The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติและการทำงาน ครูแกนนำ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประวัติและการทำงาน ครูแกนนำ

ประวัติและการทำงาน ครูแกนนำ

ประวัตแิ ละการทำงาน (ครูแกนนำ)

นางสาวดวงพร กติ ิกาศ

ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลทาขุมเงิน ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแมท่ า

จงั หวัดลำพูน

นางสาวดวงพร กติ ิกาศ เป็นชาวเขาเผ่ากะเหร่ียงท่ีอาศยั อย่ใู นพน้ื ทที่ ำงาน(ตามโครงการทแี่ นบ)
จบการศึกษาระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนขยายโอกาศในหมบู่ ้านปา่ เลา ม.9 ตำบลทากาศ อำเภอแมท่ า จ.ลำพนู
ปัจจุบัน ถกู แยกออกเปน็ หมู่บ้านดอยยาว ม.16 ต.ทากาศ อำเภอแม่ทา จ.ลำพูน (ชมุ ชนชาวกะเหรี่ยง) มธั ยมศึกษา
ตอนต้นออกจากหมูบ่ ้านเพ่ือมาศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ท่ีโรงเรียนประจำตำบลจนจบระดบั มัธยมศกึ ษา
ตอนปลายในแผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร์-ศาสตร์ ในระดับอดุ มศึกษามคี วามตั้งใจอยากจะเรียนเปน็ นกั พฒั นาชุมชน
สมคั รโควตาของมหาวทิ ยาลัยราชภัฎเชียงราย ได้โควตา้ แตด่ ว้ ยไม่มที ุนการศึกษาและเป็นเด็กที่แม่เล้ียงเด่ียวมา
มารดาจึงขอรอ้ งไม่ใหไ้ ป และในขณะเดียวกันกไ็ ดโ้ ควตาของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฎเชยี งใหม่ นเิ ทศศาสตร์(เอกการ
ประชาสัมพนั ธ)์ เพยี งหวงั จะไดเ้ ปน็ ผู้ประกาศขา่ วภาคภาษากะเหรีย่ งพรง่ ของสถานีวทิ ยุกระจายเสยี ง กรม
ประชาสมั พันธ์ จ.เชยี งใหม่ ในระหวา่ งท่ศี กึ ษาชั้นปที ส่ี องของคณะเกิดความคิดหกั เห กลัวเรยี นจบออกมาไมม่ ีงาน
ทำประจวบกบั การท่ีทำงานพเิ ศษในมหาวทิ ยาลัยไดร้ ายชั่วโมงละยี่สบิ หา้ บาทพอจะมเี งินเก็บจึงได้คิดไปสมคั รเรียน
ภาคคำ่ ที่มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณ(วิทยาเขตวัดสวนดอก) ในภาคคำ่ วุฒปิ ระกาศนียบัตรวิชาชีพครู หลกั สูตร 1
ปี จบประกาศนียบตั รครกู ่อนจะจบอุดมศกึ ษา (ยงั ไมร่ ู้ว่าจะเอาวุฒบิ ัตรประกาศนียบตั รไปใชอ้ ะไร) จบการศึกษา
ปรญิ ญาตรี ศศบ.นิเทศศาสตร์ (การประชาสัมพันธ)์ พอจบได้วุฒกิ ารศึกษาในวันน้นั กล็ องไดไ้ ปสมคั รงานไซด์งาน
ก่อสรา้ งบา้ นเอ้ืออาทรลำพูนซึง่ อยไู่ ม่ไกลบา้ นนักในระหวา่ งท่ีรอสอบผูป้ ระกาศข่าว ได้ทำงานในตำแหน่งเสมยี นใน
วันนน้ั ทำงาน ธรุ การ การเงิน บญั ชี ทไ่ี ดง้ านเพราะสอ่ื สารภาษากะเหรี่ยงได้ คนงานท่ีมาทำงานสว่ นมากเปน็
แรงงานกะเหรีย่ ง และ แรงงานตา่ งดา้ วมาจากแมส่ อดซ่ึงสือ่ สารกนั ดว้ ยภาษากะเหรยี่ งได้ ทำงานเสมียนจนจบ
โครงการ ผู้จัดการโครงการไดฝ้ ากฝงั ให้ทำงานกบั การเคหะแหง่ ชาติ ขายบ้านเอ้อื อาทรขายบา้ นเอ้อื อาทร 2
โครงการ 900 หลัง กอ่ นท่โี ครงการจะไมม่ ีบา้ นให้ขาย มีปลัดเทศบาลตำบลในพ้ืนท่รี บั ผิดชอบในหมบู่ า้ นชักชวนมา
ทำงานในตำแหน่งลูกจา้ งช่ัวคราว ทำหนา้ ท่ปี ระชาสัมพันธ์ซงึ่ ตรงกับวฒุ ิการศกึ ษา ทำงานไดไ้ ม่ถึง 6 เดือน กส็ มัคร
สอบครู กศน.เพราะมีวุฒวิ ิชาชีพครู รบั ทกุ เอกการศกึ ษาปริญาตรี ตั้งแต่ปี 2562 จนปัจจบุ ัน 2564 ยงั คงอยู่ทำงาน
ที่ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอแม่ทา จ.ลำพนู ไมไ่ ปไหน ไมค่ ิดจะไปสอบทีไ่ หน ถึงแม้
จะเป็นเพยี งตำแหน่งพนกั งานราชการ แต่ กศน.คือการทำงานกับชุมชนชาวบา้ น ผดู้ อ้ ยโอกาส ผู้ชาดโอกาสในทุกๆ
ทาง และทส่ี ำคญั ได้ทำงานส่งเสริมอาชพี งานทอผ้ากะเหร่ียงใหก้ ับพน่ี ้องชาตพิ นั ธข์ุ องตนเอง ตลอดระยะเวลาสบิ

สองปที ่ลี งชุมชน ได้รบั การยอมรบั ในเรอื่ งการทำผ้าทอ และได้รบั รางวลั ในการเสริมกำลงั ใจ และ ในครัง้ น้ีเปน็ คร้ัง
แรกทอ่ี ยากจะทำโครงการใหญใ่ ห้กับชมุ ชนกะเหรยี่ ง ของอำเภอแม่ทา สกั ครงั้ ใหช้ าวบา้ นมที ุนเพอ่ื พัฒนาอาชีพ มี
ทกั ษะที่งบจาก กศน.ไม่เพียงพอใหม้ ที นุ อาชพี กลุ่มชาบ้านซ่งึ มีจำนวนนับร้อยคนทเี่ ปน็ สตรีชาวเขาเผา่ กะเหรยี่ งผู้ที่
พลาดโอกาสทางการศกึ ษา แต่เป็นผู้รมู้ ภี มู ปิ ัญญาไวเ้ ลี้ยงชีพคอื การทอผา้ และหวังเพอ่ื ใหส้ ตรชี าวเขาอำเภอแม่ทา
เกิดความภาคภูมใิ จในภูมิปญั ญาและสามารถนำภูมปิ ัญาของตนเองเล้ยี งชีพเลี้ยงครอบครวั และส่งลูกเรียนได้ พงึ่ พา
ตนเองไดแ้ ม้ไม่มวี ฒุ ิการศกึ ษา

นางสาวดวงพร กิติกาศ ข้อมูลสว่ นตัว
ครู กศน.อำเภอแม่ทา ชอื่ ... นางสาวดวงพร กติ กิ าศ
เลขบัตรประจำตวั ประชาชน..1509900002508
เกิด... 4 มกราคม 2527 อาย.ุ .. 38 ปี 6 เดอื น
เช้ือชาต.ิ ..ไทย สัญชาติ...ไทย ศาสนา...พุทธ
ชาติพนั ธุ์...กะเหรี่ยง

ที่อยู่ 81 ม.16 ต.ทากาศ อ.แมท่ า จ.ลำพูน 51170
หมายเลขโทรศัพท์ 0987465471
Facebook ดวงพร กิติกาศ ผ้าทอกะเหรย่ี ง
Line aeedzyy

การศกึ ษา : ปรญิ ญาตรนี ิเทศศาสตร(์ การประชาสัมพันธ์)
ประกาศนียบัตรวชิ พี ครู

การทำงาน : ครู กศน.อำเภอแม่ทา 12 ปี 6 เดือน

ชื่อกล่มุ ข้อมูลกลุม่ ผา้ ทอกะเหรร่บี งดอยยาว
ประวตั คิ วามเปน็ มา กลุ่มผา้ ทอมือกเี่ อวกะเหร่ียงดอยยาว
ชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหรยี่ ง คนกล่มุ หนงึ่ ในชาติพนั ธ์จงั หวดั ลำพนู
ที่จะไม่พูดถึงเป็นไม่ได้ ชาติพันธุ์กะเหรี่ยงในจังหวัดลำพูนแทรกซึม
อาศยั อยูใ่ นพืน้ ท่ีหลายๆอำเภอของจงั หวดั ลำพูน หนง่ึ ในนัน้ คืออำเภอ
แม่ทา เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ทีม่ ีวัฒนธรรม ขนมธรรมเนียมประเพณีทีม่ ี
เอกลักษณ์ น้อยคนจะทราบว่ากะเหรี่ยงในจังหวัดลำพูนนั้นแบ่ง
ออกเป็นสองกล่มุ แบง่ แยกกลุม่ โดยภาษาทใี่ ช้ กลมุ่ หนึง่ เรียกตนเองว่า
ปกาเกอะญอ คือพื้นที่ที่คนทั้งหลายจะรู้จักกะเหร่ียงกลุ่มนี้ซึ่งอาศัย
อยู่เป็นจำนวนมากในอำเภอลี้ แต่ยังมีอีกกลุ่มหนึ่งที่เรียกตนเองว่า
พร่งหรือหลายคนก็เรยี กวา่ โปว์ กระจายกนั อาศยั อยูใ่ นอำเภอบ้านโฮง่
อำเภอท่งุ หวั ชา้ ง และอำเภอแม่ทา ซึง่ วัฒนธรรมต่างๆรวมถงึ การแต่ง
กายคล้ายคลึงกันมากจนแทบแยกไม่ออกหากว่าไม่เอ่ยภาษาพูด
ออกมา ความแตกต่างของสองกลุ่มนี้ถ้าสังเกตดีๆในเชิงลึกยัง
แบ่งแยกจากลวดลายผ้าทอที่สวมใส่ กะเหรียงในพื้นที่อำเภอแม่ทา
โดยเฉพาะท่ีกะเหรย่ี งงพรง่ บา้ นดอยยาวจะมกี ารทอผา้ ทแี่ ตกต่างจาก
กะเหรี่ยงที่อื่นความสามารถในการนำสีธรรมชาติมาเป็นวัตถุดิบใน
การยอ้ มสฝี า้ ยทอผ้าท่ีไม่ทำลายธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม อีกท้ังยังมี
งานทอกเี่ อวทม่ี ีลายจกกะเหรยี่ งทปี่ ราณีตสวยงามหลากหลายลวดลา
เป็นความมหัสจรรย์ที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นมายาวนายหลายร้อยปี
หากเราจะค้นหาท่ีมาของลวดลายคนที่คิดค้นคนแรกนัน้ ปัจจุบันการ
ทอผ้าของกะเหรี่ยงพร่งยังไม่สามารถหาที่มาที่ไปได้ชัดเจน ยังคงมี
แตเ่ พียงลวดลายที่สอนกันมาจากร่นุ สู่รุน่ ให้ได้เหน็ ได้ชมกันในปัจจุบัน
กลุ่มทอผ้ากะเหรียงดอยยาวเป็นการรวมกลุ่มของสตรชี นเผ่าพร่งใน
พน้ื ทรี่ วบรวมลวดลายตา่ งทีพ่ อจะสามารถอไดร้ วมๆแล้วกว่าสามร้อย
ลายซ่างต่ละลายจะมชี ื่อเรียกเฉพาะกล่มุ ท่รี ูก้ ันและถ่ายทอดให้แก่กัน
จนสมาชิกทุกคนในกลุ่มสามารถทอจกลายต่างๆได้สตรีชนเผ่ากลุ่มนี
ส่วนใหญ่แล้วเป็นกลุ่มผู้ที่ขาดโอกาสทางการศึกษาฐานะยากจนและ
ไมม่ อี าชีพเกษตรกรรมท่ีเปน็ อาชีพหลักมีเพยี งการปลูกข้าวท่ปี หี น่ึงจะ
ปลูกได้แค่ปีละหน ไม่มีการทำนาข้าวดอยครั้นจะไปหาของป่าเพ่ือ

มาปทังชีวิตดังเดิมก็ไม่ได้เพราะปัจจุบันถูกจัดให้อยู่ในพื้นที่เขตรัก
พนั ธส์ ัตว์ดอยผาเมือง สตรีกลมุ่ น้ีจงึ มเี พยี งอาชพี การทอผ้าเพื่อเล้ียงดู
บุตรและครอบครัว แต่ถงึ แมจ้ ะสามารถทอผ้าได้สวยเพียงใดก็ยังไม่มี
ชอ่ งทางการจัดจำหนา่ ย

นางสาวดวงพร กิติกาศ ลูกหลานชนเผ่าที่ออกไปศึกษาแลว้
กลับมาคดิ จะพฒั นาบา้ นเกดิ ตวั เองเน่อื งจากเปน็ คนในพ้นื ที่ต้ังแต่เกิด
มองเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นมาโดยตลอดจึงรวมกลุ่มชาวบ้านบ้านดอย
ยาวรวบรวมผลิตภัณฑ์ของแต่ละคนนำออกมาจำหน่ายยังสถานท่ี
ต่างๆภายในและภายนอกจังหวัดทำให้มีผู้สนใจผ้าทอกะเหรี่ยงและ
รู้จักผ้าทอกะเหรี่ยงพรง่ ของหมู่บา้ นดอยยาวมากขึ้น และในปี 2560
ได้ขึ้นจดทะเบียนพาณิชย์ในนามกลุ่ม ผ้าทอกะเหรี่ยงบ้านดอยยาว
เพื่อหวังว่าจะมีโอกาสได้นำผ้าทอของชาวบ้านออกจำหน่าย
กว้างขวางขึ้น การจดทะเบียนพาณิชย์ทำให้ได้มีโอกาสมาสมัคร
เรียนรู้กับสำนักงานพาณชิ ย์จังหวดั ลำพูนทำให้ได้รับความรู้ในการท่ี
จะกลับไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มเพื่อตอบสนองลูกค้าได้ชัดเ จน
มากขึ้น เพ่อหวังเพียงใหช้ าวบ้านที่เป็นสมาชิกกลุ่มมีรายได้ที่บางคน
เป็นเพียงรายได้เดียวของครอบครัวมีงานทออย่างต่อเนื่อง คุณภาพ
ชีวิตที่สังคมเมืองไหลขึ้นดอยและดอยถูกจำกัดพื้นที่ป่าชุมชน เราจึง
ต้องพง่ึ พาตนเองจากแรงกายจากภมู ปิ ัญญาท่บี รรพบุษเสมือนรู้ให้เรา
มีวิชาตดิ ตัวไว้ใช้หลอ่ เลี้ยงครอบครวั และตนเอง

ทีอ่ ยู่ กลมุ่ ผ้าทอกะเหรย่ี งดอยยาว
เจ้าของ เลขท่ี 81 ม.16 ต.ทากาศ อ.แม่ทา จ.ลำพูน มือถือ 098-7465471
ผลิตภัณฑ์ กลมุ่ ผ้าทอกะเหร่ียงดอยยาว
ผา้ ทอมอื กะเหรี่ยงด้วยกีเ่ อว งานจกลายกี่เอวภูมปิ ัญญาชาวกะเหรยี่ ง
มาตรฐานสนิ คา้ ทไี่ ดร้ บั การรับรอง อำเภอแมท่ า ทอเป็นผลิตภัณฑ์ทมี่ าจากงานยอ้ มสีธรรมชาติในพ้นื ท่ี
ช่องทางการจำหนา่ ย งานทอจากไหมประดษิ ฐ์ งานทอจากฝ้ายโรงงาน ผลติ ภัณฑจ์ ากผ้า
ทอกะเหรี่ยงทกุ รปู แบบ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชน (มผช.)
Offline ในประเทศ และตา่ งประเทศ และ Online

การสง่ เสริมและสนบั สนนุ ของ กศน. ส่งเสริมการฝกึ อาชพี ใหก้ บั ทางกลมุ่ ผ่านโครงการต่างๆ

อำเภอแมท่ า และนำปราชญจ์ ากกล่มุ เปน็ วิทยากรใหค้ วามรแู้ ก่ชุมชนอืน่ ๆ

ปญั หา/อุปสรรคของกลมุ่ ต้องการขยายตลาดทีก่ ว้างขน้ึ

ภาพกจิ กรรมกลุ่ม

1. ช่ือโครงการ/กจิ กรรม “ผ้าทอกะเหรย่ี งแม่ทา จากผืนผ้า... สู่สายตาเวทีกะเหรี่ยงโลก”

2. จดุ เดน่ /ความสำเรจ็ ท่ีปรากฏ (ท่เี หน็ วา่ โครงการ กจิ กรรม เป็น Best Practice)

จากกิจกรรมส่งเสริมอาชีพของครูดวงพร กิติกาศ ครู กศน.ตำบลทาขุมเงิน กศน.อำเภอแม่ทา
จังหวัดลำพนู เมื่อปีงบประมาณ 2561 เริ่มแรกที่ต้ังใจ คือความมุ่งหวังให้ชาวบ้านมชี ีวิตความเป็นอยู่ท่ดี ขี นึ้
เนื่องจากพบว่าผ้าทอกะเหรี่ยงของชาวบา้ นในพื้นที่ช่างมรี าคาถูก ขายไม่ได้ ชาวบ้านอยากมีรายได้จากการ
ขายผ้าทอ และด้วยการที่ครูดวงพร เป็นคนในพื้นที่อยู่แล้ว เห็นว่า ควรพัฒนาและต่อยอดความรู้
ความสามารถซึ่งเป็นภูมิปัญญาดั้งเดิมของชาวบ้าน (ชาวไทยภูเขา เผ่ากะเหรี่ยง) ให้มีรายได้ และเสนอ
เอกลักษณ์ของชุมชน ให้ประจักษ์สู่สงั คมได้ เริม่ วางแผนสร้างการมีส่วนร่วม ระหว่าง ครู วิทยากรทอผ้า กับ
กลุ่มสตรี จัดโครงการ ทั้ง โครงการทอผ้ากะเหรี่ยงด้วยกีเ่ อว การทอย่ามกะเหรี่ยง การทอผ้าลายคาเซ การ
ทอผ้าลายเกลด็ เต่า การปกั ผา้ ชาวเขา

จนปัจจุบันครูเป็นผู้นำการพัฒนาสู่การย้อมสีธรรมชาติ สร้างสรรค์ บอกเล่าเรื่องราววิถีชีวิตชาว
กะเหรี่ยง โดยขยายองค์ความรู้การย้อมสีเดิมของพื้นที่ นำวัสดุธรรมชาติที่แตกต่าง ทดลอง ทดสอบ จนได้
คุณภาพของสีบนผืนผ้า ชักชวนกลุ่มเข้ารับการฝึกอบรมกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย ต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและ
เอกชน การออกจำหน่ายผ่าน Social Media ทั้ง Facebook Line การทำ Page ภายใต้ช่องทางการค้า
ออนไลน์ OOCC ของกศน. จัดการศึกษาการออกแบบและพัฒนาบรรจภุ ัณฑ์ การสนับสนนุ และรว่ มกบั กล่มุ
หาพื้นที่ เวทีการส่งผลงานหัตถกรรมเข้าประกวด เช่น การประกวดอัตลักษณ์ ของสำนักงานพาณิชยจ์ ังหวดั
ลำพนู การใชน้ วตั กรรมของ สวทช. การประกวดผา้ โบราณชนเผ่าของสำนักงานพัฒนาชมุ ชน ฯลฯ เพ่ือสร้าง
การรู้จักและเพื่อเพิ่มเครือข่าย และครั้งล่าสุดในปีงบประมาณ 2563 สนับสนุนให้ทางกลุ่มส่งนางงาม
กะเหรย่ี งประกวดนางงามกะเหรยี่ งโลกโดย ครเู ป็นผหู้ าข้อมูล และมสี ่วนร่วมออกแบบชุดสวมใส่และให้กลุ่ม
ทอผา้ ทอเพื่อเปน็ การประชาสัมพันธ์ชุดชนเผา่ โดยเลือกหญิงสาวชาวกะเหรีย่ งท่ีในชุมชนเป็นตัวแทนสวมใส่
ผา้ ทอผลงานการทอของชุมชน ผลปรากฏว่าไดร้ บั รางวลั ชนะเลิศ นางงามกะเหรย่ี งโลก ครง้ั ท่ี 1 ณ อำเภออม
ก๋อย จ.เชียงใหม่ ได้เงินรางวลั 1 แสนบาท สร้างความภาคภมู ิใจให้กับทางชุมชนผ้าทอกะเหรี่ยงในพ้ืนท่ีเป็น
อย่างมาก

ความสำเร็จเชิงประจักษ์ ตามความตั้งใจของครูดวงพร ผู้พยายามขับเคลื่อนอาชีพในพื้นที่ให้เกิด
ความยั่งยืนจากผ้าทอกะเหรี่ยงแม่ทาทม่ี รี ปู วาดวถิ กี ะเหรี่ยง คอื ปจั จุบัน (เดือนสงิ หาคม 2563) มีนายทุนจาก
กรงุ เทพมหานครได้ตดิ ต่อให้ทอจัดส่งและให้วาดภาพวิถกี ะเหรี่ยงลงบนผ้าทอกะเหรี่ยงโดยการออกแบบงาน

วาดลายทอผา่ นครดู วงพร ให้ชาวบ้านเป็นผู้ทอ ก่อให้เกิดรายได้อย่างต่อเน่ือง เมื่อเปรยี บเทียบจากผา้ ทอและ
ปักลายชิ้นเดียวในโลก ราคา 800 บาท ปัจจุบันบางชิ้นราคาสูงถึง 4,500 บาท ซึ่งความสำเร็จดังกล่าวเกดิ
จากความต้งั ใจ และมุง่ มนั่ ตามแบบอย่างของ Good Teacher อย่างแท้จรงิ

3. วธิ ีการดำเนนิ การ (ตามทปี่ ฏบิ ัตจิ รงิ โดยละเอยี ด)

- การลงพื้นที่เพื่อทำข้อมูลชุมชน สำรวจความต้องการของชาวบา้ น คัดเลือกอาชีพเรียงลำดับตามความ
เป็นไปได้ โอกาสทกี่ ่อให้เกดิ ความย่ังยนื และตอ่ ยอดได้

- คัดเลือกวิทยากรท่ีมีความร้คู วามสามารถด้านต่าง ๆ เช่น กลุม่ ปักลายสวย กลมุ่ ทอผา้ สวย กล่มุ ย้อมสีผ้า
กลุม่ เยบ็ ซงึ่ พบว่าทกุ กล่มุ อยู่กระจายไปตามหมูบ่ า้ นตา่ ง ๆ ครเู ชือ่ มโยงมาบรู ณาการทำงานรว่ มกัน

- ปฏบิ ัตงิ านตามโครงการ ผ่านงบประมาณ กศน.อำเภอแมท่ า ในลักษณะการจดั การศึกษาพฒั นาอาชีพ
- ครูติดตามชิ้นงานที่ทำ ประเมินผลงาน และหาเวทีจัดแสดงผลงาน ตามโอกาส ต่างๆ ได้แก่ ถนน
วัฒนธรรมของจงั หวัด ถนนคนเดิน งานลำไย งานกาชาด งานอำเภอเคลอื่ นท่ี จงั หวัดเคลื่อนทีใ่ นอำเภอแม่ทา
ฯลฯ
- ครูใหอ้ งค์ความร้กู ลมุ่ ด้านชอ่ งทางการจดั จำหน่าย ประชาสัมพันธ์ลง Facebook สาธติ การทอลง ยูทูป
ให้เป็นที่รู้จัก ส่งเสริมให้ลงขายช่องทาง OOCC ตำบล และ OOCC อำเภอ ให้ความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยี
สมาร์ทโฟน การสร้างเฟสบุ๊คส่วนตัว ก่อให้เกิดการขายและการส่งสินค้าออนไลน์ ทางไปรษณีย์ และขนส่ง
เอกชน

- ครูสนับสนุนให้มีการติดตามลูกค้าเก่า และ นำเสนองานแก่ลูกค้าใหม่ มีการทำประวัติลูกค้าประจำ
ปัจจบุ นั มจี ำนวนกว่า 50 ราย

- ครูยงั เปน็ ผ้ปู ระสานงานการรับงานออเดอร์งานทอตามสเปคท่ลี ูกคา้ กำหนด กำหนดรูปแบบตามคำสงั่ ซ้ือ
หรอื ความต้องการ สี ลาย วางสพี ้นื วัตถุดบิ จากการยอ้ มของกล่มุ แลว้ กระจายงานให้กบั กลุม่ ทอผา้

จากเศษวัสดธุ รรมชาติเชน่ เศษไม้แกะสลัก ดอกไมแ้ ห้ง พลิกส่กู ารเปน็ วัตถุดิบสำคญั ของการยอ้ ม
อุปกรณ์ประกอบการทอผ้า มาจากไม้ไผ่ ไมเ้ น้ือแขง็ ในชมุ ชน คงวถิ ชี วี ิตเดิม แตเ่ พม่ิ เติมมลู ค่า

4. ปจั จัยป้อน(ท่ที ำใหส้ ามารถดำเนนิ งานตาม ข้อ 3 ได้)

ความสำเร็จที่เกิดขึ้น มาจากการถ่ายทอดความในใจของครูดวงพร ที่แสดงถึงความมุ่งมั่นตั้งใจ คือ
“การเป็นครูในพื้นที่ที่มีความเข้าใจในบริบทของชุมชน ขนบธรรมเนียมประเพณี และวิถีชีวิตของคนใน
ชมุ ชน มีความรสู้ ึกเหน็ อกเหน็ ใจ อยากให้คนในพื้นท่ชี ุมชนมมี รี ายได้ มชี ีวติ ความเปน็ อยทู่ ่ีดขี ึน้ โดยเฉพาะ
กลุ่มชาติพันธุ์ ซึ่งเป็นกลุ่มที่ยังถือว่า ขาดโอกาส พลาดโอกาส และด้วยทราบถึงปัญหาที่แท้จริงซึ่งต้อง
ได้รบั การสง่ เสรมิ สนับสนุนช่วยเหลือท้ังความรแู้ ละเทคโนโลยี การลงพนื้ ท่ที ำงานแบบเอาใจลงไปด้วยทำ
ให้งานออกมาค่อนข้างดเี ยย่ี ม ชาวไทยภูเขาเผา่ กะเหรย่ี งของ อำเภอแม่ทา อำเภอแม่ทามีจำนวน 6 ตำบล
71 หมู่บ้าน มีชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหรีย่ งจำนวน 13 หมู่บ้าน การลงพื้นที่เพือ่ จัดการศกึ ษาต่อเนื่องใหก้ บั
ชุมชนจึงตอ้ งหาองค์ความร้จู ากชมุ ชน ความถนัด ความชำนาญ ความสามารถพิเศษ เพ่อื พัฒนาตอ่ ยอดให้
เกดิ ความยง่ั ยนื โดยใหค้ วามสำคัญกบั ความเชอ่ื วิถชี ีวติ และยังมุ่งหวงั ให้เกิดการอนรุ ักษ์ สบื ทอด ตอ่ ยอด
ในอนาคต หากว่าการส่งเสริมจะสามารถทำให้ชาวบ้านเกิดรายได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนอีกทั้งได้รับ
ค่าตอบแทนสมกับเป็นงานฝีมือหัตถกรรมที่ทรงคุณค่า มูลค่าสินค้าที่ได้รับกับการผลิตช้ินงานแต่ละชิ้น
สามารถเป็นรายได้หลักในครอบครัวได้ เชื่อแน่ว่าการสืบทอดการต่อยอดจะเกิดขึ้นกับลูกหลาน ชาว
กะเหร่ยี งท่ีอยากจะกลับมาทำและพฒั นาออกแบบตดั เยบ็ ในอนาคตแน่นอน ถงึ วันนั้นชีวิตความเป็นอยู่ดี
ขน้ึ ลกู หลานกลบั มาทำงานท่ีบ้าน ครอบครวั ครวั เรือน มีความสมบูรณ์ปัญหาเดก็ และเยาวชนจะลดน้อยลง
การพัฒนาทีต่ รงจุดจึงได้รับความร่วมมือกับคนในชมุ ชนและกลุม่ พัฒนาอาชพี โดยการสง่ เสรมิ จาก กศน.
อำเภอแมท่ า”

5. เงอ่ื นไข/ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ

ความสำเรจ็ เกิดข้ึนจากความพยายามของครูทีอ่ ยากใหเ้ กดิ รายไดอ้ ย่างเปน็ รปู ธรรม และยัง่ ยนื
ความสำเร็จเกิดจากการที่ครู ซ่งึ เปน็ คนในพืน้ ทอ่ี ยากอนุรกั ษ์ ความเปน็ กะเหร่ยี งใหย้ งั คงอยู่ใน
ชมุ ชนโดยไม่ถกู กลนื
ความพยายามและความใส่ใจของครูให้ความสำคัญ ก่อใหเ้ กดิ ความรว่ มมือกนั ของคนในชมุ ชน
ความสำเร็จจะก่อเกดิ ขนึ้ ได้คือ การเห็นผลสำเร็จสุดท้าย สง่ เสรมิ อาชีพแลว้ ต้องมีที่ขายและขาย
ได้ การสร้างความมั่นใจให้ผู้ผลิต(ทอผ้า) ครูเป็นแบบอยา่ งการสวมใส่ผ้าทอกะเหรีย่ งที่ชาวบ้านทอทกุ วนั
ทุกที่ ออกสอื่ สังคมออนไลน์ สง่ ผลใหม้ ีคนช่นื ชม คนอยากได้ การสร้างแรงจงู ใจทไ่ี ดร้ บั การชื่นชมใบอกต่อ
ชาวบ้านผู้ผลิต ทำให้ชาวบ้านทำงาน(ทอผ้า) ออกมาสวยงามขึน้ เร่ือยๆ ความประณีตทีไ่ ม่ต้องสั่ง (งานท่ี
ออกมาจากความภาคภูมิใจ) จึงเป็นงานที่ลูกค้าพึงพอใจ และ ผู้ผลิตมีความมั่นใจในการประกอบอาชีพ
สร้างสรรค์ผลงานทชี่ ำนาญขน้ึ ในระดบั พัฒนาได้อย่างมีคุณภาพ

6. ปญั หา อปุ สรรค หรือข้อจำกัดทเ่ี กิดขน้ึ ในการปฏิบตั งิ าน และแนวทางการแก้ไข
ใหป้ ระสบความสำเรจ็

ไม่มีเหตปุ จั จัยที่เปน็ ปัญหา ขอ้ จำกัด มาจากการผลิตชิ้นงานที่ไม่สามารถทำซ้ำได้ ดว้ ยงานหัตถกรรม
ที่ทำมือจึงมีชิ้นงานเดียวและผลิตชิ้นงานในปริมาณที่มากๆไม่ได้ แนวทางการแก้ไขเพื่อให้ประสบ

ความสำเรจ็ คอื การพยายามทจ่ี ะดึงเอาจุดด้อยให้กลายเปน็ จุดเด่นข้นึ มา ในเมื่อสนิ ค้าไม่สามารถผลิตซ้ำ
ได้จึงเป็นงานที่มีคุณค่าและงานหายาก เป็นที่อยากครอบครองของนักสะสม และ กลุ่มลูกค้าที่ชื่นชอบ
ความเป็นตวั เดียวชิ้นเดยี ว

7. ข้อเสนอแนะวิธีปฏบิ ตั ิงานทจ่ี ะทำใหด้ ยี ่ิงขึ้น

ต้องการให้ผลิตภณั ฑเ์ ขา้ สู่กระบวนการคัดสรรผลติ ภัณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชน (มผช.) เพ่ือเข้าสู่
กระบวนการคัดเลือกเป็นสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภณั ฑ์ในระดับ 5 ดาว(OTOP) เพื่อที่จะสามารถเข้าสู่
ตลาดท่กี ว้างขน้ึ ในอนาคต





8. ชื่อโครงการ/กิจกรรม ผลติ ภณั ฑง์ านสธี รรมชาตแิ ละผ้าทอกะเหรยี่ งดอยยาว

9. จดุ เดน่ /ความสำเร็จทปี่ รากฏ (ทีเ่ หน็ วา่ โครงการ กจิ กรรม เป็น Best Practice)

จากกิจกรรมส่งเสริมอาชีพของครูดวงพร กิติกาศ ครู กศน.ตำบลทาขุมเงิน กศน.อำเภอแม่ทา
จังหวัดลำพนู เมื่อปีงบประมาณ 2561 เริ่มแรกท่ีต้ังใจ คือความมุ่งหวังให้ชาวบ้านมีชีวิตความเป็นอยู่ท่ดี ขี ึ้น
เนื่องจากพบว่าผ้าทอกะเหรีย่ งของชาวบ้านในพื้นที่ช่างมีราคาถูก ขายไม่ได้ ชาวบ้านอยากมีรายได้จากการ
ขายผ้าทอ และด้วยการที่ครูดวงพร เป็นคนในพื้นที่อยู่แล้ว เห็นว่า ควรพัฒนาและต่อยอดความรู้
ความสามารถซึ่งเป็นภูมิปัญญาดั้งเดิมของชาวบ้าน (ชาวไทยภูเขา เผ่ากะเหรี่ยง) ให้มีรายได้ และเสนอ
เอกลกั ษณ์ของชุมชน ให้ประจักษ์สู่สงั คมได้ เริม่ วางแผนสรา้ งการมีส่วนร่วม ระหวา่ ง ครู วทิ ยากรทอผ้า กับ
กลุ่มสตรี จัดโครงการ ทั้ง โครงการทอผ้ากะเหรี่ยงด้วยกีเ่ อว การทอย่ามกะเหร่ียง การทอผ้าลายคาเซ การ
ทอผ้าลายเกลด็ เต่า การปกั ผา้ ชาวเขา

จนปัจจุบันครูเป็นผู้นำการพัฒนาสู่การย้อมสีธรรมชาติ สร้างสรรค์ บอกเล่าเรื่องราววิถีชีวิตชาว
กะเหรี่ยง โดยขยายองค์ความรู้การย้อมสีเดิมของพื้นที่ นำวัสดุธรรมชาติที่แตกต่าง ทดลอง ทดสอบ จนได้
คุณภาพของสีบนผืนผ้า ชักชวนกลุ่มเข้ารับการฝึกอบรมกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย ต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและ
เอกชน การออกจำหน่ายผ่าน Social Media ทั้ง Facebook Line การทำ Page ภายใต้ช่องทางการค้า
ออนไลน์ OOCC ของกศน. จัดการศึกษาการออกแบบและพัฒนาบรรจภุ ัณฑ์ การสนับสนุนและร่วมกบั กลมุ่
หาพื้นที่ เวทีการส่งผลงานหัตถกรรมเขา้ ประกวด เช่น การประกวดอตั ลักษณ์ ของสำนักงานพาณชิ ย์จงั หวดั
ลำพูน การใชน้ วตั กรรมของ สวทช. การประกวดผ้าโบราณชนเผ่าของสำนักงานพฒั นาชมุ ชน ฯลฯ เพ่ือสร้าง
การรจู้ ักและเพื่อเพมิ่ เครือข่าย และครัง้ ล่าสดุ ในปงี บประมาณ 2564 ได้เปน็ ตวั แทนของอำเภอแม่ทา ส่งผล
งานประกวดผา้ ทอลายผ้าพระราชทาน ลายขอเจา้ ฟา้ สริ ิวัณณวรฯี โดยผ่านทางสำนกั งานพฒั นาชุมชนอำเภอ
แม่ทา จังหวัดลำพูน โดยการทอผ้าใช้วิถีการทอภูมปิ ญั ญาการทอผ้ากะเหรี่ยงด้วยกี่เอวท่ีทำการจกลาย แล้ว
วัตถดุ ิบทกุ อย่างมาจากการย้อมสีธรรมชาติ สีธรรมชาติทม่ี ใี นพน้ื ท่ี

ความสำเร็จเชิงประจักษ์ ตามความตั้งใจของครูดวงพร ผู้พยายามขับเคลื่อนอาชีพในพื้นที่ให้เกิด
ความยั่งยืนจากผ้าทอกะเหรี่ยงแม่ทาที่มีลายขอเจ้าฟ้าสิริวัณณวรีฯ คือ ปัจจุบัน (เดือนเมษายน 2564) มี
นายทุนจากอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ได้ติดต่อให้ทอจัดส่งและให้ทอแปรรูปลายขอเจ้าฟ้าสิริวัณณวรีฯ
รวมถงึ แปรรปู ผ้าทอกะเหรี่ยงสธี รรมชาติให้เปน็ กระเป๋ารูปทรงต่างๆ ใหช้ าวบา้ นเป็นผู้ทอ ก่อให้เกิดรายได้
อยา่ งตอ่ เน่อื ง เมอ่ื เปรียบเทียบจากผ้าทอและปกั ลายชิน้ เดียวในโลก ราคา 600 บาท ปัจจุบันบางชิ้นราคาสูง

ถึง 2,500 บาท และยังนำความรู้และวิทยากรให้ความรู้การย้อมสีจากธรรมชาติให้กับกลุม่ ทอผ้า ทั้งในและ
ต่างจังหวดั ซึง่ ความสำเรจ็ ดงั กล่าวเกิดจากความต้งั ใจ และมุ่งมน่ั ตามแบบอยา่ งของ Good Teacher อย่าง
แท้จรงิ

หนงั สือพระราชทาน THAI TEXTILES TREND BOOK

วิธกี ารดำเนินการ (ตามทปี่ ฏบิ ตั ิจริงโดยละเอยี ด)

- การลงพื้นที่เพือ่ ทำข้อมูลชุมชน สำรวจความต้องการของชาวบ้าน คัดเลือกอาชีพเรียงลำดับตามความ
เป็นไปได้ โอกาสทีก่ ่อให้เกิดความยงั่ ยืน และต่อยอดได้

- คดั เลอื กวิทยากรทีม่ คี วามรคู้ วามสามารถด้านต่าง ๆ เช่น กลุม่ ปักลายสวย กลมุ่ ทอผา้ สวย กลุม่ ย้อมสีผ้า
กล่มุ เย็บ ซงึ่ พบวา่ ทกุ กล่มุ อยกู่ ระจายไปตามหมู่บา้ นต่าง ๆ ครเู ชือ่ มโยงมาบรู ณาการทำงานร่วมกัน

- ปฏบิ ตั ิงานตามโครงการ ผ่านงบประมาณ กศน.อำเภอแมท่ า ในลกั ษณะการจัดการศึกษาพัฒนาอาชพี
- ครูติดตามชิ้นงานที่ทำ ประเมินผลงาน และหาเวทีจัดแสดงผลงาน ตามโอกาส ต่างๆ ได้แก่ ถนน
วัฒนธรรมของจงั หวัด ถนนคนเดิน งานลำไย งานกาชาด งานอำเภอเคล่ือนท่ี จงั หวัดเคลื่อนทใี่ นอำเภอแม่ทา
ฯลฯ
- ครใู หอ้ งคค์ วามรกู้ ลุ่ม ด้านช่องทางการจดั จำหนา่ ย ประชาสัมพนั ธ์ลง Facebook สาธิตการทอลง ยูทูป
ให้เป็นที่รู้จัก ส่งเสริมให้ลงขายช่องทาง OOCC ตำบล และ OOCC อำเภอ ให้ความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยี
สมาร์ทโฟน การสร้างเฟสบุ๊คส่วนตัว ก่อให้เกิดการขายและการส่งสินค้าออนไลน์ ทางไปรษณีย์ และขนส่ง
เอกชน
- ครูสนับสนุนให้มีการติดตามลูกค้าเก่า และ นำเสนองานแก่ลูกค้าใหม่ มีการทำประวัติลูกค้าประจำ
ปจั จุบันมีจำนวนกว่า 50 ราย
- ครูยังเปน็ ผูป้ ระสานงานการรับงานออเดอร์งานทอตามสเปคทล่ี ูกคา้ กำหนด กำหนดรปู แบบตามคำสัง่ ซ้ือ
หรอื ความตอ้ งการ สี ลาย วางสพี นื้ วตั ถุดบิ จากการย้อมของกลมุ่ แลว้ กระจายงานใหก้ บั กลมุ่ ทอผ้า

จากเศษวัสดุธรรมชาตเิ ช่นเศษไม้แกะสลกั ดอกทองกวาวแหง้ ใบไม้สด ใบไมแ้ หง้ พลกิ สู่การเป็นวตั ถดุ บิ
สำคัญของการย้อมฝ้ายเพ่ือใชท้ อ รวมถงึ ย้อมผา้ สาลู เส้อื ยดื ผ้าฝ้ายท่วั ไป เพอ่ื เพิ่มมลู ค่าโดยลดคา่ ใช้จ่าย

ต้นทนุ สี และยงั ปลอดภยั จากสารเคมี ท้ังผูผ้ ลิต ผู้บรโิ ภค รวมถึงเพื่อส่งิ แวดลอ้ มท่ีดี

10. ปจั จัยปอ้ น(ที่ทำใหส้ ามารถดำเนินงานตาม ข้อ 3 ได้)

ความสำเร็จที่เกิดขึ้น มาจากการถ่ายทอดความในใจของครูดวงพร ที่แสดงถึงความมุ่งมั่นตั้งใจ คือ
“การเป็นครูในพื้นที่ที่มีความเข้าใจในบริบทของชุมชน ขนบธรรมเนียมประเพณี และวิถีชีวิตของคนใน
ชมุ ชน มีความร้สู กึ เหน็ อกเห็นใจ อยากใหค้ นในพ้นื ทชี่ มุ ชนมีมรี ายได้ มีชีวติ ความเปน็ อยทู่ ่ีดีขึ้น โดยเฉพาะ
กลุ่มชาติพันธุ์ ซึ่งเป็นกลุ่มที่ยังถือว่า ขาดโอกาส พลาดโอกาส และด้วยทราบถึงปัญหาที่แท้จริงซึ่งต้อง
ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนชว่ ยเหลือท้งั ความรู้และเทคโนโลยี การลงพนื้ ที่ทำงานแบบเอาใจลงไปด้วยทำ
ให้งานออกมาค่อนข้างดีเยยี่ ม ชาวไทยภเู ขาเผา่ กะเหร่ยี งของ อำเภอแมท่ า อำเภอแมท่ ามจี ำนวน 6 ตำบล
71 หมู่บ้าน มีชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหรีย่ งจำนวน 13 หมู่บ้าน การลงพื้นที่เพือ่ จัดการศึกษาต่อเนื่องใหก้ บั
ชมุ ชนจงึ ต้องหาองคค์ วามรจู้ ากชมุ ชน ความถนัด ความชำนาญ ความสามารถพเิ ศษ เพือ่ พัฒนาต่อยอดให้
เกิดความย่งั ยนื โดยให้ความสำคัญกบั ความเชื่อ วิถีชีวิต และยงั มุง่ หวังใหเ้ กิดการอนุรักษ์ สืบทอด ตอ่ ยอด
ในอนาคต หากว่าการส่งเสริมจะสามารถทำให้ชาวบ้านเกิดรายได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนอีกทั้งได้รับ
ค่าตอบแทนสมกับเป็นงานฝีมือหัตถกรรมที่ทรงคุณค่า มูลค่าสินค้าที่ได้รับกับการผลิตชิ้นงานแต่ละช้ิน
สามารถเป็นรายได้หลักในครอบครัวได้ เชื่อแน่ว่าการสืบทอดการต่อยอดจะเกิดขึ้นกับลูกหลาน ชาว
กะเหรยี่ งท่อี ยากจะกลับมาทำและพฒั นาออกแบบตัดเยบ็ ในอนาคตแน่นอน ถงึ วันน้ันชีวิตความเป็นอยู่ดี
ขึน้ ลกู หลานกลบั มาทำงานทีบ่ า้ น ครอบครวั ครัวเรอื น มีความสมบูรณ์ปัญหาเดก็ และเยาวชนจะลดน้อยลง
การพัฒนาทีต่ รงจดุ จึงได้รับความร่วมมือกับคนในชุมชนและกลุ่มพฒั นาอาชีพโดยการส่งเสริมจาก กศน.
อำเภอแม่ทา”

11. เงอ่ื นไข/ปัจจัยที่สง่ ผลต่อความสำเรจ็

ความสำเร็จเกิดข้นึ จากความพยายามของครูท่อี ยากใหเ้ กดิ รายได้อยา่ งเป็นรูปธรรม และย่งั ยืน
ความสำเร็จเกดิ จากการทีค่ รู ซ่งึ เป็นคนในพ้นื ทอี่ ยากอนุรกั ษ์ ความเป็นกะเหรยี่ งใหย้ งั คงอยู่ใน
ชุมชนโดยไมถ่ กู กลืน
ความพยายามและความใส่ใจของครใู หค้ วามสำคัญ ก่อใหเ้ กิดความรว่ มมือกันของคนในชุมชน
ความสำเร็จจะก่อเกดิ ขึน้ ได้คอื การเหน็ ผลสำเร็จสุดท้าย ส่งเสริมอาชพี แล้วต้องมีท่ีขายและขาย
ได้ การสร้างความมั่นใจให้ผู้ผลิต(ทอผ้า) ครูเป็นแบบอย่างการสวมใสผ่ ้าทอกะเหรี่ยงทีช่ าวบ้านทอทกุ วนั
ทุกท่ี ออกสอ่ื สังคมออนไลน์ สง่ ผลให้มีคนช่ืนชม คนอยากได้ การสรา้ งแรงจูงใจท่ไี ดร้ ับการชืน่ ชมใบอกต่อ
ชาวบ้านผู้ผลิต ทำให้ชาวบ้านทำงาน(ทอผา้ ) ออกมาสวยงามขึ้นเรือ่ ยๆ ความประณีตที่ไม่ต้องสั่ง (งานท่ี
ออกมาจากความภาคภูมิใจ) จึงเป็นงานที่ลูกค้าพึงพอใจ และ ผู้ผลิตมีความมั่นใจในการประกอบอาชีพ
สรา้ งสรรคผ์ ลงานท่ชี ำนาญขึ้นในระดับพฒั นาได้อยา่ งมีคณุ ภาพ

12. ปัญหา อุปสรรค หรือขอ้ จำกดั ทเี่ กดิ ขนึ้ ในการปฏบิ ตั งิ าน และแนวทางการ
แก้ไขใหป้ ระสบความสำเร็จ

ไม่มเี หตปุ จั จยั ที่เปน็ ปัญหา ขอ้ จำกัด มาจากการผลิตชิ้นงานท่ไี ม่สามารถทำซำ้ ได้ ดว้ ยงานหัตถกรรม
ที่ทำมือจึงมีชิ้นงานเดียวและผลิตชิ้นงานในปริมาณที่มากๆไม่ได้ แนวทางการแก้ไขเพื่อให้ประสบ
ความสำเรจ็ คือ การพยายามที่จะดงึ เอาจุดดอ้ ยให้กลายเป็นจุดเด่นข้ึนมา ในเมื่อสนิ คา้ ไม่สามารถผลิตซ้ำ
ได้จึงเป็นงานที่มีคุณค่าและงานหายาก เป็นที่อยากครอบครองของนักสะสม และ กลุ่มลูกค้าที่ชื่นชอบ
ความเปน็ ตวั เดียวช้ินเดียว

13. ข้อเสนอแนะวิธีปฏบิ ัตงิ านทจี่ ะทำให้ดยี งิ่ ขน้ึ

ต้องการให้ผลิตภัณฑ์เข้าส่กู ระบวนการคดั สรรผลิตภัณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชน (มผช.) เพ่ือเข้าสู่
กระบวนการคัดเลือกเป็นสินค้าหนึง่ ตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในระดับ 5 ดาว(OTOP) เพื่อที่จะสามารถเข้าสู่
ตลาดทก่ี วา้ งข้นึ ในอนาคต


Click to View FlipBook Version