงานแสงอาทติ ย ภายในโรงตากใชโ ตะ สาหรบั ตากเมล็ดโกโกขนาด
1.6x2.5 เมตร จานวนทั้งหมด 6 ตัว สามารถตากเมล็ดโกโกไดครั้งละ 240 กิโลกรัม ผลการทดสอบพบวาใช
เวลาในการตาก 4 วัน สำหรับเมล็ดโกโกที่มีความชื้นเริ่มตน 51.4 เปอรเซ็นตมาตรฐานเปยก และน้ำหนัก
เมล็ดโกโกหลังอบแหง 124 กิโลกรัม ความชื้นเมล็ดโกโกหลังอบแหง 7 เปอรเซ็นตมาตรฐานเปยก โดย
สามารถลดระยะเวลาในการตากแหงไดประมาณ 40 เปอรเซ็นต เมื่อเทียบกับวิธีการตากของเกษตรกรซึ่งใช
เวลา 7 วัน ที่ปริมาณการตากเมล็ดโกโกเริ่มตน 240 กิโลกรัม เชนเดียวกัน โดยอุณหภูมิเฉลี่ยภายในโรงตาก
พลังงานแสงอาทิตย สูงกวาอุณหภูมิภายนอกโรงตากประมาณ 10-15 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 7.3 และ
แผนภมู แิ สดงความแตกตางของอุณหภมู ิภายในและภายนอกโรงตากพลังงานแสงอาทิตยในภาพท่ี 7.8)

ตารางที่ 7.3 การตากแหง เมลด็ โกโกด วยวธิ ีของเกษตรกรและการใชโรงตากพลงั งานแสงอาทิตย

รายการทดสอบ ผลการทดสอบ

การตากของเกษตรกร การใชโ้ รงตากพลงั งานแสงอาทติ ย์

นำ้ หนกั เมลด็ โกโกกอ นอบแหง (กโิ ลกรมั ) 240 240

ความชน้ื เมลด็ โกโกก อ นอบแหง ( เปอรเ ซน็ ต) 51.4 51.4

นำ้ หนักเมลด็ โกโกหลงั อบแหง (กิโลกรมั ) 126 124

ความชนื้ เมลด็ โกโกห ลังอบแหง ( เปอรเซน็ ต) 7 7

เวลาในการอบแหง (ช่ัวโมง) 7 4

96

อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

เวลา

ภาพท่ี 7.8 อุณหภูมภิ ายในและภายนอกโรงตากพลังงานแสงอาทิตยในชว งเวลา 8.00-18.00 น.

3. การอบแหงเมล็ดโกโกดวยการผสมผสานระหวางเครื่องอบแหงแบบโรตารี่และโรงตากพลังงาน
แสงอาทิตย เริ่มตนจากการอบแหงเมล็ดโกโกซึ่งมีปริมาณและความชื้นเริ่มตน 320 กิโลกรัม และ 51.4
เปอรเซ็นตมาตรฐานเปยก ดวยเครื่องอบแหงแบบโรตารี่และอบลดความชื้นเมล็ดโกโกตอดวยโรงตากพลังงาน
แสงอาทิตย ผลการทดสอบพบวาเครื่องอบแหงแบบโรตารี่ใชอุณหภูมิในการอบแหงที่เหมาะสม 65 องศา
เซลเซียส เวลาในการอบแหง 10 ชวั่ โมง อตั ราการใชพลังงานแกส หุงตม 1.1 กิโลกรัม/ชว่ั โมง ความช้ืนเมล็ดโกโก
ลดลงเหลือประมาณ 20 เปอรเซ็นตมาตรฐานเปยก จากนั้นลดความชื้นเมล็ดโกโกตอภายในโรงตากพลังงาน
แสงอาทติ ยเ ปน ระยะเวลา 2 วนั เมลด็ โกโกหลังอบแหงมีนาหนัก 158 กโิ ลกรมั ความชืน้ เมล็ดโกโกหลังอบแหง 7
เปอรเ ซน็ ตมาตรฐานเปยก (ตารางที่ 7.4)

ตารางท่ี 7.4 การอบแหง เมลด็ โกโกด วยเครอื่ งอบแหง แบบโรตาร่ีรวมกับโรงตากพลงั งานแสงอาทติ ย

รายการทดสอบ ผลการทดสอบ

นำ้ หนักเมลด็ โกโกก อ นอบแหง (กโิ ลกรมั ) 320
ความช้นื เมลด็ โกโกกอ นอบแหง ( เปอรเ ซน็ ต) 51.4
น้ำหนักเมลด็ โกโกหลงั อบแหง (กิโลกรัม) 158
ความชนื้ เมลด็ โกโกหลงั อบแหง ( เปอรเซ็นต) 7
เวลาในการอบแหง (เครือ่ บอบแบบโรตารี่ + โรงตากแสงอาทิตย) 10 ช่วั โมง + 2 วนั

97

ขอดีของการใชเครื่องอบแหงแบบโรตารี่รวมกับโรงตากพลังงานแสงอาทิตย จะชวยลดระยะเวลาใน
การทำงานและไดเ มล็ดโกโกห ลงั การอบแหงท่ีมีคุณภาพ โดยเฉพาะในชวงฤดฝู นที่มีแดดนอย การใชเคร่ืองอบ
แหงแบบโรตาร่ีจะชวยใหสามารถผลิตเมล็ดโกโกแหง ทีไ่ มเกิดความเสียหายจากเชือ้ ราได ผลการวิเคราะหทาง
เศรษฐศาสตรวิศวกรรมพบวา เครื่องอบแหงแบบโรตารี่มีจุดคุมทุนทกี่ ารอบแหงเมล็ดโกโก 3,450 กิโลกรัมตอ
ป ระยะเวลาคืนทุน 2 ป สวนโรงตากพลังงานแสงอาทิตยมีจุดคุมทนุ ที่การตากแหงเมล็ดโกโก 1,856 กิโลกรัม
ตอ ป ระยะเวลาคนื ทนุ 1 ป

98

บทท่ี 8
การแปรรปู ผลิตภณั ฑจ์ ากโกโก้

ปานหทยั นพชนิ วงศ์ และวิไลวรรณ ทวิชศรี

ผลติ ภณั ฑโกโก จำแนกออกเปน 3 ระดับ ไดแก
1. เมล็ดโกโกแหง การผลิตกรรมวิธีดั้งเดิมที่ใชกันทั่วไปในประเทศผูปลูกโกโกและยังคงใชกันอยู
รูปแบบนี้เปนการขายผลติ ผลขั้นตน เหมาะสำหรับระยะที่มีการสง เสริมการเพาะปลูกใหม ๆ เมล็ดที่ผลิตในป
แรก ๆ คุณภาพจะยังดอ ยและมีราคาถูก การตอรองทางการคาระดับประเทศนัน้ จะตอ งมีเมลด็ โกโกแหงอยาง
นอย 50 ตัน/ฤดูกาล การคาแบบนี้มีลักษณะของความยืดหยุนของผลผลิตต่ำเนื่องจากผลิตไดตามฤดูกาล
เทา น้นั และราคาไมแนน อน
2. การผลิตโกโกผง (cocoa powder) และเนยโกโก (cocoa butter) เปนการนำเมล็ดแหงมา
ผานกรรมวิธีแปรรูปไดเปนโกโกผงและเนยโกโก สำหรับประเทศกำลังพัฒนานั้น แนวโนมความนิยม
ช็อกโกแลต และการพัฒนาการใชช็อกโกแลตไดเพิ่มสูงขึ้น ดังนั้น การที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมโกโกจึงตอง
ควบคูไปกับการสงเสริมการปลูกโกโกดวย ทั้งนี้จะตองมีปริมาณการผลิตเมล็ดแหงอยางนอย 5,000 ตัน/ฤดู
การผลติ จงึ จะคุม ทนุ ในทางเศรษฐกิจ เพ่ือจะทำการผลิตโกโกผงและเนยโกโก ในบางประเทศการผลิตอาจจะ
ทำไดโดยการลงทุนทีละขั้น โดยอาจผลิต cocoa liquor ซึ่งเปนขั้นตอนอีกขั้นหนึ่ง (Intermediate
products) สง ขาย ตอ มาจึงขยายเปน การผลติ โกโกผ งและเนยโกโกในภายหลัง
โรงงานผลติ ผงโกโกในประเทศพัฒนาจะเปนโรงงานขนาดใหญ ทนั สมัย มปี ระสิทธภิ าพในการผลิตสูง
โดยรับซื้อเมล็ดจากประเทศผูปลูกหลายแหง สำหรับโรงงานในประเทศทเ่ี พ่ิงเริ่มโครงการและในประเทศกำลัง
พัฒนามักเปนโรงงานขนาดเล็ก (5,000 ตันตอป)
ปจจุบันผงโกโกมีขายในตลาดสามารถแบงไดเปนสองกลุมหลัก ๆ คือ 1. ผงโกโกแบบธรรมชาติ
(Natural Cocoa Powder) สีของผงโกโกแบบธรรมชาตินั้นเปนสีน้ำตาลออน ผงโกโกชนิดนี้จะมีความเปน
กรดออน มีรสเปรี้ยว เมื่อนำไปเปนสวนประกอบของแปงทำขนมอบ ตองมีการเติมสวนประกอบของเบกก้ิง
โซดาในการปรับสภาพความเปนกรด และ 2. ผงโกโกแบบดัชตโพรเซส (Dutch-Process Cocoa หรือ
Alkalized Cocoa Powder) ในข้นั ตอนการผลติ ผงโกโกชนดิ นเ้ี มลด็ โกโกจ ะถูกนำไปลดความเปนกรดจากการ
หมักโดยใชดางเพื่อทำใหเมล็ดโกโกม ีคา เปนกลาง ผงโกโกม สี นี ำ้ ตาลเขม ละลายไดงา ย ใหร สขมนอยกวาและมี
รสชาติที่นุมกวา ผงโกโกแ บบธรรมชาติ (ภาพท่ี 8.1)
3. การผลิตช็อกโกแลตและผลิตภัณฑช็อกโกแลต โรงงานผลิตช็อกโกแลตหรือของหวาน
(confectionary) ท่ีใชโ กโกเปน วัตถดุ ิบมี 3 ขนาด คอื
- โรงงานขนาดเลก็ มักซอ้ื ผงโกโกจากผูผ ลติ มาเคลือบผลิตภัณฑสำเร็จรูปออกจำหนา ย

99

- ขนาดกลาง สามารถผลิตช็อกโกแลตไดเอง แตเ นอื่ งจากกระบวนการบดละเอียด (conching) ใชท ุน
สงู จึงไมนิยมผลิตเอง โรงงานขนาดน้ีสามารถขยายการผลิตไดมาก แตช ็อกโกแลตคุณภาพไมดเี ทา ท่คี วร

- โรงงานขนาดใหญ ตนทนุ สงู สามารถผลติ สนิ คา คุณภาพดีและมปี ระสิทธภิ าพการผลติ สูง

ภาพที่ 8.1 การแปรรปู โกโกเบอื้ งตน
(ที่มา: คณุ พรหมวหิ าร บำรุงถน่ิ , วสิ าหกิจชมุ ชนโกโกภ เู กต็ และภเู กต็ ชอ็ กโกแลต)
การแปรรปู ผลติ ภัณฑจ ากผลพลอยไดท ี่ไดจากการผลิตโกโก
สวนประกอบหลักของผลโกโกท ี่ถูกนำมาใช คือ สวนของเมล็ดที่นำไปหมักและแปรรูปเปนผลิตภัณฑ
โกโกแ ละช็อกโกแลต แตส ว นของเยอื่ หุมเมลด็ ท่ีแยกไดกอนนำเมลด็ สดไปหมัก และสวนของ เปลือก เนื้อ และ
เปลือกหมุ เมลด็ โกโกหลังจากการคว่ั เมลด็ โกโกน ั้นยังมกี ารนำไปใชประโยชนได เชน
1. เปลือกผลโกโก (cacao pod husk) สามารถนำมาแปรรูปเปนอาหารสัตว ปุยอินทรียใสบำรุงตน
โกโก เปนการประหยัดตนทุนในการผลิตโกโก การทำสียอมผาจากเปลือกโกโก นอกจากน้ีมีการศึกษาพบวา
สารสกัดจากเปลอื กผลโกโกม สี ารตา นอนมุ ลู อิสระสงู (Karim et.al., 2014) หากมกี ารนำเปลือกผลมาสกัดสาร
ตานอนุมูลอิสระจะเปนการสรางมูลคาเพิ่มไดอยางมากเนื่องจากโกโกหนึ่งผลจะเปนสวนของเปลือกมากถึง
70-75 เปอรเ ซ็นต
2. เยื่อหุมเมล็ด (pulp) ประกอบดวยน้ำตาล 10 – 15 เปอรเซ็นต กรดซิตริก 0.4 – 0.8 เปอรเซ็นต
และเพคตนิ เยอ่ื หมุ เมล็ดเปนตัวทำใหเกดิ แอลกอฮอล และกรดอะซิตกิ ในกระบวนการหมักจะมีการสูญเสียน้ำ
หมักไป 5-7 เปอรเซ็นต ซึ่งน้ำสวนที่ออกมาจากกระบวนการหมักที่เรียกวา Sweeting นี้สามารถนำไปใช
ประโยชนในการทำเยลลี่ (ปยนุช และคณะ, 2538 (ก))หรือทำน้ำโกโกสำหรับดื่มเหมือนเครื่องดื่มทั่ว ๆ ไป

100

(ปยนุช และคณะ, 2538 (ข); ปยนุช, 2539) การนำน้ำโกโกไปทำเยลลี่ ทำไอศกรีม ในปจจุบันผูผลิต
ช็อกโกแลตรายใหญ เชน บริษัทเนสทเล ลินด และริตเตอรสปอรต ไดผ ลติ ดารกช็อกโกแลตที่นำสวนที่เปนเยือ่
หมุ เมล็ดโกโกมาใสเ พื่อเพ่ิมความหวานแทนนำ้ ตาล ซึง่ ในผลโกโกจ ะมีเย่อื หุมเมลด็ ประมาณ 10 เปอรเซ็นต ทำ
ใหชอ็ กโกแลตนีม้ รี าคาสูงกวาดารกช็อกโกแลตทัว่ ไป (วมิ าลี, 2021)

3. เปลือกหุมเมล็ดโกโก (shell/husk) หลังจากคั่วเมล็ดโกโกแลว จะมีการแกะเปลือกหุมเมล็ดออก
เพ่อื นำเนือ้ เมล็ดโกโกไปแปรรปู ตอไป ซึ่งเมล็ดโกโกหนึ่งเมล็ด เปนเปลือกหมุ เมล็ดประมาณ 10-12 เปอรเซ็นต
โดยในเปลือกหุมเมล็ดโกโกมีสารตานอนุมูลอิสระหลายชนิดที่ดีตอสุขภาพ เชน พีนอล (phenol) ธีโอโบรมนี
(theobromine) คาทีชนิ (catechin) เปนตน (Hernández- Hernández et.al., 2019; Felice et.al., 2020)
ซึ่งสารสกัดจากเปลอื กหุมเมล็ดโกโกมีสารตานอนมุ ูลอิสระที่มีมูลคาสูงเปนที่สนใจสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
และยา จึงมีการนำมาแปรรปู เปน ชาเปลือกโกโก (cocoa husk tea)

อาหารสตั ว ปุยอนิ ทรีย

สยี อ มผา สารตาน
อนมุ ูลอิสระ

ไอศกรีม

น้ำผลไม สารตา น
อนุมลู
ผลโกโก อสิ ระ

ชาเปลอื กโกโก

โกโกน ิปส โกโกแ มส เนยโกโก โกโกผ ง

ภาพที่ 8.2 ผลติ ภัณฑจ ากโกโกแ ละผลพลอยไดจากการแปรรปู โกโก

101

การแปรรูปผลิตภณั ฑจากผลพลอยไดจากโกโกชวยลดปริมาณของเสีย ชวยเพิ่มมูลคาใหกบั พชื ชนิดนี้
และสงผลดีตออุตสาหกรรมโกโก เปนการเพิ่มรายไดใหเกษตรกรและผูประกอบการ เปดโอกาสใหเกิดการ
พัฒนาผลิตภัณฑใ หม ๆ ขยายกลมุ ของผูบ ริโภคใหมีความหลากหลายมากขึ้น โดยสมาคมเปล่ยี นวตั ถุดบิ อาหาร
เหลือทิ้งใหกลายเปนผลิตภัณฑใหม (The Upcycled Food Association) ระบุวาหากโกโกสามารถจำหนาย
ไดทั้งเนื้อและเมล็ดโดยการใชประโยชนจากวัตถุดิบอาหารที่เหลือทิ้งจะสงผลดีตอสภาพแวดลอมเนื่องจาก
สามารถลดการปลอ ยกาซเรือนกระจกลงไดมากกวา 20 ลา นตนั ตอ ป (วิมาล,ี 2021)

โดยโกโกม ีการนำมาใชประโยชนในอุตสาหกรรมตาง ๆ (สมศักดิ,์ 2532) ไดแ ก

1. อตุ สาหกรรมผลติ ช็อคโกแลตหวานและช็อคโกแลตนม โดยใช Chocolate liquor กับน้ำตาล เนย

โกโกแ ละสวนผสมอ่นื ๆ ผสมกันในอตั ราสว นตามสตู รการผลติ ของแตละแหลงผลิตช็อคโกแลต

2. อุตสาหกรรมลูกอมและลูกกวาด โดยการใชผงโกโกและ Chocolate liquor ในการปรุงแตงรส

และกลิ่นของลูกอมและลูกกวาด

3. อุตสาหกรรมเครอื่ งดื่มรสช็อคโกแลต อตุ สาหกรรมประเภทนี้จะใชผ งโกโกผสมกบั นม น้ำตาลและ

สารปรงุ แตงอ่นื ๆ เชน สารใหความหวาน สารปรุงแตง รส มาผสมกนั เปนเครอ่ื งดื่มรสช็อคโกแลต

4. อุตสาหกรรมเบเกอรี่ เพอื่ ปรงุ แตง รสผลติ ภัณฑ เชน โดนัท, คุกก้ี ฯลฯ

5. อุตสาหกรรมยา โกโกที่ใชจะเปนรูปของน้ำเชื่อมโกโก ซึ่งเปนสารผสมเพื่อใหรสทั้งยาเม็ด ยาน้ำ

และใชเคลอื บยาเมด็ เปนการลดความขม เชน ยาควินิน

6. อุตสาหกรรมยาสูบ โดยใชโกโกเปน สว นผสมในยาสูบ เนื่องจากโกโกมีกล่ินหอมกลมกลืนกับกลิ่นใบ

ยา และขณะเกดิ การเผาไหมจ ะรวมตวั กบั นำ้ ตาล ทำใหกลนิ่ หอมชวนสบู มากขึ้น

7. อุตสาหกรรมเครื่องสำอาง นิยมใชเนยโกโก (cocoa butter) ในการทำลิปสติก เน่ืองจากเนยโกโก มี

คุณสมบัติละลายไดเมื่ออุณภูมิเปลี่ยนแปลงที่ 37 องศาเซลเซียส แตคงสภาพอยูไดไมละลายในสภาพอุณหภูมิ

ปกติ

นอกจากจะโกโกจะมีสารตานอนุมูลอิสระหลายชนิดที่มีประโยชนตอรางกายแลว ยังมีคุณคาทาง

อาหารสงู อีกดวย โดยโกโกผง 100 กรมั ใหพลังงาน 228 แคลอรี่ ประกอบดว ย

โปรตีน 19.6 กรัม

ไขมนั รวม 13.7 กรัม

นำ้ 3 กรัม

คารโ บไฮเดรต 57.9 กรมั

ใยอาหาร 37 กรัม

น้ำตาล 1.75 กรัม

แคลเซยี ม 128 มลิ ลกิ รัม

เหล็ก 13.86 มิลลิกรมั

แมกนเี ซียม 499 มลิ ลิกรัม

102

ฟอสฟอรัส 734 มลิ ลกิ รมั
มิลลิกรัม
โพแทสเซียม 1,524 มิลลกิ รัม
มลิ ลิกรมั
โซเดียม 21 มลิ ลกิ รัม
มิลลิกรมั
สงั กะสี 6.81 มลิ ลกิ รมั
มิลลิกรัม
วติ ามนิ บี 0.08 ไมโครกรมั
มลิ ลิกรัม
วิตามนิ บี 2 0.24 ไมโครกรมั
กรัม
วติ ามินบี 6 0.12 กรมั
กรมั
วติ ามนิ อี 0.1 มลิ ลกิ รมั

วิตามนิ เค 2.5

ไนอาซิน 2.19

โฟเลต 32

กรดไขมันอิ่มตวั ทัง้ หมด 8.07

กรดไขมนั รวมไมอ ิ่มตวั เชิงเดี่ยว 4.57

กรดไขมันไมอ ่ิมตัวรวม 0.44

คาเฟอนี 230

กระทรวงเกษตรของสหรฐั อเมริกาไดทำการศึกษาและแสดงขอ มูลองคป ระกอบของโภชนาการท่ี
สำคญั ในโกโกและผลิตภณั ฑจากโกโก ดังน้ี

ตารางที่ 8.1 องคป ระกอบทางโภชนาการของโกโกและผลติ ภณั ฑชอ็ กโกแลต

ผงโกโกผสม ผงโกโกแบบไม ชอ็ กโกแลตนม ดารกช็อกโกแลต ชอ็ กโกแลตชิปส Baking
(Cocoa Mix หวาน (Milk Chocolate
Powder) (Dark (Chocolate
(Cocoa Powder, Chocolate
Unsweetened) Bar) Chocolate) Chips)

ปริมาณ 1ซอง 1 ชอ นโตะ 1 แทง 1 แทง 1 ชอนโตะ ½ square

(28 กรัม/1 (5 กรัม/0.1 (40 กรมั /1.4 (40 กรัม/1.4 (15 กรมั /32 (14 กรัม/0.5
ออนซ) ออนซ) ออนซ) ออนซ) ช้ิน) ออนซ)

ไขมัน (กรมั ) 1.1 0.7 11.9 12.0 4.5 7.3

ไขมนั อิ่มตวั 0.7 0.4 5.7 7.1 2.7 4.5

(กรมั )

คลอเรสเตอรอล 0 0 0 0 00

(กรมั )

103

ตารางท่ี 8.1 องคป ระกอบทางโภชนาการของโกโกและผลิตภณั ฑช็อกโกแลต (ตอ)

ผงโกโกผสม ผงโกโกแบบไม ชอ็ กโกแลตนม ดารกช็อกโกแลต ช็อกโกแลตชิปส Baking
(Cocoa Mix หวาน (Milk (Dark (Chocolate Chocolate
Powder)
(Cocoa Powder, Chocolate Chocolate) Chips)
Unsweetened) Bar)

คารโบไฮเดรต 23.4 2.7 23.8 5.2 9.5 4.2

(มลิ ลิกรมั )

ไฟเบอร (กรมั ) 1.0 1.7 1.4 2.4 0.9 2.3

น้ำตาล (กรมั ) 20.2 0.1 20.6 21.8 8.2 0.1

โปรตีน (กรมั ) 1.9 1.0 3.1 1.7 0.6 1.8

ทมี่ า: USDA (2005)

สรรพคณุ ของโกโกที่มตี อ สุขภาพ
1. โกโกเปน แหลงสำคญั ของ polyphenol ซึ่งเปน สารตานอนุมูลอสิ ระท่เี ปนประโยชนต อ สุขภาพ
2. เมลด็ มสี รรพคุณชวยกระตนุ ประสาท ชว ยบรรเทาภาวะของโรคเครียด โรคซมึ เศรา
3. ชว ยลดระดับไขมนั ในเลือด
4. ชวยลดความดันโลหิต
5. ชว ยระดับลดน้ำตาลในเลือด
6. ธโี อโบรมนี (theobromine) เปนสารอัลคาลอยดท ่แี ยกไดจ ากเมล็ดโกโก มีฤทธ์ิกระตุน หัวใจ ขยาย

หลอดเลือด นยิ มใชเ มอ่ื มีอาการบวมเกี่ยวกับโรคหัวใจ
7. ชวยปองกันฟน ผุ
8. ธโี อโบรมีน (theobromine) มฤี ทธิข์ ับปส สาวะ จึงใชเปนยาขบั ปส สาวะได
9. ชว ยทำใหก ลา มเนอ้ื เรยี บคลายตวั แกห อบหืดคลา ยกับฤทธข์ิ อง Theophylline แตบริโภคในปรมิ าณ

มากก็อาจทำใหเสพติดได
10. ชว ยบรรเทาอาการอักเสบ
11. ในประเทศฟล ิปปน สจะใชน้ำตมจากรากโกโกเปนยาขบั ระดขู องสตรี
12. ธโี อโบมา ออยล (theobroma oil) หรอื เนยโกโก (cocoa butter) เปนไขมันท่แี ยกออกเม่อื นำเมล็ด

โกโกม าคั่ว ธีโอโบมา ออยล (theobroma oil) ใชเ ปน ยาพื้นในการเตรียมยาเหนบ็ และเครือ่ งสำอาง

104

จะเห็นไดวาโกโกเปนพืชที่มีประโยชนมากมาย แปรรูปเปนผลิตภัณฑไดหลากหลายและสามารถ
พฒั นาเปนผลติ ภัณฑท่มี ีมลู คาสงู ได การใสใ จดูแลต้ังแตตนน้ำ เริ่มท่แี ปลงปลูก การจัดการสวน การเก็บเก่ียว
และแปรรูปเปน เมล็ดโกโกแหงที่มีคุณภาพ ยอมสงผลดไี ปยังภาคการผลิตกลางน้ำและปลายน้ำ เพื่อใหไดโกโก
และผลิตภัณฑช็อกโกแลตที่ดีตอสุขภาพของผูบริโภค สมดังชื่อ “Theobroma cacao” โกโกอาหารของ
เทพเจา

105

เอกสารอ้างอิง

กรมสงเสริมการเกษตร. 2564. รายงานขอมูลภาวะการผลิตพืช. ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร-
ขอมูลสารสนเทศการผลติ ทางดา นการเกษตร. แหลง ทมี่ า:
https://production.doae.go.th/service/data-state-product/index, 27 เมษายน 2564.

เกรียงไกร จำเริญมา. 2557. แมลงศัตรูเงาะ. ใน แมลงศัตรูไมผล. เอกสารวิชาการ, กลุมบริหารศัตรูพืช
สำนกั วจิ ัยพฒั นาการอารักขาพืช กรมวชิ าการเกษตร. 129-139.

จรสั ศรี วงศกำแหง และไพศาล ศภุ างคเสน. 2531. การศกึ ษาชีววทิ ยามวนโกโก. รายงานผลงานวจิ ยั ประจำป
2531 ศูนยว ิจัยพชื สวนชมุ พร สถาบนั วจิ ัยพืชสวน กรมวชิ าการเกษตร. 119-125.

จรัสศรี วงศกำแหง, ไพศาล ศุภางคเสน, ผานิต งานกรณาธิการ และวิทย สุวรรณวุธ. 2531. การศึกษา
นเิ วศนว ิทยาของมวนโกโก. รายงานผลงานวิจัยประจำป 2531 ศูนยวจิ ัยพชื สวนชุมพร สถาบันวิจัยพืช
สวน กรมวชิ าการเกษตร. 98-99.

จรัสศรี วงศกำแหง, สุรพล ตรุยานนท, ผานิต งานกรณาธิการ และวิทย สุวรรณวุธ. 2533. การศึกษาชนิด
แมลงปกแข็งกินใบโกโก. รายงานผลงานวิจัยประจำป 2533. ศูนยวิจัยพืชสวนชุมพร กรมวิชาการ
เกษตร. 184-201.

จรสั ศรี วงศกำแหง, วชิ ติ ตรพี นั ธ, ผานิต งานกรณาธกิ าร และอานภุ าพ ธีระกุล. 2534. การปอ งกันกำจัดดวง
ปกแข็งกินใบโกโกดวยการหยอดสารฆาแมลงชนดิ เม็ดลงในดิน และการพนสารฆาแมลงชนิดน้ำลงบน
ใบ. รายงานผลงานวิจัยประจำป 2534 ศูนยวิจัยพืชสวนชุมพร สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการ
เกษตร. 319-347.

จรัสศรี วงศกำแหง, วิชิต ตรีพันธ และอานุภาพ ธีระกุล. 2535. การศึกษาความเสียหายของผลโกโกในระดบั
การทำลายตาง ๆ กันของมวนโกโก. รายงานผลงานวิจัยประจำป 2535 ศูนยวิจัยพืชสวนชุมพร
สถาบันวิจัยพชื สวน กรมวิชาการเกษตร. 213-253.

จรัสศรี วงศกำแหง, วิชิต ตรีพันธ และอานุภาพ ธีระกุล. 2536. การศึกษาความเสียหายของผลโกโกในระดับ
การทำลายตาง ๆ กัน ของมวนโกโก. รายงานผลงานวิจัยประจำป 2534 ศูนยวิจัยพืชสวนชุมพร
สถาบันวิจัยพชื สวน กรมวชิ าการเกษตร. 81-96.

นิรนาม. 2557. โกโก (Cocoa). (ออนไลน) สืบคนจาก:
http://www.rakbankerd.com/agriculture/page.php?id=7241&s=tblplant. สืบคน 9 ก.ย. 2562.

ดวงใจ ชวยสถิตย. 2535. การเปลี่ยนแปลงของจุลินทรยี ระหวางการหมักเมลด็ โกโก. วิทยานิพนธวิทยาศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยชี วี ภาพ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร. 127 หนา .

ดารากร เผาชู ประภาพร ฉันทานุมัติ สนุ ดั ดา เชาวลิตร และ ไพรตั น ชวยเตม็ . 2557. ศึกษาโรคและแมลงที่
สำคญั สำหรบั โกโกสายพนั ธุตางๆทเ่ี หมาะสมสำหรบั ทำช็อกโกแลต. ศูนยวิจัยพชื สวนชมุ พร กรม
วิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ. กรงุ เทพฯ.

106

บสุ บง มนัสมั่นคง. 2557. แมลงศตั รูลำไยและลน้ิ จ.ี่ ใน แมลงศตั รูไมผ ล. เอกสารวชิ าการ, กลุม บรหิ ารศตั รูพืช
สำนกั วิจยั พฒั นาการอารกั ขาพชื กรมวิชาการเกษตร. 39-51

ปานหทัย นพชินวงศ และเสรี อยูส ถิตย. 2564. ทดสอบพนั ธุโกโกท ี่เหมาะสมสำหรับทำช็อกโกแลต. (ยังไมต ีพิมพ)
ปยนุช นาคะ. 2537. วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวโกโก. เอกสารประกอบการอบรม การแปรรุปผลิตภัณฑจาก

น้ำโกโก. 22 ธันวาคม 2537 ณ ศูนยว ิจยั พืชสวนชุมพร. หนา 1-12.
ปยนชุ นาคะ. 2539. เอกสารประกอบการปรับระดบั . นักวชิ าการเกษตร 7. กรมวชิ าการเกษตร.
ปยนุช นาคะ, จิตสำเริง พยัคฆพงษ, ผานิต งานกรณาธิการ, อานุภาพ ธีระกุล และมลิวัลย รัตนพฤกษ. 2532.

เปรียบเทียบการทำใหแหงของเมล็ดโกโกโดยการตากแดด อบโดยใชความรอนและพลังงาน
แสงอาทิตย. รายงานผลงานวิจัยประจำป 2532 ศูนยวิจัยพืชสวนชุมพร สถาบันวิจัยพืชสวน กรม
วิชาการเกษตร. 156-175.
ปย นุช นาคะ, เสรี อยสู ถิตย, บญุ ให แหลมเพชร และอานภุ าพ ธรี ะกลุ . 2538 (ก). การผลิตน้ำโกโกจากเยื่อหุม
เมล็ดโกโกและผลกระทบที่มีตอคุณภาพของเมล็ดโกโก. รายงานผลงานวิจัยประจำป 2537-2538
ศูนยว จิ ัยพืชสวนชมุ พร สถาบันวิจยั พืชสวน กรมวิชาการเกษตร. 156-169.
ปยนชุ นาคะ, เสรี อยสู ถิตย, บญุ ให แหลมเพชร และอานภุ าพ ธีระกุล. 2538 (ข). ศึกษาการทำโกโกเยลลี่จาก
เยื่อหุมเมล็ดโกโกพันธุแนะนำ 3 พันธุ. รายงานผลงานวิจัยประจำป 2537-2538 ศูนยวิจัยพืชสวน
ชมุ พร สถาบนั วจิ ัยพืชสวน กรมวชิ าการเกษตร. 170-181.
ผานิต งานกรณาธิการ,รตั นา พลชาต,ิ จรัสศรี วงศกำแหง และอานภุ าพ ธีระกุล. 2538. การเปรยี บเทียบพันธโุ กโก
ลูกผสมชั่วที่ 1 จำนวน 15 พันธุ. รายงานผลงานวจิ ยั ประจำป 2537-2538 ศนู ยวจิ ยั พชื สวนชุมพร. 102-
115.
ผานิต งานกรณาธิการ. 2548 การพัฒนาโกโกในประเทศไทย. ศูนยวิจัยพืชสวนชุมพร สำนักวิจัยและ
พฒั นาการเกษตรเขตที่ 7. กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 74 หนา.
ผานิต งานกรณาธิการ อรวนิ ทินี ชศู รี และ ปย นุช นาคะ. 2558. ทดสอบพันธุโ กโกที่เหมาะสมสำหรบั ทำช็อกโกแลต.
งานวิจยั เร่ืองเตม็ ป 2558, สถาบนั วจิ ัยพืชสวน.
ไพบลู ย ธรรมรัตนวาสิก, กนก ตริ ะวัฒน, ไพศาล วฒุ ิจำนง, พรชัย ศรีไพบลู ย, เสาวลกั ษณ จิตรบรรเจิดกลุ , มนัส
ชยั สวสั ด,์ิ สมชาย สคุ นธสิงห, เสรมิ ศักด์ิ ช่นื ใน และปย นุช นาคะ. 2534. โครงการวจิ ัยและพฒั นา
กรรมวิธีแปรรูปเมล็ดโกโกแหง. สำนักงานคณะกรรมการวจิ ัยแหง ชาติ. กรุงเทพฯ.
ยุพิน กสินเกษมพงษ, ไพรัตน ชวยเต็ม และอานุภาพ ธีระกุล. 2538. การศึกษาความสัมพันธระหวาง
สภาพแวดลอมการระบาดของโรคผลเนาดำโกโก. รายงานผลงานวจิ ยั ประจำป 2534 ศนู ยว จิ ัยพืชสวน
ชมุ พร สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวชิ าการเกษตร. 129-136.
ยุวลักษณ ขอประเสริฐ. 2554. สารชีวินทรียกำจัดหนู. ใน สัตวศัตรูพืชและการปองกันกำจัด, เอกสาร
ประกอบการอบรมหลกั สูตรแมลง-สัตวศ ตั รูพชื และการปองกันกำจดั ครงั้ ที่ 15: วนั ท่ี 25-29 กรกฎาคม
2554. กลุมกีฏและสัตววิทยา กลุมบริหารศัตรูพืช สำนักวิจัยและพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการ
เกษตร. 82-91.

107

วราวธุ ชธู รรมธชั พูลชัย ทีปะปาล ผานิต งานกรณาธิการ และวิทย สวุ รรณวธุ . 2535. อิทธิพลของ Gas NAA และ
Cytokinin ท่มี ตี อการติดผลและการลดอัตราการเหี่ยวของผลโกโก. รายงานผลงานวจิ ยั ประจำป 2535
ศนู ยว ิจยั พชื สวนชมุ พร. 201-212.

วจิ ติ ร วังใน. 2550. ธาตอุ าหารกบั การผลิตพืชผล. พิมพครั้งที่ 1. กรงุ เทพฯ. 388 หนา
วิมาลี วิวัฒนกุลพาณชิ ย. 2021. แบรนดระดบั โลกแหใ ช “เน้ือโกโก” เปนวตั ถดุ ิบเตมความหวานในอาหารแทน

นำ้ ตาล. SME Thailand: 7 เมษายน 2521. สบื คน ออนไลน:
www.theceomagazine.com/business/innovation-technology/nestle-incoa-chocolate/
วทิ ย สวุ รรณวุธ. 2527. การพัฒนาโกโกในประเทศไทย รายงานการสมั มนา เร่ือง มะพราวและโกโก. 41–44.
วทิ ย สวุ รรณวธุ , ผานติ งานกรณาธิการ, มลวิ ัลย รัตนพฤกษ และอานุภาพ ธรี ะกลุ . 2534. การเปรยี บเทียบพันธุ
โกโกลกู ผสมชวั่ ท่ี 1 จำนวน 15 พันธ.ุ รายงานผลงานวิจัยประจำป 2534 ศูนยวิจยั พืชสวนชุมพร. 242-
256.
เวียง อากรช,ี พิมล วุฒิสินธ, สภุ ทั ร หนูสวัสด.ิ์ 2542. การพฒั นาเครื่องอบลดความชืน้ กาแฟโรบัสตาแบบถัง
กลมทรงกระบอกหมุนในแนวนอน. เอกสารรายงานผลการวิจยั ฉบบั เตม็ , สถาบันวจิ ัยเกษตรวศิ วกรรม.
สถาบันวจิ ัยพชื สวน. 2563. สถานการณการผลิตโกโก. แหลงทม่ี า:
https://www.doa.go.th/hort/?page_id=13874, 27 เมษายน 2563.
สมศักดิ์ วรรณศริ ิ , 2532. สวนโกโก. กรงุ เทพฯ. สำนักพมิ พฐานเกษตรกรรม.
สิริชัย สงเสริมพงษ. 2536. เคร่ืองมือแปรรูปเมล็ดโกโก. เคร่ืองจักรกลเกษตร 2536. กองเกษตรวิศวกรรม.
กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพ : หนา 93-96.
ศูนยว ิจัยพืชสวนชมุ พร. 2533. คูม อื การปลูกโกโก. สถาบนั วิจยั พชื สวน กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตร
และสหกรณ กรุงเทพฯ. 25 หนา .
ศูนยเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร สำนักงานปลดั กระทรวงพาณิชย โดยความรว มมอื จากกรศุลกากร.
2564. สรุป การสง ออก/นำเขา/ดลุ การคา. แหลง ท่ีมา:
http://tradereport.moc.go.th/TradeThai.aspx, 27 เมษายน 2563
สุภราดา สุคนธาภิรมย ณ พัทลุง เสาวนิตย โพธิ์พูนศักดิ์ ศรีจำนรรจ ศรีจันทรา และพฤทธิชาติ ปุญวัฒโท.
2563. เอกสารวิชาการ คำแนะนำการปองกันแมลง - สัตวศัตรูพืช อยางมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
จากงานวิจัย. กลุมบริหารศัตรูพืช/กลุมกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรม
วชิ าการเกษตร. 230 หนา .
อรญั และคณะ, 2541. ปจ จัยทมี่ ผี ลตอการหมักเมลด็ โกโก ใน รายงานโครงการวิจัย เรื่อง การเตรยี มเชือ้ เร่ิมตน
เพื่อใชใ นอุตสาหกรรมการหมักโกโก. คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร 27 หนา
อทั ธ พศิ าลวานิช. 2561. โกโกอ าเซียน. แหลง ที่มา:
https://www.posttoday.com/aec/column/573876, 27 เมษายน 2564.
อาภรณ ธรรมเขต วิรัช ชูบำรุง ประเสริฐ เครงเปยม และวิทย สุวรรณวุธ. 2528. โรคกิ่งแหงของโกโก.
วารสารวชิ าการเกษตร ปท ่ี 3 กันยายน – ธันวาคม 2528. 210-216.

108

อิทธิพล บรรณาการ ศิรินี พูนไชยศรี และสิทธิศิโรดม แกวสวัสดิ์. 2555. อนุกรมวิธานเพลี้ยไฟวงศยอย
Panchaetothripinae. รายงานผลงานวิจัยประจำป 2555, สำนักวิจัยและพัฒนาการอารักขาพืช,
กรมวชิ าการเกษตร. 2148-2165.

Adam, S. N. and A. D. Mc Kelvie. 1955. Environmental requirement of cocoa in the gold coast.
Rep. Cocoa conf. London 1955. 22-27 pp.

Anshary, A., M. Basir-Cyio, U. Hasanah, Mahfudz, S Saleh, N. Edy and F. Pasaru. 2017.
Applications of biological agents and pruning effectively control cocoa pod borer. Asian
J. Crop Sci., 9: 125-132.

Afoakwa, E. O. 2014. Cocoa Production and Processing Technology. New York: CRC Press. 329 pp.
Aroyeun, S. O., J. O. Ogunbayo and A. O. Olaiya. 2006. Effect of modified packaging and

storage time of cocoa pods on the commercial quality of cocoa beans. Br. Food. J., 108:
141-151.
AusAID. Cocoa Processing Methods for the Production of High Cocoa in Vietnam. 1-18 pp.
Azhar, I .and S. M. Wahi. 1984. Pollination ecology of cocoa in Malaysia. Int. Cocoa Coconut
Conf. 1984. Kuala Lumpur.
Azhar, I. and G. E. Long. 1996. Effect of cocoa and pod age on egg distribution and egg
parasitism of the cocoa pod borer in Malaysia. Entomologia Experimentalis et Applicata,
81(1), 81-89. doi: 10.1007/BF00187841.
Babin, R. 2018 (a). Pest Management in Organic Cacao. In V. Vacante and S. Kreiter (eds.) CAB
International Handbook of Pest Management in Organic Farming. 502-518.
Babin, R. 2018 (b). Planococcus citri (Hemiptera: Pseudococcidae), with a focus on its role as
a vector of Cacao Swollen Shoot Virus Disease. คน ขอมูลออนไลน -
https://www.researchgate.net/publication/333784102
Biehl, B., B.M.B. Meyer and R.J. Samarakoddy. 1990. Beans spreading: A method for pulp
preconditioning to impair strong nip acidification during cocoa fermentation in
Malaysia. J. Sci. Food Agric. 51: 35-45.
CABI. 2021. Cocoa Pod Borer. https://www.cabi.org/isc/datasheet/7017#REF-DDB-183911
Chan, C. L. and S. W. Syed Kamaruddin, 1976. Vascular Streak Dieback (V.S.D.) of Cocoa in
Peninsular Malaysia. EMPA Cocoa/Coconut Seminar. Tawau.
Copetti, M. V., B. T. Iamanaka, J. J. Pereira, D. P. Lemes, F. Nakano and M. H. Taniwaki. 2012.
Determination of aflatoxins in by-products of industrial processing of cocoa beans. Food
Additives & Contaminants: Part A. 29(6): 972-978.

109

Copetti, M. V., B. T. Iamanaka, J. I. Pitt and M. H. Taniwaki. 2014. Fungi and mycotoxins in
cocoa: From farm to chocolate. International Journal of Food Microbiology. 178: 13-20.

Cuatrecasas, J. 1964. Cocoa and its allies. A taxonomic revision of the genus Theobroma.
Contrib. U. S. Nat. Herb. 35, 6: 379-614.

Day, R. 1989. Effect of cocoa pod borer, Conopomorpha cramerella, on cocoa yield and
quality in Sabah, Malaysia. Crop Protection. 8 (5), 332-339. DOI:10.1016/0261-
2194(89)90052-5.

De Zousa, J. T., F. P. Monteiro, M. A. Ferreira and K. Gramacho. 2018. Cocoa diseases: witches’
broom. In P. Umaharan (ed.) Achieving sustainable cultivation of cocoa. Burleigh Dodds
Science Publishing: Cambridge, UK. 1-31 pp.

Duncan, R. J. E., G. Godfrey, T. N. Yap, G. L. Pettiphar and T. Tharumarajah. 1989.
Improvement of Malaysian cocoa bean flavor by modification of harvesting,
fermentation and drying methods- the Sime Cadbury process. Planter, Kuala Lumpur
65: 157-173.

Egbuta, M. A., C. A. Chilaka, J. Z. Phoku, M. Mwanza and M. F. Dutton. 2013. Co-
contamination of Nigerian Cocoa and Cocoa-Based Powder Beverages Destined for
Human Consumption by Mycotoxins. Studies on Ethno-Medicine, 7(3): 187-194.

Felice, F., A. Fabiano, M. De Leo, A. M. Piras, D. Beconcini, M. M. Cesare, A. Braca, Y. Zambito
and R. Di Stefano. 2020. Antioxidant Effect of Cocoa By-Product and Cherry
Polyphenol Extracts: A Comparative Study. Antioxidants 9, 132: 1-14.

Forsyth, W.G.C. and V.C. Quesnel. 1957. Cocoa glycosidase and colour changes during
fermentation. J. Sci. Food Agric. 8: 505-509.

Frison, E.A., M. Dlekman and D. Nowell. 1999. FAO/IPGRI Technical Guidelines for the Safe
Movement of Germplasm. No. 20. Cacao (1st revision). Food and Agriculture Organization
of the United Nations, Rome/International Plant Genetic Resources Institute, Rome.

Hernández- Hernández, C., A. M. Sillero, J. F. Bolaños, A. B. Oria, A. A. Morales and G. Rodríguez-
Gutiérrez. 2019. Cocoa bean husk: industrial source of antioxidant phenolic extract.
Journal of the Science of Food and Agriculture 99 (1): 325-333

Humphries, E. C. 1943. Wilt of Cocoa. I. An Investigation into the causes. Ann. Bot. V. VII: 31-44.
John, T. A. and G. K. Maliphant. 1958. Yield variation in tree crop experiments with specific

reference to cacao. Nature. 182: 1613-14 pp.
Karim, A. A., A. Azian, A. Ismail, P. Hashim and N. A. Abdullah. 2014. Antioxidants properties

of cocoa pods and shells. Malaysian Cocoa J. 8: 49-56.

110

Khairul Bariah, S., A. Fazilah and A. Y. Tajul. 2017. Effect of Cocoa Pods Storage on the
Temperature and Physicochemical Changes during Shallow Box Fermentation. IJISET, 4
(12): 197-203.

Leach, J. R., R. Shepherd and P. D. Turner. 1971. Underplanting coconuts with cacao in
Malaysia. Proc. 3rd Int. Cocoa Res. Conf. Accra. 1969. 346 – 355 pp.

Ling, A.H. 1983. Cocoa nutrition and manuring on inland soils in Peninsular Malaysia. Proc.
2nd Nat. Cocoa Cout., Medan. P119-135.

Marelli, J. P., D. I. Guest, B. A. Bailey, H. C. Evans, J. K. Brown, M. Junaid, R. W. Barreto, D. O.
Lisboa and A. S. Puig. 2019. Chocolate Under Threat from Old and New Cacao Diseases.
Phytopathology, 109(8). https://doi.org/10.1094/PHYTO-12-18-0477-RVW

Morán-Rosillo, José Luis and Castillo-Carrillo, Pedro Saúl. 2020.The fruit borer and the cacao
stem (Carmenta theobromae, Lepidoptera: Sesiidae) in theZarumilla, Tumbes,
Perú. Revista Colombiana de Entomología, 46(1), e10165. Epub June 30, 2020.
https://doi.org/10.25100/socolen.v46i1.10165

Morillo, F., P. Sánchez, B. Herrera, C. Liendo-Barandiaran, W. Muñoz and J. V. Hernández. Pupal
development, longevity and behavior of Carmenta theobormae (Lepidoptera:
Sesiidae). Florida Entomologist 92(2): 355-361.

Mumford. J. D. and S. H. Ho. 1988. Control of the cocoa pod borer (Conopomorpha
cramerella). Cocoa Growers’ Bulletin, No. 40: 19-29.

Nair, K. P. 2010. Cocoa (Theobroma cacao L.) In the Agronomy and Ecology of Important Tree
Crops of the Developing World. The Hague, Netherlands: Elsevier, Chapter 5, pp. 131-180.

Nair, N. and A. K. Sahoo. 2006. Incidence of Conopomorpha cramerella Snellen (Gracillariidae:
Lepidoptera): a serious pest of litchi and its control in West Bengal. Environment and
Ecology. 24S (Special 3A), 772-775.

Opoku-Ameyaw, K., F. Baah, E. Gyedu-Akoto, V. Anchirinah, H. K. Dzahini-Obiatey, A. R. Cudjoe,
S. Aquaye and S. Y. Opoku. 2010. Cocoa Manual: A source book for Sustainable Cocoa
Production. Cocoa Research Institute of Ghana.

Ranjeet B., R. Sharma and R. P. Agnihotri. 2000. Incidence, varietal preference and control of
fruit borer, Conopomorpha cramerella (Lepidoptera: Gracillariidae) on litchi (Litchi
chinensis) in Himachal Pradesh. Indian Journal of Agricultural Sciences. 70 (5), 301-304.

Raters, M., Matissek, R. 2 0 0 5 . Study on distribution of mycotoxins in cocoa beans. Mycotox
Res 21, 182–186. https://doi.org/10.1007/BF02959259

Roelofsen, P.A. 1958. Fermentation, drying and storage of cacao beans. Adv. Food Res. 8: 25-296.

111

Rosmana A. M., A. Taufik, A. Asman, N. J. Jayanti and A. A. Hakkar. 2019. Dynamic of Vascular
Streak Dieback Disease Incidence on Susceptible Cacao Treated with Composted Plant
Residues and Trichoderma asperellum in Field. Agronomy. 9, 650.
https://doi.org/10.3390/agronomy9100650.

Sahoo, A. K., Anusmriti Roy, Ray, S. K., 2010. Comparative efficacy of insecticides and neem
formulations against Litchi fruit borer, Conopomorpha cramerella Snellen (Gracillariidae:
Lepidoptera). The Journal of Plant Protection Sciences, 2(2), 92-94.
http://www.aappbckv.org/journal/abs.php?id=57

Sánchez-Harvás, M., J. V. Gil, F. Bisbal, D. Ramón and P. V. Martínez-Culebras. 2008.
Mycobiota and mycotoxin producing fungi from cocoa beans. International Journal of
Food Microbiology. 125(3): 336-340.

Saripah, B. 2014. Control of Cocoa Pod Borer Using Insecticides and Cocoa Black Ants.
Malaysian Cocoa Journal, 8: 14-22.

Saripah, B. and I. Azhar. 2007. Implementation of Cocoa Pod Sleeving in Controlling Cocoa
Pod Borer Infestation. In Proceedings 2007 Conference on Plant Plantation
Commodities. 3-4 July 2007, Kuala Lumpur, Malaysia. 221-227.

Saripah, B. and I. Azhar. 2012. Five Year of Using Cocoa Black Ants, to Control Cocoa Pod Borer
at Farmer Plot – An Epilogue. Malaysian Cocoa Journal, 7: 8-14.

Shahbandeh, M. 2021. Cocoa bean production worldwide 2018/19 & 2020/21, by country.
Available source: https://www.statista.com/statistics/263855/cocoa-bean- production-
worldwide-by-region/, April 12, 2021.

Swiss Platform for Sustainable Cocoa. 2020. Available source:
https://www.kakaoplattform.ch/resources

Taniwaki M.H., Pitt JI, Copetti MV, Teixeira AA, Iamanaka BT. 2019. Understanding Mycotoxin
Contamination Across the Food Chain in Brazil: Challenges and Opportunities. Toxins.
11(7): 411. https://doi.org/10.3390/toxins11070411

The National Focal Point for the ASEAN COCOA CLUB (ACC) on ASEAN Cooperation and Joint
Approaches in Agriculture and Forest Products Promotion Scheme. 2019. Malaysia.

Theobroma L. in GBIF Secretariat. 2021. GBIF Backbone Taxonomy. Checklist dataset
https://doi.org/10.15468/39omei accessed via GBIF.org on 2021-04-30

Thong, K. C. and W. L. Ng. 1978. Growth and nutrient composition of Monocrop cocoa plants
of inland Malaysian soils. Proc. Int. Conf. Cocoa Coconuts, Kuala Lumpur, 1978: 262-86.

112

Toxopeus, H. 1985. Botany, types and populations. In G. A. R. Wood and R. A. Lass. (Eds.).
1985. Cocoa. Longman. London and New York. 17-37.

Toxopeus, H. 1987. Botany, types and populations. In G. A. R. Wood and R. A. Lass (eds). 1987.
Cocoa, 4th edition-Tropical agriculture series. Longman Scientific & Technical: Harlow.
11-37 pp.

US Department of Agriculture, Agricultural Research Service, USDA Nutrient Data Laboratory,
2005. USDA National Nutrient Database for Standard Reference, Release 18.

Uthaiah, B.C. and U. V. Sulladmath. 1980. Effect of Boron, Calcium and Magnesium on
Cherelle Wilt in Cacao. Journal of Plantation Crops. (180) 8 (1): 24 – 28 pp.

van Himme, M. 1959. Etude du systeme radiculaire du cacaoyer. Bull. Ageic. Du Congo Belge
et du Ruanda-Urndi. 50, 6: 1541-600.

Walmsley D. 1964. Irrigation and weed control. Ann. Rep. Cacao Res. 1963: 53-58 pp.
Wessel, M. 1970. Fertilizer experiments on farmers cocoa in South Western Nigeria. Cocoa

Growers Bulletin, 15: 22-27 pp.
Wintgens, J. N. 1991, Influence of genetic factors and agroclimatic conditions on the quality

of cocoa. 2nd International Congress on Cocoa and Chocolate. May 1991 Munich.
Wood, G. A. R. 1980. Cocoa. Tropical Agricultural series. Longman House: Harlow. 50–210 pp.
Wood, G. A. R. 1987. Environment. In G. A. R. Wood and R. A. Lass (eds). 1987. Cocoa 4th edition-

Tropical agriculture series. Longman Scientific & Technical: Singapore. 38-92 pp.
Wood, G.A.R. and R.A. Lass. 1985. Cocoa, 4th ed. Tropical Agriculture Series. Longman, New York.
Yara. 2021. Iron deficiency – Cocoa. Available online: https://www.yara.com.gh/crop-

nutrition/cocoa/nutrient-deficiencies-cocoa/iron-deficiency-cocoa/

113

ภาคผนวก

แมลงศตั รูโกโก
แมลงศัตรูโกโกในประเทศไทย พบมากกวา 30 ชนิด (จรัสศรี, 2534) โดยแมลงทุกชนิดที่พบจะทำ

ความเสียหายมากหรอื นอ ยแตกตา งกันไป แมลงท่ีสำรวจพบ มดี งั นี้

ชนดิ ของแมลง ลกั ษณะการทำลาย
1. Order Orthoptera
ตัก๊ แตนหนวดสนั้ กัดกนิ ใบทำใหใบโกโกแหวง ขาด
ต๊ักแตนหนวดยาว
2. Order Homoptera ดดู น้ำเลี้ยง กิง่ กา น ผลโกโก
เพล้ยี กระโดดสีขาว Lawana conspersa ดูดนำ้ เลย้ี งกา นและบนผลโกโก
เพล้ียจกั จ่นั เขา ดดู น้ำเลี้ยงยอดออ น ตาใบ ผล กง่ิ กา น
เพล้ยี แปง Planococcus citri ดูดนำ้ เลย้ี งยอดออน ผลโกโก

Ferrisia virgata ดดู นำ้ เลี้ยงยอดออน ผลโกโกท กุ ขนาดทำใหส ีดำแหง
เพลี้ยออน Toxoptera aurantii ผลเสีย

3. Order Hemiptera ดดู น้ำเลย้ี งบนใบโกโกร วมท้งั ผลดวย
มวนโกโก Helopeltis sp.
ขอบใบหยกั เปน รูปฟน เลอื่ ย
H. collaris (Stal) ขอบใบหยัก ใบเวา แหวง ขาดว่ิน
ขอบใบหยกั ใบเวา แหวง ขาดวน่ิ
4. Order Thysanoptera กินกานใบ ยอดออน
Heliothrips haemorrhoidalis ทำลายใบ รปู รางไมแ นนอน
Selenothrips rubrocinctus ทำลายใบ รูปรางไมแนนอน
5. Order Coleoptera ทำลายใบ รูปราง ไมแนนอน
ดวงงวงกนิ ใบ Family Curculionidae
Sepiomus sp. กดั กนิ ใบเปน รู รูปส่เี หลยี่ มผนื ผา
Astycus lateralis กดั กินใบเปนรู รูปสเี่ หลยี่ มผนื ผา
Hypomeces squamosus
Desimidophorus braviusculus
Phrixopogon sp.
Platytrachelus pisttacinus
Prdoctes sp.
ดว งกนิ ใบ Family Scarabaeidae
Adoretus sp.
Apogonia sp.

114

ชนิดของแมลง ลักษณะการทำลาย

Microtrichia sp. กัดกนิ ใบเปน รู รูปส่เี หลย่ี มผนื ผา
ดวงกนิ ใบ Family Chrysomelidae กดั กินใบ รูปรา งไมแนนอน ทง้ั 3 ชนดิ
Aulacophora foveicollis

A. similis ระบาดนาน ๆ คร้ัง (accident outbreak)
Aulacophora sp. กัดกนิ ทำลายใบโกโกพ บเปน ครง้ั คราว
ดว งกินใบ Family Anthribidae

Andracerus stuatus

ดว งเจาะกงิ่ Family Cerambycidae พบเปนบางครั้ง

Coptops polyspila

มอดเจาะกงิ่ Family Bostrychidae พบเปน บางครงั้

Xylothrips flavipes

6. Order Lepidoptera

Family Limacodidae กนิ ใบโกโก

Parasa lepida

Thosea siamica

T. bipartita กนิ ใบโกโก

Darna pallivitta

D. furva

Family Lymantriidae

Dasychira medosa กินใบและผลโกโก

D. horsfieldii

Family Noctuidae

Spodoptera litura พบกนิ ใบของตน กลา ในเรอื นเพาะชำ

Family Tortricidae

Lobesia sp. กดั กินทำลายใบ มวนใบออน

Archips sp.

Homona sp. (Leaf sticker)

Family Psychidae (หนอนปลอก bagworm)

Pagodiella hekmeyeri หนอนปลอกทำลายใบ

Mahasena sp.

Clania cramerii.

C. wallacei

Family Cossidae

115

ชนิดของแมลง ลกั ษณะการทำลาย
Zeuzera coffeae เจาะกิ่งลำตน
Z. indica
Family Geometridae กดั กินใบออ น
กัดกนิ ใบโกโก
Hyposidra talaca
Famiyly Eupterotidae

Eupterote sp.

116




Click to View FlipBook Version