The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ลองโควิด...คืออะไร
ผู้ที่ติดเชื้อโควิด-19 ทุกคนจะเกิดการ “อักเสบไปถึงระดับเซลล์ในร่างกายในทุกระบบ” และผลของการอักเสบเมื่อหายจากระยะของการติดเชื้อ จะเกิดอาการที่เรียกว่า “กลุ่มอาการลองโควิด” (Post Covid Syndrome หรือ Long COVID) ซึ่งส่งผลให้เกิดอาการหลังการอักเสบในหลายระบบ เช่น ผลต่อระบบสมองและหลอดเลือด เกิดอาการวิงเวียน มึนงง หลงลืม คิดอะไรได้ช้าลง นอนไม่หลับ ผลต่อระบบหัวใจ อาจมีอาการหัวใจเต้นเร็ว ต่อระบบหายใจ มีอาการไอเรื้อรัง หายใจเหนื่อย รู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีแรง ต่อระบบกล้ามเนื้อและข้อ เกิดอาการกล้ามเนื้อไม่มีแรง ปวดข้อ ข้ออักเสบ ต่อระบบทางเดินอาหารส่งผลให้เกิดภาวะกระเพาะอักเสบ กรดไหลย้อน อาการท้องผูก สลับท้องเสีย รวมไปถึงการทำหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายลดประสิทธิภาพลดลง ซึ่งอาการต่างๆ เหล่านี้ จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งของระยะการฟื้นฟูของร่างกายตามธรรมชาติที่ได้รับการดูแลอย่างถูกต้องในช่วงเวลา 2-3 เดือน หลังจากหายป่วย ซึ่งหากพบว่าอาการต่างๆ ไม่ดีขึ้นและยังส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวันสามารถปรึกษาแพทย์เพื่อหาสาเหตุต่อไป แต่อย่างไรก็ตาม ร่างกายมนุษย์คือ ความมหัศจรรย์ เราสามารถฟื้นฟูสุขภาพได้ ด้วยการใช้อาหารและธรรมชาติบำบัด ที่ทำได้ง่ายๆ ที่บ้าน
ฟื้นฟูสภาพร่างกายด้วยวิธีง่ายๆ “กินได้ กินดี” 1.ดื่มน้ำสะอาด ดื่มให้ได้วันละ 2 ลิตร-2 ลิตรครึ่งต่อวัน 2.กินอาหารสร้างภูมิต้านทาน ด้วยการฟื้นฟูลำไส้ด้วยอาหารโพรไบโอติกส์ที่หาได้ง่ายๆ 3.กินอาหารเสริมความแข็งแรงของจุลินทรีย์ตัวดีในร่างกาย อาหารในกลุ่มพรีไบโอติกส์ 4. หลีกเลี่ยงอาหารกระตุ้นการอักเสบ เพื่อฟื้นฟูการทำงานของลำไส้เล็กและตับ 5. ฝึกลมหายใจเพื่อช่วยให้ปอดขยายตัว และลดความเครียด 6. นอนหลับให้มีคุณภาพ พักผ่อนเพื่อฟื้นฟูร่างกาย 7. ปรับสมดุลน้ำเหลือง ด้วยการเดินหรือออกกำลังกายรับแสงแดดยามเช้า 8. ฝึกให้มีการขับถ่ายทุกวัน การฟื้นฟูร่างกายหลังป่วยด้วยโควิด19 เป็นสิ่งที่ทุกคนสามารถดูแลตัวเองได้ หากมีคำถามหรือมีข้อมูลที่ต้องการเพิ่มเติม ติดตามได้ในช่อง Youtube: ผาสุข กินได้ กินดี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิธีรับมือกับ “Long Covid” (ลองโควิด)

ลองโควิด...คืออะไร
ผู้ที่ติดเชื้อโควิด-19 ทุกคนจะเกิดการ “อักเสบไปถึงระดับเซลล์ในร่างกายในทุกระบบ” และผลของการอักเสบเมื่อหายจากระยะของการติดเชื้อ จะเกิดอาการที่เรียกว่า “กลุ่มอาการลองโควิด” (Post Covid Syndrome หรือ Long COVID) ซึ่งส่งผลให้เกิดอาการหลังการอักเสบในหลายระบบ เช่น ผลต่อระบบสมองและหลอดเลือด เกิดอาการวิงเวียน มึนงง หลงลืม คิดอะไรได้ช้าลง นอนไม่หลับ ผลต่อระบบหัวใจ อาจมีอาการหัวใจเต้นเร็ว ต่อระบบหายใจ มีอาการไอเรื้อรัง หายใจเหนื่อย รู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีแรง ต่อระบบกล้ามเนื้อและข้อ เกิดอาการกล้ามเนื้อไม่มีแรง ปวดข้อ ข้ออักเสบ ต่อระบบทางเดินอาหารส่งผลให้เกิดภาวะกระเพาะอักเสบ กรดไหลย้อน อาการท้องผูก สลับท้องเสีย รวมไปถึงการทำหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายลดประสิทธิภาพลดลง ซึ่งอาการต่างๆ เหล่านี้ จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งของระยะการฟื้นฟูของร่างกายตามธรรมชาติที่ได้รับการดูแลอย่างถูกต้องในช่วงเวลา 2-3 เดือน หลังจากหายป่วย ซึ่งหากพบว่าอาการต่างๆ ไม่ดีขึ้นและยังส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวันสามารถปรึกษาแพทย์เพื่อหาสาเหตุต่อไป แต่อย่างไรก็ตาม ร่างกายมนุษย์คือ ความมหัศจรรย์ เราสามารถฟื้นฟูสุขภาพได้ ด้วยการใช้อาหารและธรรมชาติบำบัด ที่ทำได้ง่ายๆ ที่บ้าน
ฟื้นฟูสภาพร่างกายด้วยวิธีง่ายๆ “กินได้ กินดี” 1.ดื่มน้ำสะอาด ดื่มให้ได้วันละ 2 ลิตร-2 ลิตรครึ่งต่อวัน 2.กินอาหารสร้างภูมิต้านทาน ด้วยการฟื้นฟูลำไส้ด้วยอาหารโพรไบโอติกส์ที่หาได้ง่ายๆ 3.กินอาหารเสริมความแข็งแรงของจุลินทรีย์ตัวดีในร่างกาย อาหารในกลุ่มพรีไบโอติกส์ 4. หลีกเลี่ยงอาหารกระตุ้นการอักเสบ เพื่อฟื้นฟูการทำงานของลำไส้เล็กและตับ 5. ฝึกลมหายใจเพื่อช่วยให้ปอดขยายตัว และลดความเครียด 6. นอนหลับให้มีคุณภาพ พักผ่อนเพื่อฟื้นฟูร่างกาย 7. ปรับสมดุลน้ำเหลือง ด้วยการเดินหรือออกกำลังกายรับแสงแดดยามเช้า 8. ฝึกให้มีการขับถ่ายทุกวัน การฟื้นฟูร่างกายหลังป่วยด้วยโควิด19 เป็นสิ่งที่ทุกคนสามารถดูแลตัวเองได้ หากมีคำถามหรือมีข้อมูลที่ต้องการเพิ่มเติม ติดตามได้ในช่อง Youtube: ผาสุข กินได้ กินดี

ดร. ผาสุข แก้วเจริญตา

มารู้จัก...โควิด

ยุคติดง่าย


กระจายเร็ว

ย้ อ น ก ลั บ ไ ป ที่
ส า เ ห ตุ ข อ ง ก า ร
ติ ด เ ชื้ อ โ ค วิ ด - 1 9

ทั้ ง 2 ส า ย พั น ธุ์ อ ย่ า ง
เ ด ล ต้ า

แ ล ะ ส า ย พั น ธุ์ ก ล า ย พั น ธุ์
โอไมครอน

เราสามารถทำความเข้าใจลักษณะของไวรัส
ชนิดนี้ได้ว่าเปรียบเสมือนขาของปลาท่องโก๋

ซึ่งปกติจะมี 2 ขา ตัวเชื้อไวรัสที่อยู่
ภายนอกมันจะมีองค์ประกอบร่างกายเพี ยง

แค่ 1 ขา และเมื่อเชื้อตัวนี้เข้าสู่ร่างกาย
มนุษย์ มันก็จะไปจับกับยีนของร่างกาย
หรืออธิบายง่ายๆ ว่า เป็นเซลล์ของมนุษย์
อีก 1 ขา กลายเป็นตัวเต็มวัยพร้อมขยาย
พั นธุ์และเจริญเติบโตในร่างกายของเรา

จากนั้นก็ทำให้ร่างกายเกิดการอักเสบจน
มีอาการไข้ ไอ หรือ หากมีการอักเสบมาก

ก็ส่งผลต่อการอักเสบของเซลล์ในทุก
อวัยวะ จากนั้นก็แพร่กระจายออกมาจาก
ร่างกายจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง ซึ่ง

เชื้อโรคนี้สามารถกลายพั นธุ์ไปได้ตาม
สภาพสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น

เชื้อชาติ พื้ นที่ อุณหภูมิ โรคประจำตัว
ของผู้ติดเชื้อ

เ ร า จึ ง พ บ ว่ า ตั้ ง แ ต่ มี ก า ร ร ะ บ า ด
โ ค วิ ด 1 9 ส า ย พั น ธุ์ แ ร ก ที่ รู้ จั ก คื อ
อู่ ฮั่ น ใ น จี น ม า เ ป็ น เ ด ล ต้ า ที่ เ ริ่ ม ม า
จ า ก ฝั่ ง อ เ ม ริ ก า แ ล ะ ยุ โ ร ป แ ล ะ มี
อี ก ห ล า ย ส า ย พั น ธุ์ จ น ม า เ ป็ น โ อ
มิ ค ร อ น ที่ ม า จ า ก แ อ ฟ ริ ก า แ ล ะ มี
คุ ณ ส ม บั ติ แ พ ร่ ร ะ บ า ด ไ ด้ เ ร็ ว แ ล ะ
พ บ ว่ า มี อ า ก า ร น้ อ ย ก ว่ า ส า ย พั น ธุ์

อื่ น ๆ

แ ต่ โ อ มิ ค ร อ น ใ น วั น นี้ ก็ พ บ ว่ า มี
ก า ร ก ล า ย พั น ธุ์ อ อ ก ไ ป อี ก 2 - 3
ส า ย พั น ธุ์ จึ ง ทำ ใ ห้ ค น ที่ ไ ด้ รั บ วั ค ซี น
แ ล้ ว ห รื อ เ ค ย ติ ด เ ชื้ อ โ ค วิ ด แ ล้ ว ก็
ยั ง ก ลั บ ม า ป่ ว ย ซ้ำ ไ ด้ อี ก ซึ่ ง ค ว า ม
รุ น แ ร ง ข อ ง ก า ร ติ ด เ ชื้ อ โ ค วิ ด - 1 9
จ ะ ขึ้ น กั บ ก า ร ไ ด้ รั บ วั ค ซี น ค ว า ม
แ ข็ ง แ ร ง ข อ ง ภู มิ ต้ า น ท า น ที่ แ ต ก
ต่ า ง กั น ไ ป ใ น แ ต่ ล ะ ค น เ ช่ น มี ภ า ว ะ
ป่ ว ย ด้ ว ย โ ร ค ไ ม่ ติ ด ต่ อ เ รื้ อ รั ง เ ป็ น
ผู้ สู ง อ า ยุ ห รื อ เ ป็ น ห ญิ ง ตั้ ง ค ร ร ภ์

ป ริ ม า ณ ข อ ง ก า ร ไ ด้ รั บ เ ชื้ อ โ ร ค สิ่ ง
เ ห ล่ า นี้ ล้ ว น เ ป็ น ตั ว กำ ห น ด ว่ า ก า ร
ไ ด้ รั บ เ ชื้ อ โ ร ค โ ค วิ ด 1 9 ข อ ง แ ต่ ล ะ

ค น จ ะ ทำ ใ ห้ เ กิ ด อ า ก า ร ติ ด เ ชื้ อ
รุ น แ ร ง ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น แ ต่ สิ่ ง สำ คั ญ

ที่ ทุ ก ค น ค ว ร ต้ อ ง ต ร ะ ห นั ก คื อ
แ ม้ ว่ า ปั จ จุ บั น แ น ว ท า ง ก า ร รั ก ษ า

ก า ร เ ข้ า ถึ ง ย า แ ล ะ ก า ร ค ว า ม
รุ น แ ร ง ข อ ง โ ร ค อ า จ จ ะ น้ อ ย ล ง จ น

ทำ ใ ห้ มี ผู้ เ สี ย ชี วิ ต น้ อ ย ล ง

Long
Covid
คือ อะไร

ผู้ที่ติดเชื้อโควิด-19 ทุกคนจะ
เกิดการ “อักเสบไปถึงระดับ
เ ซ ล ล์ ใ น ร่ า ง ก า ย ใ น ทุ ก ร ะ บ บ ”
แ ล ะ ผ ล ข อ ง ก า ร อั ก เ ส บ เ มื่ อ
ห า ย จ า ก ร ะ ย ะ ข อ ง ก า ร ติ ด เ ชื้ อ
จะเกิดอาการที่เรียกว่า “กลุ่ม
อาการลองโควิด” (Post
Covid Syndrome หรือ
Long COVID)

ซึ่ ง จ า ก ก า ร สำ ร ว จ ข้ อ มู ล
ใ น ก ลุ่ ม ผู้ ที่ ป่ ว ย ห ลั ง ห า ย
จ า ก ก า ร ติ ด เ ชื้ อ โ ค วิ ด - 1 9
ระหว่างวันที่ 17-23
เมษายน 2565 จำนวน
377 รายจากทั่วประเทศ
พบว่า ร้อยละ 60 มี
ภ า ว ะ ไ ม่ สุ ข ส บ า ย จ า ก ก ลุ่ ม
อ า ก า ร ล อ ง โ ค วิ ด

เช่น มีเสมหะ ระคายคอ เวียนศี รษะ
มึนงง มีผื่นคัน หลงลืมความจำลด
ลง อ่อนแรง เครียดง่าย หายใจไม่
อิ่ม ผมร่วงผิดปกติ ปวดกล้ามเนื้อ
จมูกไม่ได้กลิ่น นอนไม่หลับ รู้สึก
อ่อนเพลีย ท้องผูกอาหารไม่ย่อย
อาการท้องเสีย ไอเรื้อรัง คิดอะไรไม่
ออกหรือมีอาการเบลอ ปวดตามข้อ
ฯลฯ เป็นต้น และปัจจุบันมีรายงาน
ว่ า พ บ ภ า ว ะ ตั บ อั ก เ ส บ ใ น เ ด็ ก เ ล็ ก ทั้ ง
ใ น อ เ ม ริ ก า แ ล ะ ยุ โ ร ป ห ลั ง จ า ก เ ด็ ก
ห า ย จ า ก ก า ร ติ ด เ ชื้ อ โ ค วิ ด

“โดยสรุปแล้วอาการ “ลองโควิด”
เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากการที่
ร่างกายเกิดการอักเสบทั่วทั้ง

ร่างกายในระดับเซลล์ ซึ่งส่งผลให้
เกิดอาการหลังการอักเสบในหลาย
ระบบ เช่น ผลต่อระบบสมองและ

หลอดเลือด เกิดอาการวิงเวียน
มึนงง หลงลืม คิดอะไรได้ช้าลง
นอนไม่หลับ ผลต่อระบบหัวใจ

อาจมีอาการหัวใจเต้นเร็ว ต่อระบบ
หายใจ มีอาการไอเรื้อรัง หายใจ

เหนื่ อย รู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีแรง ต่อ
ระบบกล้ามเนื้ อและข้อ เกิดอาการ

กล้ามเนื้ อไม่มีแรง ปวดข้อ ข้อ
อักเสบ ต่อระบบทางเดินอาหารส่ง
ผลให้เกิดภาวะกระเพาะอักเสบ กรด
ไหลย้อน อาการท้องผูก สลับท้อง

เสีย รวมไปถึงการทำหน้าที่ของ
อวัยวะต่างๆ ในร่างกาย

ลดประสิทธิภาพลดลง ซึ่งอาการต่างๆ เหล่านี้ จะ
เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งของระยะการฟื้ นฟูของ

ร่างกายตามธรรมชาติที่ได้รับการดูแลอย่างถูกต้อง
ในช่วงเวลา 2-3 เดือน หลังจากหายป่วย ซึ่งหาก
พบว่าอาการต่างๆ ไม่ดีขึ้นและยังส่งผลต่อการใช้
ชีวิตประจำวันสามารถปรึกษาแพทย์เพื่ อหาสาเหตุ
ต่อไป แต่อย่างไรก็ตาม ร่างกายมนุษย์คือ ความ
มหัศจรรย์ เราสามารถฟื้ นฟูสุขภาพได้ ด้วยการใช้
อาหารและธรรมชาติบำบัด ที่ทำได้ง่ายๆ ที่บ้าน

ฟื้ นฟู สภาพร่างกายด้วย
วิธีง่ายๆ “กินได้ กินดี”

“สำหรับการฟื้ นฟู สุขภาพ คือ การ
ฟื้ นฟู ร่างกายให้หายจากการ

อั ก เ ส บ ข อ ง ร่า ง ก า ย ซึ่ ง เ ป็ น สิ่ ง ที่ ทุ ก
คนสามารถทำได้ง่ายๆ ทั้งนี้การลด
การอักเสบของร่างกาย (แม้ว่าจะ
ตรวจด้วยอุ ปกรณ์ ATK และไม่พบ

ขีดแดง 2 ขีดแล้วก็ตาม แต่
ร่า ง ก า ย อ า จ ยั ง เ กิ ด ก า ร อั ก เ ส บ อ ยู่ )

เริ่มจาก กินได้กินดี

1

ดื่มน้ำสะอาด ดื่มให้ได้วันละ 2-2 ลิตรครึ่งต่อวัน
เพราะน้ำเป็นส่วนสำคัญทั้งช่วยชะล้างสารพิษใน
ร่างกาย สร้างความชุ่มชื่น และฟื้ นฟูสมดุลของน้ำ
ในเซลล์และน้ำนอกเซลล์ให้กับร่างกาย การดื่มน้ำ
ดื่ม 2 แก้ว หลังตื่นนอน และ ครึ่งแก้วทุกครึ่ง

ชั่วโมง ก่อนนอนดื่มน้ำอีก 1 แก้ว

2

กินอาหารสร้างภูมิต้านทาน ด้วยการฟื้ นฟูลำไส้
ด้วยอาหารโพรไบโอติกส์ที่หาได้ง่ายๆ เช่น ผัก
ดองตามธรรมชาติ โยเกิร์ต คีเฟอร์ กิมจิ ชา
หมักคอมบูชา เทมเปะ มิซโซะ ทานทุกวัน เพ
ราะโพรไบโอติคตายทุกวัน ทานให้หลากหลาย

อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง

3

กินอาหารเสริมความแข็งแรงของจุลินทรีย์ตัวดีใน
ร่างกาย อาหารในกลุ่มพรีไบโอติกส์ เช่น ผักและผล

ไม้สด โดยเฉพาะผักที่มีความเป็นเมือก วุ้น เช่น
กระเจี๊ยบ หอม ผักปลัง ว่านหางจระเข้ หน่อไม้ฝรั่ง
ผักกูดซึ่งผักสดจะมีทั้งวิตามินเกลือแร่มากกว่าผักสุก

4

หลีกเลี่ยงอาหารกระตุ้นการอักเสบ เพื่อฟื้ นฟู
การทำงานของลำไส้เล็กและตับได้แก่ น้ำตาล
ซึ่งปกติใน 1 วัน เราไม่ควรกินน้ำตาลซึ่งการ
นับจำนวนน้ำตาลต่อวัน จะนับรวมอาหาร
จำพวกแป้งซึ่งไม่ควรกินน้ำตาลเกิน 6 ช้อน
ชาต่อวัน หลักเลี่ยงผลไม้ที่รสหวานจัด หยุด
การบริโภคแป้งสาลี เนื่องจากในแป้งสาลีมี
สารกลูเตนที่จะส่งผลต่อขัดขวางการดูดซึม
สารอาหารของลำไส้เล็ก งดการบริโภค
อาหารแปรรูป และสารปรุงรสต่างๆ งดดื่ม
นมและผลิตภัณฑ์ของนม เพราะช่วงที่ป่วยโค
วิด-19 ร่างกายจะอักเสบ ร่างกายเรามีความ
สามารถในการย่อยนมลดน้อยลง และมีผล
ต่อการดูดซึมอาหารของลำไส้เล็ก

5

ฝึกลมหายใจเพื่อช่วยให้ปอดขยายตัว และลด
ความเครียด เริ่มจากวิธีการง่ายๆ เริ่มจากใช้มือจับที่
หน้าอก และท้อง ขณะหายใจเข้าให้รู้สึกว่าท้องเราป่อง
ออก และให้หายใจทางจมูกดังนี้ หายใจเข้าลึกๆ โดย
นับในใจ นับ 1-2-3-4-5-6-7-8 จากนั้นการกลั้นลม
หายใจไว้และนับในใจ 1-2-3-4-5-6-7-8 จากนั้น
ผ่อนลมหายใจออกนับ 1-2-3-4-5-6-7-8 ทำแบบนี้
ให้ได้ 10 รอบ และสามารถฝึกหายใจแบบนี้ได้ตลอด
ทั้งวัน หรือเมื่อเรามีเวลาว่างๆ ทำได้ทุกๆ 1 ชั่วโมง

6

นอนหลับให้มีคุณภาพ พักผ่อนเพื่อฟื้ นฟู
ร่างกาย โดยเข้านอนก่อน 4 ทุ่ม ตื่น ตี 5
หรือ 6 โมงเช้าในห้องที่ปิดไฟมืดสนิท
หยุดการใช้โทรศัพท์มือถือก่อนนอน 1
ชั่วโมง ก่อนนอนให้นอนราบ มือวางแนบ
ลำตัว ฝึกหายใจ ตามข้อที่ 5 และผ่อน
คลายกล้ามเนื้อทั่วร่างกายการนอนที่มี
คุณภาพจะเป็นช่วงเวลาของการ
ซ่อมแซมภาวะอักเสบที่เกิดขึ้น เป็นช่วง
เวลาการทำงานของฮอร์โมนที่ทำหน้าที่
ซ่อมแซมร่างกาย

7

ปรับสมดุลน้ำเหลือง ด้วยการเดินหรือ
ออกกำลังกายรับแสงแดดยามเช้าในช่วง
เวลาประมาณ 9 โมงเช้าถึง 11 โมงเช้า
ใช้เวลาเดิน 30 นาที เพื่อกระตุ้นให้ระบบ
น้ำเหลืองในร่างกายหมุนเวียน

8

ฝึกให้มีการขับถ่ายทุกวัน ใน
ช่วงเวลา 6.00น-09.00 น.
และขับถ่ายให้เป็นปกติอย่าง
น้อยวันละ 1-2 ครั้ง ซึ่งการขับ
ถ่ายจะเป็นส่วนสำคัญในการขับ
สารพิษสารเคมีออกจาก
ร่างกาย และเป็นสิ่งสำคัญ

การฟื้ นฟู ร่างกายหลังป่วย
ด้วยโควิด-19

เป็ นสิ่งที่ทุกคน
สามารถดูแลตัว

เองได้

ห า ก มี คำ ถ า ม ห รื อ มี ข้ อ มู ล ที่ ต้ อ ง ก า ร เ พิ่ ม เ ติ ม
ติดตามได้ในช่อง

Youtube: ผาสุข กินได้ กินดี


Click to View FlipBook Version