The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jeelove285, 2019-11-08 23:17:16

ประวัติส่วนตัว

About Me

ช่ือไทย กงุ้ กลุ าดา กงุ้ กุลา กงุ้ กะลา กงุ้ เสือดา กุง้ เสือ กงุ้ ลาย
ช่ือภาษาองั กฤษ Giant tiger prawn
ชื่อวิทยาศาสตร์ Penaeus monodon fabricius, 1798

ชีววิทยาและแหล่งอาศยั ของกงุ้ กลุ าดา

กงุ้ กุลาดาเป็นกุง้ ทะเลท่ีมีขนาดใหญ่ท่ีสุดในตระกูล Penaeidae มีช่ือทางวิทยาศาสตร์
แตกตา่ งกนั หลายช่ือตามนกั วิทยาศาสตร์ท่ีคน้ พบ แต่ท่ีเป็นที่ยอมรับกนั ทวั่ ไป คือ Penaeus
Monodon Frabricius และมีชื่อภาษาองั กฤษท่ีองคก์ ารอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ
(FAO) ใชอ้ ยคู่ ือ Giant Tiger Prawn ส่วนแหลง่ กาเนิดด้งั เดิมอยใู่ นทะเลแถบอินโดแปซิกฟิ ก
ตะวนั ตก อฟั ริกาตะวนั ออกและตะวนั ตกเฉียงใต้ และคาบสมทุ รอินเดีย ลกั ษณะของกุง้ กลุ าดา
วยั รุ่นอาศยั ตามปากแม่น้า และเมื่อเตม็ วยั ชอบอาศยั ในทะเลที่มีพ้ืนที่มีโคลนปนทราย ระดบั
ความลึกไม่เกิน 110 เมตร กงุ้ กลุ าดาชอบฝังตวั ในเวลากลางวนั และหากินในเวลาคืน วางไขไ่ ด้
ตลอดท้งั ปี แตว่ างไข่ชกุ ชมุ ระหวา่ งเดอื นพฤษภาคมถึงเดอื นธนั วาคม ในแถบน้ากร่อยกินอาหาร
ไดท้ ้งั พืชและสตั วม์ ีความแขง้ แรงและทนทาน

ลกั ษณะภายนอกของกุง้ กลุ าดา เป็นเปลือกเกล้ียงไม่มีขน มีหนวดสีดาไมม่ ีลาย ฟันกรี
ดา้ นบนมี 7 ถึง 8 ซี่ช่วงขา้ งกรีทงั สองขา้ งแคบและยาวไมถ่ ึงฟันกรีซ่ีสุดทา้ ย ลาตวั สีน้าเงินแกม
มว่ งแกมดาฟาดขวางลาตวั ตามปลอ้ งและปลายโคนหางขาวา่ ยน้ามีสีเหลืองพาดขวางปลายขา
สาหรับเดินคทู่ ี่ 1 ถึง 2 เป็นสีสม้ ปกติกุง้ อายุ 6 เดือนจะมีขนาดยาว16 เซนติเมตรหนกั 32 กรัม
และพบว่ากงุ้ กลุ าดาความยาวสูงสุด 33.3 เซนติเมตรน้าหนกั 130 กรัม (พรรณิภา, 2531)

ลกั ษณะทว่ั ไป

เป็นกุง้ ทะเล ลาตวั สีแดงอมน้าตาลถึงน้าตาลเขม้ มีลายพาดขวางท่ีหลงั ประมาณ 9 ลายและ
สีออกน้าตาล เขม้ ขา้ งแถบสีขาว ดา้ นบนของกรีมีฟัน 7 ถึง 8 ซ่ี ดา้ นล่างมี 3 ซ่ี สนั กรียาวเกือบถึง
คาราเปสมีสนั ตบั (Hepatic Crest) ยาวตรงขนานไปกบั ลาตวั หนวดยาวไมม่ ีลายชดั เจน ขาเดินมี
สีแดงปนดา ขาว่ายน้ามีสีน้าตาลปนน้าเงิน โคนสีขาว ขาเดินคู่ที่ห้าไม่มี exopod ขนาดความยาว
ประมาณ18 ถึง 25 เซนติเมตร

ลกั ษณะสาคญั ในการจาแนกชนิด

1. ลาตวั มีแถบสีพาดขวาง แบ่งเป็นขอ้ ปลอ้ งชดั เจน สนั ท่ีส่วนหลงั ของกรี (Postrostral Ridge)
ไม่มีร่องกลาง สนั ท่ีเฮพพาติดยาว โคง้

2. สี ขณะท่ีมีชีวิต กุง้ กุลาดาโตเตม็ วยั ลาตวั สีเขม้ (น้าตาลเขม้ ) ส่วนของเปลือกคลุมหวั และลาตวั
ดา้ นบน มีแถบสีอ่อนพาดขวางสลบั กบั แถบสีน้าตาลเขม้ เกือบดาตลอดตวั ส่วนท่ีเหลือสีน้าตาล
ออ่ นสลบั กนั ในวยั รุ่นหรือยงั ไมโ่ ตเตม็ ท่ีอาจเป็นสีฟ้าอมน้าเงิน หรือมีลายขวางตลอดลาตวั

3. การแพร่กระจาย กงุ้ กุลาดาพบแพร่กระจายทวั่ ไปในเขต Indo-west Pacific ตะวนั ออกและ
ตะวนั ออกเฉียงใตข้ องทวีปแอฟริกา ประเทศอินเดีย ประเทศปากีสถานถึงประเทศญ่ีป่ ุน หมู่เกาะ
มาเลเซีย ประเทศอินโดนีเซีย นิวกีนีถึงตอนเหนือของออสเตรเลีย ออสเตรเลียถึงตอนเหนือของ
อ่าวมอริตนั ประเทศ
ควีนสแลนด์ และประเทศไทย

4. ที่อยอู่ าศยั (Habitat) กงุ้ กลุ าดาโตเตม็ วยั ชอบอาศยั พ้ืนดินโคลน โคลนปนทรายในทะเลลึก วยั
ออ่ นเป็นแพลงกต์ อนวา่ ยน้าไดอ้ ยา่ งอิสระ วยั รุ่นเคล่ือนยา้ ยเขา้ สู่ชายฝ่ังเพื่อเล้ียงตวั และเดินทาง
กลบั สู่ทะเลเมื่อโตเตม็ วยั เพื่อผสมพนั ธุ์

5. ขนาด กุง้ กลุ าดา เป็นกงุ้ ท่ีมีขนาดโตมากท่ีสุดยาวถึง 36.3 เซนติเมตร (363 มิลลิเมตร) จึงได้
สมญานาม จมั โบ้ หรือ ไทเกอร์ ตามปรกติกงุ้ เพศเมียจะมีขนาดใหญก่ ว่าเพศผู้

การสืบพนั ธุ์

กุง้ มีอวยั วะเพศภายนอกมองเห็นไดช้ ดั เจน และสามารถใชล้ กั ษณะความแตกต่างของ
อวยั วะเพศในการจาแนกชนิดได้ อวยั วะเพศผู้ เรียก พีแตสม่า (Ptasma) เกิดจากการเปลี่ยนแขนง
อนั ในของขาว่ายน้าคู่แรก ท้งั 2 ขา้ งเชื่อมติดกนั เพื่อทาหนา้ ที่เป็นอวยั วะเพศผู้ อวยั วะเพศเมีย
เรียกทีไลคมั (Phelycum) เกิดจากการเปลี่ยนผนงั ดา้ นทอ้ ง (Sternal Plate) ของระยางคส์ ่วนอก
ปลอ้ งที่ 7 และ 8 หรือตรงกบั ขาเดินคทู่ ่ี 4 ถึง 5 พฒั นาเป็นถุงสาหรับรับน้าเช้ือ
วยั เจริญพนั ธุ์ (Maturation) หมายถึง รังไข่หรืออวยั วะที่ใชใ้ นการผสมพนั ธุพ์ ฒั นาเตม็ ที่ในการ
ผลิตไข่ (Egg) หรือน้าเช้ือ (Sperm) พร้อมทีจ่ ะผสมพนั ธุ์ โดยใชอ้ วยั วะภายนอกในพวก
"Penaeids" เพศผู้ (Petasma) และเพศเมีย (Thelycum) เม่ือลอกคราบเพื่อเขา้ สู่วยั เจริญพนั ธุ์
อวยั วะเพศท้งั 2 เพศ เจริญดีแลว้ การผสมพนั ธุ์จะเกิดข้ึนภายหลงั จากตวั เมียลอกคราบใหม่

การคดั พนั ธุก์ งุ้

แมว้ า่ การทา Individual Selection หรือ Mass Selection จะทาไดง้ ่าย ตน้ ทุนต่า ทดสอบ
และบนั ทึกผลไดง้ ่าย แต่การคดั พนั ธุแ์ บบน้ีไมส่ ามารถหา "Interval" ระหว่าง Generation ได้
จึงควรใชว้ ิธีการคดั พนั ธุแ์ บบ Family Selection ควบคไู่ ปกบั การทดสอบ Progeny อยา่ งต่อเน่ือง
ท้งั แบบ Full Sib และ Half Sib

การศึกษาพนั ธุศาสตร์ประชากรกงุ้

มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ จาแนกกล่มุ ประชาการตามความถี่ของยนี (Gene Frequency) และมีการ
เปล่ียน แปลงความถ่ีเนื่องจากสาเหตุตา่ งๆ ขอ้ มูลที่ไดเ้ หล่าน้ีสามารถนาไปใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ ง
กวา้ งขวาง เชน่ การจดั การเพื่อการอนุรักษ์ การปรับปรุงพนั ธุ์ การศึกษาอนุกรมวิธานและ
วิวฒั นาการ เป็นตน้
เน่ืองจากกงุ้ กุลาดา ไดม้ ีการเพาะเล้ียงกนั อยา่ งแพร่หลาย โดยพนั ธุ์กงุ้ ที่ใชใ้ นการเล้ียงท้งั หมดได้
จากการจบั พอ่ แมพ่ นั ธุจ์ ากธรรมชาติ ข้ึนมาเพาะพนั ธุ์ ซ่ึงมีการจบั พอ่ แมพ่ นั ธ์ปี ละประมาณ 5 ถึง
6 แสนตวั ทาให้ประชากรกุง้ กุลาดาในธรรมชาติลดลง ความหลากหลายทางพนั ธุกรรมใน
ธรรมชาติกล็ ดลงดว้ ย นอกจากน้ีการหลดุ รอดของพนั ธุก์ งุ้ ท่ีเกิดจากการเพาะเล้ยี งลงไปใน
ธรรมชาติ ปะปนกบั ประชากรด้งั เดิม มีผลทาให้ความหลากหลายทางพนั ธุกรรมลดลงเช่นกนั
การศึกษาพนั ธุศาสตร์ประชากรกงุ้ กุลาดาจะทาใหท้ ราบวา่ กงุ้ กลุ าดาในธรรมชาติ แต่ละแหล่ง
ประกอบดว้ ยประชากรท่กี ลมุ่ เพอ่ื นาขอ้ มลู ที่ไดไ้ ปใชใ้ นการจดั การ ผสมพนั ธุ์ป้องกนั การผสม
เลือดชิด และใชเ้ ป็นขอ้ มลู พ้ืนฐานในการคดั เลือกพอ่ แมพ่ นั ธุ์สาหรับการสร้าง Domesticated
Broodstock ตอ่ ไป

การปรับปรุงพนั ธุแ์ บบวงจร (Recurrent Selection)

การปรับปรุงประชากร (Population Improvement) เป็นแนวคิดที่มีมานานแลว้ ในการ
ปรับปรุงพืชผสมขา้ ม (Cross-Pollinated Crops) แต่มีการนามาใชน้ อ้ ยมากในการปรับปรุงพนั ธุ์
สตั ว์ เน่ืองจากมีขอ้ จากดั ในการผสม และจานวนลูกท่ีผลิตไดม้ ีจานวนจากดั การปรับปรุง
ประชากรแตกต่างจากการปรับปรุงสายพนั ธุ์ (Line Improvement) ในแนวคิดเร่ืองการยกระดบั
ค่าเฉลี่ยของประชากร โดยการเพ่ิมความถี่ของยนื หรือ Allele ท่ีดีใหม้ ากข้ึน (Favorable Allele)
ดงั น้นั พนั ธุกรรมท่ีไดอ้ าจเป็นรุ่นลูกของประชากรผสมเปิ ดระหว่างสายพนั ธุท์ ี่ไดร้ ับการ
ปรับปรุงพนั ธุแ์ ลว้

การปรับปรุงแบบวงจร (Recurrent Selection) เป็นวิธีการหน่ึงของการปรับปรุงประชาการแต่ละ
รอบของการปรับปรุงพนั ธุ์แบบวงจร ประกอบดว้ ย 3 ข้นั ตอน คือ

1) การเลือกพอ่ แมพ่ นั ธุเ์ พื่อการผสม
2) การทดสอบรุ่นลูกทไี่ ดจ้ ากการผสมในขอ้ 1
3) การผสมรวมพ่อแม่พนั ธุ์ที่ไดร้ ับการคดั เลือกในข้นั ท่ีสอง ไดเ้ ป็นประชากรท่ีไดร้ ับการ
ปรับปรุงรอบที่ 1 เพ่อื นาไปใชใ้ นการปรับปรุงพนั ธุร์ อบที่สองตอ่ ไป การปรับปรุงพนั ธุ์แบบ
วงจรมีหลายวิธี (Hallaure and Miranda, 1981) คือ

- In Population: ปรับปรุงภายในประชากรเดยี วกนั
- Mass Selection
- Modified Ear-to-row ใชก้ บั สตั วไ์ ม่ได้
- Full-sib Selection
- Half-sib Selection
- SI Selection ไม่ใชก้ บั สตั ว์
- Interpopulation: ปรับปรุงระหวา่ งสองประชากรพร้อมๆ กนั
- Full-sib reciprocal recurrent selection
- Half-sib reciprocal recurrent selection

แนวความคิดในการปรับปรุงประชากรแบบวงจร สามารถนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปรับปรุง
พนั ธุไ์ ดเ้ ป็นอยา่ งดี ท้งั น้ีเน่ืองจาก

1) กุง้ กลุ าดามีความหลากหลายทางชีวภาพสูง (geneticdiversity)
2) กุง้ มีธรรมชาติของการผสมขา้ มเน่ืองจากการแยกเพศผ-ู้ เมียอยา่ งชดั เจน
3) แม่กุง้ มีอตั ราการฟักสูง หน่ึงแมส่ ามารถผลิตนอเพลียสไดก้ ว่าลา้ นตวั ฃ
4) พอ่ แม่กุง้ มีอายปุ ระมาณ 2 ปี สามารถตกไขไ่ ดอ้ ยา่ งนอ้ ย 2 คร้ัง ทาใหส้ ามารถเวียนแมก่ ุง้ ที่
ไดร้ ับการคดั เลือกแลว้ กลบั มาผสมรวมได้ (recombination) ซ่ึงเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพในการ
ปรับปรุงพนั ธุ์อยา่ งหน่ึง

โมเลกลุ เคร่ืองหมาย (molecular marker) เป็นเคร่ืองหมายในระดบั โมเลกุลของโปรตีน ดี
เอน็ เอ และอาร์เอน็ เอในเซลลส์ ่ิงมีชีวิต ไดม้ ีการนามาใชป้ ระโยชน์ในดา้ นต่างๆ เช่น ดา้ น
การเกษตร ใชใ้ นการปรับปรุงพนั ธุ์พืชและสตั ว์ ดา้ นการแพทย์ ใชใ้ นการตรวจวินิจฉยั โรคและ
รักษาโรค ดา้ นพนั ธุศาสตร์ ใชใ้ นการศึกษาพนั ธุศาสตร์ประชากรและความหลากหลายทาง
พนั ธุกรรมของส่ิงของมีชีวิตต่างๆ ท้งั พืชและสตั ว์ เป็นตน้

โมเลกุลเครื่องหมายสามารถจาแนกออกเป็นประเภทใหญ่ไดด้ งั น้ี คือ Biochemical
Marker และ

DNA Marker ซ่ึง Biochemical Marker เป็นการศึกษาในระดบั โปรตีนเพื่อใชเ้ ป็น
เคร่ืองหมายในการศึกษาพนั ธุกรรม ส่วน DNA Marker เป็นการศึกษาในระดบั ดีเอน็ เอ และอาร์
เอน็ เอ ซ่ึงในปัจจบุ นั ไดม้ ีการเลือกใช้ DNA Marker มากกวา่ Biochemical Marker เนื่องจากดี
เอน็ เอเป็นท่ีมาของโปรตีน ตลอดจนเทคโนโลยที ไ่ี ดพ้ ฒั นาข้ึน สามารถศึกษาดีเอน็ เอไดง้ ่าย

การศึกษาเกี่ยวกบั อณูพนั ธุศาสตร์กุง้

โดยการศึกษาดีเอน็ เอ สามารถทาไดห้ ลายวิธี โดยสามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 วิธีใหญๆ่
คือ วิธี RFLP และ RCR (สมวงษ์ และอภิชาติ, 2538)

1. Restriction Fragment Length Polymorphism (RFLP) หมายถึง ความแตกต่างหรือความ
หลาก หลายของขนาดดีเอน็ เอท่ีเกิดจากการตดั ดว้ ยเอน็ ไซมต์ ดั จาเพาะ (Restriction Enzyme)
เนื่องจากขอ้ มูลทางพนั ธุกรรมของส่ิงมีชีวิตจะเกบ็ อยใู่ นนิวเคลียสและออร์กาเนลลบ์ างชนิดและ
มีคุณสมบตั ิในการจาลองตวั เองอยา่ งถกู ตอ้ งแมน่ ยาไปสู่รุ่นลกู ต่อๆ ไป แตใ่ นบางคร้ังอาจเกิด
การเปลยี่ นแปลงข้ึนอนั เน่ืองมาจากช้ินส่วนของดีเอน็ เอหรือโครโมโซมหายไป (Deletion) มี
ชิ้นส่วนของดีเอน็ เอบางส่วนเพ่ิมข้ึน (Duplication) มีการจดั เรียงตวั ใหม่ของดีเอน็ เอภายใน
โครโมโซม หรือจากตา่ งโครโมโซม (Transpostion) ซ่ึงทาใหเ้ กิดความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต
แต่ละชนิด

วิธีการ RFLP เป็นเทคนิคท่ีใชต้ รวจสอบความแตกต่างของลาดบั เบสบนสายดีเอน็ เอที่เกิดจาก
การตดั ดว้ ยเอม็ ไซมต์ ดั จาเพาะแลว้ แยกชิ้นส่วนโดยวิธี Gel Electrophoresis และยา้ ยชิ้นส่วน
ดงั กลา่ วไปไวท้ ่ี Nitrocellulose Filter หลงั จากน้นั ก็จะทาการผสม (Hybridization) ช้ินส่วนดี
เอน็ เอกบั ติดตวั ตาม (Labelled DNA Probe) และติดตามโดยการใช้ Mon-Radioactive Detection
ซ่ึงตวั ตรวจสอบท่ีใชม้ ีหลายอยา่ ง ไดแ้ ก่ ช้ินส่วนดีเอน็ เอท่ีเป็น Single Copy และช้ินส่วนดีเอน็ เอ
ทีเป็นเบสซ้ากนั (Re[eated Seqiemce) ซ่ึงมีช่ือเรียกตา่ งๆ กนั ไป เช่น Minisatellite,
Microsatellite เป็นตน้

2. Polymerase Chain Reaction (PCR) คือ การเพิ่มปริมาณของชิ้นส่วนดีเอน็ เอเฉพาะส่วน
ที่ตอ้ ง การศึกษาใหม้ ีปริมาณมากข้ึนในหลอดทดลอง โดยใชเ้ อน็ ไซม์ DNA Polymerase ซ่ึงเป็น
การเลียนแบบการจาลองตวั เองของดเี อน็ เอ (DNA Replication) ในสิ่งมีชีวิต ในการเพิ่มปริมาณ
สารพนั ธุกรรมเฉพาะส่วนที่เกิดข้ึนโดยการทาให้สายดีเอน็ เอซ่ึงเป็นสายคแู่ ยกเป็นเสน้ เดี่ยวแลว้
ให้ดีเอน็ เอเริ่มตน้ (Primer) โดยมีเอน็ ไซม์ Tag DNA Polymerase ทาใหเ้ กิดการเพิ่มขยายส่วน
ของ Polynucleotides ซ่ึงจะนาเอา Mucleotide ท่ีมีเบสเป็นคู่กบั ดีเอน็ เอตน้ แบบมาตอ่ เป็นสายยาว
ในทิศทางจากปลาย 5' ไปปลาย 3' และเกิดปฏิกิริยาซ้าๆ กนั หลายรอบ จนไดส้ ่วนของดเี อน็ เอ
ผลผลิตที่มีความเฉพาะเจาะจง

วิธีการที่เก่ียวกบั PCR น้ี สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชท้ าให้เกิดเทคนิคในการทา DNA
Fingerprint ตา่ งๆ เชน่ RAPD, STS, Alu-PCR และ AFLP เป็นตน้ (สมวงษ์ และอภิชาติ, 2538)

2.1) 12s และ 16s rDNA Genes Amplification เป็นการเพ่ิมปริมาณดีเอน็ เอ ส่วน 12s และ
16s rDNA Genes ซ่ึงสามารถนามาใชใ้ นการศึกษาเก่ียวกบั ความแตกตา่ งทางพนั ธุกรรมของกุง้
ได้ ดงั เชน่ Palumbi and Benzie (1991) ไดศ้ ึกษาความแตกตา่ งของลาดบั เบสบน mtDNA ในกุง้
ท่ีมีรูปร่างลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กนั และอาศยั อยใู่ นสภาพแวดลอ้ มใกลเ้ คียงกนั ของกงุ้ Penaeus
Vannamei, Penaeus Stylirostris, Penaeus Esculents, Metapenaeus Endaevori พบวา่ กงุ้ ที่อยใู่ น
Subgenera Penaeus มีความแตกต่างกนั ถึง 18 เปอร์เซ็นต์ Maclado et al. (1993) พบส่วนของ
16s rDNA Genes มีลาดบั เบสท่ีแตกตา่ งกนั ถึง 11 เปอร์เซ็นต์ ระหว่างกงุ้ Penaeus Notiaiis และ
Penaeus Schmitti Bouchon et al. (1994) ไดห้ าความแตกต่างของ mtDNA เพื่อใชเ้ ป็น Marker ดู
ความแปรปรวนภายในชนิดกุง้ Penaeus Monodon และใชแ้ ยกกบั กงุ้ Penaeus Japonicus โดย
พบ Molecular Size ของกุง้ ท้งั 2 ชนิด มีขนาดความใกลเ้ คียงกนั คือประมาณ 16,000 คเู่ บส
(Basepair, bp.) หลงั จากนา mtDNA ของกุง้ Penaeus Monodon มาตดั ดว้ ย Restriction Enzyme
(Bgl II, Pst I) พบสายพนั ธุ์ที่เก็บตวั อยา่ งจาก Fiji มีความแตกตา่ งกบั สายพนั ธุท์ ่ีเก็บตวั อยา่ งจาก
Malaysia และ Australia สาหรับในการหา Marker ท่ีสามารถแยกชนิดระหวา่ งกงุ้ Penaeus
Monodon และ Penaeus Japonicus น้นั ใช้ 12s rDNA 16s rDNA Genes Amplification ซ่ึงใหผ้ ล
ผลิตขนาด 415+2 bp. และ 520+6 bp. ตามลาดบั Restriction Enzyme Bst E II, Ssp I และ Acc I,
Ssp I สามารถแยกความแตกตา่ งในกุง้ ท้งั สองชนิดของ 12s และ 16s rDNA Genes ตามลาดบั

2.2) Random Amplified Polymorphism DNA (RAPD) หรือ Arbitary Primed PCR (AP-
PCR) เป็นวิธีการหาความหลากหลายทางพนั ธุกรรม โดยอาศยั เทคนิค Polymerase Chain
Reaction โดยใช้ Primer ที่เป็น Oligonucleotides (8-10 bp.) ใหจ้ บั กบั สายดีเอน็ อีแบบสุ่มกจ็ ะได้
PCR Product สามารถนาไปใชห้ าความหลากหลายทางพนั ธุกรรมได้ เทคนิคน้ีไดร้ ับการ
พฒั นาข้ึนโดย Williams et al. (1990) ซ่ึงสามารถทาไดส้ ะดวก รวดเร็ว วิธีการไมซ่ บั ซอ้ น ดงั ท่ี
Garcia and Benzie (1995) ไดใ้ ช้ RAPD สาหรับตรวจสอบรุ่นลกู ของค่ผู สมกงุ้ แตล่ ะคู่

2.3) Amplified Fragment Length Polymorphism (AFLP) เป็นเทคนิคในการทา DNA
Fingerprint เพ่ือศึกษาความแตกตา่ งทางพนั ธุกรรมท่ีประกอบดว้ ย 3 ข้นั ตอนใหญ่ๆ คือ การตดั
ดีเอน็ เอ (Genomic DNA) ดว้ ย Restriction Enzyme การเพิ่มปริมาณดีเอน็ เอท่ีตดั แลว้ ดว้ ย
Primer ท่ีเป็น Selective Base และการวิเคราะห์ผลดว้ ย Gel Electrophoresis ซ่ึงเป็นเทคนิคที่
สามารถเลือกเพ่ิมปริมาณชิ้นส่วนดีเอน็ เอ ไดแ้ ละให้ความ ละเอียดสูง (Vos et al. 1995)

2.4) Microsatellite DNA Micorsatellite DNA คือ ส่วนของดีเอน็ เอท่ีมีการเรียงตวั ของ
ลาดบั เบสจานวน 1 ถึง 6 นิวคลีโอไทด์ (Nucleotides) ซ้ากนั ต้งั แต่ 2 ซ้าข้ึนไป พบกระจายทวั่ ไป
ในจีโนม ตอ่ มาไดม้ ีการใช้ Microsatellites เป็น DNA Markers ในการศึกษาจีโนมและมีช่ือ
เรียกแตกต่างกนั ออกไป เชน่ Simple Sequence Repeat (SSR), Simple Sequence Length
Polymorphism (SSLP) และ Sequencetagged Microsatellite Site (STMS)

Microsatellites ไดม้ ีการศึกษาคร้ังแรกในจีโนมคน (Hamada et al., 1982) โดยมีขอ้ ดีของ
การใช้ Microsatellites ในการศึกษา คือ

1) Higly Informative คือ ให้ขอ้ มูลต่างๆ ในจีโนมไดม้ าก เนื่องจากสามารถบอกให้ทราบถึง
สภาพขม่ ร่วมกนั ของยีน (Co-Dominant) และยนี หลายตาแหน่ง Technically Simple คือ สามารถ
ใชเ้ ทคนิค PCR ในการตรวจสอบ

2) Sensitive คือ ตอ้ งการปริมาณดีเอน็ เอเร่ิมตน้ เพียงเลก็ นอ้ ยเท่าน้นั ก็สามารถเกิด ปฏิกิริยาได้

3) Analytically Simple คือ ผลที่ไดส้ ามารถนาไปใชใ้ นการวิเคราะห์ไดเ้ ลย ไม่คลมุ เครือ และ
สามารถทาซ้าไดโ้ ดยผลที่ไดไ้ มเ่ ปล่ียนแปลง

4) Highly Abundant คือ สามารถพบกระจายสม่าเสมอในจีโนม

5) Readily Transferable คือ สามารถติดต่อแลกเปลยี่ นขอ้ มลู เกี่ยวกบั Primers ไดโ้ ดยง่าย

6) Flexible คือ สามารถใชเ้ ป็น Sequence Tagged Sites ใชป้ ระโยชน์ในการทา Genetic Linkage
Maps และ Physical Chromosome Locationsจากคณุ สมบตั ิขา้ งตน้ จึงน่าจะสามารถนามาใช้
ศึกษาจีโนมของกุง้ ได้

การจดั กลุ่มกุง้ สามารถทาไดอ้ ยา่ งแม่นยา โดยการวิเคราะห์ความแตกตา่ ง Restriction Size
ของยีน 12s rDNA และ 16s rDNA ใน Mitochondrial Genome หรือ ดยใชเ้ ทคนิค RAPD ความ
แตกต่างกุง้ ภายใน Species เดียวกนั เทคนิค AFLP สามารถแยกกุง้ ไดท้ กุ ตวั ไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ (Vanavichit et al., 1996) แต่อยา่ งไรกต็ าม โมเลกลุ เคร่ืองหมายเหลา่ น้ีไม่สามารถ
แยกความแตกต่างระหวา่ ง Locus ท่ีเป็น Heterozygous กบั Homozygous ได้ ซ่ึงเป็นส่วนที่
สาคญั ในการศึกษาพนั ธุกรรมของสตั ว์ ดงั น้นั โมเลกลุ เครื่องหมายแบบ RFLP และ
Microsatellite Marker จึงมีความสาคญั สูงสุดและจาเป็นตอ้ งพฒั นาข้ึนมาใหม่

รายงาน

การเล้ียงกงุ้ กา้ มกราม

ท่ีมา : นิตยสารเพ่ือนชาวกุง้ ฉบบั มีนาคม 2545

กุง้ กา้ มกรามหรือกงุ้ แม่น้าหรือกุง้ หลวง เป็นกงุ้ น้าจืดขนาดใหญ่ ท่ีชาว
ไทยรู้จกั กนั ดีอยแู่ ลว้ เพราะเป็นกงุ้ ทอ้ งถ่ินแถบเอเชียใตถ้ ึงตะวนั ออก
เฉียงใต้ และเรามีการเพาะเล้ียงมาอยา่ งยาวนาน แตเ่ น่ืองจากวา่ ตลาดกงุ้
กา้ มกราม มีลกั ษณะเฉพาะตวั อยทู่ ่ีขายตามเพศ อายุ โครงร่าง ขนาด และ
อ่ืนๆ จึงมีขอ้ จากดั ในการจดั การเล้ียงเชิงอุตสาหกรรม ประกอบกบั การ
เล้ียงกุง้ กา้ มกรามตอ้ งใชพ้ ้ืนที่ในเขตเกษตรกรรมน้าจืด ซ่ึงมีการเกษตร
อ่ืนหลากหลายอยแู่ ลว้ และผลตอบแทนโดยเฉล่ียไม่หวือหวาเม่ือเทียบ

กบั กงุ้ กลุ าดา (ท้งั ข้นั ตอนการผลิตและการตลาด) และไดเ้ กิดช่วง
อุปสรรคบ่อยคร้ัง ส่งผลให้เกิดการชะงกั ในกระบวนการพฒั นาตอ่ เนื่อง

ท้งั น้ีปัจจบุ นั ภาวะที่ "กงุ้ " ไดเ้ ป็นสตั วเ์ ศรษฐกิจตวั เด่นของโลกไปแลว้
ดว้ ยมลู ค่าตลาดจากตน้ ทางถึงผบู้ ริโภครวมกวา่ 1.3 ลา้ นลา้ นบาท อีกท้งั

ประชากรโลกนิยมบริโภคสตั วน์ ้าเพิม่ ข้ึนอยา่ งต่อเน่ือง และมีตลาด
ผบู้ ริโภคกุง้ หลากหลายสายพนั ธุ์ ประเทศผผู้ ลิตกุง้ ส่งออกจึงแสวงหา
และศึกษาวจิ ยั การผลิตกงุ้ สายพนั ธุ์ต่างๆ เพ่อื เพิม่ โอกาสในทางธุรกิจ

มากข้ึน

กงุ้ กา้ มกราม ในฐานะกุง้ น้าจืด ตวั เด่นของภูมิภาคเอเชียใต้ กเ็ ป็นสาย
พนั ธุห์ น่ึงที่ไดร้ ับความสนใจเพมิ่ ข้ึนเป็ นลาดบั ถึงปัจจุบนั อินเดีย บงั
คลาเทศ ไดเ้ ริ่มผลิตส่งออกอยา่ งเป็นรูปธรรมระดบั หน่ึง และไทยเองก็
เริ่มมีผสู้ นใจ ในกงุ้ ตวั น้ีมากข้ึน และธุรกิจผลิตเชิงพฒั นาการเพ่อื การ

ส่งออกไดเ้ ริ่มตน้ ข้ึนบา้ งแลว้

ตนซ่ึงอยรู่ ะหว่างการจดั ทากิจกรรมเครือขา่ ย "คนไทย-กงุ้ ไทย" เพอ่ื ร่วม
พฒั นา "กุง้ ไทย" เร่งด่วนในปี 2544-2545 น้ี โดยเป้าหมายเพ่ือเสริม "กงุ้

ไทย" ใหม้ ีความแขง็ แกร่งและก่อผลประโยชนแ์ ก่ "คนไทย" อยา่ ง
ตอ่ เน่ือง และยงั่ ยนื มีความเห็นวา่ เราสามารถร่วมพฒั นาการผลิตกงุ้
กา้ มกราม เพ่ือการส่งออกอยา่ งเป็นระบบได้ จึงไดท้ าการสารวจศึกษา
และติดตามขอ้ มลู การเพาะเล้ียงมาเป็นระยะเวลากวา่ 1 ปี จนไดส้ รุป
"ขอ้ มูลศึกษาเชิง วเิ คราะห์เร่ือง การผลิตกุง้ กา้ มกรามเพอ่ื การส่งออก"
ฉบบั น้ีข้ึน และเสนอตอ่ เกษตรกร บคุ คล และองคก์ รที่เกี่ยวขอ้ ง เพื่อการ
ร่วมพฒั นาการผลิตกงุ้ กา้ มกรามในการส่งออก ให้กา้ วหนา้ สู่เป้าหมาย

ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์การเพาะเล้ียงกงุ้ กา้ มกรามของไทยในปัจจุบนั และแนวโนม้
การพฒั นาต่อเนื่อง

1.เง่ือนไขจาเพาะ

กุง้ กา้ มกราม แมจ้ ะเป็ นกุง้ น้าจืดขนาดใหญ่ ที่อาจเปรียบเทียบกบั กงุ้ ทะเล
คือ กงุ้ กลุ าดา ซ่ึงเราไดเ้ พาะเล้ียงจนเป็ นสายพนั ธุ์ในอตุ สาหกรรมกงุ้ ไทย
ไปแลว้ จนดูเหมือนวา่ กุง้ กา้ มกรามน่าจะเป็นที่สนใจ และพฒั นาผลิต
เป็น กงุ้ ส่งออกเชิงอุตสาหกรรมไดง้ ่าย แต่เม่ือศึกษารายละเอียดเจาะลึก
จะเห็นไดว้ า่ กุง้ กา้ มกรามมีเงื่อนไขจาเพาะหลายประการที่แตกต่างจาก
กงุ้ กุลาดา และถือเป็ นขอ้ จากดั ตอ่ การกาหนดรูปแบบงานพฒั นาต่อเนื่อง

ท้งั น้ี เง่ือนไข

1.1 ความแตกตา่ งดา้ นขนาดและโครงร่างในผลผลิต

โดยปกติทว่ั ไป กุง้ ขนาดใหญท่ ุกชนิด เพศเมียจะโตกวา่ เพศผู้ เช่น กงุ้
กลุ าดา หรืออยา่ งนอ้ ยกม็ ีขนาดใกลเ้ คียงกนั เช่น กงุ้ ขาว แต่กุง้ กา้ มกราม
มีขอ้ แตกตา่ งตรงที่ กงุ้ เพศผมู้ ีขนาดใหญก่ วา่ เพศเมียมาก โดยเฉพาะเมื่อ

เล้ียงถึงระยะสมบูรณ์พนั ธุ์ที่ 6เดือนข้ึนไป อีกท้งั ในฝงู ที่ผลิตไดย้ งั มี
ลกั ษณะโครงร่างแยกแยะแตกตา่ งกนั ไปอีก คือ

กุง้ เพศผทู้ ่ีเป็ นกงุ้ เน้ือขนาดใหญ่ เรียกวา่ กุง้ ใหญ่ (และมีชื่อแบง่ ยอ่ ย
ต่างๆ)

กงุ้ เพศผทู้ ่ีเป็นกุง้ เน้ือขนาดรอง เรียกวา่ กงุ้ กลาง

กงุ้ เพศผทู้ ่ีเป็นนกั เลงคุมฝงู เรียกวา่ กุง้ กา้ มโต

กุง้ เพศเมียสมบูรณ์พนั ธุ์ เรียกวา่ กงุ้ นาง

กงุ้ เพศเมียระยะฟักไข่(ไขห่ นา้ ทอ้ ง) เรียกวา่ แมก่ งุ้ หรือกงุ้ ไข่

กุง้ แคระแกรน เรียกวา่ กุง้ จ๊ิกโก๋หรือหางกุง้
ซ่ึงแต่ละชนิดจะมีโครงร่าง ความสวยงามและอตั ราส่วนเน้ือต่อตวั กุง้ ที่

แตกตา่ งกนั จึงเป็ นเง่ือนไขที่ทาให้วิธีการและราคาจาหน่ายมี
หลากหลายต่างกนั ซ่ึงคุณลกั ษณะขอ้ น้ีทาให้เกิดอุปสรรคดา้ นตลาด

ผลผลิตมาโดยตลอด

1.2 ความนิยมของผบู้ ริโภคจาเพาะที่โครงร่างและขนาด
ตลาดผบู้ ริโภคกุง้ กา้ มกราม โดยปกติจะนิยมบริโภคกุง้ ขนนาดใหญ่ที่มี
โครงร่างสวยงาม จึงทาให้กุง้ เน้ือตวั ผขู้ นาดใหญ่ และขนาดรอง มีราคา
ต่างกนั มากตลอดถึงกุง้ ตวั เมียสมบูรณ์พนั ธุ์ และสุดทา้ ยคือ กงุ้ ตวั เมีย
ระยะฟักไข่ หนา้ ทอ้ ง ซ่ึงไม่เป็นที่ยอมรับของตลาด และราคาต่ามาก

เนื่องจากเน้ือนอ้ ย รสชาติไม่ดีพอ

1.3 กุง้ กา้ มกรามมีระยะผสมพนั ธุ์เร็วกวา่ ระยะจบั ขาย
เน่ืองจากผบู้ ริโภคตอ้ งการกุง้ ขนาดใหญ่ และมีโครงร่างสวย ถือตาม
เกณฑ์ 70-100 กรัม/ตวั (15-10 ตวั /กก.) ในขณะที่กุง้ น้ีเจริญเติบโตไดช้ า้
ในช่วง 3 เดือนแรก จึงจาเป็นตอ้ งเล้ียงนานกวา่ 6 เดือน แต่กงุ้ กา้ มกราม
เร่ิม สมบูรณ์พนั ธุแ์ ละผสมพนั ธุ์เร็ว (เพยี ง 4 เดือน) จึงทาใหเ้ กิดการผสม

พนั ธุ์ วางไขก่ ่อนถึงระยะขายเน้ือกงุ้ โดยการเล้ียงแบบเดิมจะทาให้
คุณสมบตั ิรายตวั ของผลผลิตแตกตา่ งกนั มาก (ดงั ขอ้ ที่ 1.)

1.4 ปริมาณผลผลิตตอ่ ไร่ต่ากวา่ กุง้ กุลาดา
เน่ืองจากกุง้ กา้ มกราม ตอ้ งเล้ียงนานเพื่อให้ไดไ้ ซส์ใหญ่ ประกอบกบั
โครงร่างที่มีน้าหนกั ส่วนของหวั และกา้ มมาก จึงเป็นกุง้ เกาะตามพ้นื
เป็นหลกั อีกท้งั เป็ นกุง้ ท่ีกา้ วร้าวและกินกนั เอง เมื่อลอกคราบหรือ
อ่อนแอ จึงมีขอ้ จากดั เรื่องความหนาแน่นในการเล้ียงช่วงปลาย ทา
ใหผ้ ลผลิตต่อไร่ของรอบการผลิตต่า เพียงระดบั 300-400 กก./ไร่ ซ่ึงต่า

กวา่ กุง้ กลุ าดามาก

2.สถานการณ์การผลิตในปัจจบุ นั
การเพาะเล้ียงกงุ้ กา้ มกราม ตอ้ งใชพ้ ้นื ที่ราบในเขตเกษตรกรรมน้าจืด
ท่ีดินมีคุณสมบตั ิเก็บน้าไดด้ ี จึงนิยมเล้ียงเฉพาะในบริเวณส่วนที่ราบลุ่ม
ภาคกลาง และบางบริเวณของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และเฉพาะใน
ส่วนใกล้ แมน่ ้าหรือคลองชลประทาน โดยใชว้ ิธีผลิตเชิงประสบการณ์ที่
มีการพฒั นาต่อเน่ืองชา้ จึงไดผ้ ลผลิตคอ่ นขา้ งคงท่ี ที่ระดบั ผลผลิตรวม

ประมาณ 25,000-30,000 ตนั /ปี ซ่ึงในระยะก่อนปี 2540

ีขี อ้ จากดั เรื่องราคาและการเสียหายในข้นั ตอนการเพาะเล้ียง จนถึงหลงั
ปี 2540 ที่ราคาสูงข้ึนบา้ งตามราคากุง้ กลุ าดา ก็เกิดแรงจูงใจในการ

พฒั นาเพ่ิมข้ึน และเริ่มมีการส่งออกบา้ ง แต่มีพ้ืนที่การเล้ียงกุง้ บางส่วนที่
ถูกปรับไป เล้ียงกงุ้ กลุ าดา ถึงปี 2544 จากปัญหามาตรา 9 จึงเร่ิมมีการ
กลบั เขา้ มาเล้ียงกงุ้ กา้ มกรามเพิม่ ข้ึนอีก จนระบบตลาดภายในรองรับไม่

ทนั และเกิดภาวะราคาต่าลงในปัจจุบนั

3.ปัญหาปัจจุบนั

3.1 ใชว้ ิธีการเล้ียงแบบด้งั เดิม ซ่ึงหลายส่วนถือเป็นอุปสรรคตอ่ การเพ่มิ
ประสิทธิภาพการผลิต ที่สาคญั คือ

- ขาดการคดั เลือกและพฒั นาสายพนั ธุ์ตอ่ เน่ือง จากอดีตท่ีเคยใชพ้ นั ธุก์ งุ้
จากแหล่งน้าธรรมชาติเป็ นหลกั ปัญหาน้ีมีนอ้ ย แตเ่ มื่อพนั ธุก์ งุ้ ธรรมชาติ

ลดลงและตอ้ งกลบั มาใชแ้ มพ่ นั ธุ์จากบ่อดิน ปรากฏวา่ ผเู้ พาะเล้ียงไม่
เคร่ง ครัดในการคดั แยกสร้างแปลงพนั ธุ์ เพอ่ื พฒั นาสายพนั ธุต์ ่อเนื่อง
(ส่วนใหญ่เพยี งแต่นาแม่พนั ธุ์ท่ีมีไขห่ น้าทอ้ งตามระยะที่ตอ้ งการจากบ่อ

ดินทวั่ ไปมาใชง้ านเป็นหลกั )

- นิยมเล้ียงรวมฝงู คละเพศ การเล้ียงในลกั ษณะดงั กล่าว ทาใหอ้ ตั ราส่วน
กุง้ อุม้ ไขห่ นา้ ทอ้ งและจ๊ิกโก๋ครองฝงู สูงกวา่ ท่ีควร

- การใชว้ ิธีคราดจบั เป็ นระยะ การเล้ียงรวมฝงู และคราดจบั เป็นระยะ
เพ่อื เลือกตวั เมียออก หรือคดั ตวั ใหญข่ าย นอกจากเสียโอกาสทางธุรกิจที่

ขายกงุ้ ไซส์หวั ก่อนกาหนดแลว้ ยงั ทาใหส้ ภาพแวดลอ้ มในบ่อ
เปลี่ยนแปลงหรือ ไมเ่ หมาะสม เพราะการคราดจบั แต่ละคร้ัง ทาให้
ตะกอนข้ีกุง้ และสารอินทรียพ์ ้นื บอ่ ฟ้งุ กระจายไดง้ า่ ย ส่งผลใหเ้ กิดปัญหา

กงุ้ เครียด ป่ วยเสียหาย

- วิธีการผสมยาลงในอาหารกุง้ จากการคราดจบั เป็นระยะ ทาให้
จาเป็ นตอ้ งใชย้ าผสมอาหารให้กุง้ กินในช่วงปลายรอบการผลิต จึงเกิด
ปัญหามียาตกคา้ งในเน้ือกงุ้ ไดง้ ่าย อนั จะเป็นอปุ สรรคตอ่ การพฒั นา

ตอ่ เนื่องดา้ นการตลาด ท้งั ตลาดภายในและส่งออก

3.2 ระบบการผลิตและตลาดท่ีไม่สอดคลอ้ งกนั
เนื่องจากการผลิตกงุ้ กา้ มกรามเชิงธุรกิจอตุ สาหกรรม จาเป็นตอ้ งมีการ
พฒั นาระบบการผลิตท่ีเหมาะสม พร้อมการพฒั นาดา้ นการตลาดท่ี
สอดคลอ้ งกนั ท้งั สอดคลอ้ งกบั แผนการผลิต และสอดคลอ้ งหรือสมดุล

ระหวา่ งตลาดส่งออก และตลาดภายในประเทศ ตามขอ้ จากดั เฉพาะของ
ผลิตภณั ฑท์ ี่จะส่งออกโดยเฉพาะส่วนผลผลิตกุง้ ท่ีมีตลาดส่งออกและ
ตลาดภายในประเทศ ตามขอ้ จากดั เฉพาะของผลิตภณั ฑท์ ี่จะส่งออกได้
เฉพาะส่วนผลผลิตกงุ้ ที่มี คุณสมบตั ิ ตามความตอ้ งการของประเทศผซู้ ้ือ
โดยส่วนนอกเหนือจากการส่งออกจะตอ้ งมีตลาดภายในรองรับไดอ้ ยา่ ง

สมดุล

3.3 ปัญหาดา้ นการตลาด
-ภายใน ความนิยมจากดั ท่ีโครงร่าง ขนาด เพศ และความมน่ั ใจใน

คุณภาพผลผลิต

-ส่งออก มีขอ้ จากดั ท่ีคุณภาพและความปลอดภยั (พบยาตกคา้ งและ
ปนเป้ื อนแบคทีเรียท่ีเป็ นโทษ)

4.แนวโนม้ การพฒั นาตอ่ เนื่อง
จากการศึกษาติดตามขอ้ มูลธุรกิจกงุ้ กุลาดาเพื่อการส่งออก ท้งั ท่ีไดม้ ีการ
ส่งออกลูกพนั ธุ์กงุ้ และกุง้ เน้ือของไทยตลอดระยะเวลา 2 ปี ที่ผา่ นมา
และข่าวการพฒั นาผลิตกุง้ กา้ มกรามเพื่อการส่งออกของประเทศอินเดีย

และบงั คลาเทศ มีขอ้ สรุป ดงั น้ี

4.1 ไทยซี่งมีพ้นื ท่ีที่เหมาะสมต่อการเพาะเล้ียงกงุ้ กา้ มกรามมากพอที่จะ
พฒั นาผลิตเพอื่ การส่งออกได้ เพยี งพ้ืนท่ีเพาะเล้ียงเดิมท่ียงั คงดาเนินการ
อยแู่ ละพ้นื ท่ีใหมบ่ างส่วนท่ีเพ่ิมข้ึน ในปัจจุบนั กส็ ามารถพฒั นาสู่การ
ผลิต ผลผลิตกุง้ กา้ มกรามไดถ้ ึงระดบั 50,000 ตนั /ปี ภายใน 12-18 เดือน

4.2 หากมกี ารเร่งรัดพฒั นาอยา่ งเป็นระบบ โดยเฉพาะการคดั เลือกใชส้ าย
พนั ธุท์ ี่มีคุณภาพ การปรับระบบการเล้ียงที่เหมาะสม เพ่ือให้ไดผ้ ลผลิต
คุณภาพสูงและตน้ ทุนต่าลง พร้อมการพฒั นาระบบตลาดรองรับผลผลิต
ท้งั ตลาด ภายในและตลาดส่งออกที่สอดคลอ้ งกนั จะสามารถผลิตกุง้

กา้ มกรามส่งออกไดต้ ่อเน่ือง ข้นั ตอน คือ
ผลผลิตกุง้ หนา้ ฟาร์ม ประมาณปี ละ 60,000 ตนั

ผลิตภณั ฑส์ ่งออก ประมาณปี ละ 30,000 ตนั

มูลคา่ ส่งออก ประมาณปี ละ 10,500 ลา้ นบาท

แนวทางพฒั นาการผลิตกงุ้ กา้ มกรามเพื่อการส่งออก

เนื่องจากการผลิตกงุ้ กา้ มกรามเพอ่ื การส่งออก มีขอ้ แตกต่างจากการผลิต
กุง้ ประเภทอ่ืน ตามขอ้ จากดั ดา้ นความนิยมและมูลคา่ จึงตอ้ งมีการ

พฒั นาอยา่ งเป็ นระบบ ต้งั แตข่ ้นั ตอนการผลิตลูกพนั ธุก์ ุง้ การเล้ียงกุง้ เน้ือ

และการ จาหน่ายผลผลิตท่ีสอดคลอ้ งกนั ระหวา่ งตลาดส่งออกและตลาด
ภายในประเทศ ซ่ึงสรุปไดด้ งั น้ี
1.การพฒั นาดา้ นการผลิตลูกกงุ้

1.1 จาเป็ นตอ้ งมีระบบฟาร์มเล้ียงพอ่ แมพ่ นั ธุ์กุง้ โดยเฉพาะ โดยการ
จดั หาสายพนั ธุเ์ พม่ิ เติมจากแหล่งน้าธรรมชาติ ร่วมกบั การคดั สายพนั ธุ์

จากฟาร์มเล้ียงกุง้ เน้ือ โดยมีเป้าหมายลกั ษณะสายพนั ธุ์ อาทิ
-โครงสร้างดี ส่วนหวั เล็กลง ส่วนกา้ มพอเหมาะ ปลอ้ งลาตวั ยาว และมี

อตั ราส่วนของเน้ือต่อตวั กงุ้ สูง
-การเจริญเติบโตดี

-โตเร็วในระยะแรก เพื่อให้ไดต้ วั กงุ้ ท่ีระยะสมบูรณ์พนั ธุข์ นาดใหญ่
กวา่ เดิม

-มีความตา้ นทานตอ่ โรค สภาวะแวดลอ้ มหรืออื่นๆ

1.2 ปรับขบวนการเพาะเล้ียงกงุ้ โดยปรับระบบจดั การดา้ นสุขาภิบาล ที่
เนน้ การป้องกนั ปนเป้ื อนพาราสิต และเช้ือโรค และเพ่มิ ศกั ยภาพและ
ประสิทธิภาพ ใหไ้ ดล้ ูกกงุ้ คุณภาพสูง สมบรู ณ์ แขง็ แรง ตน้ ทุนต่า
2.การพฒั นาดา้ นการผลิตกุง้ เน้ือ ีิเน่ืองจากการผลิตกงุ้ เน้ือในปัจจุบนั มี

หลายรูปแบบ คือ

2.1 การปล่อยลูกกงุ้ (1.5-2.0 ซ.ม.)ลงเล้ียงรวมฝูง และเล้ียงระยะเดียวถึง
เริ่มทยอยจบั ขายที่ 5 เดือน โดยอาจมีการปล่อยหรือไม่ปล่อยเสริม
ในช่วงคราดจบั (การปล่อยลูกกุง้ เสริมในช่วงคราดจบั แมจ้ ะสามารถ
เล้ียงและจบั ตอ่ เนื่องไดน้ าน แตจ่ ะเป็ นอปุ สรรคตอ่ การผลิตส่งออก)

2.2 การปล่อยลูกกุง้ (1.5-2.0 ซ.ม.) ลงเล้ียงในบอ่ อนุบาลกงุ้ จนอายุ 2.5-3
เดือน (5.0-8.0 ซ.ม.) และนาไปเล้ียงตอ่ ในบ่อเล้ียงกงุ้ เน้ือ โดยมีท้งั แบบ
เล้ียงแยกเพศและเล้ียงคละเพศ เมื่อไดท้ าการศึกษาตามขอ้ มูลการเล้ียง
แลว้ มีขอ้ สรุปที่น่าสนใจคือ ระบบการเล้ียงท่ีสามารถดาเนินการได้
สะดวก ใหผ้ ลผลิตดี ความเสี่ยงต่า และตน้ ทนุ ต่า เหมาะสมตอ่ การผลิต

เพอื่ ส่งออก ควรมีแนวทางการเล้ียงดงั น้ี

หลกั การ

-ทาการเล้ียงเป็ น 2 ระยะ คือ ระยะอนุบาลและระยะเล้ียงกุง้ เน้ือ

-ในระยะเล้ียงกงุ้ เน้ือ ควรเล้ียงแบบแยกเพศ (ตวั ผู้ ตวั เมีย แยกจากกนั )

-จบั ออกเป็นชุดตามที่ตลาดตอ้ งการ

ระบบการเล้ียงดงั กล่าว ไดม้ ีขอ้ มูลจากกการศึกษาของฟาร์มสามแม่น้ารี
สอร์ต เป็นขอ้ มูลข้นั ตน้ ดงั น้ี

วิธีการ

-ปล่อยกุง้ ในบอ่ อนุบาลท่ีขนาด 1.5-2.0 ซ.ม. (กงุ้ คว่า 5-7 วนั )

-เล้ียงอนุบาลในระยะเวลา 75-90 วนั

-คดั แยกเพศก่อนถึงระยะผสมพนั ธุ์ (กอ่ นระยะมีตวั อ่อนอมุ้ ไขห่ นา้ ทอ้ ง)

-ยา้ ยเล้ียงต่อในบ่อเล้ียงกุง้ เน้ืออีก 90-100 วนั

-จาหน่ายผลผลิต *กุง้ ตวั เมียที่ไซส์ 20 ตวั /กก. ( 50กรัม/ตวั ) *กงุ้ ตวั ผทู้ ี่
ไซส์ 10-12 ตวั /กก. (80-100 กรัม/ตวั )

-ผลผลิตกุง้ เน้ือตอ่ ไร่ เฉลี่ย 320-400 กก./ไร่/รอบ

-ผลผลิตกงุ้ เน้ือต่อปี (2.5 รอบ) เฉลี่ย 800-1,000 กก./ไร่/ปี

3.การพฒั นาดา้ นการตลาด

เนื่องจากมลู คา่ กงุ้ กา้ มกรามท่ีข้ึนกบั เพศ โครงร่างและขนาด แต่ละตลาด
อาจจะนิยมแตกต่างกนั ดงั น้นั การพฒั นาตลาดรองรับผลผลิตกุง้

กา้ มกราม จึงตอ้ งมีการพฒั นาที่สอดคลอ้ งกนั ท้งั ตลาดส่งออกและตลาด
ภายในประเทศ จากผลการศึกษาขอ้ มลู มีขอ้ สรุปเบ้ืองตน้ ดงั น้ี

3.1 ดา้ นตลาดส่งออก

*ส่งออกกงุ้ เป็นขนาดใหญ่ 10-12 ตวั /กก. สู่ตลาดประเทศใกลเ้ คียง เช่น
ญี่ป่ ุน จีน ไตห้ วนั สิงคโปร์และเกาหลี (ตลาดเหล่าน้ี พร้อมรับกงุ้ ที่
ขนาดใหญก่ วา่ 10 ตวั /กก. และที่ 15-20 ตวั /กก.)

*ส่งออกกงุ้ แปรรูปขนาดใหญ่ 10-15 ตวั /กก. สู่ตลาดทวั่ ไป

*ส่งออกกุง้ แปรรูปขนาดกลาง 15-20 ตวั /กก. สู่ตลาดทวั่ ไป

3.2 ดา้ นตลาดภายในประเทศ

*จาหน่ายกุง้ เป็ นเพศผขู้ นาดใหญ่ 10-12 ตวั /กก.

*จาหน่ายกุง้ เป็ นเพศผขู้ นาดกลาง 13-15 ตวั /กก.

*จาหน่ายกุง้ ขนาดเลก็ หรือที่นอกเหนือจากตลาดส่งออก

ท้งั น้ี การเพาะเล้ียงกงุ้ กา้ มกราม เพือ่ ให้ไดผ้ ลผลิตท่ีพร้อม ในการ
ส่งออกต่างประเทศจาเป็นตอ้ งอยภู่ ายใตเ้ ง่ือนไข คือ

-ผลผลิตกุง้ คุณภาพ สะอาด ปลอดยาตกคา้ ง ไมป่ นเป้ื อนเช้ือแบคทีเรียท่ี
เป็ นโทษเกินมาตรฐาน

-โครงร่างสวย ไมม่ ีตาหนิ (เช่น หางกร่อน หนวดขาด ระยางคไ์ มค่ รบ)

-รสชาติตามธรรมชาติ ไม่มีกลิ่นโคลน อ่ืนๆ
-จบั ดว้ ยวธิ ีที่เหมาะสม มีระยะพกั กุง้ หลงั จบั และปรับลดอุณหภูมิตาม

วธิ ีการมาตรฐาน

ขอ้ มูลศึกษาแนวทางการเพาะเล้ียงกงุ้ กา้ มกรามเพอ่ื การส่งออก

จากที่ตนมีโอกาสร่วมศึกษาแนวทางการเพาะเล้ียงกุง้ กา้ มกรามของคุณสุ
ชาติ ผดุงกุล แห่งฟาร์มสามแมน่ ้ารีสอร์ต อ.บา้ นสร้าง จ.ปราจีนบรุ ี เป็น

ระยะเวลากวา่ 1 ปี ทาให้มน่ั ใจวา่ แนวทางดงั กล่าว จะเป็นแนวทาง

เหมาะสมมาก

สาหรับการผลิตกุง้ กา้ มกรามเชิงพาณิชยใ์ นปัจจบุ นั จึงขอสรุปเป็นขอ้ มลู
เพอ่ื ร่วมพฒั นาการผลิตตอ่ เนื่อง ดงั น้ี

1. การผลิตลูกกงุ้

-แหล่งพนั ธุ์ ใชพ้ อ่ พนั ธุจ์ ากธรรมชาติ ร่วมกบั แม่พนั ธุจ์ ากระบบฟาร์ม
โดยการคดั เลือกเฉพาะกงุ้ ตวั เมียท่ีโตเร็ว ลกั ษณะดี และถา้ เป็นไปไดค้ วร

แยกเล้ียงในยอ่ กงุ้ พนั ธุ์โดยเฉพาะ

-อายแุ มพ่ นั ธุ์ 6 เดือนข้ึนไป หรือน้าหนกั ข้นั ต่า 35 กรัม/ตวั (โดยทว่ั ไปมี
การใชแ้ มพ่ นั ธุ3์ .5 เดือนข้ึนไป หรือน้าหนกั ข้นั ต่าท่ี 20 กรัม/ตวั )

-อนุบาลลูกกุง้ ท่ีระดบั 100,000 ตวั /ลบ.ม.

-อาหารอนุบาลลูกกุง้ คือ อาร์ทีเมีย ไขต่ ุ๋น อาหารสาเร็จรูปสาหรับ
อนุบาลลูกกุง้ วยั อ่อน

-ระยะกงุ้ ควา่ ควรอยทู่ ี่ 15-18 วนั

-จาหน่ายหรือยา้ ยลงบอ่ อนุบาลกงุ้ เน้ือ ที่หลงั กงุ้ คว่า 7 วนั โดยการปรับ
ความเคม็ น้า สู่ระดบั ความเคม็ 3 พพี ีที หรือปรับจนเป็นน้าจืดตามความ

เหมาะสม (ถา้ ความเคม็ เกิน 3 พพี ีที ควรนาไปปล่อยแบบก้นั คอก)

-ตลอดระยะอนุบาล เนน้ หลกั การชีวภาพ โดยควบคุมสภาพแวดลอ้ ม
ดว้ ยการจดั การดา้ นการใหอ้ าหารท่ีเหมาะสม การดูดตะกอน การถ่ายน้า

-อตั รารอดถึงระยะขาย ประมาณ 60-70%

2. การอนุบาลกุง้ เน้ือในบ่อนุบาล

-ปล่อยอนุบาลข้นั ท่ี 1 อตั รา150,000-200,000 ตวั /ไร่ และแบง่ เฉล่ียท่ีบ่อ
อนุบาลข้นั ท่ี2 ท่ีอายกุ งุ้ ประมาณ 1 เดือน หรือขนาด 1,000 ตวั /กก. อตั รา

40,000-50,000 ตวั /ไร่ ( ถา้ กรณีอนุบาลระยะเดียว ควรปล่อยที่ระดบั
100,000 ตวั /ไร่)

-เล้ียงลูกกงุ้ ดว้ ยการเตรียมอาหารธรรมชาติเสริมและเล้ียงต่อดว้ ยอาหาร
กุง้ กลุ าดา ในระยะ 2 เดือนแรก โดยเร่ิมจาก 1 กก./100,000 ตวั /วนั และ

เพ่ิมข้ึนเป็ นลาดบั ตามเงื่อนไขความสมบรู ณ์ของอาหารธรรมชาติ
พฤติกรรมการกินอาหารและการเจริญเติบโต

-เมื่อกุง้ อายปุ ระมาณ 75-90 วนั จะทาการยา้ ยกงุ้ จากบ่ออนุบาลกุง้ เน้ือสู่
บ่อเล้ียงกุง้ ใหญ่ โดยการคราดจบั ดว้ ยอวนขนาดตา 1.5-2.0 ซม. ซ่ึงเป็น
ระยะที่เริ่มแยกเพศกุง้ ตวั เมียและตวั ผไู้ ด้ โดยการสงั เกตความเขม้ ท่ีสีของ
หวั กุง้ (กงุ้ ตวั เมียจะมีสีลกั ษณะไข่ออ่ นเขม้ แดงจดั กวา่ ตวั ผ)ู้ ท้งั น้ี ตอ้ งงด

อาหารก่อนยา้ ย

3. การเล้ียงกุง้ เน้ือในบอ่ เล้ียงกุง้ ใหญ่ แนวทางท่ีประหยดั และเหมาะสม
ของการจดั ระบบเล้ียงกงุ้ ใหญ่ คือ การเล้ียงในลกั ษณะลู่น้าเวียน โดยมี 2

แบบ คือ

3.1 การเล้ียงในบ่อเล้ียงกุง้ โดยเฉพาะ โดยการสร้างบอ่ รูปผนื ผา้ ทรงยาว
ดา้ นกวา้ งประมาณ 20-30 เมตร โดย

"ดา้ นหวั และทา้ ยบ่อมีร่องน้าผา่ นที่น้าสามารถไหลเวียนตอ่ เน่ืองสู่บอ่
ถดั ไป น้าจากบ่อสุดทา้ ยจะไหลลงสู่บอ่ พกั และบอ่ ตกตะกอน แลว้ มีการ

สูบหรือดนั น้ากลบั สู่บอ่ เล้ียงบ่อแรกใหมอ่ ีกคร้ัง ทาใหน้ ้าหมุนเวียน
ตอ่ เนื่องไดต้ ลอดเวลาที่ตอ้ งการ"

-การเล้ียงแบบลู่น้าเวยี นน้ี สามารถดนั น้าใหไ้ หลผา่ นบอ่ เล้ียงตามยาว
และไหลตอ่ เน่ืองไดท้ ้งั ชุด ตะกอนและสารอินทรียท์ ่ีเกิดจากการเล้ียง
ส่วนใหญ่ จะไหลลงตกตะกอนและบาบดั ในบ่อพกั น้าท่ี 1 และ 2 ก่อน
สูบกลบั ไปไหลเวียนรอบใหม่ (สามารถเล้ียงปลากินพชื ในบ่อพกั เป็น

ผลผลิตเสริมไดด้ ว้ ย)

-ความหนาแน่นของกุง้ ท่ีปล่อย ข้ึนกบั เป้าหมายข้นั สุดทา้ ยวา่ จะเล้ียงกุง้
ถึงขนาด (ไซส์) เท่าใด ในระยะเวลาเทา่ ใด (ถา้ ปล่อยกุง้ แน่น จะโตชา้
กวา่ กุง้ บาง) อตั ราปล่อยปกติท่ีกงุ้ ตวั ผู้ 5-7 ตวั /ตร.ม. (8,000-10,000 ตวั /

ไร่) และกงุ้ ตวั เมีย 6-12 ตวั /ตร.ม. (15,000-20,000 ตวั /ไร่)

-ผลการเล้ียง ข้ึนกบั ฝีมือการคดั แยกเพศ ถา้ แยกเพศไดถ้ ูกตอ้ งจะทาให้
กุง้ นกั เลงคุมฝงู ในบ่อกุง้ ตวั ผนู้ อ้ ย และกงุ้ ตวั เมียท่ีปลอดตวั ผูจ้ ะไม่ถูก
ผสมและฟักไข่หนา้ ทอ้ ง จะทาใหไ้ ดก้ งุ้ ขนาดใหญต่ ามเป้าหมายมากข้ึน

-ระยะเวลาการเล้ียงดว้ ยระบบลู่น้าเวียนน้ี ใชเ้ วลาประมาณ 3-5 เดือน
(90-100 วนั ) จะไดก้ งุ้ ตวั ผทู้ ี่ขนาด 10-12 ตวั /กก. (80-100 กรัม/ตวั ) กุง้

ตวั เมียท่ี 20 ตวั /กก. (50 กรัม/ตวั )

-การให้อาหาร โดยใชอ้ าหารกงุ้ กา้ มกรามวนั ละ 3 ม้ือ (เชา้ มืด,บา่ ย,ค่า)
เช็คยอประมาณ 2-3 ชว่ั โมง และหากเช็คยอม้ือชนม้ือควรใส่ยอมากและ

เช็คยอซ้า 2 คร้ัง

-อาจมีการถ่ายน้ากระตุน้ ลอกคราบตามความเหมาะสม เช่น ทกุ 10-15
วนั

-ก่อนถึงระยะจบั ขาย จะมีการเสริมอาหารสด (ปลาสด) ตามความจาเป็น
(โดยให้ปลาสดแทนอาหารช่วงม้ือบ่าย) และมีการถ่ายน้ากระตุน้ ลอก

คราบก่อนการขายเป็ นพิเศษ

-ผลผลิตมากกวา่ 300 กก./ไร่ อตั ราแลกเน้ือ โดยประมาณ 1.5-1.7

3.2 การเล้ียงกงุ้ กา้ มกรามเสริมในนาขา้ ว โดยการสร้างระบบคูลาดเป็น
ขาวงั รอบแปลงนาขา้ ว ระยะแรกปล่อยกงุ้ ในเฉพาะขาวงั และปรับน้า

เพ่มิ ตามการเจริญเติบโตของตน้ ขา้ ว

รูปท่ี3 แนวคิดการทาขาวงั ในแปลงนาขา้ ว โดยไม่ตอ้ งเสียพ้ืนท่ี (กลบ
กลบั ได)้

- ระยะปล่อยกงุ้ ในขาวงั ช่วงเร่ิมหวา่ นขา้ ว น้าลึก 0.5-0.8 ม. ตามความ
ลึกของขาวงั (ใชก้ ุง้ แยกหรือรวมเพศหลงั อนุบาลที่ 75-90 วนั )

- ระหวา่ งรอบการเล้ียง (3 เดือน) น้าลึก 0.7-1.1 ม. โดยเพมิ่ น้าตามความ
สูงของตน้ ขา้ ว

- การเล้ียงระบบเสริมนาขา้ ว ควรปล่อยบาง ระดบั 8,000-12,000 ตวั /ไร่
(และตอ้ งป้องกนั ศตั รูกงุ้ ไดด้ ี เช่น ปลาตา่ งๆ)

- อาจใชอ้ ุปกรณ์ (ใบพดั ) ดนั น้าเวยี นเม่ือจาเป็นเช่น ตอนกลางคืน หรือ
เมื่อสภาพแวดลอ้ มเปล่ียนแปลงฉบั พลนั (ฝนตกหนกั หรืออ่ืนๆ)

- เล้ียงโดยหวา่ นอาหารสาเร็จ (กงุ้ กา้ มกราม) เสริม เชา้ -เยน็ (หวา่ นใน
ร่องน้าเล็กนอ้ ยและเนน้ ที่ส่วนลาด)

- ผลผลิตท่ีได้ คือกงุ้ ไซส์ใหญ่ โตเร็ว อตั ราแลกเน้ือต่าระดบั 0.5-0.7
เน่ืองจากไดอ้ าหารเสริมจากนาขา้ ว ท้งั น้ี ข้ึนกบั ความเหมาะสมของดิน
ความหนาแน่นของขา้ วท่ีหวา่ น และการจดั การเล้ียงที่เหมาะสม (เล้ียงกุง้

ระบบเสริม นาขา้ ว มีโอกาสไดก้ งุ้ ตวั ผไู้ ซส์ใหญ่กวา่ 10 ตวั /กก.)

เงื่อนไขการผลิตกุง้ กา้ มกรามเพ่ือการส่งออก

1. รวมกลุ่มประสานงานใกลช้ ิด วางแผนติดตอ่ ระบบตลาดล่วงหนา้ ท้งั
ตลาดส่งออกและตลาดรองรับผลผลิตท่ีไมต่ รงตามขนาดส่งออก (ควร

รวมเป็นธุรกิจกลุ่ม จากผลิตถึงส่งออก)

2.ผลิตกงุ้ คุณภาพตามท่ีตลาดตอ้ งการ โดยปรับระบบการเล้ียงให้
สอดคลอ้ งกบั เป้าหมายการผลิต ท้งั การคดั เพศ ความหนาแน่นที่ปล่อย

ลงเล้ียง ช่วงเวลาท่ีเหมาะสมและอ่ืนๆ

3.ไม่ควรใชย้ า ควรเนน้ การจดั การเล้ียงอยา่ งดี (อาหารคุณภาพดี ให้
อาหารไม่พลาด พ้นื ไมเ่ น่า) เพ่อื ไม่ให้เกิดปัญหาติดเช้ือท่ีตอ้ งใชย้ า
ปฏิชีวนะ (เนน้ ไม่ใชย้ าให้กงุ้ กิน เพื่อป้องกนั ยาตกคา้ งในเน้ือกุง้ เพราะ
กุง้ กา้ มกราม เป็ นกุง้ เกาะพ้ืน มีโอกาสสมั ผสั ยาท่ีละลายตกคา้ งท่ีพ้นื ดิน
ไดง้ ่าย และยาบางชนิดตอ้ งใชช้ ่วงเวลาในการสลายตวั ) หากจาเป็นตอ้ ง
ใชย้ ากค็ วรใชใ้ นช่วงที่แน่ใจวา่ มีระยะการหยดุ ยานานกวา่ 1 เดือนข้ึนไป
และโปรดอยา่ ลืมวา่ เราไม่ใชย้ าคลอแรมเฟนนิคอลในกระบวนการ

เพาะเล้ียงกุง้ โดยเด็ดขาด

4.ปรับเทคนิคการเล้ียง ให้ไดผ้ ลผลิต คุณภาพ ขนาดตามท่ีตลาดตอ้ งการ
ให้สามารถไดต้ วั เมียขนาดโตข้ึน เพ่อื ให้ไดร้ าคากงุ้ ตวั เมียสูงกว่าเดิม

และตอ้ งหาวธิ ีการผลิตที่ลดตน้ ทนุ ลง

หมายเหตุ สาหรับบ่อเล้ียงด้งั เดิม สามารถปรับปรุงระบบการผลิตได้
ตามความเหมาะสม เช่น

-เพ่ิมอุปกรณ์เคลา้ น้า (ใบพดั ตีน้า หรือใบพดั ใตน้ ้า) เพอื่ ปรับใชต้ าม
ความจาเป็ น

-ใชอ้ วนมงุ้ ฟ้าก้นั ส่วนผิวน้า 10-20 ซม. เพ่อื บงั คบั แนวน้าให้หมนุ เวียน
และเคลา้ ทว่ั บ่อ

-เนน้ การเล้ียงแบบแยกเพศ (และควรใชก้ ุง้ ท่ีผา่ นอนุบาลแลว้ 75-90 วนั )
โดยสร้างบอ่ อนุบาลและใชง้ านร่วมกนั

-ใชอ้ าหารคุณภาพดี ที่สามารถคุมอตั ราแลกเน้ือใหต้ ่ากวา่ 2.0 ได้

-เล้ียงกุง้ ขนาดใหญ่ ท่ีคุณภาพสูง ปลอดยา เพื่อใหส้ ามารถส่งออกไดด้ ว้ ย


Click to View FlipBook Version