ส่วนประกอบของดอกอัญชัน
จัดทำโดย
นายณชพล สุวินทรากร
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรียนวิทย์-คณิต
ห้อง 335 เลขที่ 26
เสนอ
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตำแหน่งครูชำนาญการ(คศ.2) สาขาวิชาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประกอบรายวิชาชีววิทยา
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ก
คำนำ
แม็กกาซีนเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของ
รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30224) จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาความรู้ใน
เรื่องของส่วนประกอบ และข้อมูลต่างๆของดอกอัญชัน
ผู้จัดทำมีความคาดหวังว่าแม็กกาซีนเล่มนี้จะเป็น
ประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจเกี่ยวกับดอกอัญชัน
นายณชพล สุวินทรากร
30 พฤศจิกายน 2565
ข
สารบัญ หน้า
เนื้อหา
คำนำ ก
สารบัญ ข
ลักษณะทั่วไปของดอกอัญชัน 1
โครงสร้างดอกอัญชัน 3
ลักษณะทางสัณฐานภายนอกและกายวิภาคภายใน 4
ภาพแสดงโครงสร้างโดยรวมภายนอก 7
ภาพแสดงโครงสร้างโดยรวมภายใน 8
คลิปวิดีโอประกอบการศึกษาดอกอัญชัน 9
บรรณานุกรม 10
ภาคผนวก 11
1
ลักษณะทั่วไปของดอกอัญชัน
ชื่อสามัญ - Butterfly pea, Blue pea
ชื่อวิทยาศาสตร์ - Clitoria ternatea L.
ชื่อวงศ์ - Fabaceae
ชื่ออื่นๆ - แดงชัน(เชียงใหม่), เอื้องชัน(ภาคเหนือ)
ประโยชน์ - มีแอนโทไซยานิน
(Antocyanin) ซึ่งช่วยกระตุ้นการ
ไหลเวียนของโลหิต ทำให้เลือดไป
เลี้ยงส่วนต่างๆได้ดีมากขึ้น
ลำต้น - เป็นไม้เลื้อยล้มลุกขนาดเล็ก ลำต้น
ยาว 3-5 เมตร มีขนนุ่ม มีเถาจำนวนมาก โดย
เถาจะยึดเกาะตามที่ต่างๆได้
ราก - มีทั้งรากแก้ว รากแขนง รากฝอย
โดยรากทุกชนิดจะแทงลงดินไม่ลึกมาก
ยกเว้นรากแขนงแทงตามแนวผิวดิน
2
ลักษณะทั่วไปของดอกอัญชัน
ใบ - รูปรี ปลายใบแหลม ฐานใบมน กว้าง 1-3 ซม.
ออกสลับเป็นคู่ตรงข้ามตามข้อกิ่ง ประกอบด้วยใบ
ย่อย 5-7 ใบ และมีใบย่อยสุดท้ายที่ปลายกิ่ง
เมล็ด - เมล็ดเป็นทรงรี มี
ตั้งแต่สีเขียว สีน้ำตาล และสี
ดำ ตามอายุ
ผล - ผลออกเป็นฝัก คล้ายถั่วฝักยาวแต่สั้นและ
แบนกว่า โดยมีตั้งแต่สีเขียว สีเขียวเข้ม สีเหลือง สี
น้ำตาล สีน้ำตาลเข้มไปจนถึงสีดำ
3
โครงสร้างดอกอัญชัน
เป็นดอกสมบูรณ์เพศ และครบส่วน สมมาตรครึ่งซีก
เป็นดอกเดี่ยว ออกดอกตามลำต้น รังไข่เหนือฐาน
รองดอก
4
ลักษณะทางสัณฐานภายนอก
และกายวิภาคภายใน
กลีบดอก (Petal)
-มี 5 กลีบ มีขนาดใหญ่ 1 กลีบ อีก 2 กลีบมีขนาดเท่าๆ
กันโดยที่ 3 กลีบนี้มีสีน้ำเงินปนขาว อีก 2 กลีบมีสีขาว
ล้วนและมีขนาดเล็กที่สุด
กลีบเลี้ยง (Sepal)
-มี 5 กลีบเล็กๆสีเขียวอ่อน ปลายแหลม
ฐานรองดอก (Receptacle)
-มีสีเขียวเข้ม อยู่ที่ปลายๆดอก
ก้านดอก (Peduncle)
-ยาวประมาณ 1 ซม. มีริ้วประดับ
เกสรตัวผู้ (Stamen)
-เป็นแผ่นๆติดกันแล้วแตกแขนงออกมาเป็นหลาย
ก้านชูเกสรตัวผู้แต่มีประมาณ 6 ก้านทีมีอับเรณูอยู่
เกสรตัวเมีย (Pistil)
-อยู่ตรงช่วงโคนของดอก โดนเกสรตัวผู้ล้อมอยู่
ประกอบด้วย ยอดเกสรตัวเมีย ก้านชูเกสรตัวเมีย และ
รังไข่
5
ลักษณะทางสัณฐานภายนอก
และกายวิภาคภายใน
กลีบดอก (Petal)
กลีบเลี้ยง (Sepal)
ฐานรองดอก (Receptacle)
ก้านดอก (Peduncle)
6
ลักษณะทางสัณฐานภายนอก
และกายวิภาคภายใน
เกสรตัวผู้ (Stamen)
อับเรณู (Anther)
ก้านเกสรตัวผู้ (Filament)
เกสรตัวเมีย (Pistil)
ยอดเกสรตัวเมีย (Stigma)
ก้านชูเกสรตัวเมีย (Style)
รังไข่ (Ovary)
7
ภาพแสดงโครงสร้างโดยรวม
ภายนอก
กลีบดอก
(Petal)
กลีบเลี้ยง (Sepal)
ฐานรองดอก (Receptacle)
ก้านดอก (Peduncle)
8
ภาพแสดงโครงสร้างโดยรวม
ภายใน
ก้านชูเกสรตัวเมีย กลีบดอก
(Style) (Petal)
ยอดเกสรตัว
เมีย (Stigma)
รังไข่ (Ovary) อับเรณู
(Anther)
ก้านเกสรตัวผู้
(Filament)
กลีบเลี้ยง (Sepal)
ฐานรองดอก
(Receptacle)
ก้านดอก (Peduncle)
9
คลิปวิดีโอประกอบการศึกษา
ดอกอัญชัน
9
บรรณานุกรม
https://medthai.com/%E0%B8%AD%E0%B8%B1
%E0%B8%8D%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8
%99/
https://home.kapook.com/view184894.html
9
ภาคผนวก
ภาพถ่ายต้นอัญชัน ภาพถ่ายกับดอก
อัญชัน
ภาพถ่ายตอนผ่า ภาพถ่ายตอนศึกษา
ดอกอัญชัน โครงสร้างภายใน
ดอกอัญชัน