The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยในชั้นเรียน-นางสาวบุญสิตา ตุ้มจันทึก-เสร็จสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 62100105117, 2024-02-19 22:30:07

วิจัยในชั้นเรียน-นางสาวบุญสิตา ตุ้มจันทึก-เสร็จสมบูรณ์

วิจัยในชั้นเรียน-นางสาวบุญสิตา ตุ้มจันทึก-เสร็จสมบูรณ์

การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการละเล่นของไทย โดยการสอนแบบเกม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนอนุบาลอุดรธานี ปีการศึกษา 2566 บุญสิตา ตุ้มจันทึก วิจัยในชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ครุศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ปีการศึกษา 2566


การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการละเล่นของไทย โดยการสอนแบบเกม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนอนุบาลอุดรธานี ปีการศึกษา 2566 บุญสิตา ตุ้มจันทึก วิจัยในชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ครุศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ปีการศึกษา 2566


ก ชื่อวิจัย การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการละเล่นของไทย โดยการ สอนแบบเกม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ชื่อผู้วิจัย นางสาวบุญสิตา ตุ้มจันทึก อาจารย์ที่ปรึกษา ดร.จิราพรรณ เอี่ยมแก้ว ปีการศึกษา 2566 บทคัดย่อ งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีความมุ่งหมายเพื่อสร้างกิจกรรมการละเล่นเพื่อเสริมสร้างทักษะ ทางสังคมของเด็กที่มีอายุ 6 ปี โดยศึกษาผลก่อนและหลังการใช้กิจกรรมการละเล่นเพื่อ เสริมสร้างทักษะทาง สังคมของเด็ก กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นเด็กที่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่1 โรงเรียนอนุบาลอุดรธานี โดยใช้แบบแผนการทดลอง แบบ The One Group Pretest – Posttest Design ผลการศึกษาสรุปว่า 1) การ สร้างกิจกรรมการละเล่นเพื่อเสริมสร้างทักษะทางสังคมของเด็ก โดยใช้ทฤษฎีพหุปัญญา 2 ด้าน คือด้านการ เข้าใจตนเอง และด้านมนุษย์สัมพันธ์ มาผสมผสานกับการการละเล่นไทย ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม ทฤษฎี กระบวนการกลุ่ม และจิตวิทยาส าหรับเด็ก มาใช้ในการสร้างกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะทางสังคมที่ สอดคล้องกับเด็ก ซึ่งชุดกิจกรรมการละเล่นมีระยะเวลาในการท ากิจกรรม จ านวน 4 สัปดาห์ๆ ละ 3 ครั้ง เป็น จ านวน ทั้งสิ้น 12 ครั้ง ครั้งละ 40 นาที จากการพิจารณาค่าความสอดคล้อง (IOC) จากผู้ทรงคุณวุฒิ สรุปได้ว่า ผู้ทรงคุณวุฒิมีความคิดเห็นว่าสอดคล้องกันและมีความเหมาะสมของกิจกรรมการละเล่นโดยภาพรวมอยู่ใน ระดับ ดีมาก 2) ผลการใช้กิจกรรมการละเล่นเพื่อเสริมสร้างทักษะทางสังคมของเด็กที่มีอายุ 6 ปี พบว่า กิจกรรมการละเล่นช่วยเสริมสร้างทักษะทางสังคมของเด็ก โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากแต่เมื่อพิจารณาข้อ ย่อยในแต่ละกิจกรรมพบว่า มีค่าเฉลี่ยทักษะทางสังคมที่แตกต่างกันเรียงจากมาก ไปหา น้อยได้แก่ ด้านมนุษย์ สัมพันธ์ และด้านการเข้าใจตนเอง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.50 และ 2.47 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.120 และ 0.361 3.) ผลการทดลองพบว่าเด็กมีคะแนนทักษะ ทางสังคม ด้านการเข้าใจตนเอง และด้าน มนุษย์สัมพันธ์ในระยะหลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยส าคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05


ข กิตติกรรมประกาศ รายงานการวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้ส าเร็จได้ด้วยความกรุณาจาก ดร.จิราพรรณ เอี่ยมแก้ว ซึ่งได้กรุณา ให้ค าแนะน าและตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จนงานวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้มีความสมบูรณ์ผู้วิจัยขอกราบ ขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณคณาจารย์สาขาวิชานาฏศิลป์ศึกษา และ คณาจารย์คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดรธานีทุกท่าน ที่ได้ประสิทธิ์ประสาทความรู้ให้ความช่วยเหลือและให้ค าแนะน าในการท าวิจัยในชั้นเรียนแก่ ผู้วิจัยในครั้งนี้ ขอขอบพระคุณ คุณครูปัณฑิตา นาคสร้อย ที่ได้กรุณาเป็นผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย อีกทั้งให้ค าแนะน าอย่างดียิ่ง ซึ่งเป็นส่วนส าคัญที่ท าให้การวิจัยนี้ส าเร็จลุล่วงด้วยดีและ ขอขอบพระคุณผู้ที่ให้ความช่วยเหลือในการท าวิจัยอีกหลายท่านที่มิได้กล่าวนาม ขอขอบพระคุณผู้อ านวยการสถานศึกษาและคณะครูโรงเรียนอนุบาลอุดรธานี ทุกท่านที่อ านวย ความสะดวก ให้ความร่วมมือช่วยเหลือและเป็นก าลังใจโดยตลอด ขอขอบใจนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนอนุบาลอุดรธานีทุกคน ที่ให้ความร่วมมือในการทดลอง เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยครั้งนี้ ขอขอบคุณเพื่อนนักศึกษาสาขาวิชานาฏศิลป์ไทย และ เพื่อนร่วมรุ่น ครุศาสตร์บัณฑิตทุกคน ที่ให้ ความช่วยเหลือ และเป็นก าลังใจให้ซึ่งกันและกันด้วยดีเสมอมา การศึกษาและการท าวิจัยส าเร็จได้ด้วยดี เพราะได้รับการสนับสนุนจากบิดา มารดา ตลอดจนญาติ พี่ น้องที่ให้ก าลังใจแก่ผู้วิจัยตลอดมา ผู้วิจัยรู้สึกซาบซึ้งเป็นอย่างยิ่งและขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา สมาชิกทุกคนในครอบครัวผู้วิจัย ผู้ที่อยู่เบื้องหลังแห่งความส าเร็จ ครั้งนี้คอยช่วยเหลือและให้ก าลังใจเพื่อรอคอยผลส าเร็จของผู้วิจัย คุณค่าและประโยชน์อันพึงมีของงานวิจัยใน ชั้นเรียนฉบับนี้ ผู้วิจัยขอมอบแด่คุณบิดา มารดา ผู้เป็นบุพการีตลอดจนบูรพาจารย์ผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้ ผู้วิจัยและผู้มีพระคุณทุกท่านสืบไป บุญสิตา ตุ้มจันทึก


ค สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง จ บทที่ 1 บทน า 1 ความส าคัญและความเป็นมา 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 3 สมมุติฐานการวิจัย 3 ขอบเขตของการวิจัย 3 นิยามศัพท์เฉพาะ 3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย 4 2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5 การละเล่นพื้นบ้านไทย 6 หลักพัฒนาการของเด็กประถมศึกษา 10 การเรียนรู้ของเด็กประถมศึกษา 16 สมรรถภาพทางกลไกของเด็กประถมศึกษา 19 3 วิธีการด าเนินการวิจัย 25 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 25 เครื่องมือในการวิจัย 25 ขั้นตอนในการสร้างเครื่องมือการวิจัย 25 การเก็บรวบรวมข้อมูล 26 การวิเคราะห์ข้อมูล 27 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 27


ง สารบัญ (ต่อ) บทที่ หน้า 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 29 5 การอภิปรายผลการวิจัย 30 อภิปรายผลการวิจัย 31 บรรณานุกรม 35


จ สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า ตารางที่ 1 แสดงองค์ประกอบของความสามารถทางกลไกลทั่วไป สมรรถภาพกลไก 20 ตารางที่ 2 แสดงขั้นตอนการด าเนินการทดลองและเก็บข้อมูล 27 ตารางที่ 3 แบบแผนการทดลอง 27


1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมส ำคัญและควำมเป็นมำ ปัจจัยที่ส ำคัญในกำรพัฒนำมนุษย์และสังคมอย่ำงยั่งยืนนั้น คือกำรวำงรำกฐำนทำงกำรศึกษำโดยเปิด โอกำสให้ทุกคนได้เรียนและได้รับกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ตรงตำมศักยภำพของแต่ละบุคคล ซึ่งกำรเรียนรู้นั้นมี วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนำคุณลักษณะของบุคคล ทั้งในด้ำนคุณธรรม จริยธรรมและส่งเสริมควำมรู้ควำมสำมำรถ เพื่อกำรประกอบอำชีพในอนำคต ผู้เรียนจะต้องมีควำมพร้อมทั้งทำงร่ำงกำย อำรมณ์และสติปัญญำในกำร เรียนรู้เพื่อก่อให้เกิดกำรเรียนรู้ อย่ำงมีประสิทธิภำพ แต่ในปัจจุบันพบว่ำมีเด็กจ ำนวนมำกที่มีพัฒนำกำรและมี พฤติกรรมที่เป็นปัญหำในกำรเรียน หนึ่งในปัญหำส ำคัญที่พบมำกในปัจจุบันคือ เด็กที่ไม่ค่อยมีสมำธิ (Attention Deficit and Hyperactivity Disorder) ปัจจุบันโรงเรียนต่ำงๆในประเทศไทยนั้นมีเด็กที่ไม่ค่อยมี สมำธิ เพิ่มจ ำนวนขึ้นเรื่อยๆปีพ.ศ. 2555 นำยแพทย์ชลน่ำน ศรีแก้ว รัฐมนตรีช่วยว่ำกำรกระทรวงสำธำรณสุข เปิดเผยว่ำ จำกกำรตรวจเยี่ยมกรมสุขภำพจิต พบว่ำ ผลกำรส ำรวจเด็กไทยที่กำลังศึกษำชั้นประถมศึกษำชั้นปี ที่1- 6 เป็นโรคสมำธิสั้น ประมำณร้อยละ 6.5 (วรรณำภำ, 2555: ออนไลน์) และปัจจุบัน จำกผลส ำรวจของ กรมสุขภำพจิต พบอัตรำควำมชุกของโรคสมำธิสั้น ประมำณร้อยละ 8.1 (ชำญวิทย์ พรนภดล และคณะ, 2558: 337 อ้ำงอิงใน ไปรยำวีริณ ศรีประเสริฐ,2560:2237 )โดยภำวะสมำธิสั้นนั้น สำมำรถสังเกตได้จำกพฤติกรรม ของเด็กจำกอำกำรซน อยู่ไม่นิ่ง วอกแวกง่ำยมีลักษณะ ตื่นตัวมำกเกินไป ใจร้อน วู่วำม และไม่สำมำรถรอคอย อะไรได้นำน ซึ่งพฤติกรรมต่ำงๆเหล่ำนี้ส่งผลกระทบ โดยตรงกับกำรเรียน เพรำะเด็กจะไม่มีสมำธิในกำรเรียน ไม่จดจ่อกับงำนที่ท ำ ไม่มีสมำธิในกำร ฟัง จึงมักท ำงำนที่ได้รับมอบหมำยไม่ประสบควำมส ำเร็จ ขำดควำม ประณีตรอบคอบในกำรท ำงำน ซึ่งส่งผลให้ควำมสำมำรถในกำรเรียนจึงมักต่ำงกว่ำระดับสติปัญญำที่แท้จริง ของเด็ก ส่งผลให้เด็กที่มีภำวะสมำธิสั้นมีควำมเบื่อหน่ำยในกำรเรียน อีกทั้งพฤติกรรมที่หงุดหงิดง่ำยและหุนหัน พลันแล่นเหล่ำนี้เอง ที่ท ำให้เด็กที่มีภำวะสมำธิสั้น เป็นที่เอือมระอำของบุคคลรอบข้ำง (วงศ์สิริแจ่มฟ้ำ, 2543) นอกจำกปัญหำทำงด้ำนกำรเรียนของเด็กสมำธิสั้นแล้วนั้นอีกปัญหำที่ส ำคัญของเด็กที่มีภำวะสมำธิสั้น คือ ปัญหำทักษะทำงสังคม ซึ่งกรมสุขภำพจิต กระทรวงสำธำรณสุข(2548:ออนไลน์) กล่ำวว่ำทักษะทำงสังคม ที่ ส ำคัญของเด็กสมำธิสั้นในวัยเรียนคือ กำรมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน เนื่องจำกกำรเด็กที่มีภำวะสมำธิสั้นไม่สำมำรถ ควบคุมตนเอง จึงส่งผลให้เด็กที่มีภำวะสมำธิสั้นแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมำะสมและไม่เป็นที่ยอมรับจำกคนรอบ ข้ำง ดังที่ ผดุง อำรยะวิญญู อ้ำงใน วริสรำ จุ้ยดอนกลอย 2553 กล่ำวว่ำ เด็กสมำธิสั้นจ ำนวนมำกไม่มีเทคนิค ใน กำรเล่นกับเพื่อน ส่งผลให้เด็กสมำธิสั้นมีปัญหำในกำรปรับตัว และกำรมีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้ำง หำก ไม่ได้รับ กำรรักษำหรือปรับพฤติกรรมดังกล่ำว เด็กสมำธิสั้นจะมีปัญหำในกำรเข้ำสังคมตำมมำ กำรเสริมสร้ำง ทักษะทำงสังคมให้เด็กสมำธิสั้นนั้น จึงเป็นสิ่งที่จ ำเป็นอย่ำงยิ่งในกำรพัฒนำเด็กที่มีภำวะสมำธิสั้นให้มี พฤติกรรมที่เหมำะสม ปรับตัวเข้ำกับผู้อื่นได้เป็นอย่ำงดี ส่งผลให้เด็กเรียนได้ดีเต็ม ควำมสำมำรถ เป็นที่ยอมรับ และสำมำรถด ำเนินชีวิตในสังคมได้อย่ำงมีควำมสุข เพรำะทักษะทำงสังคมเป็นทักษะ พื้นฐำนที่จ ำเป็นและมี


2 ควำมส ำคัญต่อมนุษย์ที่จะท ำให้กำรด ำรงชีวิตและกำรท ำงำนร่วมกันอยู่ได้อย่ำงมีควำมสุข โดยควำมส ำคัญส่วน บุคคลนั้นช่วยให้บุคคลสำมำรถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่ำงมีควำมสุขยิ่งสภำพสังคม เปลี่ยนแปลงไปมำกขึ้น เท่ำใด ทักษะทำงสังคมก็ยิ่งมีควำมจำเป็นมำกขึ้นเท่ำนั้นเพรำะบุคคลต้องสำมำรถปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น สื่อ ควำมหมำยทำงำนร่วมกัน แก้ปัญหำของตนเองและสังคมได้สำมำรถปรับตัวได้ทุก สภำพแวดล้อม สิ่งเหล่ำนี้ เป็นลักษณะที่ช่วยให้มนุษย์ดำรงชีวิตได้อย่ำงมีควำมสุข (วัชระ หนูมงกุฎ,2558 ) ผู้วิจัยจึงมีควำมสนใจใน ทฤษฎีพหุปัญญำที่เชื่อว่ำมนุษย์ทุกคนมีควำมสำมำรถที่หลำกหลำย บุคคล หนึ่งอำจมีควำมสำมำรถเพียงด้ำน เดียว หรือมีควำมสำมำรถที่หลำกหลำยด้ำน หรืออำจไม่มีควำมสำมำรถเลยสัก ด้ำน แต่ที่ชัดเจนคือ แต่ละ บุคคลมักมีควำมสำมำรถด้ำนใดด้ำนหนึ่งโดดเด่นกว่ำเสมอ ไม่มีบุคคลใดที่มีควำมสำมำรถทุกด้ำนเท่ำกันหมด หรือไม่มีเลยสักด้ำนเดียวซึ่งผู้วิจัยได้วิเครำะห์ควำมเชื่อมโยงระหว่ำง ควำมสำมำรถทำงพหุปัญญำกับ ควำมสำมำรถทำงทักษะทำงสังคมของเด็กที่มีสมำธิสั้นแล้วนั้น คำดว่ำกำรน ำแนวคิดทฤษฎีพหุปัญญำ ในส่วน ของควำมสำมำรถด้ำนกำรเข้ำใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence) และ ควำมสำมำรถด้ำนมนุษย์สัมพันธ์ (Interpersonal Intelligence) มำประยุกต์เข้ำกับกำรจัดกิจกรรมนำฏศิลป์เพื่อเสริมสร้ำงทักษะทำงสังคม ของเด็กที่มีภำวะสมำธิสั้นในด้ำนกำรมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน เพรำะเป็น ควำมสำมำรถที่เด็กที่มีภำวะสมำธิสั้น ควรได้รับกำรพัฒนำเสริมสร้ำงควำมสำมำรถในด้ำนนี้ซึ่งควำมสำมำรถด้ำน มนุษย์สัมพันธ์ ด้ำนภำษำ และ ควำมสำมำรถด้ำนกำรเข้ำใจตนเองนั้น เป็นส่วนประกอบที่จะส่งเสริมทำงทักษะ ทำงสังคมที่มนุษย์ทุกคนควรมี เพื่อกำรด ำเนินชีวิตในสังคมได้อย่ำงเป็นสุข กำรละเล่นเป็นอีกกิจกรรมหนึ่งที่สำมำรถน ำมำใช้ในกำรพัฒนำให้ เด็กเกิดเรียนรู้ทำงสังคม กำรยอมรับ กฎกติกำ ปรับตัวให้เข้ำกับส่วนรวม และสำมำรถอยู่ในสังคมได้อย่ำง เหมำะสม กำรละเล่นช่วยฝึกให้เด็กได้เรียนรู้กฎเกณฑ์ของสังคมจำกกลุ่มเพื่อน มีควำมซื่อสัตย์ รู้จักรับผิดชอบ ต่อส่วนรวม รู้จักยอมรับควำมคิดเห็นของผู้อื่น รู้จักเห็นใจผู้อื่น ซึ่งกำรละเล่นของเด็กส่วนใหญ่จะมีรูปแบบกำร เล่นที่เรียบง่ำย แต่มีจุดประสงค์มุ่งเน้นให้ควำม บันเทิง ให้ควำมสนุกสนำนเป็นหลัก กำรเล่นจะมีทั้งกำรเล่น เดี่ยว เล่นเป็นกลุ่ม และเล่นเป็นหมู่คณะ กำรละเล่น ของเด็กทุกชนิดมีผลต่อกำรพัฒนำกำรทำงด้ำนต่ำงๆ ทั้ง เป็นกำรส่งเสริมกำรออกก ำลังกำย จิตใจ อำรมณ์ และ สังคมได้เป็นอย่ำงดี (อมรำ กล่ำเจริญ, 2553, หน้ำ 8, 64) ซึ่งสอดคล้องกับพรเทพ ลี่ทองอิน (2557) ที่กล่ำวว่ำ กำรละเล่นเป็นเกมอย่ำงหนึ่ง ที่ช่วยเสริมสร้ำง พฤติกรรมทำงสังคมของเด็กไปในทิศทำงที่ดีขึ้น เพรำะในขณะที่ เด็กเล่น เด็กจะได้เรียนรู้ในกำรปรับตัว เกิด กำรเรียนรู้ด้ำนทักษะทำงสังคมได้อย่ำงเหมำะสม ด้วยเหตุผลดังกล่ำวข้ำงต้น ผู้วิจัยจึงมีควำมคิดที่จะน ำ กิจกรรมกำรละเล่นประยุกต์เข้ำกับทฤษฎีพหุปัญญำ ไปช่วยเสริมสร้ำงทักษะทำงสังคมในเด็กที่มีภำวะสมำธิ สั้น โดยกิจกรรมกำรละเล่นนั้นจะมีกำรจัด กิจกรรมที่เสริมสร้ำงประสบกำรณ์ให้เด็กที่มีภำวะสมำธิสั้นเกิดกำร เรียนรู้ทักษะทำงสังคมที่หลำกหลำย ซึ่งเป็น กำรน ำไปสู่พฤติกรรมที่เหมำะสมและมีทักษะทำงสังคมที่ดีขึ้น สำมำรถด ำรงชีวิตอยู่ในสังคม ได้เป็นอย่ำงดี


3 วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย 1. เพื่อสร้ำงกิจกรรมกำรละเล่นเพื่อเสริมสร้ำงทักษะทำงสังคมของเด็กที่มีอำยุ 6 ปี 2. เพื่อศึกษำผลกำรใช้กิจกรรมกำรละเล่นเพื่อเสริมสร้ำงทักษะทำงสังคมของเด็กที่มีอำยุ 6 ปี 3. เพื่อเปรียบเทียบทักษะทำงสังคมของเด็กระหว่ำงก่อนท ำกิจกรรมและหลังกำรท ำกิจกรรม กำรละเล่นของไทย สมมติฐำนของกำรวิจัย ผลสัมฤทธิ์ของทำงกำรเรียนรู้เด็กที่มี อำยุ 6 ปี ที่เข้ำร่วมกิจกรรมกำรละเล่น มีทักษะทำงสังคมที่ดีขึ้น หลังจำกเข้ำ ร่วมกิจกรรม ขอบเขตของกำรวิจัย 1. ประชำกร เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ 1 จ ำนวน 423 คน โรงเรียนอนุบำลอุดรธำนี เลขที่ 101 ชุมชนโพธิ์ทอง ถนนศรีสุข ต ำบลหมำกแข้ง อ ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธำนี 2. เนื้อหำสำระของวิจัยครั้งนี้ คือตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พ.ศ.2551 กลุ ่ม สำระกำรเรียนศิลปะ (ศ11101) รำยวิชำนำฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษำปีที ่ 1 หน ่วยกำรเรียนรู้ที ่ 4 เรื่อง กำรละเล่นพื้นฐำน 3. ตัวแปรในกำรวิจัยครั้งนี้ 1. ตัวแปรอิสระ ได้แก่ กิจกรรมกำรละเล่น 2. ตัวแปรตำม ได้แก่ ทักษะทำงสังคม นิยำมศัพท์เฉพำะ ผู้วิจัยได้ให้ค ำจ ำกัดควำมนิยำมศัพท์เฉพำะดังต่อไปนี้ 1. เด็กปฐมหมำยถึง นักเรียนชำย- หญิงอำยุระหว่ำง 6 ปีซึ่งก ำลังศึกษำอยู่ ชั้นประถมศึกษำปีที่1 โรงเรียนอนุบำลอุดรธำนีเลขที่ 101 ชุมชนโพธิ์ทอง ถนนศรีสุข ต ำบลหมำกแข้ง อ ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธำนี 2. กิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนหมำยถึง กิจกรรมกำรเล่นต่ำงๆที่เน้นกำรพัฒนำทำงด้ำน สมรรถภำพ ทำงกลไก นิยมเล่นกันในท้องถิ่นตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ทั้งกำรเล่นเดี่ยวและกำรเล่น หลำยคน เล่นทั้งในที่ ร่มและกลำงแจ้งมีกฎกติกำในกำรเล่นที่ไม่ซับซ้อน ในกำรวิจัยครั้งนี้รวม 12 กิจกรรมมีชื่อเรียก ดังต่อไปนี้1) กิจกรรมกระต่ำยขำเดียว 2) กิจกรรมอีฉุด 3) กิจกรรมบูสุ4) กิจกรรมน้ ำขึ้นน้ ำลง 5) กิจกรรมลำกกำบหมำก 6) กิจกรรมกระโดดเชือก 7) กิจกรรมเตย 8) กิจกรรเสือกินวัว 9) กิจกรรมตรีรีข้ำวสำร 10) กิจกรรมงูกินหำง


4 11) กิจกรรมวิ่งเปี้ยว 12) กิจกรรมม้ำก้ำนกล้วย ซึ่งกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนนี้ได้ข้อมูลจำกกำรสัมภำษณ์ ชำวบ้ำนในพื้นที่ ชุมชนโพธิ์ทอง ถนนศรีสุข ต ำบลหมำกแข้ง อ ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธำนี 3. พัฒนำกำรของเด็กปฐมวัยหมำยถึง กำรเปลี่ยนแปลงทำงด้ำนโครงสร้ำงของร่ำงกำย ซึ่งมีผลท ำให้ เจริญก้ำวหน้ำตำมล ำดับทั้งทำงด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์ สังคม และสติปัญญำ โดยงำนวิจัยครั้งนี้ดูจำกพัฒนำกำร ของสมรรถภำพทำงกลไกทั้ง 6 ด้ำน 4. สมรรถภำพทำงกลไกในที่นี้หมำยถึง ควำมสำมำรถของร่ำงกำยที่เป็นกำรบ่ง เฉพำะเจำะจง หรือ เน้นหนักไปในทำงกำรเคลื่อนไหว ซึ่งเกี่ยวกับกล้ำมเนื้อ พลังภำยในกล้ำมเนื้อ เนื้อเยื่อและข้อต่อต่ำงๆ แบ่งเป็น 4.1 ควำมแข็งแรงของกล้ำมเนื้อ คือ ควำมสำมำรถของกล้ำมเนื้อที่ท ำงำนหนักได้ดีในระยะเวลำสั้น ๆ 4.2 พลังของกล้ำมเนื้อแขนและขำ คือ ควำมสำมำรถของกล้ำมเนื้อที่จะปฏิบัติงำน หรือท ำให้ ร่ำงกำยตนหรือวัตถุในครอบครอง เคลื่อนไหวไปในทิศทำงที่ต้องกำร เช่น กระโดด พุ่ง ทุ่ม ขว้ำง เหวี่ยง เป็นต้น 4.3 ควำมอดทนของกล้ำมเนื้อ คือ ควำมสำมำรถของกล้ำมเนื้อที่ท ำงำนซ้ ำๆ ใน ลักษณะเดียวกัน เป็นเวลำนำน 4.4 ควำมคล่องแคล่วว่องไว คือ ควำมสำมำรถในกำรเคลื่อนไหว และเปลี่ยนทิศทำง ในขณะ ปฏิบัติงำนได้อย่ำงฉับพลัน และตรงเป้ำหมำย 4.5 ควำมอ่อนตัว คือ ควำมสำมำรถในกำรยืดและหดตัวของกล้ำมเนื้อ โดยท ำงำน สัมพันธ์กันกับ ข้อต่อ 4.6 ควำมเร็ว คือ ควำมสำมำรถของกล้ำมเนื้อขำ และกล้ำมเนื้อที่เกี่ยวข้อง ที่ท ำให้ร่ำงกำยเคลื่อนที่ จำกที่หนึ่งไปสู่ที่หนึ่งในระยะเวลำอันสั้น 5. ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้จำกกำรฝึกกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำน คือ ผลสัมฤทธิ์ทำงกำร เรียนรู้ หลังจำกที่นักเรียนได้ท ำกำรฝึกกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนเป็นเวลำ 4 สัปดำห์และท ำกำร ทดสอบโดยใช้แบบ ฝึกผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้เรื่องกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำน ประโยชน์ที่ได้รับจำกกำรวิจัย 1. ได้เกมกำรละเล่นพื้นบ้ำนไทยที่วิเครำะห์และสังเครำะห์แล้วว่ำมีผลต่อสมรรถภำพทำงกำยที่ สัมพันธ์กับทักษะให้เหมำะสมกับเด็กประถม 2. เป็นแนวทำงแก่ผู้ฝึกสอน ในกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนเพื่อส่งเสริมและพัฒนำสมรรถภำพ ทำงกำรที่สัมพันธ์กับทักษะให้เหมำะสมกับเด็กประถม 3. เด็กประถมมีโอกำสในกำรพัฒนำสมรรถภำพทำงกำรที่สัมพันธ์กับทักษะตำมศักยภำพของแต่ละบุคคล 4. เป็นกำรสืบสำน อนุรักษ์ และถ่ำยทอดวัฒนธรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนไทยอันดีงำมให้คงอยู่คู่กับ เยำวชนไทยจำกรุ่นสู่รุ่นต่อไป 5. วิจัยนี้เป็นแนวทำงในกำรวิจัยเกี่ยวกับเกมกำรละเล่นพื้นบ้ำนที่มีผลต่อสมรรถภำพทำงกำยที่ สัมพันธ์กับทักษะในเด็กประถมและระดับอื่น ๆ ต่อไป


5 บทที่ 2 เอกสำรงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง กำรศึกษำค้นคว้ำครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ตรวจเอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นควำมรู้พื้นฐำน และเป็น แนวทำงในกำรศึกษำค้นคว้ำโดยน ำเสนอตำมล ำดับดังต่อไปนี้ 1. กำรละเล่นพื้นบ้ำนไทย 1.1 ควำมหมำยของกำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทย 1.2 ควำมเป็นมำของกำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทย 1.3 ลักษณะของกำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทย 1.4 ประเภทของกำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทย 1.5 ประโยชน์ของกำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทย 2. หลักพัฒนำกำรของเด็กปฐมวัย 2.1 ควำมหมำยของเด็กประถมศึกษำ 2.2 องค์ประกอบของพัฒนำกำร 2.3 จิตวิทยำกำรพัฒนำกำรของเด็กประถมศึกษำ 2.4 แบบแผนของพัฒนำกำร 2.5 ลักษณะของพัฒนำกำร 2.6 อัตรำของพัฒนำกำร 3. กำรเรียนรู้ของเด็กประถมศึกษำ 4. สมรรถภำพทำงกลไกของเด็กประถมศึกษำ 4.1 ควำมหมำยสมรรถภำพทำงกำยและสมรรถภำพทำงกลไก 4.2 องค์ประกอบของสมรรถภำพทำงกลไก 4.3 ควำมส ำคัญและคุณค่ำของสมรรถภำพทำงกลไก 4.4 ควำมส ำคัญของกำรทดสอบสมรรถภำพทำงกลไก 4.5 หลักกำรส่งเสริมสมรรถภำพทำงกลไกของเด็กประถมศึกษำ 5. งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง


6 1. กำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทย 1.1 ควำมหมำยของกำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทย ได้มีผู้ให้ควำมหมำยของกำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทยไว้หลำยทัศนะกล่ำวคือ พจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. 2525 (2545: 4) ได้ให้ควำมหมำยไว้ว่ำ กำร กระท ำของเด็กที่ท ำไปเพื่อควำมสนุกสนำนหรือผ่อนคลำย อำรมณ์ให้เพลิดเพลิน ละมุล ชัชวำล (2543: 16) ได้ให้ควำมหมำยไว้ว่ำ เป็นกำรละเล่นของเด็กที่นิยมเล่นกันใน ท้องถิ่น และเล่นสืบทอดต่อกันมำตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นกิจกรรมที่เด็กเล่นเพื่อควำมสนุกสนำน เพลิดเพลิน อำจจะเป็นกำรเล่นคนเดียวหรือเล่นเป็นกลุ่ม กำรละเล่นจึงมีบทบำทต่อพัฒนำกำรทั้ง 4 ด้ำนของเด็ก และเป็น เครื่องหมำยแสดงออกถึงควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์ของเด็กอีกด้วย ชัชชัย โกมำรทัต (2549: 21) ได้ให้ควำมหมำยไว้ว่ำ เป็นกิจกรรมกำรเล่นและเกมที่ใช้ทักษะ ทำง กำยที่กระตือรือร้น ใช้ควำมสำมำรถในกำรเคลื่อนไหวร่ำงกำยตำมแบบวัฒนธรรมไทย เป็น กิจกรรมกำร แข่งขันที่มีแบบแผนอย่ำงไทย มีวิธีกำรเล่นที่เป็นระบบระเบียบอย่ำงไทยมีกฎกติกำอย่ำง ไทยมีผลประโยชน์ จำกกำรเล่นทั้งประโยชน์ภำยในและภำยนอก ตำมรูปแบบวิถีกำรด ำเนินชีวิตดั้งเดิม แบบไทย กำรละเล่นของเด็กไทยในปัจจุบันเด็กผู้หญิงเล่นตุ๊กตำกระดำษ ชุดขำยของเป็นพลำสติก เลียนแบบของจริง วีดีโอเกมเด็กผู้ชำยก็เล่นปืนจรวด เกมกดและเครื่องเล่นต่ำงๆ ซึ่งมีขำยมำก มำยและมีกำรละเล่นหลำยชนิดที่ นิยมเล่นทั้งในเด็กชำยและเด็กหญิง นอกจำกนั้นยังเล่นตำม ฐำนะและเศรษฐกิจของครอบครัว ดังนั้น กำรละเล่นของเด็กไทยสมัยก่อนจึงค่อยๆ เลือนหำยไปทีละน้อยๆ จนเกือบจะสูญหำยหมดแล้ว เช่นกำฟักไข่ เขย่งเก็งกอย ตั้งเตตี่ขี่ม้ำส่งเมือง ขี้ตู่กลำง นำ เตย งูกินหำง ช่วงชัย ชักคะเย่อ ซ่อนหำ มอญซ่อนผ้ำ ไอ้โม่ง รีรี ข้ำวสำร เป็นต้น (วิรำภรณ์ปนำทกุล, 2531: 11-13) จำกเอกสำรดังกล่ำวสรุปได้ว่ำ กำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทยหมำยถึงกำรละเล่นที่ผู้เล่นต่ำง สมัครใจ มีกำรเคลื่อนไหวในกิริยำต่ำงๆ เน้นควำมสนุกสนำนเพลิดเพลินเป็นกำรถ่ำยทอดของคนไทย สืบต่อกันมำจำก รุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง มีกฎกติกำที่ไม่ซับซ้อนสำมำรถยืดหยุ่นให้เหมำะสมกับ สภำพกำรณ์และมีควำมเหมะสม กับวีถีชีวิต วัฒนธรรมของท้องถิ่นนั้นๆ เมื่อเด็กได้เล่นคนเดียวหรือ เป็นกลุ่มอย่ำงสม่ ำเสมอ จะท ำให้เด็กได้รับ กำรเตรียมควำมพร้อมในพัฒนำกำรด้ำนต่ำงๆ ครบทั้ง 4 ด้ำน ได้แก่ด้ำนร่ำงกำย ด้ำนอำรมณ์ ด้ำนจิตใจ ด้ำน สังคมและด้ำนสติปัญญำ อีกทั้งมีส่วนช่วย พัฒนำให้เด็กเกิดควำมเชื่อมั่นในตนเองได้อีกทำงหนึ่งด้วย 1.2 ควำมเป็นมำของกำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทย กำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทยในสมัยก่อนนั้นสำมำรถ ศึกษำได้จำกวรรณคดีของไทย แต่ละสมัย เพรำะวรรณคดีจะสะท้อนให้เห็นสภำพชีวิตของคนในยุคนั้น ในสมัย สุโขทัยศิลำจำรึก ของพ่อขุนรำมค ำแหงกล่ำวถึงคนในสมัยนั้นว่ำเป็นสุขอยำกเล่นก็เล่นดังที่กล่ำวไว้ว่ำ”ใครจัก เล่นเล่นใครจักหัวหัวใครจักมักเลื่อนเลื่อน” (ผอบ โปษะกฤษณะ. 2532: 7 - 10) ครั้นถึง สมัยอยุธยำได้กล่ำวถึง กำรละเล่นพื้นบ้ำนไว้ในบทละครครั้งกรุงเก่ำ เรื่องนำงมโนห์รำซึ่งสมเด็จกรมพระยำด ำรงรำชำนุภำพ ทรงสันนิษฐำน ว่ำแต่ก่อนสมัยสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวบรมโกศกำรเล่นที่ปรำกฏในบทละครเรื่องนี้ก็มีกำรเล่นลิงชิงหลักและกำร เล่นปลำลงอวน (วิรำภรณ์ ปนำทกูล. 2531: 11) พระยำอนุมำนรำชธน (อ้ำงถึงในละมุล ชัชวำลย์. 2543: 16-17)


7 ได้กล่ำวว่ำ กำรเล่นพื้นบ้ำน มีมำนำนตั้งแต่สมัยดึกด ำบรรพ์ก่อนประวัติศำสตร์เมื่อมนุษย์เพิ่งรู้จักเอำดินมำปั้น เป็นภำชนะในครั้ง แรก แล้วจึงเจริญเรื่อยมำตำมล ำดับเด็กที่เห็นผู้ใหญ่ท ำก็เลียนแบบมำปั้นเล่นบ้ำง เช่นกำร เล่นแตก โพละคือเอำดินมำปั้นเป็นรูปกระทงเล็กๆแต่ให้ส่วนที่เป็นดินมีลักษณะบำงที่สุดเท่ำที่จะบำงได้เพื่อให้ แตกเป็นรูโหว่จำกวรรณคดีเรื่องขุนช้ำงขุนแผนก็มีกำรกล่ำวถึงกำรเล่นไม้หึ่ง กำรเล่นเกมบทบำทสมมุตินอกจำกนี้ มีค ำฉันท์เยำวพจน์ของนำยเปโมรำกวีสมัยรัชกำลที่ 5 ได้แต่งค ำฉันท์เกี่ยวกับกำรเล่นของ เด็กตลอดจนบทร้อง เล่นโดยแสดงควำมเชื่อว่ำกำรเล่นของเด็กเป็นกำรเล่นตำมวิธีที่เทวดำสอนให้(สุรสิงห์ส ำรวมฉิมพะเนำว์. 2520 อ้ำงถึงในละมุล ชัชวำลย์. 2543 : 17) กำรละเล่นของเด็กไทยสมัยก่อนแตกต่ำงจำกสมัยปัจจุบัน ของเล่นสมัยก่อน ไม่มีปืนหรือรถยนต์เล็กๆ แม้จะมีลูกบอลแต่มีรำคำแพงและไม่แพร่หลำย ของเล่นส่วนใหญ่มักจะท ำเองจำก วัสดุที่หำได้เองจำกท้องถิ่น เช่น ม้ำก้ำน กล้วย ตะกร้อสำนด้วยใบมะพร้ำว ส ำหรับโยนเตะเล่นหรือตุ๊กตำวัว ควำยปั้นด้วยดินเหนียวของเด็กเล่น ที่ทันสมัยนั้นนิยมเล่นกันคือใช้ผ้ำขี้ริ้วหุ้มปำกหม้อ เอำเชือกผู้รัดคอหม้อให้ แน่นแล้วเอำดินเหนียว เหลวๆละเลงทำให้ทั่วหำไม้เล็กๆมำดึงผ้ำที่ขึงข้ำงๆหม้อโดยรอบ เพื่อขันเร่งให้ผ้ำตึงก็ เป็นอันเสร็จตีได้มีเสียงดังกลองหม้อตำล ของใครตีดังกว่ำถือว่ำเป็นคนเก่งถ้ำตีกระหน่ ำจนผ้ำหุ้มขำดก็ท ำใหม่ เด็กผู้หญิงส่วนใหญ่เล่นหม้อข้ำวหม้อแกงหรือเล่นขำยของหุงต้มแกงไปตำมเรื่อง เอำเปลือก ส้มโอเปลือกมังคุด หรือใบต้นปิดผสมด้วยปูนแดงเล็กน้อยคั้นเอำน้ ำข้น ๆ รองภำชนะอะไรไว้ในไม่ช้ำ จะแข็งตัวเอำมำท ำเป็นวุ้น (วิรำภรณ์ปนำทกูล. 2531: 12) ละมุน ชัชวำลย์(2543: 16) ได้ให้ควำมหมำยไว้ว่ำ เป็นกำรละเล่นของเด็กที่ นิยมเล่น กันในท้องถิ่นและเล่นสืบทอดต่อกันมำตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นกิจกรรมที่เด็กเล่นเพื่อควำม สนุกสนำนเพลิดเพลิน อำจจะเป็นกำรเล่นคนเดียวหรือเล่นเป็นกลุ่มกำรละเล่นจึงมีบทบำทต่อ พัฒนำกำรทั้ง 4 ด้ำนของเด็ก และเป็นเครื่องหมำยแสดงออกถึงควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์ของเด็ก อีกด้วย จำกเอกสำรดังกล่ำว สรุปได้ว่ำกำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทยเกิดขึ้นมำนำน และได้กลำยมำเป็น วัฒนธรรมพื้นบ้ำนและประเพณี กำรละเล่นบำงอย่ำงได้สูญหำยไปและมีกำรรื้อฟื้นขึ้นใหม่โดยมีกำร จัดแสดงหรือสำธิตให้ดูในกำรจัดงำนกำร แสดงในโอกำสส ำคัญต่ำงๆกำรละเล่นพื้นบ้ำนควรได้รับกำร ส่งเสริมให้เด็กไทยได้เล่น และรู้จักมำกขึ้นเพื่อเป็น เอกลักษณ์ของประเทศ 1.3 ลักษณะของกำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทย ได้มีผู้ให้แนวคิดเกี่ยวกับลักษณะของกำรละเล่นพื้นบ้ำน ของไทยไว้หลำยทัศนะ กล่ำวคือ นักมำนุษยวิทยำและนักคติชนวิทยำจ ำนวนไม่น้อยที่สนใจศึกษำลักษณะกำร เล่นพื้นบ้ำนของกลุ่มชน หรือสังคมหนึ่งๆ และได้สรุปลักษณะกำรละเล่นของเด็กไทยว่ำมีลักษณะเป็นทั้ง “ PLAY “ และ “ GAME “ กล่ำวคือ กำรละเล่นของเด็กไทยบำงชนิดจะเล่นเพื่อควำมสนุกสนำนไม่เน้นกำร แข่งขัน เช่นกำรเล่นจ้ ำจี้กำรเล่นขำยของ งูกินหำง ตบแผละเป็นต้น ซึ่งกำรละเล่นดังกล่ำวนี้เข้ำลักษณะของ “ PLAY “ กำรละเล่นของเด็กไทยอีกบำงชนิดเป็น “ GAME “ เพรำะเป็นกำรแข่งขัน มีกำรตัดสินมีกฎเกณฑ์เช่น อีตัก เตย และรวมทั้งกำรละเล่นอื่นๆที่มีลักษณะผสมผสำนกันระหว่ำงกำรเล่นเพื่อ ควำมสนุกสนำน และกำร เล่นที่มีกฎกติกำยืดหยุ่นได้ด้วย กำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทยมีควำมสัมพันธ์กับสภำพแวดล้อมทำงสังคม เป็น กิจกรรมของสังคมที่ผูกพันสอดคล้องกับวิถีชีวิตควำมเป็นอยู่ของคน ไทย ดังนั้นลักษณะของกำรละเล่นพื้นบ้ำน ของไทย จึงมีควำมโดดเด่นที่ไม่เหมือนกับสังคมอื่นๆดังนี้


8 1) กำรละเล่นของเด็กไทยจะไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดีงำมของชำติและไม่เป็นกำรทำรุณกรรมต่อสัตว์ 2) กำรละเล่นของเด็กไทยจะมีควำมเป็นสำกลคือไม่เป็นกำรละเล่นเฉพำะเทศกำล เช่น แม่ศรี ลิงลม ซึ่งนิยมเล่นในเทศกำลสงกรำนต์จึงไม่เป็นกำรละเล่นที่เล่นในท้องถิ่นเท่ำนั้น สำมำรถเล่นได้ทั่วไป โดย ไม่ใช้อุปกรณ์ที่มีเฉพำะท้องถิ่นหรือภำษำถิ่น 3) กำรละเล่นของเด็กไทยจะไม่ใช้กำรแข่งขัน เพื่อพนันเพรำะเป็นกำรปลูกฝังและเพำะนิสัยที่ ไม่ดีให้แก่เด็ก 4) กำรละเล่นของเด็กไทยจะไม่มีกำรล้อเลียนเหยียดหยำมผู้อื่น อันจะน ำไปสู่กำรทะเลำะ วิวำทกัน 5) กำรละเล่นของเด็กไทยจะมีควำมเหมำะสมกับระดับพัฒนำกำรของเด็กในระดับชั้นประถมศึกษำ ซึ่งเป็นเด็กที่มีช่วงอำยุระหว่ำง 6-16 ปี 6) ควำมสอดคล้องกับสภำพแวดล้อม เนื่องจำกสังคมไทยเป็นสังคมเกษตรส่วนใหญ่มีชีวิต ผูกพันกับธรรมชำติและใช้เวลำอยู่กับกำรประกอบอำชีพทำงกำรเกษตรกำรเล่นของคนไทย จึงเล่นใน เวลำ ว่ำงเว้นจำกกำรท ำไร่นำ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรเล่นในช่วงว่ำงหลังจำกกำรเก็บเกี่ยวพืชผลคือใน วันเทศกำล ต่ำงๆ ได้แก่วันตรุษวันสงกรำนต์กำรละเล่นพื้นบ้ำนที่นิยมเล่นมีสะบ้ำ ชักเย่อ มอญซ่อนผ้ำ เป็นต้น นอกจำกนี้ กำรเล่นบำงอย่ำงน ำมำเล่นในเวลำเย็นและเวลำกลำงคืน ซึ่งเป็นเวลำที่มีโอกำส พักผ่อนจำกงำนประจ ำวัน 7) วิธีกำรเล่นกำรเล่นเป็นกิจกรรมทำงสังคม ซึ่งท ำให้คนเล่นมีโอกำสพบปะสัมพันธ์กันพูดคุย และสนุกสนำนร่วมกันได้รับควำมเพลิดเพลินจิตใจเบิกบำนมีสุขภำพกำยและจิตที่ดีซึ่งเป็นลักษณะ ของกำร นันทนำกำรอย่ำงหนึ่ง ดังนั้นลักษณะของกำรเล่นอันเป็นกำรละเล่นพื้นบ้ำนจึงไม่เคร่งครัด หรือเอำจริงเอำจัง แม้จะมีกติกำหรือข้อก ำหนดในกำรเล่นก็เป็นกติกำที่ไม่แน่นอนตำยตัว ผู้เล่น สำมำรถปรับเปลี่ยนกติกำในกำร เล่นได้ตำมสถำนกำรณ์หรือสภำพแวดล้อม ในขณะที่ก ำลังเล่นจะเห็น ได้จำกกำรเล่นจ้ ำจี้ไม่ได้ก ำหนดจ ำนวนผู้ เล่นเล่นสนุกๆไม้ต้องกำรเอำชนะกันจริงจัง ในเวลำเล่น ร่วมกัน ดังนั้นจึงพบว่ำกำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทย อย่ำงหนึ่งๆจะมีลักษณะของวิธีกำรเล่นไม่เหมือนกัน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งถ้ำเป็นกำรเล่นต่ำงถิ่นกันวิธีกำรเล่นจะ ถูกดัดแปลงจนมีควำมแตกต่ำงกัน ซึ่งอำจ เป็นบทร้องประกอบกำรเล่นกติกำในกำรเล่นกำรใช้อุปกรณ์กำรเล่น เป็นต้น (ธิดำ โมสิกรัตน์อ้ำงถึงใน สมจินตนำ คุปตสุนทร. 2547:36) จำกเอกสำรดังกล่ำวแสดงให้เห็นว่ำ ลักษณะกำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทยเป็นกิจกรรมที่ ยอมรับร่วมกันในสังคม เป็นสมบัติร่วมกันของคนในสังคม ซึ่งมีกำรรับกำรถ่ำยทอดจำกคนรุ่นหนึ่งไป ยังคนอีกรุ่นหนึ่ง ด้วยกำรสอนแนะน ำหรือด้วยกำรเล่นเลียนแบบกัน เป็นกำรเล่นที่ไม่ซับซ้อน สำมำรถ ยืดหยุ่นได้เน้นควำมสนุกสนำน ไม่เน้นกำรแพ้ชนะจึงมีคุณค่ำและมีส่วน ส ำคัญในกำรหล่อหลอมและ เชื่อมโยงประสบกำรณ์ทำงสังคมให้กับเด็ก ท ำให้เด็กไทยประสบควำมส ำเร็จใน กำรเล่นจนเกิดควำมภำคภูมิใจในตนเอง เห็นคุณค่ำของตนเองกล้ำคิดกล้ำแสดงออกมีบุคลิกภำพที่เปิดเผยเป็น ตัวของ ตนเอง รู้จักกำรปรับตัวให้อยู่ร่วมกับผู้อื่น ดังนั้นลักษณะเด่นของกำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทยจึงมีส่วน ช่วยในกำรกระตุ้นและพัฒนำเด็กให้มีควำมเชื่อมั่นในตนเองได้อีกหนทำงหนึ่งด้วย


9 1.4 ประเภทของกำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทย ได้มีผู้จัดแยกประเภทของกำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทยไว้ หลำยรูปแบบกล่ำวคือ ได้แบ่งกำรละเล่นของภำคกลำงออกเป็น 6 ประเภท 1) กำรละเล่นกลำงแจ้งประเภทที่มีบทร้องประกอบและไม่มีบทร้องประกอบ 2) กำรละเล่นในร่มประเภทที่มีบทร้องประกอบและไม่มีบทร้องประกอบ 3) กำรละเล่นเลียนแบบผู้ใหญ่ 4) กำรละเล่นบทล้อเลียน 5) กระละเล่นประเภทเบ็ดเตล็ด 6) กำรละเล่นปริศนำค ำทำย วิรำภรณ์ ปนำทกูล (2531: 29-39) ได้แบ่งกำรละเล่นของเด็กไทยเป็น 5 กลุ่มดังนี้ 1) กำรละเล่นที่เน้นทักษะด้ำนกำรพูดกำรฟัง 2) กำรละเล่นที่เน้นทักษะทำงด้ำนกำรนับ กำรคำดคะเน กำรกะระยะกำรจ ำแนก ประเภท จ ำแนกพวกจ ำแนกเสียง 3) กำรละเล่นที่เน้นทักษะทำงด้ำนกำรคิด กำรใช้ไหวพริบปฏิภำณ ควำมคล่องแคล่ว ว่องไว กำร เลือกตัดสินใจ 4) กำรละเล่นที่เป็นทักษะกำรใช้กล้ำมเนื้อ กำรขีดเขียนกำรลำกเส้น กำรเขียนรูปทรง กำรสำน กำรวิ่ง กำรกระโดด กำรทรงตัว 5) กำรละเล่นที่เน้นกำรปลูกฝังค่ำนิยมทัศนคติในด้ำนต่ำงๆ กำรละเล่นของไทยมีผู้จัดประเภทไว้ หลำยลักษณะ สำมำรถแยกได้หลำยประเภทแตกต่ำงกัน ออกไปตำมพฤติกรรมที่แสดงออก จ ำนวนผู้เล่น สถำนที่ วัฒนธรรมลักษณะกำรเล่นกฎเกณฑ์ต่ำงๆ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์เช่นกำรวิ่ง กำรกระโดด กำร เล่นคนเดียวเล่นเป็นกลุ่ม กำรเล่นในร่มเล่น กลำงแจ้งกำรมีอุปกรณ์ที่หำง่ำยในท้องถิ่น ไม่มีอุปกรณ์มีกฎกติกำ ไม่มีกติกำมีบทร้อง ไม่มีบทร้อง นอกจำกนี้ยังช่วยปลูกฝังและส่งเสริมคุณธรรมด้ำนต่ำงๆ ได้แก่ควำมมีวินัย ควำมสำมัคคีกำรรู้แพ้รู้ชนะ รู้ให้อภัย กำรอดทนรอคอยฝึกกำรสังเกตเชำว์ไวไหวพริบ อีกทั้งมีส่วนช่วยให้เด็ก เกิดควำมสนุกสนำน มีควำมสุขมองโลกในแง่ดีมีควำมเป็นตัวของตัวเองกล้ำคิดกล้ำพูดกล้ำแสดงออก 1.5 ประโยชน์ของกำรละเล่นพื้นบ้ำนของไทยได้มีผู้กล่ำวถึงประโยชน์ของกำรละเล่นพื้นบ้ำนไว้หลำย ทัศนะกล่ำวคือ วิรำภรณ์ ปนำทกูล (2531: 18 – 19) ได้กล่ำวถึงประโยชน์ของกำรละเล่นพื้นบ้ำนดังนี้คือ 1) เป็นกำรเล่นที่ไม่จ ำกัดจ ำนวนผู้เล่น ส่วนใหญ่จะเล่นเป็นหมู่ซึ่งท ำให้เด็กเกิด ควำมรู้สึกว่ำกำร อยู่ในหมู่คณะเป็นสิ่งที่มีควำมสุขสนุกสนำน เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่จะมีอุปนิสัยรักหมู่ คณะฝึกให้รู้จักกำรปรับตัว เข้ำกับสังคม อันจะเป็นกำรส่งเสริมพัฒนำกำรทำงด้ำนสังคมของเด็กให้ดีขึ้น 2) เป็นกำรละเล่นที่ไม่เน้นอุปกรณ์หรือเครื่องประกอบกำรเล่นมำกนัก ถ้ำมีก็จะเป็น วัสดุที่หำ ง่ำยสะดวกสบำยและประหยัด ซึ่งเหมำะสมกับสภำพของโรงเรียนประถมศึกษำ 3) ไม่มีกติกำซับซ้อนเป็นกำรละเล่นที่ง่ำย เด็กมีอิสระในกำรเล่นอย่ำงสนุกสนำน เป็นกำรฝึก ควำมคิดสร้ำงสรรค์ของเด็ก ที่จะคิดกำรละเล่นและกติกำร่วมกันอย่ำงเหมำะสม


10 4) เป็นกำรละเล่นเพื่อออกก ำลังกำยเป็นส่วนใหญ่ เพื่อให้มีควำมคล่องแคล่วว่องไว ในกำร เคลื่อนไหวร่ำงกำย ในขณะเดียวกันก็ฝึกควำมเป็นคนช่ำงสังเกตมีไหวพริบควำมแม่นย ำกำร ตัดสินใจและควำม พร้อมเพรียง กำรเล่นจึงไม่มีผู้แพ้ผู้ชนะกำรเล่นบำงประเภทมีเนื้อร้องและบท สนทนำประกอบท ำให้เพิ่มควำม สนุกสนำนมำกขึ้น ชมรมคณำจำรย์เด็ก ยังกล่ำวถึงประโยชน์ของกำรละเล่นพื้นบ้ำน อีกดังนี้(คณำจำรย์ชมรมเด็ก. 2545: 16-17) 1) กำรเล่นช่วยส่งเสริมพัฒนำกำรด้ำนต่ำงๆ เช่นส่งเสริมพัฒนำกำรทำงกำยในด้ำน กำรฝึกฝน กำรใช้กล้ำมเนื้อส่วนต่ำงๆให้เจริญเติบโต ช่วยส่งเสริมพัฒนำกำรทำงด้ำนอำรมณ์ในแง่ท ำให้เด็กรู้สึกสบำยร่ำ เริงแจ่มใสปรับตัวเข้ำกับสิ่งแวดล้อมต่ำงๆได้ดีช่วยส่งเสริมพัฒนำกำรทำงด้ำนสังคม คือท ำให้เด็กรู้จัก เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แบ่งปันสิ่งของซึ่งกันและกัน รู้จักกำรให้และกำรรับรู้จักร่วมมือกันและ กำรสร้ำงมิตรภำพ ระหว่ำงเพื่อนฝูง นอกจำกนั้นกำรเล่นของเด็กยังช่วยส่งเสริมพัฒนำกำรทำงด้ำน สติปัญญำคือกำรใช้ภำษำได้ดี ขึ้น ฝึกกำรแก้ปัญหำและส่งเสริมจินตนำกำรและควำมคิดสร้ำงสรรค์ของ เด็กเป็นต้น 2) กำรเล่นช่วยส่งเสริมกำรเรียนรู้ของเด็ก เพรำะกำรเล่นของเด็กจัดว่ำเป็นกำรศึกษำ อย่ำงหนึ่ง เช่นเด็กที่เล่นตุ๊กตำจะเรียนรู้รูปร่ำงลักษณะและส่วนประกอบของตุ๊กตำ ตลอดจนสีและสิ่งที่ ใช้ในกำรประดิษฐ์ ตุ๊กตำเมื่อเด็กเจริญขึ้นก็จะสำมำรถเรียนรู้จำกกำรเล่นมำกยิ่งขึ้น นั่นคือกำรเล่น ส่งเสริมให้เด็กมีควำมรู้ กว้ำงขวำง 3) กำรเล่นช่วยตอบสนองควำมต้องกำรของเด็ก เมื่อเด็กได้เล่นเด็กจะได้แสดงออก ได้ระบำย อำรมณ์และควำมต้องกำรต่ำงๆอันเป็นกำรผ่อนคลำยไม่ให้เกิดควำมตึงเครียด เมื่อเด็กมีควำมต้องกำรเช่นเด็ก ต้องกำรสิ่งใดสิ่งหนึ่งแต่ไม่ได้รับกำรตอบสนอง เด็กมักจะสมมุติว่ำได้รับโดยกำร เล่นเป็นกำรจุนเจือสิ่งที่เด็ก ขำดหำยไป กำรเล่นจึงเป็นสิ่งที่ผ่อนคลำยควำมตึงเครียดในชีวิตประจ ำวัน ของเด็กช่วยให้เด็กรู้จักวำงแผนท ำ สิ่งต่ำงๆ และช่วยให้เด็กรู้จักแก้ปัญหำที่เกิดกับตนอีกด้วย 4) กำรเล่นช่วยฝึกฝนมำรยำทที่ดีให้แก่เด็ก ซึ่งเป็นประโยชน์ที่ส ำคัญอีกอย่ำงหนึ่งใน กำรเล่นท ำ ให้เด็กรู้จักผิดถูกรู้จักกำรแพ้ชนะเข้ำใจควำมหมำยของควำมยุติธรรม และควำมซื่อสัตย์ต่อ หมู่คณะกำรเล่น บำงประเภทฝึกให้เด็กเป็นคนอดทน เสียสละ และสร้ำงควำมเห็นอกเห็นใจบุคคลอื่นๆ 2. หลักพัฒนำกำรของเด็กประถมศึกษำ พัฒนำกำร (Development) หมำยถึง กำรเปลี่ยนแปลงด้ำนโครงสร้ำงของร่ำงกำยและแบบ แผนของ ร่ำงกำยทุกส่วนกำรเปลี่ยนแปลงนี้จะก้ำวหน้ำไปเรื่อยๆเป็นขั้นตอน จำกระยะหนึ่งไปอีกระยะ หนึ่งท ำให้เด็กมี ลักษณะและควำมสำมำรถใหม่ๆ เกิดขึ้นซึ่งมีผลท ำให้เจริญก้ำวหน้ำตำมล ำดับทั้ง ทำงด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์ สังคมและสติปัญญำ (สุชำ จันทน์เอม อ้ำงถึงใน อัจฉิมำ อ่อนน้อม, 2549) พัฒนำกำรของเด็กปฐมวัยเป็น กระบวนกำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในตัวเด็กอย่ำงต่อเนื่องตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิในครรภ์มำรดำจนกระทั่งเข้ำสู่อำยุ 3-6 ปี ซึ่งมีลักษณะพิเศษกว่ำประสบกำรณ์ในช่วงวัยอื่น เนื่องจำกกำรเปลี่ยนแปลงในหลำยๆด้ำนที่เกิดขึ้น


11 อย่ำงผสมผสำน ในช่วงเวลำเดียวกันและสำมำรถ สังเกตเห็นลักษณะกำรเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรมที่ แสดงออกอย่ำงชัดเจน ซึ่งอัตรำในกำร เปลี่ยนแปลงของเด็กแต่ละคนอำจมีอัตรำกำรเปลี่ยนแปลงช้ำเร็ว แตกต่ำงกัน แต่ส่วนมำกแล้ว พฤติกรรมก็มักจะเป็นไปตำมแบบแผนและมีรูปแบบทิศทำงเดียวกัน หลักพัฒนำกำรของเด็กประถมศึกษำ สำมำรถแบ่งออกเป็นประเด็นต่ำงๆโดยยึดหลักของ พัฒนำกำร มนุษย์ ดังนี้ 2.1 ควำมหมำยของเด็กประถมศึกษำ เด็กประถมศึกษำ คือเด็กที่มีอำยุตั้งแต่ปฏิสนธิถึง 6 ปีบริบูรณ์กำรอบรมและ เลี้ยงดูแก่เด็กปฐมวัย มีควำมส ำคัญอย่ำงมำก เนื่องจำกเด็กวัยนี้ต้องกำรกำรเรียนรู้ในสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวผ่ำนประสำทสัมผัสทั้ง 5 ด้ำนจำกบิดำ มำรดำ คนรอบข้ำงและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะส่งผลให้เกิด พัฒนำกำรที่เป็นรำกฐำนของบุคลิกภำพ อุปนิสัย และกำรเจริญเติบโตทั้งทำงร่ำงกำยและจิตใจ สมอง สติปัญญำ ควำมสำมำรถเพรำะเด็กในช่วงตั้งแต่ ปฏิสนธิในครรภ์แม่จนถึง 4 ปีระบบประสำทและ สมองจะเจริญเติบโตในอัตรำสูงสุด (ประมำณ 80 % ของ ผู้ใหญ่) กำรอบรมปลูกฝังสร้ำงเสริม พัฒนำกำรทุกด้ำนให้แก่เด็กปฐมวัยได้เจริญเติบโตเต็มศักยภำพ ในช่วงอำยุ นี้จะเป็นรำกฐำนที่ดีจะให้เขำเติบโตเป็นเยำวชนและพลเมืองที่ดี เฉลียวฉลำด คิดเป็นท ำเป็น และมีควำมสุข เด็กปฐมวัยจะมีชีวิต รอดและเติบโตได้ก็ด้วยกำรพึ่งพำพ่อแม่และผู้ใหญ่ที่ช่วยเลี้ยงดู ปกปูองจำกอันตรำย หำกผู้ใหญ่ ให้ควำมรักเอำใจใส่ใกล้ชิดอบรมเลี้ยงดูโดยเข้ำใจ เด็กพร้อมจะตอบสนองควำมต้องกำรพื้นฐำนที่ เปลี่ยนไปตำมวัยได้อย่ำงเหมำะสมให้สมดุลย์กันทั้งด้ำนร่ำงกำยจิตใจ อำรมณ์ สติปัญญำ และสังคม แล้ว เด็ก จะเติบโตแข็งแรง แจ่มใส มีควำมมั่นคงทำงใจรู้ภำษำ ใฝ่รู้ และใฝ่ดี พร้อมที่จะพัฒนำตนเอง ในขั้นต่อไปให้เป็น คนเก่งและคนดีอยู่ในสังคมได้อย่ำงเป็นสุขและมีประโยชน์(ฑิฆัมพร สุดำเดช : ออนไลน์,วันที่ 15 กุมภำพันธ์ 2557) 2.2 องค์ประกอบของพัฒนำกำรพัฒนำกำร เกี่ยวข้องกับควำมสัมพันธ์ขององค์ประกอบส ำคัญ 2 อย่ำง คือ 2.2.1 วุฒิภำวะ (Maturation) หมำยถึงสภำวะกำรเปลี่ยนแปลงของร่ำงกำยที่เกิดขึ้นถึง ระดับ กำรแสดงศักยภำพที่มีอยู่ ภำยในตัวเด็กแต่ละคนในระยะใดระยะหนึ่งที่ก ำหนดตำมวิถีทำงของ ธรรมชำติและ น ำมำซึ่งควำมสำมำรถกระท ำสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้เหมำะสมกับวัยศักยภำพที่เด็กแสดง ออกมำในเวลำอันสมควรนี้ หรือที่เรียกว่ำระดับวุฒิภำวะ (Maturity) มีอยู่ในตัวเด็กตั้งแต่ก ำเนิดและ ถูกก ำหนดโดยพันธุกรรม ด้วยเหตุนี้ ระดับวุฒิภำวะของเด็กที่จะแสดงควำมสำมำรถอย่ำงเดียวกันอำจ แสดงออกมำในช่วงเวลำที่ต่ำงกันได้ เช่น โดยทั่วไปเด็กจะวำดรูปสี่เหลี่ยมตำมแบบได้ ประมำณอำยุ 4 ปีเด็กบำงคนอำจจะท ำได้เร็วหรือช้ำกว่ำเกณฑ์นี้ ขึ้นอยู่กับควำมสำมำรถในกำรควบคุมกำรท ำงำนของ กล้ำมเนื้อมือและควำมสัมพันธ์ของมือและตำ รวมทั้ง ทักษะกำรรับรู้เกี่ยวกับรูปร่ำง 2.2.2 กำรเรียนรู้ (Learning) หมำยถึง กำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเป็นผลจำก ประสบกำรณ์ที่ ดีรับ หรือจำกกำรปฏิบัติอบรมสั่งสอนและกำรปฏิสัมพันธ์กับสภำพแวดล้อมที่เอื้อต่อ ควำมต้องกำร และควำม สนใจของเด็กท ำให้ควำมสำมำรถต่ำงๆ ของเด็กถูกน ำออกมำใช้อย่ำงมีประสิทธิภำพเต็มที่ทั้งนี้กำรเรียนรู้ของ เด็กปฐมวัยมีขอบเขตจ ำกัดทั้งช่วงเวลำควำมสนใจที่สั้นและ เนื้อหำที่เป็นรูปธรรม ตลอดจนวิธีกำรเรียนรู้ใน รูปแบบของกำรเล่นที่เด็กได้ลงมือกระท ำ ศึกษำค้นคว้ำ ส ำรวจสิ่งรอบตัวตำมควำมพอใจของตนเองและเก็บ


12 สะสมเป็นประสบกำรณ์ส่วนบุคคล เช่น เด็กที่อยู่ ในสภำพแวดล้อมที่มีหนังสือนิทำนและของเล่น รวมทั้งมี ผู้ปกครองที่เอำใจใส่เล่ำนิทำนหรือแนะน ำ กำรอ่ำนมักจะเรียนรู้กำรอ่ำนได้อย่ำงรวดเร็วกว่ำเด็กที่ไม่ได้รับควำม สนใจเท่ำที่ควร พัฒนำกำรของเด็กปฐมวัยเป็นผลของกำรปฏิสัมพันธ์ระหว่ำงวุฒิภำวะและกำรเรียนรู้กล่ำวคือ วุฒิ ภำวะมีควำมเกี่ยวข้องสัมพันธ์อย่ำงแน่นแฟ้มกับกำรเรียนรู้ถ้ำขำดอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ควำมสำมำรถบำงอย่ำง อำจไม่เกิดขึ้นหรือเกิดช้ำกว่ำที่ควรได้เช่น ควำมสำมำรถในกำรใช้ภำษำ เด็กที่ มีวุฒิภำวะในกำรพูดจะสำมำรถ เปล่งเสียงพูดออกมำได้เอง แต่ถ้ำไม่ได้รับกำรสอนภำษำพูดก็จะใช้ภำษำพูดไม่ได้เลย ในทำงตรงกันข้ำมเด็กที่ ยังไม่บรรลุวุฒิภำวะในกำรพูดถึงแม้ว่ำจะได้รับกำร เคี่ยวเข็ญฝึกภำษำพูดมำกสักเพียงใด ก็ไม่อำจพูดได้ถ้ำเด็ก ยังไม่พัฒนำถึงวุฒิภำวะนั้น จึงเห็นได้ว่ำเด็ก แต่ละคนมีศักยภำพในกำรพัฒนำตนเองตำมก ำหนดเวลำเฉพำะ ของพัฒนำกำรนั้นๆ โดยธรรมชำติอัน ก่อควำมสำมำรถในกำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เป็นไปตำมขั้นตอนของ พัฒนำกำร โดยมีสภำพแวดล้อมช่วยเสริมต่อพัฒนำกำรให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ช่วงเวลำที่เด็กสำมำรถพัฒนำได้ อย่ำงมีประสิทธิภำพเต็มที่นี้ เรียกว่ำระยะพอเหมำะ (Optimal Period) ลักษณะพฤติกรรมที่เด็กสำมำรถ แสดงออกเมื่ออยู่ในขั้นพัฒนำกำรนั้นๆ เรียกว่ำ พัฒนำกำรตำมวัย (Developmental Task) เด็กที่ แสดง พฤติกรรมตำมขั้นพัฒนำกำรได้พอเหมำะกับวัย จะถือว่ำมีพัฒนำกำรสมวัย 2.3 จิตวิทยำกำรพัฒนำกำรของเด็กประถมศึกษำ พัฒนำกำรของเด็กวัยต่ำงๆ จะมีควำมแตกต่ำงกัน ซึ่งนับได้ว่ำเป็นลักษณะเฉพำะวัยที่ สำมำรถจ ำแนกให้เห็นเป็นลักษณะเด่นประจ ำนวนได้และพัฒนำกำรของ เด็กประถมศึกษำนั้นเป็นพื้นฐำนใน กำรเข้ำใจพฤติกรรมที่เป็นปกติธรรมดำของเด็กวัยนี้ สมพรสุทัศนีย์ (2547:9) ได้กล่ำวถึง พัฒนำกำรของเด็กปฐมวัย(Preschool Child)ดังต่อไปนี้ 1) พัฒนำกำรทำงกำย เด็กวัยนี้นับว่ำเป็นเด็กวัยตอนต้นที่มีส่วนสูงและน้ ำหนักเพิ่มขึ้น อย่ำง รวดเร็วแต่จะขยำยออกทำงส่วนสูงมำกกว่ำด้ำนข้ำงกล้ำมเนื้อและกระดูกจะเริ่มแข็งแรงขึ้น แต่ กล้ำมเนื้อที่ เกี่ยวกับกำรเคลื่อนไหวยังเจริญไม่เต็มที่กำรประสำนงำนของอวัยวะต่ำง ๆ ยังไม่ดีพอจำก กำรศึกษำของ Gesell และคนอื่น ๆ เด็กอำยุ3-5 ขวบ มีพัฒนำกำรทำงกำยแตกต่ำงกัน บำงคน สำมำรถทรงตัวได้ดีวิ่งได้เร็ว ขึ้น ควบคุมกำรเดิน วิ่งให้ช้ำลงและเร็วได้กระโดดไกล ๆ ได้เต้นและกำย บริหำรได้ตำมจังหวะดนตรีกำร ประสำนงำนของกล้ำมเนื้อดีขึ้น 2) พัฒนำกำรทำงอำรมณ์เด็กวัย 3-5 ขวบ มักจะเป็นเด็กเจ้ำอำรมณ์และจะแสดงอำรมณ์และ จะแสดงอำรมณ์ต่ำง ๆ ออกมำอย่ำงเปิดเผยและมีอิสระเต็มที่ เด็กวัยนี้มักมีควำมกลัวอย่ำงสุดขีด อิจฉำอย่ำง ไม่มีเหตุผล โมโหร้ำย กำรที่เด็กมีอำรมณ์เช่นนี้อำจจะเป็นเพรำะเด็กมีประสบกำรณ์กว้ำง ขึ้น เพรำะเงื่อนไข ทำงสังคมตั้งแต่สังคมภำยในบ้ำนจนกระทั่งถึงสังคมภำยนอกบ้ำนเด็กเคยได้รับแต่ ควำมรักควำมเอำใจใส่จำก พ่อแม่และผู้ที่ใกล้ชิด เมื่อต้องพบกับคนนอกบ้ำนซึ่งไม่สำมำรถเอำใจใส่เด็กได้เท่ำคนในบ้ำนและไม่สำมำรถที่ จะเอำใจใส่ได้เหมือนเมื่อเด็กเล็กๆอยู่เด็กจึงรู้สึกขัดใจเพรำะคิดว่ำ ตนเป็นคนที่มีควำมสำมำรถกว่ำคนอื่น เด็ก จะยกย่องบูชำตนเองและพยำยำมปรับตัวเพื่อต้องกำรให้เป็นที่รักและเป็นที่ยอมรับของบุคคลข้ำงเคียง ในวัย นี้มักจะใช้ค ำพูดแสดงอำรมณ์ต่ำงๆ แทนกำร รุกรำนด้วยก ำลังกำยเพรำะพัฒนำกำรทำงร่ำงกำยยังไม่โตเต็มที่ เด็กแต่ละคนมีอำรมณ์ไม่เหมือนกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสุขภำพ กำรอบรมเลี้ยงดูจำกพ่อแม่และสภำพแวดล้อมทำง


13 สังคม เช่น เด็กที่เติบโตขึ้น จำกสภำพแวดล้อมสงบเงียบได้รับควำมรักเอำใจใส่ และกำรตอบสนองควำม ต้องกำรสม่ ำเสมอพ่อแม่ มีอำรมณ์คงเส้นคงวำเด็กก็จะเติบโตขึ้นเป็นคนที่มีอำรมณ์มั่นคงกว่ำ เด็กที่มีสภำพ แวดล้อมที่ตรงกัน ข้ำม เหล่ำนี้เป็นต้น 3) พัฒนำกำรทำงสังคม ค ำว่ำสังคมในที่นี้หมำยถึง กำรติดต่อสัมพันธ์กำรผูกพันและกำรมีชีวิต อยู่ร่วมกัน เด็กปฐมวัยหรือวัยก่อนเข้ำเรียนได้เรียนรู้เข้ำใจ และใช้ภำษำได้ดีขึ้นพ่อแม่และผู้ที่อยู่ ใกล้ชิด ตลอดจนครูที่อยู่ในชั้นอนุบำลได้อบรมสั่งสอนเพื่อให้เด็กเข้ำใจถึงวัฒนธรรมค่ำนิยมและ ศีลธรรมทีละน้อย โดย เริ่มจำกสิ่งที่ง่ำย เช่น กำรพูดจำสุภำพ กำรเคำรพกรำบไหว้ฯลฯ เพื่อให้เด็ก เติบโตเป็นสมำชิกที่ดีของสังคม ดังนั้นเมื่อเด็กเข้ำไปอยู่ในโรงเรียนอนุบำลจะรู้จักคบเพื่อนรู้จักกำร ผ่อนปรน รู้จักอดทนในบำงโอกำส รู้จักกำร ให้และกำรรับ Piaget นักจิตวิทยำกลุ่มที่เน้นควำมรู้ควำม เข้ำใจ (Cognitive) กล่ำวว่ำ เด็ก 3-5 ขวบ เรียนรู้ พฤติกรรมทำงสังคมจำกเพื่อนในโรงเรียนอนุบำล หรือเพื่อนบ้ำนวัยเดียวกันแต่เด็กวัยนี้ยังเข้ำใจถึงควำม ถูกต้องและควำมไม่ลึกซึ้งนัก ดังนั้นจึงควร ส่งเสริมให้เด็กวัยนี้ได้พัฒนำในเรื่องกำรยอมรับกำรแยกตัวจำกพ่อ แม่ฝึกให้มีควำมเชื่อมั่นเมื่ออยู่กับคน อื่นให้เด็กเข้ำใจระเบียบและกฎเกณฑ์ต่ำง ๆ ฝึกให้รู้จักกำรแบ่งปันและ กำรผลัดเปลี่ยนกันและรู้จักอด ใจรอในโอกำสอันควร 4) พัฒนำกำรทำงสติปัญญำ เด็กวัยนี้มีควำมสำมำรถในกำรใช้ภำษำได้อย่ำงดีเด็กจะเรียนรู้ศัพท์ เพิ่มขึ้นอย่ำงรวดเร็ว โดยเฉลี่ยเด็กอำยุ3 ขวบ จะรู้จักศัพท์ประมำณ 3,000 ค ำ และเด็กสำมำรถ ใช้ค ำ วลีและ ประโยคในกำรแสดงบทบำทตำมแบบอย่ำงโทรทัศน์ได้รู้จักใช้ท่ำทำงประกอบค ำพูด เด็ก 4 ขวบช่ำงซักช่ำงถำม มักจะมีค ำถำมว่ำ “ท ำไม” “อย่ำงไร” แต่ก็ไม่สนใจค ำตอบและค ำอธิบำย ค ำพูดของเด็กวัยนี้สำมำรถพูด ประโยคยำว ๆ ที่ต่อเนื่องกันได้สำมำรถ เล่ำนิทำนสั้นๆ ให้จบได้และ มักจะเอำเรื่องจริงปนกับเรื่องสมมติ ส ำหรับเด็กวัย 5 ขวบ พัฒนำกำรทำงภำษำสูงมำกเด็กสำมำรถ ตอบค ำถำมตรงเป้ำหมำย ชัดเจนและสั้น กำร ซักถำมน้อยลง แต่จะสนใจเฉพำะเรื่องไป ควรจัดให้เด็ก ได้มีโอกำสพูดให้เพื่อนฟัง เพื่อนก็ต้องเป็นผู้ฟังที่ดีด้วย และควรหมุนเวียนกันออกมำพูดทุกคนกำร จินตนำกำรและกำรสร้ำงเรื่องจะพบมำกในเด็กวัยนี้จึงเป็นโอกำส เหมำะที่ควรจะได้สนับสนุนและ ส่งเสริมจินตนำกำรของเด็กให้มำกที่สุด แต่เด็กวัยนี้ไม่มีพัฒนำกำรที่เกี่ยวกับ กำรจัดประเภทของ สิ่งของเป็นหมวดหมู่ ไม่มีพัฒนำกำรในเรื่องควำมคงตัว ในเรื่องขนำดน้ ำหนักและปริมำตร ทั้งนี้เป็น เพรำะเด็กยังไม่มีควำมเข้ำใจ ยังไม่มีเหตุผลและประเมินค่ำสิ่งต่ำงๆ ตำมที่เห็นด้วยตำเท่ำนั้น จะเห็น ได้ว่ำเด็กก่อนวัยเรียนนี้มีพัฒนำกำรทำงร่ำงกำยที่ก ำลังเจริญเติบโตภำวะอำรมณ์ที่มีกำรเปลี่ยนแปลง ขึ้นอยู่กับ สภำพแวดล้อม และสังคมรอบด้ำนเริ่มมีสังคมมีกำรเรียนรู้สิ่งที่ควรท ำไม่ควรท ำ ฝึกกำรเป็น ผู้ให้และเป็นผู้รับ และมีพัฒนำกำรทำงสติปัญญำที่ดีอยู่ในวัยที่อยำกรู้อยำกเห็นอยำกท ำ เรียนรู้เร็ว เป็นแนวทำงที่ครูผู้สอนควร จะสังเกต และเข้ำใจในพฤติกรรมของเด็กก่อนจะด ำเนินกำรสอนและให้ควำมรู้ต่ำง ๆ กับเด็กก่อนวัยเรียน เหล่ำนี้ 2.4 แบบแผนของพัฒนำกำรพัฒนำกำรของเด็กปฐมวัยทุกคนเปลี่ยนแปลงไปตำมแบบแผน เดียวกัน คือ 2.4.1 แบบแผนของพัฒนำกำร เด็กปฐมวัยทุกคนมีล ำดับขั้นของพัฒนำกำรเหมือนกัน เปลี่ยนแปลง ไปตำมขั้นตอนอย่ำงต่อเนื่อง และมีทิศทำงก้ำวหน้ำโดยไม่ข้ำมขั้นและไม่มีกำรหยุดนิ่งอยู่ กับที่พัฒนำกำรใน ขั้นต้นจะเป็นพื้นฐำนของพัฒนำกำรในขั้นต่อไปที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น เช่น ควำมสำมำรถ ในกำรวำดรูป เด็กเล็กจะ


14 สำมำรถใช้กล้ำมเนื้อแขนและมือในกำรเคลื่อนไหวลำกเส้นโยงไปมำอย่ำงไม่มีทิศทำง จนสำมำรถบังคับ กล้ำมเนื้อนิ้วได้มำกขึ้นในกำรควบคุมกำรลำกเส้นอย่ำงมีทิศทำงตำมควำม ต้องกำรและสำมำรถวำดรูปคล้ำย ของจริงได้ในที่สุด 2.4.2 กำรเปลี่ยนแปลงทำงด้ำนปริมำณ เป็นกำรเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ชัดเจน สำมำรถ วัดได้ โดยเฉพำะกำรเพิ่มขนำดของรูปร่ำงและอวัยวะส่วนต่ำงๆของร่ำงกำย เมื่อเด็กอำยุมำกขึ้นและ ได้รับสำรอำหำร ที่เพียงพอตำมควำมต้องกำรของร่ำงกำยขนำดของร่ำงกำยก็จะขยำยใหญ่ขึ้น สำวนสูง และน้ ำหนักก็เพิ่มขึ้น รวมทั้งกำรแสดงออกถึงขีดควำมสำมำรถในด้ำนต่ำงๆ ก็เพิ่มขึ้นด้วย เช่น กำร เรียนรู้ค ำศัพท์มำกขึ้น ควำมจ ำ เกี่ยวกับสิ่งต่ำงๆ เพิ่มขึ้น เป็นต้นในช่วงปฐมวัยนี้กำรเปลี่ยนแปลง โครงสร้ำงร่ำงกำยเป็นไปอย่ำงสม่ ำเสมอและ เกิดจำกกำรเจริญเติบโตของกระดูกและกล้ำมเนื้อ ท ำให้เด็กมีรูปร่ำงผอมและสูงขึ้น 2.4.3 กำรเปลี่ยนแปลงทำงด้ำนคุณภำพ เป็นกำรเปลี่ยนแปลงที่สลับซับซ้อนเกี่ยวข้องกับ กลไก ในกำรท ำงำนภำยในร่ำงกำยที่ก่อให้เกิดควำมสำมำรถใหม่ๆ เช่น ก่อนที่จะใช้ค ำพูดสื่อ ควำมหมำยคล้ำย ผู้ใหญ่ได้จะต้องผ่ำนกระบวนกำรหลำยขั้นตอนเกี่ยวกับกำรใช้ภำษำ เช่น กำรฟัง กำรเปล่งเสียงกำรแยกควำม แตกต่ำงของเสียง กำรเลียนเสียง กำรเรียนรู้ควำมหมำยและอื่นๆมำเป็น ล ำดับ 2.4.4 ควำมสัมพันธ์ของพัฒนำกำรแต่ละด้ำน พัฒนำกำรของเด็กเกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลง หลำย ด้ำนผสมผสำนกันพัฒนำกำรทุกด้ำนทั้งด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์ และจิตใจ สังคม สติปัญญำมีควำมส ำคัญเสมอ ภำคและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด กำรเปลี่ยนแปลงของพัฒนำกำรด้ำนหนึ่งย่อม ส่งผลให้พัฒนำกำรด้ำนอื่น เปลี่ยนแปลงไปด้วยทั้งในทำงบวกและทำงลบ เช่น เด็กที่มีร่ำงกำยแข็งแรง สมบูรณ์มักเคลื่อนไหวคล่องแคล่ว สำมำรถช่วยเหลือตนเองได้ มีอำรมณ์แจ่มใส รู้จักควบคุมอำรมณ์ เข้ำกับผู้อื่นได้ดีและมีควำมสนใจเรียนรู้สิ่ง รอบตัว ในทำงตรงกันข้ำมเด็กที่สุขภำพไม่ดีมักประสบ ปัญหำด้ำนกำรเจริญเติบโตของร่ำงกำยล่ำช้ำ หรือ หยุดชะงักชั่วขณะหนึ่งอำรมณ์หงุดหงิด มีอำกำร เศร้ำซึม ปรับตัวเข้ำกับผู้อื่นยำกและขำดสมำธิในกำรเรียนรู้ สิ่งต่ำงๆ 2.4.5 ลักษณะเด่นของพัฒนำกำรแต่ละช่วงของกำรเปลี่ยนแปลงตำมขั้นตอนของ พัฒนำกำร ลักษณะบำงอย่ำงอำจพัฒนำเร็วกว่ำลักษณะอื่น และสังเกตเห็นเด่นชัดได้ เช่น ในช่วงอำยุ3 ปี เด็กจะเริ่มรับรู้ และสังเกตควำมแตกต่ำงทำงเพศ เมื่ออำยุ 4 ปี จะช่ำงซักถำมสนใจเล่นร่วมกับ ผู้อื่น พออำยุ 5 ปี จะชอบ ควำมเป็นอิสระ เป็นตัวของตัวเองลักษณะเหล่ำนี้เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้น เป็นปกติเมื่อเด็กอำยุมำกขึ้นก็จะ พัฒนำไปตำมวุฒิภำวะและจำกมวลประสบกำรณ์ทั้งหลำยที่ได้รับ 2.4.6 ควำมคำดหวังของพัฒนำกำรพัฒนำกำรมนุษย์เกิดขึ้นอย่ำงต่อเนื่องและมีขั้นตอน และได้ ถูกก ำหนดไว้อย่ำงแน่นอน จึงสำมำรถท ำนำยคำดหวังควำมสำมำรถและพฤติกรรมตำมขั้น พัฒนำกำรในแต่ละ ช่วงวัยของเด็กอย่ำงคร่ำวๆ ได้ทั้งนี้เมื่อเด็กได้รับกำรส่งเสริมพัฒนำกำรทุกด้ำน อย่ำงเหมำะสมตำมวุฒิภำวะและควำมพร้อมพัฒนำกำรก็สำมำรถด ำเนินไปด้วยดีสมวัยหำกมีอุปสรรค หรือ ควำมผิดปกติเกิดขึ้นในช่วงใดของพัฒนำกำรก็ย่อมส่งผลต่อแบบแผนพัฒนำกำรขั้นต่อไปให้หยุดชะงัก เบี่ยงเบนไปจำกเกณฑ์ปกติและอำจส่งผลระยะยำวไปจนตลอดชีวิตได้


15 2.4.7 ควำมเสื่อมของพัฒนำกำร กำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่ำงต่อเนื่องตลอดเวลำมีทั้ง กำร เปลี่ยนแปลงคุณลักษณะหรือควำมสำมำรถใหม่ๆ และควำมเสื่อมหรือกำรสูญเสียคุณลักษณะหรือ ควำมสำมำรถเดิมบำงอย่ำง เช่น เด็กสูญเสียฟันน้ ำนมก่อนจึงเกิดฟันแท้เข้ำมำแทนที่ เด็กจะพูดเสียง อ้อแอ้ที่ ฟังไม่รู้เรื่องก่อนจึงพูดชัดเจนขึ้นมำในช่วงบั้นปลำยของชีวิตกำรเสื่อมมีมำกกว่ำกำรพัฒนำ 2.5 ลักษณะของพัฒนำกำรพัฒนำกำรของเด็กปฐมวัยทุกด้ำนมีควำมสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน อย่ำงแน่น แฟ้นและมีทิศทำงกำรพัฒนำที่แน่นอนคือ 2.5.1 พัฒนำกำรด้ำนร่ำงกำย หมำยถึงกำรเปลี่ยนแปลงลักษณะทำงร่ำงกำยเริ่มต้นจำก ส่วนบน ไปสู่ส่วนล่ำง ( Cephalous - Caudal Development ) และจำกแกนกลำงไปสู่ส่วนข้ำง (Proximal - Distal Development) ส ำหรับควำมสำมำรถทำงกำรเคลื่อนไหวร่ำงกำยจะพัฒนำทักษะ ทำงกำรเคลื่อนไหวทั่วไป ไปสู่กำรเคลื่อนไหวแบบเจำะจง 2.5.2 พัฒนำกำรด้ำนอำรมณ์และจิตใจ หมำยถึงกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมกำร แสดงออกทำง อำรมณ์และควำมรู้สึกจะพัฒนำจำกกำรรับรู้ควำมรู้สึกทั่วไปไปสู่ควำมรู้สึกที่ละเอียด ลึกซึ้ง จำกกำรรับรู้ ควำมรู้สึกของตนเองไปสู่กำรรับรู้ควำมรู้สึกของผู้อื่น 2.5.3 พัฒนำกำรด้ำนสังคม หมำยถึงกำรเปลี่ยนแปลงควำมสำมำรถในกำรติดต่อและ สร้ำง สัมพันธ์กับผู้อื่นจะพัฒนำจำกควำมผูกพันใกล้ชิด พึ่งพำพ่อแม่ในครอบครัว ไปสู่กำรพึ่งตนเอง และกำรปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม 2.5.4 พัฒนำกำรด้ำนสติปัญญำ หมำยถึงกำรเปลี่ยนแปลงควำมสำมำรถทำงกำรรู้คิดจะ พัฒนำ จำกกำรรับรู้ด้วยประสำมสัมผัสและกำรรู้คิดเชิงรูปธรรม (Concrete Thought) ไปสู่ควำม เข้ำใจในกำรใช้ สัญลักษณ์ (Symbolic Thought) แล้วจึงรู้จักคิดเป็นนำมธรรม (Abstract Thought) รวมทั้งควำมคิดที่ยึด ตนเองเป็นศูนย์กลำง (Egocentric Thought) ไปสู่กำรใช้ควำมคิดที่มีเหตุผล (Reasoning) 2.6 อัตรำของพัฒนำกำรขีดควำมสำมำรถตำมพัฒนำกำรของเด็กปฐมวัยแต่ละคนจะเร็วหรือ ช้ำกว่ำ อัตรำที่เป็นเกณฑ์ปกติได้และมีควำมแตกต่ำงกันคือ 2.6.1 ควำมแตกต่ำงภำยในบุคคล (Intra-Individual Differences) ธรรมชำติได้ก ำหนดให้ พัฒนำกำรของระบบและส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำยภำยในตัวเด็กแต่ละคน มีอัตรำกำร เจริญเติบโตไม่เท่ำกัน ในช่วงอำยุหนึ่งๆ ของบุคคลนั้นเช่นกัน ในช่วงวัยทำรกพัฒนำกำรทำงร่ำงกำย เป็นไปอย่ำงรวดเร็ว ต่อมำ ในช่วงปฐมวัยพัฒนำกำรของสมองอยู่ในอัตรำสูงกว่ำกำรเจริญเติบโตของ อวัยวะอื่นๆ เป็นต้น 2.6.2 ควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล (Inter-Individual Differences) แม้ว่ำเด็กทุกคน จะมีแบบ แผนของพัฒนำกำรเหมือนกันและพัฒนำไปในทิศทำงเดียวกัน แต่ควำมสำมำรถที่จะพัฒนำ ให้ไปถึงจุด เดียวกันเมื่ออำยุเท่ำกัน อำจแตกต่ำงกันได้ทั้งนี้เนื่องมำจำกระดับวุฒิภำวะที่ถูกก ำหนดโดย พันธุกรรมและ ประสบกำรณ์ที่ได้รับจำกสภำพแวดล้อม จะเป็นตัวกระตุ้นหรือขัดขวำงศักยภำพกำร แสดงควำมสำมำรถของ เด็กแต่ละคนจำกควำมรู้ทำงด้ำนพัฒนำกำรเด็กปฐมวัยนั้นเป็นข้อมูลที่มีประโยชน์มำกส ำหรับพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู อำจำรย์ตลอดจนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกำรอบรมเลี้ยงดูและพัฒนำกำรเด็กในช่วง ปฐมวัย ซึ่งหำกบุคคล


16 ดังกล่ำวมีควำมเข้ำใจในพัฒนำกำรของเด็กก็จะเป็นข้อมูลควำมรู้ในกำรน ำไปใช้เพื่อกำรพัฒนำตลอดจน ประยุกต์ควำมรู้เพื่อส่งเสริม สนับสนุนด้ำนกำรพัฒนำเด็กต่อไป 3. กำรเรียนรู้ของเด็กประถมศึกษำ กำรเรียนรู้ของเด็กประถมศึกษำ : ตำมแนวคิดไฮสโคป ทฤษฎีที่มีอิทธิพล ดร.เดวิดไวคำร์ท (Dr. David Weikart) ประธำนมูลนิธิวิจัย กำรศึกษำไฮสโคป (High/Scope Educational Research Foundation) เป็นผู้ริเริ่ม และร่วมกับคณะนักวิชำกำรและนักวิจัย อำทิเช่น แมรี่ โฮ แมน (Mary Hohman) และ ดร.แลรี่ชไวฮำร์ต (Dr. Larry Schweinhart) พัฒนำขึ้นจำกโครงกำร เพอรี่ พรี สคูล (Perry Preschool Project) ตั้งแต่ พ.ศ. 2505 ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงกำร Head Start เพื่อ ช่วยเหลือเด็ก ด้อยโอกำสให้มีกำรศึกษำที่เหมำะสมและประสบควำมส ำเร็จในชีวิต มูลนิธิวิจัยกำรศึกษำ ไฮสโคปได้ศึกษำ เปรียบเทียบเด็ก 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ได้รับกำรสอนจำกครูโดยตรงกลุ่มเนอร์สเซอรี่แบบดั้งเดิม และ กลุ่มที่ได้รับประสบกำรณ์โปรแกรมไฮสโคปจำกกำรศึกษำติดตำมเด็กเหล่ำนี้ตั้งแต่ ระดับปฐมวัยจนถึงอำยุ29 ปี พบว่ำกลุ่มที่เรียนด้วยโปรแกรมไฮสโคป มีปัญหำพฤติกรรมทำงสัมคม อำรมณ์น้อยกว่ำอีก 2 กลุ่ม ดังนั้น โปรแกรมนี้จึงพิสูจน์ได้ว่ำ ช่วยปูองกันอำชญำกรรมรวมทั้งเพิ่มพูน ควำมส ำเร็จทำงกำรศึกษำและผลผลิตตลอด ชีวิต องค์ประกอบต่ำง ๆ ของ “วงล้อแห่งกำรเรียนรู้” มีรำยละเอียดดังนี้ 1. กำรเรียนรู้แบบลงมือกระท ำ (Active Learning) หลักกำรที่ส ำคัญของไฮสโคปในระดับปฐมวัยคือ กำรเรียนรู้แบบลงมือกระท ำ ซึ่งถือว่ำเป็น พื้นฐำนที่ส ำคัญในกำรพัฒนำเด็กกำรเรียนรู้แบบลงมือกระท ำ จะ เกิดขึ้นอย่ำงมีประสิทธิภำพมำกที่สุดใน โปรแกรมที่พัฒนำเด็กอย่ำงเหมำะสมกับพัฒนำกำร กำรเรียนรู้แบบลง มือกระท ำ หมำยถึง กำรเรียนรู้ซึ่ง เด็กได้จัดกระท ำกับวัตถุ ได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล ควำมคิด และเหตุกำรณ์ จนกระทั่งสำมำรถสร้ำงองค์ควำมรู้ด้วยตนเอง โดยองค์ประกอบของกำรเรียนรู้แบบลงมือกระท ำ ได้แก่ 1) กำรเลือกและตัดสินใจเด็กจะเป็นผู้ริเริ่มกิจกรรมจำกควำมสนใจและ ควำมตั้งใจของ ตนเอง เด็กเป็นผู้เลือกวัสดุอุปกรณ์และตัดสินใจว่ำจะใช้วัสดุอุปกรณ์ นั้นอย่ำงไรกำรที่เด็กมีโอกำสเลือก และตัดสินใจ ท ำให้เด็กเกิดกำรเรียนรู้ด้วยตนเองมำกกว่ำได้รับกำรถ่ำยทอดจำกผู้ใหญ่ ดังนั้น ผู้ใหญ่ ที่ ตระหนักถึง ควำมส ำคัญเรื่องกำรเลือกและกำรตัดสินใจต้องจัดให้เด็กมีอิสระที่จะเลือกได้ตลอดทั้งวัน ขณะที่ปฏิบัติ กิจวัตร ประจ ำวัน ไม่ใช่เฉพำะในช่วงเวลำเล่นเสรีเท่ำนั้น 2) สื่อในห้องเรียนที่เด็กเรียนรู้แบบลงมือกระท ำจะมีเครื่องมือและวัสดุ อุปกรณ์ที่ หลำกหลำย เพียงพอ และเหมำะสมกับระดับอำยุของเด็ก เด็กต้องมีโอกำสและมีเวลำเพียงพอที่จะ เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ อย่ำงอิสระเมื่อเด็กใช้เครื่องมือหรือวัสดุ อุปกรณ์ต่ำง ๆ เด็กจะมีโอกำสเชื่อมโยงกำร กระท ำต่ำงๆ กำรเรียนรู้ ในเรื่องของ ควำมสัมพันธ์ และมีโอกำสในกำรแก้ปัญหำมำกขึ้นด้วย 3) กำรใช้ประสำทสัมผัสทั้ง 5 กำรเรียนรู้ด้วยกำรลงมือกระท ำเป็นเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับ ประสำท สัมผัสทั้ง 5 กำรให้เด็กได้ส ำรวจและจัดกระท ำ กับ วัตถุโดยคุ้นเคยกับวัตถุแล้วเด็กจะน ำวัตถุต่ำง ๆมำเกี่ยวข้อง กันและเรียนรู้เรื่องควำมสัมพันธ์ ผู้ใหญ่มีหน้ำที่จัดให้เด็กค้นพบควำมสัมพันธ์เหล่ำนี้ด้วยตนเอง


17 4) ภำษำจำกเด็กสิ่งที่เด็กพูดจะสะท้อนประสบกำรณ์และควำมเข้ำใจของเด็กในห้องเรียนที่ เด็ก เรียนรู้แบบลงมือกระท ำ เด็กมักจะเล่ำว่ำตนก ำลังท ำอะไรหรือท ำอะไรไปแล้วในแต่ละวัน เมื่อเด็กมีอิสระใน กำรใช้ภำษำเพื่อสื่อควำมคิดและรู้จักฟังควำมคิดเห็นของผู้อื่น เด็กจะเรียนรู้วิธีกำรพูดที่เป็นที่ ยอมรับของผู้อื่น ได้พัฒนำกำร คิดควบคู่ไปกับกำรพัฒนำควำมเชื่อมั่นในตนเองด้วย 5) กำรสนับสนุนจำกผู้ใหญ่ผู้ใหญ่ในห้องเรียนกำรเรียนรู้แบบลงมือ กระท ำต้องสร้ำง ควำมสัมพันธ์กับเด็กสังเกตและค้นหำควำมตั้งใจ ควำมสนใจของเด็กผู้ใหญ่ควรรับฟังเด็กส่งเสริมให้เด็ก คิด และท ำสิ่งต่ำงๆ ด้วยตนเองในห้องเรียนที่เด็กเรียนรู้แบบลงมือกระท ำ เด็กจะเผชิญกับประสบกำรณ์ส ำคัญซ้ ำ แล้วซ้ ำอีกในชีวิตประจ ำวันอย่ำงเป็นธรรมชำติ ประสบกำรณ์ส ำคัญเป็นกุญแจที่จ ำเป็นในกำร สร้ำงองค์ควำมรู้ ของเด็ก เป็นเสมือนกรอบควำมคิดที่จะท ำควำมเข้ำใจกำรเรียนรู้แบบลงมือกระท ำ ประสบกำรณ์ส ำคัญใน โปรแกรมไฮสโคป ประกอบด้วยกำรน ำเสนออย่ำงสร้ำงสรรค์ ภำษำและกำรรู้หนังสือ กำรริเริ่มและ ควำมสัมพันธ์ ทำงสังคมกำรเคลื่อนไหว ดนตรี กำรจ ำแนก กำรเรียงล ำดับ จ ำนวน พื้นที่ และเวลำ 2. ปฏิสัมพันธ์ระหว่ำงผู้ใหญ่และเด็ก (Adult - Child Interaction) กำรเรียนรู้แบบลงมือกระท ำนั้น จะประสบควำมส ำเร็จได้เมื่อผู้ใหญ่และเด็กมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อ กัน ไฮสโคปจึงเน้นให้ผู้ใหญ่สร้ำงบรรยำกำศที่ อบอุ่นและปลอดภัยให้แก่เด็กกำรมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อเด็ก นั้น เป็นกำรสร้ำงควำมมั่นใจให้กับเด็ก เด็กจะกล้ำพูด กล้ำแสดงออก และกล้ำปรึกษำปัญหำ ผู้ใหญ่ จะต้องใส่ใจแม้แต่เรื่องเล็กๆ น้อยๆและไม่เบื่อหน่ำยที่จะตอบ ค ำถำมของเด็ก หรือปูค ำถำมให้เด็ก เกิดควำมคิด จินตนำกำรกำรปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อเด็กนั้นนับได้ว่ำมีคุณค่ำ มำกกว่ำกำรยก ย่อง ชมเชยกำร ให้รำงวัล ปัจจัยส ำคัญในกำรสร้ำงปฏิสัมพันธ์ 1) ควำมไว้วำงใจ (Trust) ควำมไว้วำงใจทั้งต่อตนเองและผู้อื่นประสบกำรณ์ในช่วงนี้เป็น พื้นฐำน ส ำคัญในกำรพัฒนำ “ควำมไว้วำงใจ” ในวัยต่อมำ โดยเริ่มจำกบุคคลในครอบครัวและขยำยต่อไป ยังโรงเรียน และวงสังคมที่กว้ำงขึ้น สิ่งนี้จะเป็นกำรสร้ำงสัมพันธภำพบนพื้นฐำนควำมไว้วำงใจซึ่งกันและ กันต่อไป 2) กำรเป็นตัวของตัวเอง (Autonomy) กำรเป็นตัวของตัวเองเป็น ควำมสำมำรถในกำรพึ่งพำ ตนเอง กำรทดลองท ำสิ่งต่ำง ๆด้วยตนเอง ซึ่งจะท ำให้เกิด ควำมภำคภูมิใจเมื่อท ำส ำเร็จดังนั้นถ้ำผู้ใหญ่ ให้ ก ำลังใจในสิ่งที่เด็กท ำได้ตำมควำมสำมำรถและวิธีกำรของเด็กแต่ละคน เด็กจะพัฒนำควำมเป็นตัวของ ตัวเอง รู้สึกว่ำตนเองเป็นผู้มีควำมสำมำรถพึ่งตนเองและน ำตนเองได้ 3) ควำมคิดริเริ่ม (Initiative) เด็กสำมำรถมีส่วนร่วมในกำรท ำกิจกรรมต่ำงๆซึ่งจะไปสนับสนุน ขั้นควำมเป็นตัวของตัวเอง ถ้ำได้รับอิสระในกำรคิดวำงแผนและริเริ่มท ำกิจกรรมต่ำงๆ ผู้ใหญ่มีเวลำให้กับ เด็ก ในกำรตอบค ำถำมก็จะเป็นกำรส่งเสริมให้เด็กมีแนวโน้มที่จะค้นคว้ำ ศึกษำ และส ำรวจเด็กจะรู้สึก มั่นใจว่ำ ตนเองเป็น บุคคลที่มีควำมสำมำรถในกำรเลือก ตัดสินใจและกระท ำสิ่งต่ำง ๆ ได้ 4) กำรร่วมรับรู้ควำมรู้สึกของผู้อื่น (Empathy) กำรร่วมรับรู้ควำมรู้สึกของผู้อื่นเป็น ควำมสำมำรถในกำรเข้ำใจควำมรู้สึกของผู้อื่น ซึ่งจะช่วยให้เด็กรู้จักสร้ำง มิตรภำพและควำมรู้สึกของกำรตรง ท ำให้เด็กรู้จักวัตถุหลังจำกที่เด็กที่มีส่วนร่วมในช่วงปฐมวัยเด็กมีควำมสำมำรถในกำรใช้ ภำษำดีขึ้นเด็กจะแสดง ควำมรู้สึกของตนเองที่ สำมำรถรับรู้ควำมรู้สึกของผู้อื่นได้มำก ขึ้น


18 5) ควำมเชื่อมั่นในตนเอง (Self-Confidence) ควำมเชื่อมั่นในตนเอง เป็นสิ่งที่แสดงว่ำตนเอง สำมำรถประสบควำมส ำเร็จและสำมำรถช่วยเหลือสังคมได้ควำมเชื่อมั่นในตนเองเป็นสิ่งส ำคัญที่จะ กระตุ้นให้ ต่อสู้กับอุปสรรคและปัญหำต่ำงๆผู้ใหญ่สำมำรถพัฒนำควำมเชื่อมั่นในตนเองของเด็กได้โดย กำรสนับสนุนให้ เด็กมีโอกำสประสบควำมส ำเร็จจำกกำรใช้ควำมสำมำรถของตนเองอย่ำงเหมำะสม เปิด โอกำสให้เด็กเรียนรู้ วิธีกำรแก้ปัญหำด้วยตนเอง 3. กำรจัดสิ่งแวดล้อมกำรเรียนรู้(Learning Environment) กำรจัดสิ่งแวดล้อมในสถำนศึกษำปฐมวัย มีควำมส ำคัญต่อกำรพัฒนำและกำรเรียนรู้ของเด็ก ตำมหลักกำรของไฮสโคป ถือว่ำสิ่งแวดล้อมเป็นเสมือนครู คนที่ 3 และเป็นส่วนหนึ่งของวงล้อกำรเรียนรู้ซึ่งมีสำระครอบคลุม 3 เรื่อง ได้แก่ พื้นที่ สื่อ และกำรจัดเก็บ ดังนี้ 1) พื้นที่กำรจัดแบ่งพื้นที่ภำยในห้องเรียนจะประกอบด้วย 5 ส่วน คือ พื้นที่เก็บของใช้ส่วนตัว เด็ก พื้นที่กิจกรรมกลุ่มใหญ่พื้นที่กิจกรรมกลุ่มย่อย พื้นที่ส ำหรับมุมเล่น และพื้นที่เก็บของใช้ครู 2) สื่อหมำยถึง วัสดุอุปกรณ์ที่หลำกหลำย ทั้งประเภทสองมิติ สำมมิติ สะท้อนวัฒนธรรม ท้องถิ่น สื่อที่เอื้อให้เด็กเรียนรู้ผ่ำนประสำทสัมผัสทั้งห้ำ โดยมีกำรจัดกำรใช้สื่อที่เริ่มต้นจำกสื่อที่เป็น รูปธรรมไปสู่ นำมธรรม กล่ำวคือเริ่มต้นจำกสื่อของ จริง ของจ ำลอง ภำพถ่ำย ภำพโครงร่ำง และ สัญลักษณ์ 3) กำรจัดเก็บไฮสโคปให้ควำมส ำคัญกับระบบจัดสื่อด้วยวงจร “ค้นหำ-ใช้-เก็บคืน” (FindUseReturn Cycle) โดยมีหลักกำรคือ สื่อที่เหมือนกันจัดเก็บหรือจัดวำงไว้ด้วยกัน ภำชนะบรรจุสื่อควร โปร่งใส เพื่อให้เด็กมองเห็นสิ่งที่อยู่ภำยในได้ง่ำยและควรมีมือจับเพื่อให้สะดวกในกำรขนย้ำย และกำรใช้สัญลักษณ์ ควรมีควำมหมำยต่อกำรเรียนรู้ของเด็ก สัญลักษณ์ท ำมำจำกสื่ออุปกรณ์ของจริงภำพถ่ำยหรือ ภำพส ำเนำ ภำพวำด ภำพโครงร่ำงหรือภำพประจุดหรือบัตรค ำติดคู่กับสัญลักษณ์อย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง 4. กิจวัตรประจ ำวัน (Daily Routine) กำรวำงแผนกิจวัตรประจ ำวันของไฮสโคปมีควำมสม่ ำเสมอ เพื่อสนับสนุนกำรเรียนรู้แบบลงมือกระท ำซึ่ง ท ำให้เด็กสำมำรถคำดได้ว่ำช่วงเวลำต่อไปเป็นกิจกรรมใดและท ำ ให้เด็กสำมำรถจัดกำรควบคุมได้ว่ำต้อง ท ำอะไรในกิจกรรมแต่ละช่วงด้วยตนเอง กิจวัตรประจ ำวันส ำหรับเด็ก ของไฮสโคปรวมถึงกระบวนกำร วำงแผน ปฏิบัติ ทบทวน (Plan-do-review process) กิจกรรมกลุ่มย่อย กิจกรรมกลุ่มใหญ่ กิจกรรม กลำงแจ้งตลอดกำรด ำเนินกิจวัตรประจ ำวัน ค ำนึงถึงช่วงต่อระหว่ำงกิจกรรมและ เน้นโอกำสของกำร เรียนรู้แบบลงมือกระท ำ เด็กและครูได้สร้ำงควำมรู้สึกว่ำตนเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน 5. กำรประเมิน (Assessment) ในโปรแกรมไฮสโคปกำรประเมินถือเป็นงำนโดยตรงของครูที่จะต้อง ตั้งใจปฏิบัติและเอำใจใส่ อย่ำงเต็มที่ครูไฮสโคปจะท ำงำนร่วมกันเป็นคณะ โดยจุดมุ่งหมำยหลักของกำร ประเมิน คือกำรประเมิน คุณภำพของโปรแกรม และพัฒนำกำรเด็กซึ่งไฮสโคปได้สร้ำงแบบประเมินคุณภำพ โปรแกรม (High/Scope Program Quality Assessment หรือPQA) และแบบสังเกตบันทึกพฤติกรรมเด็ก (High/Scope Child Observation Record หรือ COR) ดังนี้ 1) แบบประเมินคุณภำพโปรแกรม (PQA) ประกอบด้วยมำตรฐำนด้ำนต่ำงๆ เช่น ด้ำนกำรจัด ห้องเรียน สื่อ วัสดุ ครุภัณฑ์กิจวัตรประจ ำวัน ปฏิสัมพันธ์ระหว่ำงครูกับเด็ก กำรวำงแผนและกำร ประเมินเป็น


19 คณะควำมสัมพันธ์กับพ่อแม่ ผู้ปกครอง กำรฝึกอบรมครูระหว่ำงประจ ำกำรและกำรนิเทศ โดยในแต่ละด้ำนจะ แยกออกเป็นข้อย่อย และแต่ละข้อย่อยจะก ำหนดแนวกำรให้คะแนนออกเป็น 5 ระดับ 2) แบบสังเกตบันทึกพฤติกรรมเด็ก (COR) เป็นเครื่องมือประเมินพัฒนำกำรเด็กที่ไฮสโคปส ร้ำงขึ้นเพื่อน ำมำใช้แทนแบบทดสอบ ซึ่งถือว่ำไม่เหมำะสมกับเด็กแบบสังเกตนี้จะใช้กับเด็กอำยุ2-6 ปีโดยกำร สังเกตเด็กขณะท ำกิจกรรมปกติในแต่ละวันและผู้สังเกตจะต้องผ่ำนกำรฝึกอบรมกำรสังเกตและ บันทึกพฤติกรรม เพื่อที่จะ สำมำรถใช้COR ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ (Magickidschool. ออนไลน์วันที่ 2 มิถุนำยน 2557) 4. สมรรถภำพทำงกลไกของเด็กประถมศึกษำ 4.1 ควำมหมำยสมรรถภำพทำงกำยและสมรรถภำพทำงกลไกสุชำติโสมประยูร (อ้ำงถึงในศิริรัตน์ วัดวิไล, 2548) ได้กล่ำวถึง สมรรถภำพทำงกำยหมำยถึง ควำมสำมำรถในกำรประกอบกิจกรรมได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ติดต่อกันเป็นเวลำนำน ไม่เกิดควำม เมื่อยล้ำอ่อนเพลียและมีพลังควำมแข็งแรงเหลือพอที่จะประกอบกิจกรรม พิเศษ หรือกิจกรรมที่ต้องท ำ ในเวลำฉุกเฉินได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ศิริรัตน์ วัดวิไล (2548) ได้ให้ควำมหมำยสมรรถภำพทำงกำยหมำยถึง “ควำมสำมำรถของ บุคคล ในกำรควบคุมสั่งกำรให้ร่ำงกำยปฏิบัติภำรกิจต่ำงๆอย่ำงได้ผลดีมีประสิทธิภำพเหมำะสมกับ ปริมำณงำนละ เวลำตลอดทั้งวันโดยกำรปฏิบัตินั้นไม่ก่อให้เกิดควำมทุกข์ทรมำนต่อร่ำงกำย อีกทั้งยัง สำมำรถประกอบ กิจกรรมอื่นๆนอกเหนือจำกภำรกิจประจ ำวันได้อีกด้วยควำมกระฉับกระเฉง ปรำศจำกอำกำรเมื่อยล้ำ อ่อนเพลีย“ Cureton (อ้ำงถึงใน ประชำ ฤำชุตกุล,2522) ได้กล่ำวถึง สมรรถภำพทำงกลไก (Motor Fitness) เป็นสมรรถภำพกำรเคลื่อนไหวเฉพำะส่วนของร่ำงกำยที่สำมำรถแสดงออกในลักษณะต่ำง ๆ กัน ได้แก่ ควำมสำมำรถในกำรวิ่ง กำรกระโดด กำรหลบหลีก กำรล้ม กำรปีนป่ำย กำรว่ำยน้ ำ กำรขี่ ม้ำ กำรยกน้ ำหนัก กำรท ำงำนที่ต้องใช้เวลำติดต่อกันเป็นระยะเวลำนำน สมรรถภำพทำงกลไกจึงเป็น ควำมสำมำรถของร่ำงกำย ที่ใช้ประสำทควำมเคลื่อนไหวของกล้ำมเนื้อ พลังของกล้ำมเนื้อ เนื้อเยื้อและ ข้อต่อ และยังรวมไปถึงกำรใช้ กล้ำมเนื้อใหญ่ของร่ำงกำยในกำรเล่นกีฬำ ตลอดจนกำรใช้ทักษะในกำร ท ำงำน สมรรถภำพทำงกลไกยังรวมถึง ควำมสำมำรถในกำรทรงตัว ควำมอ่อนตัว ควำมคล่องแคล่ว ว่องไว ควำมเร็ว ควำมแข็งแรง พลังและควำม ทนทำน นอกจำกนี้สมรรถภำพทำงกลไก เป็นจุดมุ่งหมำยที่ส ำคัญมำกในกำรพัฒนำทำงร่ำงกำย บุคคลใด สำมำรถใช้อวัยวะต่ำง ๆ ของร่ำงกำย เช่นกำรใช้แขน ขำ ล ำตัว อวัยวะอื่น ๆ ฯลฯ ใน ชีวิตประจ ำวันได้อย่ำงดี มีประสิทธิภำพสูง แสดงว่ำบุคคลผู้นั้นมีสมรรถภำพทำงกลไกดีอย่ำงยิ่ง และ จุดมุ่งหมำยร่วมกันประกำรหนึ่ง ของพลศึกษำและกำรศึกษำนั้นก็คือ ต้องกำรให้เด็กมีพัฒนำกำร ทำงด้ำนร่ำงกำยทั้งในด้ำนขนำดและ ควำมสำมำรถในกำรใช้ร่ำงกำยให้มีประสิทธิภำพมำกที่สุด หรือ ควำมสำมำรถอันเพียงพอทั้งในขณะเรียนอยู่ และหลังจำกออกจำกโรงเรียนไปแล้ว แม้ว่ำอำชีพของบุคคลจะต่ำงกัน และกิจกรรมประจ ำวันในกำรประกอบ อำชีพของแต่ละอำชีพก็มีควำมหนักเบำไม่ เท่ำกัน แต่กำรมีสมรรถภำพทำงกลไกสูงจะมีผลดีต่อกิจกรรมของ ทุกอำชีพ (ส ำรวล รัตนำจำรย์ อ้ำงถึงใน ประชำ ฤำชุตกุล, 2522)


20 โดยเหตุที่คนส่วนมำกยังเข้ำใจควำมหมำยของสมรรถภำพทำงกำย สมรรถภำพกลไก และ ควำมสำมำรถทำงกลไกทั่วไปสับสนอยู่ จึงขออธิบำยควำมหมำยของสมรรถภำพทำงกำย สมรรถภำพ กลไก และควำมสำมำรถทำงกลไกทั่วไป โดยพิจำรณำควำมสัมพันธ์ในแผนภูมิ(Clarke อ้ำงถึงใน ประชำ ฤำชุตกุล, 2522) อธิบำยดังต่อไปนี้ ตำรำง 1 แสดงองค์ประกอบของควำมสำมำรถทำงกลไกทั่วไป สมรรถภำพกลไก สมรรถภำพทำงกำย สมรรถภำพกลไก กำร ประสำน งำนของ แขนกับ ตำ พลัง กล้ำม เนื้อ คล่อง แคล่ว ว่องไว ควำม แข็งแรง ของ กล้ำม เนื้อ ควำม ทนทำน ของ กล้ำม เนื้อ ควำม ทนทำน ของ ระบบ ไหลเวียน โลหิต ควำม อ่อนตัว ควำม เร็ว กำร ประสำน งำนของ เท้ำและ ตำ ควำมสำมำรถทำงกลไกทั่วไป จะเห็นว่ำสมรรถภำพทำงกำย และสมรรถภำพกลไกนั้น ต่ำงก็หมำยถึงสมรรถภำพของกำร ท ำงำนของอวัยวะ ต่ำง ๆ ของร่ำงกำยด้วยกันทั้งสองค ำ คือ สมรรถภำพทำงกำย (Physical Fitness) ประกอบด้วย ควำมแข็งแรง ของกล้ำมเนื้อ (Muscular Strength) ควำมทนทำนของกล้ำมเนื้อ (Muscular Endurance) และควำมทนทำน ของระบบไหลเวียนโลหิต (Circulatory Endurance) เท่ำนั้น ส่วนสมรรถภำพกลไก (Motor Fitness) นั้น นอกจำกควำม แข็งแรงของกล้ำมเนื้อ ควำมทนทำนของกล้ำมเนื้อ ควำมทนทำนของกำรไหลเวียนโลหิต ซึ่ง เป็น ส่วนประกอบของสมรรถภำพทำงกำยแล้ว ยังประกอบไปด้วย พลังกล้ำมเนื้อ (Muscular Power) ควำมเร็ว (Speed) ควำมคล่องแคล่วว่องไว (Agility) ควำมอ่อนตัว (Flexibility) และถ้ำรวมกำร ประสำนงำน ของแขนกับตำ (Arm - eye coordination) เท้ำกับตำ (Foot -eye coordination) ใน กำรเลื่อนไหวเท้ำด้วย แล้ว จะเป็นสมรรถภำพทำงกลไกทั่วไป (General motor ability) 4.2 องค์ประกอบของสมรรถภำพทำงกลไก สมรรถภำพทำงกลไกหรือสมรรถภำพเชิงทักษะปฏิบัติ หมำยถึง ควำมสำมำรถ ทำง ร่ำงกำยที่ช่วยให้บุคคลสำมำรถประกอบกิจกรรมทำงกำย โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำร เล่นกีฬำได้สมรรถภำพทำงกลไก มีองค์ประกอบของควำมสำมำรถอยู่ 6 ด้ำน คือ 1) ควำมคล่องแคล่ว หมำยถึง ควำมสำมำรถในกำรเปลี่ยนทิศทำงกำรเคลื่อนที่ได้อย่ำง รวดเร็ว และควบคุมได้ รูปแบบที่นิยมน ำมำใช้ทดสอบ เช่น กำรวิ่งเก็บของกำรวิ่งซิกแซ็ก 2) กำรทรงตัว หมำยถึง ควำมสำมำรถในกำรรักษำควำมสมดุลร่ำงกำยในขณะอยู่กับที่ หรือขณะ เคลื่อนที่รูปแบบที่นิยมน ำมำใช้ในกำรทดสอบ เช่น กำรทดสอบยืนเท้ำเดียว กำรเดินโดยมีสิ่ง กีดขวำงไว้บน ศีรษะ


21 3) กำรประสำนสัมพันธ์ หมำยถึง ควำมสำมำรถในกำรเคลื่อนไหวร่ำงกำยได้อย่ำงรำบรื่น กลมกลืน และมีประสิทธิภำพ ซึ่งเป็นกำรท ำงำนประสำนสอดคล้องกันระหว่ำง ตำ-มือ-เท้ำ รูปแบบที่ นิยม น ำมำใช้ในกำรทดสอบ เช่น กำรขว้ำงลูกบอล กำรรับส่งลูกบอลกระทบผนัง 4) พลังกล้ำมเนื้อ หมำยถึง ควำมสำมำรถของกล้ำมเนื้อที่ออกแรงสูงสุดในเวลำสั้นสุด รูปแบบที่ นิยมน ำมำใช้ในกำรทดสอบ เช่น กำรยืนกระโดดไกล กำรทุ่มน้ ำหนัก 5) เวลำปฏิกิริยำตอบสนอง หมำยถึง ระยะเวลำที่ร่ำงกำยใช้ในกำรตอบสนองต่อสิ่งเร้ำ ต่ำง ๆ รูปแบบที่นิยมน ำมำใช้ทดสอบ เช่น กำรเคลื่อนไหวหรือหยุดเคลื่อนไหวร่ำงกำยเมื่อได้ยินเสียง หรือมองเห็น แสง 6) ควำมเร็ว หมำยถึง ควำมสำมำรถในกำรเคลื่อนที่จำกที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งอย่ำง รวดเร็ว รูปแบบที่นิยมมำใช้ทดสอบ เช่น กำรวิ่งเร็วในระยะไม่เกิน 50 เมตร (อุทัย สงวนพงศ์. 2555) 4.3 ควำมส ำคัญและคุณค่ำของสมรรถภำพทำงกลไก ไพฑูรย์ จัยสิน (อ้ำงถึงใน วำรุนีย์ พันธ์ศรี, 2551) กล่ำวว่ำสมรรถภำพทำงร่ำงกำยเป็น รำกฐำนที่ ท ำให้มนุษย์สำมำรถประกอบภำรกิจในชีวิตประจ ำวันได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ สำมำรถสร้ำง ผลิตผลให้ได้ใน ระดับสูงอันมีผลไปถึงกำรพัฒนำประเทศชำติด้วย Kaluger (อ้ำงถึงใน วำรุนีย์ พันธ์ศรี, 2551) ได้สรุปควำมส ำคัญเกี่ยวกับพัฒนำกำรด้ำน ร่ำงกำย เด็กวัย 5 ปีว่ำมีกล้ำมเนื้อที่พัฒนำไปอย่ำงรวดเร็วคือ 75 % ของน้ ำหนักร่ำงกำยที่เพิ่มขึ้น เป็น ผลของกำร พัฒนำกล้ำมเนื้อมัดใหญ่มำกกว่ำกล้ำมเนื้อมัดเล็ก ดังนั้นผู้ที่เกี่ยวข้องควรจัดกิจกรรม ส่งเสริมสมรรถภำพทำง กลไกด้ำนกำรท ำงำนประสำนของอวัยวะต่ำงๆ ของร่ำงกำยส ำหรับเด็กในวัยนี้ ธนู ประเสริฐศรี(2545 อ้ำงถึงใน วำรุนีย์ พันธ์ศรี, 2551) กล่ำวว่ำเด็กปฐมวัยเป็นวัยที่ ต้องได้รับ ควำมสนใจในกำรเตรียมควำมพร้อมทั้งทำงร่ำงกำย อำรมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญำ จ ำเป็นอย่ำงยิ่งที่ จะต้องได้รับกำรปูพื้นฐำนกำรแนะแนวกำรเคลื่อนไหวร่ำงกำยที่ถูกต้องเหมำะสม และปลอดภัยเพรำะกำร เคลื่อนไหวที่ถูกต้องย่อมเป็นกำรปูพื้นฐำนทำงทักษะกลไกของร่ำงกำยที่ดีอัน จะน ำไปสู่กำรพัฒนำด้ำนอื่น สรุป ได้ว่ำสมรรถภำพทำงกลไกมีควำมส ำคัญมำกส ำหรับเด็กอำยุระหว่ำง 3- 5 ปีพื้นฐำนทำงร่ำงกำยน ำไปสู่ควำม พร้อมด้ำนอื่นๆคือ อำรมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญำ 4.4 ควำมส ำคัญของกำรทดสอบสมรรถภำพทำงกลไก กำรทดสอบสมรรถภำพทำงกลไก หมำยถึง กำรวัดและประเมินค่ำควำมสำมำรถในกำร ท ำงำนของอวัยวะต่ำงๆ ของร่ำงกำยที่ส่งเสริมให้ร่ำงกำยมีกำร เคลื่อนไหวอย่ำงมีประสิทธิภำพ โดยใช้แบบทดสอบสมรรถภำพทำงกลไกเป็นเครื่องมือในกำรประเมินผล โดย มุ่งเน้นกำรทดสอบที่ครอบคลุม องค์ประกอบของสมรรถภำพทำงกลไกที่เกี่ยวข้องกับควำมสำมำรถในกำรทรง ตัว ควำมอ่อนตัว ควำม คล่องแคล่วว่องไว ควำมแข็งแรงของกล้ำมเนื้อ พลังของกล้ำมเนื้อ และควำมอดทน ของกล้ำมเนื้อ ภำพรวมของควำมส ำคัญของกำรทดสอบสมรรถภำพทำงกลไกช่วยให้ทรำบถึงควำมสำมำรถใน กำร ท ำงำนของอวัยวะส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำยที่ส่งผลถึงระบบของร่ำงกำยโดยรวม และผลที่ได้จำกกำร ทดสอบดังกล่ำวยังสำมำรถที่จะน ำมำใช้กำรพิจำรณำวำงแผนในกำรสร้ำงโปรแกรมเพื่อพัฒนำ ปรับปรุงควำมสำมำรถในกำรท ำงำนของอวัยวะหรือกลไกเฉพำะส่วน จะช่วยส่งเสริมให้มีสมรรถภำพ ทำงกำย


22 ที่สมบูรณ์และท ำงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ซึ่งจะน ำไปสู่ควำมสำมำรถในกำรประกอบ กิจกรรมกำรออกก ำลัง กำยหรือกำรเล่นกีฬำได้อย่ำงมีประสิทธิภำพต่อไป (วัฒนำ ตรงเที่ยง. 2552 ออนไลน์วันที่ 7 มิถุนำยน 2557) 4.4.1 วิธีกำรทดสอบสมรรถภำพทำงกลไกกำรทดสอบสมรรถภำพทำงกลไกมีวิธีปฏิบัติอยู่หลำย วิธีขึ้นอยู่กับรำยกำรที่ก ำหนด ไว้ในแบบทดสอบนั้นๆ บำงทดสอบอำจถูกสร้ำงขึ้นมำเพื่อใช้วัดองค์ประกอบใน ด้ำนใด ด้ำนหนึ่ง โดยเฉพำะแต่บำงทดสอบก็ถูกออกแบบมำเพื่อให้สำมำรถวัดได้ครบทุกองค์ประกอบ เพื่อให้ นักเรียน สำมำรถที่จะท ำกำรทดสอบและแปลผลสมรรถภำพทำงไกลของตนเองและเพื่อนๆ ในระดับชั้นนี้ได้ นักเรียนจะได้ศึกษำและใช้แบบทดสอบสมรรถภำพทำงกลไกที่กรมพลศึกษำได้จัดพิมพ์เผยแพร่ เพื่อ ใช้เป็น คู่มือแนะน ำวิธีกำรทดสอบสมรรถภำพทำงกลไกของนักเรียนและเยำวชน ซึ่งแบบทดสอบ ดังกล่ำวนี้ได้แปล จำกต้นฉลับสมรรถภำพทำงกลไกที่สมำคมกีฬำสมัครเล่นแห่งประเทศญี่ปุ่น ได้ออกแบบไว้ และสำมำรถที่จะ น ำมำใช้กับผู้ที่มีอำยุระหว่ำง 4-65 ปีได้(เพื่อให้เหมำะกับข่ำวช่วงชั้น และอำยุของนักเรียนในระดับนี้ได้น ำเสนอ เกณฑ์กำรแปลผลของผู้รับกำรทดสอบที่มีอำยุระหว่ำง 13- 16 ปีแสดงไว้) 4.4.2 หลักกำรเบื้องต้นและแนวทำงปฏิบัติในกำรทดสอบ ก่อนปฏิบัติกิจกรรมกำรทดสอบ สมรรถภำพทำงกลไก เพื่อให้เกิดควำมปลอดภัย และได้รับผลจำกำรทดสอบโดยชัดเจน นักเรียนต้องท ำควำม เข้ำใจและให้ควำมส ำคัญในเรื่องต่อไปนี้ 4.4.2.1 หลักกำรเบื้องต้นของข้อที่ควรระลึกถึง มีดังนี้ 1) กำรทดสอบสมรรถภำพทำงกลไก เป็นกำรทดสอบควำมสำมำรถและ ประสิทธิภำพของกำรท ำงำนของอวัยวะเฉพำะบุคคล ซึ่งกำรทดสอบไม่ใช่กำรแข่งขัน ดังนั้นผู้รับกำร ทดสอบ จะต้องแสดงประสิทธิภำพที่ระบุไว้ในกำรทดสอบในแต่ละรำยกำรอย่ำงเต็มควำมสำมำรถของ ตนเอง 2) ต้องรู้จักส ำรวจข้อบกพร่องที่เกี่ยวกับปัญหำสุขภำพของตนเอง หำกพบว่ำมี ปัญหำในเรื่องใดควรได้ปรึกษำ หรือรับกำรตรวจสอบจำกแพทย์ก่อนท ำกำรทดสอบ โดยต้องค ำนึงถึง รำยกำร ที่ก ำหนดไว้ในแบบทดสอบ บำงรำยกำรอำจไม่เหมำะกับผู้ที่มีปัญหำทำงด้ำนสุขภำพ เช่น ผู้ที่ มีปัญหำทำง โรคหัวใจ ควรให้ควำมระมัดระวังในรำยกำรทดสอบที่ต้องใช้ระยะทำงหรือควำมเร็วใน กำรเคลื่อนไหวร่ำงกำย 3) หำกพบว่ำมีอำกำรผิดปกติของร่ำงกำยเกิดขึ้นในขณะท ำกำรทดสอบ เช่น เกิด อำกำรหน้ำมือ หำยใจติดขัด คลื่นไส้ ฯลฯ ไม่ควรที่จะฝึกท ำกำรทดสอบต่อ เพรำะอำจะเกิดอันตรำย หรือมี ผลเสียต่อสุขภำพได้ 4) ผลที่ได้จำกกำรทดสอบสมรรถภำพทำงกลไก สำมำรถที่น ำมำเปรียบเทียบได้ ใน 2 ลักษณะคือ ลักษณะที่เป็นควำมสำมำรถในภำพรวม และลักษณะควำมสำมำรถเฉพำะส่วน (อวัยวะ) อย่ำงไรก็ตำมเมื่อพิจำรณำที่จะปรับปรุงสมรรถภำพทำงกลไกให้ดีขึ้น ควรน ำผลที่ได้จำกสมรรถภำพ เฉพำะ ส่วนมำพิจำรณำโดยเฉพำะ 4.4.2.2 แนวกำรปฏิบัติในกำรทดสอบ มีดังนี้ 1) ควรเตรียมเสื้อผ้ำเครื่องแต่งกำย อุปกรณ์ และสถำนที่ให้มีควำมเหมำะสม และเอื้อต่อกำรทดสอบ 2) ไม่ควรทดสอบหลังจำกออกกก ำลังกำยหรือรับประทำนอำหำรเสร็จมำใหม่ ๆ


23 3) ก่อนกำรทดสอบทุกครั้งต้องมีกำรอบอุ่นร่ำงกำยก่อน 4) ในกำรเลือกคู่ทดสอบเพื่อช่วยท ำหน้ำที่บันทึก ควรเลือกผู้ที่มีขนำด ส่วนสูง หรือลักษณะใกล้เคียงกัน และควรให้ชำยคู่กับชำย หญิงคู่กับหญิง เพรำะบำงรำยกำรอำจต้องใช้คู่เป็น อุปกรณ์ ประกอบกำรทดสอบ 5) กำรทดสอบที่ใช้แบบทดสอบสมรรถภำพทำงกลไก ซึ่งกรมพลศึกษำได้ เสนอแนะไว้ประกอบด้วยกำรทดสอบ 5 รำยกำร รำยกำรที่ 1-4 จะทดสอบรำยกำรใดก่อนก็ได้ยกเว้นรำยกำร ที่ 5 ควรใช้เป็นรำยกำรสุดท้ำยในกำรทดสอบ 4.2.3 รำยกำรและวัตถุประสงค์ของกำรทดสอบสมรรถภำพทำงกลไก แบบทดสอบ สมรรถภำพทำงกลไกที่กรมพลศึกษำได้น ำเสนอไว้ประกอบด้วย กำร ทดสอบ 5 รำยกำรได้แก่ กำรยืนกระโดด ไกล กำรท ำลุก-นั่ง กำรดันพื้น กำรวิ่งกลับตัว และกำรวิ่ง 5 นำที ซึ่งแต่ละรำยกำรมีวัตถุประสงค์ของกำร ทดสอบเพื่อวัดควำมสำมำรถด้ำนองค์ประกอบของ สมรรถภำพทำงกลไกในแต่ละด้ำน แต่บำงรำยอำจเป็นกำร ทดสอบเพื่อวัดควำมสำมำรถของ องค์ประกอบในหลำยด้ำน ดังนี้ รำยกำรที่ 1 กำรยืนกระโดดไกล เป็นกำรทดสอบทำงด้ำนพลังของกล้ำมเนื้อขำ รำยกำรที่ 2 กำรทุกลุก-นั่ง เป็นกำรทดสอบทำงด้ำนควำมอดทนของกล้ำมเนื้อหน้ำท้องและ ส่วนหลัง รำยกำรที่ 3 กำรดันพื้น เป็นกำรทดสอบทำงด้ำนควำมทอดนของกล้ำมเนื้อแขนและหัวไหล่ รำยกำรที่ 4 กำรวิ่งกลับตัว เป็นกำรทดสอบทำงด้ำนควำมคล่องแคล่วว่องไว ควำมเร็ว กำร ประสำน สัมพันธ์และกำรทรงตัว รำยกำรที่ 5 กำรวิ่ง 5 นำที เป็นกำรทดสอบทำงด้ำนควำมอดทนของระบบไหลเวียนโลหิต และควำม อดทนของกล้ำมเนื้อ (เดือนเพ็ญ เพียภู. 2553 ออนไลน์วันที่ 7 มิถุนำยน 2557) 4.5 หลักกำรส่งเสริมสมรรถภำพทำงกลไกของเด็กประถมศึกษำ หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย พุทธศักรำช 2546 (กระทรวงศึกษำธิกำร, 2546) กล่ำวถึง เด็กอำยุระหว่ำง 3-5 ปีว่ำเป็นวัยที่มีร่ำงกำยและ สมองก ำลังเจริญเติบโตผู้ใหญ่ควรส่งเสริมให้เด็กใน วัยนี้ได้รับกำรเรียนรู้จำกกำรใช้ประสำทสัมผัสทั้ง 5 ในกำร ส ำรวจกำรเล่นกำรทดลอง กำรค้นพบด้วย ตนเองมีโอกำสแก้ปัญหำเลือกและตัดสินใจใช้ภำษำสื่อควำมหมำย คิดริเริ่มสร้ำงสรรค์อยู่ร่วมกับผู้อื่น ได้อย่ำงมีควำมสุข แนวคิดเกี่ยวกับกำรเล่นแนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมและ สังคมที่กล่ำวไว้ในหลักสูตร คือ กำรเล่นของเด็กเป็นกิจกรรมที่ส ำคัญในชีวิตเด็กทุกคนกำรเล่นท ำให้รู้สึก สนุกสนำนเพลิดเพลิน ได้สังเกตได้มีโอกำสทดลองสร้ำงสรรค์คิดแก้ปัญหำและค้นพบด้วยตัวเอง กำรเล่นจะมี อิทธิพลและมีผล ต่อกำรเจริญเติบโตของเด็กช่วยพัฒนำร่ำงกำย อำรมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญำ สภำพทำง สังคม วัฒนธรรมและธรรมชำติที่เด็กอำศัยอยู่สิ่งต่ำงๆเหล่ำนี้มีอิทธิพลต่อกำรเรียนรู้กำรพัฒนำศักยภำพให้เกิด กำรเรียนรู้และอยู่กับผู้อื่นได้อย่ำงมีควำมสุขแนวทำงในกำรจัดกิจกรรมส ำหรับเด็กอำยุ3-5 ปีสำมำรถจัด กิจกรรมประจ ำวันได้หลำยรูปแบบ เป็นกำรช่วยให้ทั้งผู้สอนและเด็กทรำบว่ำแต่ละวันจะ ท ำกิจกรรมอะไร เมื่อใดและอย่ำงไรเพื่อให้สอดคล้องกับควำมสนใจและวุฒิภำวะของเด็กโดยค ำนึงถึง องค์ประกอบต่ำงๆดังนี้


24 1) ระยะเวลำกล่ำวคือเด็กในช่วงอำยุที่ต่ำงกันจะมีควำมสนใจกิจกรรมดังนี้เด็กวัย 3 ขวบ มี ควำมสนใจช่วงสั้นประมำณ 8 นำทีเด็กวัย 4 ขวบ มีควำมสนใจช่วงสั้นประมำณ 12 นำทีเด็ก วัย 5 ขวบ มี ควำมสนใจช่วงสั้นประมำณ 15 นำที 2) กิจกรรมที่จัดควรมีลักษณะดังนี้กิจกรรมที่ต้องใช้ควำมคิดทั้งในกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ ไม่ควร ใช้เวลำต่อเนื่องนำนเกินกว่ำ 20 นำทีกิจกรรมที่เด็กมีอิสระเลือกเล่นเสรีเช่น กำรเล่นตำมมุม กำรเล่นกลำงแจ้ง กำรเล่นใช้เวลำประมำณ 40-60 นำทีกิจกรรมควรมีควำมสมดุลระหว่ำงกิจกรรมใน ห้องและนอกห้องกิจกรรม ที่ต้องใช้กล้ำมเนื้อใหญ่และกล้ำมเนื้อเล็ก กิจกรรมที่เป็นรำยบุคคลกลุ่มย่อย และกลุ่มใหญ่กิจกรรมที่เด็กเป็นผู้ ริเริ่มและครูเป็นผู้ริเริ่มและกิจกรรมที่ต้องใช้ก ำลังและไม่ใช้ก ำลัง ควรจัดให้ครบทุกประเภททั้งนี้กิจกรรมที่ต้อง ออกก ำลังกำย ควรจัดสลับกับกิจกรรมที่ไม่ต้องออกก ำลัง มำกนักเพื่อเด็กจะได้ไม่เหนื่อยเกินไป 3) รูปแบบกำรจัดกิจกรรมประจ ำวันหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัยพุทธศักรำช 2546 ได้ให้ แนวทำงในกำรจัดตำรำงกิจกรรมประจ ำวันไว้พอสังเขปดังนี้ 8.30-9.00 รับเด็กเคำรพธงชำติ 9.00-9.30 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ 9.30-10.30 กิจกรรมเสรี 10.30-10.40 พักรับประทำนอำหำรว่ำง 10.40-11.20 กิจกรรมกลำงแจ้ง 11.20-11.30 พัก (ล้ำงมือ-ล้ำงหน้ำ) 11.30-11.50 กิจกรรมเสริมประสบกำรณ์ 11.50-13.00 พัก (รับประทำนอำหำรกลำงวัน) 13.00-15.00 นอนพักผ่อน 15.00-15.10 เก็บที่นอนล้ำงหน้ำ 15.10-15.30 พัก (รับประทำนอำหำรว่ำง) 15.30-15.50 เล่ำนิทำน 15.50-16.00 เตรียมตัวกลับบ้ำน สรุปหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัยพุทธศักรำช 2546 ได้ก ำหนดแนวทำงในกำรจัด กิจกรรม ประจ ำวันโดยครอบคลุม 6 กิจกรรมหลัก ได้แก่กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสรีกิจกรรมเสริม ประสบกำรณ์กิจกรรมสร้ำงสรรค์กิจกรรมกลำงแจ้ง และกิจกรรมเกมกำรศึกษำ จำกควำมหมำยแนวคิดและองค์ประกอบของสมรรถภำพทำงกลไกที่มีผู้รู้ศึกษำไว้หลำยท่ำน สรุปควำมหมำยของสมรรถภำพทำงกลไกได้คือ ควำมสำมำรถในกำรใช้พลังของกล้ำมเนื้อ ในกำรเคลื่อนไหว กำรท ำงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพให้บรรลุตำมวัตถุประสงค์โดยมีองค์ประกอบคือพลัง ของกล้ำมเนื้อ (Muscle power) ควำมแข็งแรงของกล้ำมเนื้อ (Muscle strength) ควำมอดทนของ กล้ำมเนื้อ (Muscle endurance) ควำมอ่อนตัว (Flexibility) ควำมคล่องแคล่วว่องไว (Agility) และ 39 ควำมเร็ว (Speed) ดังนั้นเด็กที่ได้รับกำร ฝึกสมรรถภำพทำงกลไกท ำให้อวัยวะต่ำงๆของร่ำงกำย เคลื่อนไหวและท ำงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ส่งผลให้ เด็กมีควำมพร้อมทำงด้ำนร่ำงกำยและปฏิบัติกิจกรรมต่ำงๆในชีวิตประจ ำวันได้เป็นอย่ำงดี


25 บทที่3 วิธีกำรด ำเนินกำรวิจัย กำรวิจัยครั้งนี้เป็นกำรวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) เพื่อศึกษำผลกำรฝึกกำรละเล่น พื้นบ้ำนที่มีต่อพัฒนำกำรของเด็กประถมวัยที่ก ำลังศึกษำอยู่ชั้นประถมศึกษำ โรงเรียนโรงเรียนอนุบำลอุดรธำนี เลขที่ 101 ชุมชนโพธิ์ทอง ถนนศรีสุข ต ำบลหมำกแข้ง อ ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธำนี ประชำกรกลุ่มตัวอย่ำง ประชำกร ประชำกรที่ใช้ในกำรวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชำย-หญิงระดับประถมศึกษำ ที่ก ำลังศึกษำอยู่ชั้น ประถมศึกษำ โรงเรียนโรงเรียนอนุบำลอุดรธำนี เลขที่ 101 ชุมชนโพธิ์ทอง ถนนศรีสุข ต ำบลหมำกแข้ง อ ำเภอ เมือง จังหวัดอุดรธำนี กลุ่มตัวอย่ำง กลุ่มตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรวิจัยครั้งนี้นี้เป็นนักเรียนชำย - หญิงระดับระดับประถมศึกษำ ที่ก ำลังศึกษำอยู่ ชั้นประถมศึกษำ โรงเรียนโรงเรียนอนุบำลอุดรธำนี เลขที่ 101 ชุมชนโพธิ์ทอง ถนนศรีสุข ต ำบลหมำกแข้ง อ ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธำนี โดย วิธีกำรเลือกตัวอย่ำงแบบเจำะจง (purposive sampling) จ ำนวน 423 คน ซึ่งเด็กประถมมีร่ำงกำย สมบูรณ์แข็งแรง โดยเลือกจำกแบบบันทึกสุขภำพและครูประจ ำชั้นยอมรับเงือนไขกำร วิจัยครั้งนี้ เครื่องมือในกำรวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 1. แผนกำรจัดประสบกำรณ์โดยใช้กิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนจ ำนวน 12 กิจกรรม ที่ผู้วิจัย สร้ำงขึ้น 2. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้เรื่องกำรละเล่นพื้นบ้ำน ที่ผู้วิจัยสร้ำงขึ้น 3. แบบทดสอบสมรรถภำพทำงกลไกส ำหรับเด็กปฐมวัยของมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์(Kasetsart Motor Fitness Test) ขั้นตอนในกำรสร้ำงเครื่องมือกำรวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในกำรปฏิบัติกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนมีขั้นตอนกำรสร้ำงดังนี้ 1. แผนกำรจัดกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนจ ำนวน 12 กิจกรรม กิจกรรมละ 1 ชั่วโมง มีล ำดับ ขั้นตอนกำรสร้ำงและคุณภำพดังนี้


26 1.1 ศึกษำคู่มือหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัยพุทธศักรำช25461 1.2 ศึกษำเอกสำรคู่มือกำรจัดกิจกรรมเกมและกำรเล่นกลำงแจ้งส ำหรับเด็กระดับ ปฐมวัย 1.3 ศึกษำเอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกำรจัดกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำน 1.4 ศึกษำเอกสำรต ำรำที่เกี่ยวข้องกับกำรจัดกิจกรรมกำรละเล่นของเด็กไทย 1.5 สร้ำงแผนกำรจัดกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนโดยเลือกกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนที่มีควำม เหมำะสม และส่งเสริมพัฒนำกำรทำงด้ำนสมรรถภำพทำงกลไกของเด็กปฐมวัยในแต่ละด้ำนที่ ผู้วิจัยเห็นว่ำ เหมำะสมทั้ง 6 ด้ำน เสนอต่ออำจำรย์ที่ปรึกษำวิทยำนิพนธ์หลักและอำจำรย์ที่ปรึกษำ วิทยำนิพนธ์ร่วมเพื่อ ตรวจสอบปรับปรุงแก้ไข 1.6 น ำแผนกำรฝึกกำรละเล่นพื้นบ้ำนของนักเรียนปฐมวัยที่ผ่ำนควำมเห็นชอบของอำจำรย์ที่ ปรึกษำวิทยำนิพนธ์หลักและอำจำรย์ที่ปรึกษำวิทยำนิพนธ์ร่วมและผ่ำนกำรทดลองใช้1 สัปดำห์หลัง จำกนั้นไป หำควำมเที่ยงตรงโดยผู้เชี่ยวชำญจ ำนวน 5 ท่ำนเป็นผู้พิจำรณำตรวจสอบปรับปรุงแก้ไขและ ให้ค ำแนะน ำ 1.7 น ำแผนกำรฝึกกำรละเล่นพื้นบ้ำนของนักเรียนระดับปฐมวัย ที่ผ่ำนผู้เชี่ยวชำญแล้ว น ำไปใช้ กับกลุ่มตัวอย่ำงต่อไป 2. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้เรื่องกำรละเล่นพื้นบ้ำน 3. แบบทดสอบสมรรถภำพทำงกลไกส ำหรับเด็กปฐมวัยของมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์(Kasetsart Motor Fitness Test) มีดังต่อไปนี้ 3.1 แบบทดสอบสมรรถภำพทำงกลไกส ำหรับเด็กปฐมวัยของมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ (Kasetsart Motor Fitness Test) ประกอบด้วยวิธีกำรทดสอบ 6 ด้ำนดังนี้ (สุพิตร สมำหิโต, 2535) 3.1.1 กำรนั่งงอตัวไปข้ำงหน้ำ ใช้ทดสอบควำมอ่อนตัวของกล้ำมเนื้อหลัง 3.1.2 กำรลุก-นั่ง 30 วินำที ใช้ทดสอบควำมแข็งแรงของกล้ำมเนื้อหน้ำท้องและควำมอดทน ของกล้ำมเนื้อท้อง 3.1.3 กำรวิ่งเร็ว 20 เมตร ใช้ทดสอบควำมเร็ว 3.1.4 กำรยืนกระโดดไกล ใช้ทดสอบพลังและควำมแข็งแรงของกล้ำมเนื้อขำ 3.1.5 กำรวิ่งเก็บของ 3 จุด ใช้ทดสอบควำมคล่องแคล่วว่องไว 3.1.6 กำรขว้ำงลูกบอลไกล ใช้ทดสอบพลังของกล้ำมเนื้อแขน กำรเก็บรวบรวมข้อมูล ในกำรเก็บรวบรวมข้อมูลกำรวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ก ำหนดล ำดับขั้นตอนกำรด ำเนินกำร ดังนี้ 1. ขอหนังสือรับรองแนะน ำตัวผู้วิจัยเพื่อขออนุญำตเก็บรวบรวมข้อมูลและท ำกำรทดลองกำรวิจัย 2. ผู้วิจัยด ำเนินกำรเก็บข้อมูลจำกกลุ่มตัวอย่ำง 3. หลังจำกเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วน ำแบบประเมินทักษะทำงสังคมที่รวบรวมมำท ำกำรตรวจสอบ ควำมสมบูรณ์ของกำรตอบจนครบตำมจ ำนวนกลุ่มตัวอย่ำงที่วิจัยและน ำไปวิเครำะห์ตำมขั้นตอนต่อไป


27 ตำรำง 2 แสดงขั้นตอนกำรด ำเนินกำรทดลองและเก็บข้อมูล กำรวิเครำะห์ข้อมูล ตำรำง 3 แบบแผนกำรทดลอง กลุ่ม สอบก่อน ทดลอง สอบหลัง RE T1 X T2 T3 สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบแผนกำรทดลอง RE แทน กลุ่มทดลองที่ได้จำกกำรสุ่ม X แทน ใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์และกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสมรรถภำพทำงกลไก T1 แทน กำรทดสอบก่อนเรียน (Pretest) T2 แทน กำรทดสอบหลังเรียน (Posttest) T3 แทน กำรทดสอบผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล ผู้วิจัยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS ในกำรวิเครำะห์ข้อมูลต่อไปนี้ 1. ค ำนวณค่ำเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน (S.D.) ของข้อมูลพื้นฐำนที่ได้จำกกลุ่ม ตัวอย่ำง โดยใช้สูตร (ชิดชนก เชิงเชำว์, 2553) x = ∑ x N เมื่อ x แทนคะแนนเฉลี่ย ∑ X แทนผลรวมของคะแนนทั้งหมด N แทนจ ำนวนข้อมูลในกลุ่มตัวอย่ำง สัปดำห์ รำยกำร ก่อนสัปดำห์ที่ 1 ทดสอบสมรรถภำพทำงกลไก 1-8 ท ำกำรฝึกกิจกรรมตำมแผนกำรฝึกกำรละเล่น พื้นบ้ำน หลังกำรฝึก ทดสอบสมรรถภำพทำงกลไก ทดสอบผลสัมฤทธิ์กำร เรียนรู้เรื่อง กำรละเล่นพื้นบ้ำน


28 หำค่ำส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน ค ำนวณจำกสูตร(บุญชม ศรีสะอำด, 2547: 86) SD = (X - X) N -1 เมื่อ SD แทนส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน แทนคะแนนเฉลี่ย N แทน จ ำนวนข้อมูลในกลุ่มตัวอย่ำง X แทนคะแนนของนักเรียนแต่ละคนที่ได้ 2. เปรียบเทียบค่ำเฉลี่ยของสมรรถภำพทำงกลไกและคะแนนผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้ภำยในกลุ่ม ทดลองก่อนและหลังกำรฝึกโดยใช้สูตร t-test dependent (บุญชม ศรีสะอำด, 2547) df = N – 1 D หมำยถึง กำรน ำเอำผลต่ำงของคะแนนครั้งแรกของนักเรียนแต่ละคนมำ บวกกัน D 2 หมำยถึงกำรน ำเอำผลต่ำงของคะแนนครั้งหลังกับครั้งแรกของนักเรียนแต่ ละคนยกก ำลังสอง แล้วน ำมำบวกกัน ( D) 2 หมำยถึงกำรน ำเอำผลต่ำงของคะแนนครั้งแรกและครั้งหลังของนักเรียนแต่ ละคนมำบวกกัน แล้วจึงยกก ำลังสอง N หมำยถึง จ ำนวนนักเรียนที่ทดลอง


29 บทที่ 4 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล กำรวิเครำะห์ข้อมูลกำรวิจัย เรื่องผลของกำรฝึกกำรละเล่นพื้นบ้ำนที่มีต่อพัฒนำกำรของเด็ก ประถม ผู้วิจัยขอเสนอกำรวิเครำะห์ข้อมูลและกำรแปรผลกำรวิเครำะห์ เพื่อศึกษำผลกำรเปลี่ยนแปลง พัฒนำกำรของ เด็กประถมในด้ำนสมรรถภำพทำงกลไกและผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้ที่ได้รับกำรฝึก ด้วยกิจกรรมกำรละเล่น พื้นบ้ำน โดยผู้วิจัยใช้แบบทดสอบสมรรถภำพทำงกลไก ส ำหรับเด็กประถม แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์เรื่อง กำรละเล่นพื้นบ้ำนเป็นเครื่องมือในกำรทดลองที่ผู้วิจัยสร้ำงขึ้น และน ำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มำวิจัย ผล ตำมล ำดับดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐำนของกลุ่มตัวอย่ำง ประกอบด้วย ค่ำเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบน มำตรฐำน (S.D.) ของอำยุ (ปี) ส่วนสูง (เซนติเมตร) และน้ ำหนัก (กิโลกรัม) ตอนที่ 2 กำรเสนอผลของค่ำเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน (S.D.) สมรรถภำพทำง กลไก และผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้ เรื่องกำรละเล่นพื้นบ้ำนของเด็กประถมก่อนและหลังกำรทดสอบ ตอนที่ 3 กำร ทดลองสมมติฐำน และเสนอผลกำรเปรียบเทียบควำมแตกต่ำงของกำรทดสอบสมรรถภำพทำงกลไกและ ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้ของเด็กประถม ก่อนและหลังกำรใช้กิจกรรม กำรละเล่นพื้นบ้ำนที่มีต่อพัฒนำกำรของ เด็กประถม ของกลุ่มทดลอง โดยใช้ค่ำสถิติ t-test dependent ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล รำยละเอียดกำรวิเครำะห์ข้อมูลปรำกฏตำมตำรำงต่อไปนี้ ตอนที่ 1 กำรเสนอข้อมูลพื้นฐำนค่ำเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน (S.D.) ของอำยุ (ปี) ส่วนสูง (เซนติเมตร) และน้ ำหนัก (กิโลกรัม) ของเด็กประถม 51 ตำรำง 4 ข้อมูลพื้นฐำนด้ำนอำยุ (ปี) ส่วนสูง (เซนติเมตร) และน้ ำหนัก (กิโลกรัม) ของเด็กประถม 30 คน ข้อมูลพื้นฐำน ค่ำเฉลี่ย x S.D. อำยุ(ปี) 5.66 0.47 ส่วนสูง(เซนติเมตร) 106.36 5.94 น้ ำหนัก(กิโลกรัม) 16.90 2.50 จำกตำรำง 4 พบว่ำข้อมูลพื้นฐำนด้ำนอำยุ ส่วนสูง และน้ ำหนักซึ่งกลุ่มตัวอย่ำงมีค่ำเฉลี่ยของ อำยุ เท่ำกับ ( x =5.66, S.D. =0.47) กลุ่มตัวอย่ำงมีค่ำเฉลี่ย ของส่วนสูงเท่ำกับ ( x =106.36, S.D. =5.94) และกลุ่มตัวอย่ำงมีค่ำเฉลี่ยของน้ ำหนักเท่ำกับ ( x =16.90, S.D. =2.50) ตอนที่ 2 ผลของค่ำเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน (S.D.) สมรรถภำพทำงกลไกและ ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้ เรื่องกำรละเล่นพื้นบ้ำนของเด็กประถมก่อนและหลังกำรทดสอบ


30 บทที่ 5 กำรอภิปรำยผลกำรวิจัย สรุปผลกำรวิจัย ผลกำรศึกษำข้อมูลพื้นฐำนของเด็กประถมก่อนกำรฝึกกิจกรรมกำรละเล่น พื้นบ้ำน พบว่ำเด็กประถมชำยมีสมรรถภำพทำงกลไก ในด้ำนกำรนั่งงอตัวไปข้ำงหน้ำ กำรลุก - นั่ง 30 วินำที กำรยืน กระโดดไกล กำรวิ่งเก็บของ 3จุด กำรขว้ำงลูกบอลไกล อยู่ในเกณฑ์ระดับปำนกลำง ยกเว้น เรื่องของกำรวิ่งเร็ว 20 เมตร ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ระดับดีส่วนภำยหลังเด็กประถมชำยได้รับกำรฝึก กิจกรรม กำรละเล่นพื้นบ้ำนเป็นเวลำ 8 สัปดำห์ พบว่ำเด็กประถมชำยมีสมรรถภำพทำงกลไก ในด้ำน กำรนั่งงอตัวไปข้ำงหน้ำ กำรลุก-นั่ง 30 วินำที กำรวิ่งเร็ว 20 เมตรกำรยืนกระโดดไกล กำรวิ่งเก็บของ 3 จุด ดีขึ้น คืออยู่ในเกณฑ์ระดับดี ยกเว้นกำรขว้ำงลูก บอลไกลซึ่งอยู่ในเกณฑ์ระดับ ปำนกลำง แต่หำก วิเครำะห์ถึงค่ำเฉลี่ยจะพบว่ำทั้งสองรำยกำร คือ กำรวิ่งเร็ว 20 เมตร และกำรขว้ำงลูกบอลไกล เด็ก ประถมชำยมีพัฒนำกำรที่ดีขึ้น แม้จะมีเกณฑ์กำรประเมินสมรรถภำพ ทำงกลไกอยู่ในระดับเดิม โดย ค่ำเฉลี่ยกำรวิ่งเร็ว 20 เมตร ก่อนกำรฝึกกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำน มีค่ำเฉลี่ย เท่ำกับ 4.89 ภำยหลัง กำรฝึกกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนมีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 4.48 ส่วนกำรขว้ำงลูกบอลไกล ก่อนกำรฝึก กิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำน มีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 3.36 ภำยหลัง กำรฝึกกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนมี ค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 6.95 และหำกวิเครำะห์ตำมควำมถี่ของกำร ทดสอบสมรรถภำพทำงกลไกของเด็ก ประถมชำย จะพบว่ำกำรขว้ำงลูกบอลไกลมีเด็กประถมชำย ที่ กำรทดสอบสมรรถภำพทำงกลไก อยู่ ในเกณฑ์ระดับ ค่อนข้ำงต่ ำมำกกว่ำในระดับอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 46.66 ซึ่งมีจ ำนวนควำมถี่มำกที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์ อื่นๆ 63 ผลกำรศึกษำข้อมูลพื้นฐำนของเด็กประถมหญิง ก่อนกำรฝึก กิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำน พบว่ำ เด็ก ประถมหญิงมีสมรรถภำพทำงกลไก ในด้ำนกำรนั่งงอตัวไป ข้ำงหน้ำ กำรยืนกระโดดไกล อยู่ในเกณฑ์ระดับ ค่อนข้ำงต่อ กำรลุก-นั่ง 30 วินำที กำรวิ่งเก็บของ 3จุด อยู่ในเกณฑ์ระดับปำนกลำง กำรวิ่งเร็ว 20 เมตร และ กำรขว้ำงลูกบอลไกลอยู่ในเกณฑ์ระดับดี ส่วน ภำยหลังเด็กประถมหญิงได้รับ กำรฝึกกิจกรรมกำรละเล่น พื้นบ้ำนเป็นเวลำ 8 สัปดำห์ พบว่ำเด็ก ประถมหญิงมีสมรรถภำพทำงกลไก ในด้ำนกำรนั่งงอตัวไปข้ำงหน้ำ กำร ลุก-นั่ง 30 วินำที กำรยืน กระโดดไกล กำรวิ่งเก็บของ 3จุด ดีขึ้น คืออยู่ในเกณฑ์ระดับปำนกลำง ยกเว้นกำร ขว้ำงลูกบอลไกลซึ่ง อยู่ในเกณฑ์ระดับดี และกำรวิ่งเร็ว 20 เมตร อยู่ในเกณฑ์ระดับดีมำก แต่หำกวิเครำะห์ถึง ค่ำเฉลี่ยจะ พบว่ำทั้งสองรำยกำร คือกำรขว้ำงลูกบอลไกล และกำรวิ่งเร็ว 20 เมตร เด็กประถมหญิงมี พัฒนำกำรที่ ดีขึ้น โดยค่ำเฉลี่ย กำรขว้ำงลูกบอไกล ก่อนกำรฝึกกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำน มีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 4.63 ภำยหลังกำรฝึก กิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนมีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 5.37 ส่วนกำรวิ่งเร็ว 20 เมตร ก่อนกำร ฝึก กิจกรรม กำรละเล่นพื้นบ้ำน มีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 4.92 ภำยหลังกำรฝึกกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนมี ค่ำเฉลี่ย เท่ำกับ 4.71 และหำกวิเครำะห์ตำมควำมถี่ของกำรทดสอบสมรรถภำพทำงกลไกของเด็ก ประถมหญิง จะพบว่ำกำรวิ่งเร็ว 20 เมตร มีเด็กประถมหญิง ที่กำรทดสอบสมรรถภำพทำงกลไก อยู่ ในเกณฑ์ ระดับ ดีมำก มำกกว่ำในระดับอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 13.33 ซึ่งมีจ ำนวนควำมถี่มำกที่สุดเมื่อ เปรียบเทียบกับ เกณฑ์อื่นๆ


31 อภิปรำยผลกำรวิจัย ผลกำรศึกษำพบว่ำ เด็กประถมที่ได้รับกำรฝึกกำรละเล่นพื้นบ้ำน มีพัฒนำกำรในด้ำนของ สมรรถภำพ ทำงกลไกและควำมสำมำรถในกำรเรียนรู้กิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนดีขึ้น ทั้งนี้ดูได้จำก สมรรถภำพทำงกลไก ทั้ง 6 รำยกำรที่พัฒนำขึ้น เช่น ควำมแข็งแรงของกล้ำมเนื้อ เด็กมีควำมสำมำรถ ในกำรท ำลุก-นั่งได้ดีขึ้น และ ในด้ำนของพลังของกล้ำมเนื้อ เด็กสำมำรถขว้ำงลูกบอลไกลได้ดีขึ้น นอกจำกนี้ยังพบว่ำ กิจกรรมกำรละเล่น พื้นบ้ำนยังส่งผลต่อกำรเรียนรู้ของเด็กประถม ในเรื่อง กำรละเล่นพื้นบ้ำน ซึ่งภำยหลังกำรฝึกเป็นเวลำ 8 สัปดำห์นั้น เด็กสำมำรถเรียนรู้ผลจำกกำรฝึก กำรละเล่นพื้นบ้ำนได้ในระดับดีทั้งนี้เกิดจำกกำรกำรที่ผู้วิจัยได้ ก ำหนดให้เด็กฝึกกิจกรรมกำรละเล่น พื้นบ้ำน ซึ่งเป็นกำรละเล่นที่นิยมเล่นกันในหมู่บ้ำน เช่น กิจกรรมกระต่ำย ขำเดียว กิจกรรมเสือกินวัว กิจกรรมงูกินหำง กิจกรรมกระโดดเชือก กิจกรรมเหล่ำนี้เป็นกำรละเล่นพื้นบ้ำนที่ ผู้วิจัยได้ศึกษำ ค้นคว้ำจำกทั้งทำงทฤษฎีและกำรสัมภำษณ์ชำวบ้ำนในพื้นที่ และเป็นกำรละเล่นพื้นบ้ำนที่ เหมำะสม สำมำรถใช้กับเด็กประถมได้ จำกผลกำรทดลองชี้ให้เห็นว่ำ ภำยหลังที่เด็กประถมได้เข้ำร่วมกิจกรรม กำรละเล่นพื้นบ้ำน เด็กประถมมีสมรรถภำพทำงกลไกดีขึ้น ทั้งด้ำนควำมแข็งแรงของกล้ำมเนื้อขำ ควำมอดทน ของ กล้ำมเนื้อ พลังของกล้ำมเนื้อ ควำมเร็ว ควำมคล่องแคล่วว่องไว และควำมอ่อนตัว ซึ่งเกิดจำกกำรที่ เด็ก ประถมได้เคลื่อนที่เคลื่อนไหวโดยใช้กิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำน ทั้งนี้กิจกรรม กำรเคลื่อนไหว ร่ำงกำย (physical movement) เป็นกำรเคลื่อนไหวที่ท ำให้เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำย เพื่อสร้ำงควำม ตระหนักให้กับเด็กในเรื่องหน้ำที่ของร่ำงกำย และสำมำรถควบคุมกำรใช้ งำนส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำยให้สัมพันธ์ กันถูกจังหวะเวลำ กำรเคลื่อนไหวประกอบด้วย กำรควบคุมกำร ใช้กล้ำมเนื้อ 64 แขน ขำ กำรทรงตัว รวมถึง กำรตระหนักเรื่องกำรเคลื่อนไหว โดยกำรเคลื่อนไหว พื้นฐำน ได้แก่ กำรนั่ง กำรยืน กำรเดิน กำรวิ่ง กำร กระโดด กำรกระโจน ซึ่งกำรเคลื่อนไหวพื้นฐำนนี้ สำมำรถท ำให้เกิดกำร พัฒนำกล้ำมเนื้อใหญ่อันได้แก่ แขน ขำ และล ำตัว กำรส่งเสริมให้เด็กประถม เกิดกำรเคลื่อนที่ เคลื่อนไหวนั้น ส่วนมำกนิยมใช้เรื่องของกำรละเล่น เนื่องจำกกำรละเล่นของเด็ก ประถมท ำให้เด็ก ต้องใช้กล้ำมเนื้อมัดใหญ่ในกำรเคลื่อนที่จึงท ำให้เกิดกำรพัฒนำ ทำงด้ำนร่ำงกำย และ พบว่ำกำรเล่น ช่วยส่งเสริมพัฒนำกำรด้ำนต่ำงๆ เช่น ส่งเสริมพัฒนำกำรทำงด้ำนกำยใน ด้ำนกำรฝึกฝน กำรใช้ กล้ำมเนื้อส่วนต่ำงๆ ให้เจริญเติบโต ช่วยส่งเสริมพัฒนำกำรทำงด้ำนอำรมณ์ ท ำให้เด็ก รู้สึก สบำยร่ำเริง แจ่มใส ปรับตัวเข้ำกับสิ่งแวดล้อมต่ำงๆได้ดี ส่งเสริมพัฒนำกำรด้ำนสังคม ท ำให้เด็กรู้จัก เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ แบ่งปันสิ่งของซึ่งกันและกัน รู้จักกำรให้และกำรรับ นอกจำกนั้นกำรเล่นของเด็ก ประถมยังช่วย ส่งเสริมพัฒนำกำรทำงด้ำนสติปัญญำ คือกำรใช้ภำษำได้ดีขึ้น ฝึกกำรแก้ปัญหำและ ส่งเสริมจินตนำกำร และ ควำมคิดสร้ำงสรรค์ของเด็กประถม (คณำจำรย์ชมรมเด็ก, 2545: 16-17) เด็ก ในระดับประถมเป็นที่มีควำม กระตือรือร้น และต้องกำรเคลื่อนไหวร่ำงกำยส่วนต่ำงๆ ตลอดเวลำ กำรละเล่นพื้นบ้ำนจะช่วยส่งเสริมให้เด็กได้ ใช้ประสำทสัมผัสและกำรเคลื่อนไหวด้วยกำร เดิน วิ่ง กระโดด แกว่งแขน ขำ ม้วนตัว ฯลฯ รวมถึงกำร เคลื่อนไหวที่มีควำมสมดุลและประสำน สัมพันธ์กัน ของอวัยวะส่วนต่ำงๆ จะน ำไปสู่กำรพัฒนำกล้ำมเนื้อมัด ใหญ่ให้กับเด็กประถม กำรเล่นเพื่อ พัฒนำ กล้ำมเนื้อมัดใหญ่ส ำคัญกับเด็กคือ กำรที่เด็กมีสุขภำพร่ำงกำย


32 แข็งแรงสมบูรณ์มีกำร เจริญเติบโตตำม วัย มีน้ ำหนักส่วนสูงตำมเกณฑ์มำตรฐำน และไม่มีโรคภัยไข้เจ็บที่บั่นทอน สุขภำพนั้น จะน ำไปสู่กำร เสริมสร้ำงพัฒนำกำรในด้ำนอื่นๆ ทั้งทำงด้ำนอำรมณ์ สังคม และสติปัญญำ พัฒนำกำร ของกล้ำมเนื้อ มัดใหญ่จะมีขั้นตอนอย่ำงต่อเนื่อง โดยพัฒนำกำรของกล้ำมเนื้อมัดใหญ่จะพัฒนำ ก่อน กล้ำมเนื้อมัด เล็ก กำรพัฒนำกล้ำมเนื้อมัดใหญ่สำมำรถท ำได้ด้วยกำรจัดกิจกรรมที่มุ่งให้เด็กได้พัฒนำ ควำมสำมำรถ ในกำรควบคุมกำรเคลื่อนไหวกล้ำมเนื้อแขน กล้ำมเนื้อขำ กำรเคลื่อนไหวของล ำตัว และ สำมำรถ ควบคุมกำรเคลื่อนไหวของกล้ำมเนื้อแขน ขำ และล ำตัวอย่ำงประสำนสัมพันธ์เด็กจะชอบ เล่นด้วย กำร ใช้ส่วนต่ำงๆของร่ำงกำย เช่น กำรวิ่ง กำรกระโดด กำรม้วนตัว กำรไถล กำรควบม้ำ ปีน ป่ำย เล่น เครื่อง เล่นสนำม และชอบเล่นกับเพื่อนเป็นกลุ่ม ดังนั้น กิจกรรมที่ส่งเสริมกำรพัฒนำ กล้ำมเนื้อมัด ใหญ่ให้กับเด็กใน วัยนี้ ได้แก่ กิจกรรมกำรเล่นกลำงแจ้ง กิจกรรมกำรเล่น กำรออกก ำลังกำย และกำร เคลื่อนไหวร่ำงกำย (นิติธร ปิลวำสน์, ออนไลน์ วันที่ 5 กรกฎำคม 2557) ทั้งนี้เมื่อ พิจำรณำจำก กิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนที่ผู้วิจัยได้ ก ำหนดขึ้นนั้น เป็นกิจกรรมที่เน้นกำรเคลื่อนที่ เคลื่อนไหว และ เป็นกิจกรรมกลำงแจ้งสอดคล้องตำมหลัก ทฤษฎีกำรเล่นที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนำกำร ทำงด้ำน กล้ำมเนื้อมัดใหญ่ จึงท ำให้ผลกำรทดลองชี้ให้เห็นว่ำ เด็ก ประถมที่ท ำกำรฝึกกำรละเล่น พื้นบ้ำนมี สมรรถภำพทำงกลไกดีขึ้น จำกกำรศึกษำควำมสำมำรถในกำรใช้ กล้ำมเนื้อมัดใหญ่ โดยใช้ กิจกรรม กำรละเล่นพื้นบ้ำนของนักเรียนบกพร่องทำงสติปัญญำ ระดับปฐมวัย พบว่ำ ควำมสำมำรถใน กำรใช้ กล้ำมเนื้อมัดใหญ่ของนักเรียนมีควำมบกพร่องทำงสติปัญญำ ระดับประถม ภำยหลัง กำรฝึก กิจกรรม กำรละเล่นพื้นบ้ำนนักเรียนมีควำมสำมำรถในกำรใช้กล้ำมเนื้อมัดใหญ่มำกกว่ำก่อนกำรฝึก (สรวงสุดำ มูลมำ รังสรรค์ สิงหเลิศ ประวิทย์ สิมมำทัน และมโนรี อดทน, 2551: 145) 65 สมรรถภำพทำง กลไก เป็นกำรแสดงออกในด้ำนของควำมสำมำรถเบื้องต้นของร่ำงกำย ในกำร เคลื่อนไหวได้อย่ำงมี ประสิทธิภำพ โดยเน้นในเรื่องกำรประสำนกำรเคลื่อนไหวของกล้ำมเนื้อ เนื้อเยื้อ ข้อต่อ รวมไปถึงกำร ใช้ กล้ำมเนื้อมัดใหญ่ๆ ในกำรปฏิบัติทักษะต่ำงๆ ในกำรทำงำนได้เป็นอย่ำงดี (ศิริ ชัย กำญจนำวำสีอ้ำง ถึงใน โสภณ อำภรณ์ศิริโรจน์, 2548: 34) และยังรวมไปถึงกำรใช้กล้ำมเนื้อใหญ่ ของร่ำงกำยในกำร เล่นกีฬำ หรือ ออกก ำลังกำยตลอดจนกำรใช้ทักษะในกำรท ำงำน นอกจำกนี้ สมรรถภำพทำงกลไกเป็น จุดมุ่งหมำยที่ส ำคัญมำกในกำรพัฒนำทำงร่ำงกำย เช่น กำรใช้แขน ขำ ล ำตัว อวัยวะอื่น ๆ ฯลฯ ใน ชีวิตประจ ำวันได้อย่ำงดีมีประสิทธิภำพสูง นั้นแสดงว่ำมีสมรรถภำพทำงกลไกดี (ส ำรวล รัตนำจำรย์ 1973 อ้ำง ถึงใน ประชำ ฤำชุตกุล,2522) พบว่ำกำรฝึกที่เน้นกำรเคลื่อนที่ เคลื่อนไหวจะส่งผลต่อกำร พัฒนำสมรรถภำพ ทำงกลไก เช่น กำรศึกษำผลของกำรฝึกแบบวงจรที่มีต่อ สมรรถภำพทำงกลไกของ นักเรียนหญิง ชั้น ประถมศึกษำปีที่ 1 โรงเรียนอนุบำลอุดรธำนีแสดงให้เห็นว่ำ ภำยหลังกำรฝึกแบบ วงจร ผลของสมรรถภำพทำง กลไก ของนักเรียนหญิงแตกต่ำงกันในรำยกำร กำรยืนกระโดดไกล กำร ลุก-นั่ง กำรดันพื้น กำรวิ่งกลับตัว กำร วิ่ง 5 นำที ซึ่งมีควำมแตกต่ำงกันอย่ำงมีนัยส ำคัญทำงสถิติที่ ระดับ .05 (โสภณ อำภรณ์ศิริโรจน์. 2548: 77) ทั้งนี้เมื่อพิจำรณำจำกกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนที่ ผู้วิจัยได้ก ำหนดขึ้นนั้น เป็นกิจกรรม กำรละเล่นที่เน้นกำร เคลื่อนที่เคลื่อนไหว เพื่อพัฒนำสมรรถภำพ ทำงกลไกให้ดีขึ้น โดยกิจกรรม กำรละเล่นพื้นบ้ำนประกอบด้วย กำรเคลื่อนไหว เช่น กำรวิ่ง กำร กระโดด กำรขว้ำง ซึ่งผลกำรทดลอง ชี้ให้เห็นว่ำ เด็กประถมที่ท ำกำรฝึก กำรละเล่นพื้นบ้ำนมี สมรรถภำพทำงกลไกดีขึ้น จำกกำรศึกษำผล ของกำรใช้เพลงประกอบกำรละเล่นพื้นบ้ำน


33 ที่มีต่อ สมรรถภำพทำงกลไกของเด็กประถมก่อนและหลัง กำรกำรจัดกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำน ผลกำรวิจัย พบว่ำสมรรถภำพทำงกลไกของเด็กประถมหลังกำร ใช้แผนกำรสอนกำรใช้เพลงประกอบกำรละเล่น พื้นบ้ำนที่ มีต่อสมรรถภำพทำงกลไกของเด็กประถม กลุ่มทดลอง พบว่ำสมรรถภำพทำงกลไกทั้ง 6 ด้ำนคือกำรนั่งงอตัวไป ข้ำงหน้ำ กำรลุก-นั่ง 30 วินำที กำรวิ่งเร็ว กำรยืนกระโดดไกล กำรวิ่งเก็บของ 3 จุด กำรขว้ำงลูกบอลไกล เด็ก มีสมรรถภำพทำงกลไก ที่สูงขึ้นทุกด้ำน (วำรุนีย์ พันธ์ศรี. 2551: 45-46 ) นอกจำกนั้นยังพบว่ำเด็กที่ท ำกำรฝึก กำรละเล่นพื้นบ้ำน มีพัฒนำกำรทำงด้ำนกำรเรียนรู้ใน เรื่องของ ควำมเข้ำใจในกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนและ วิธีกำรเล่น รวมถึงสำมำรถบอกถึงประโยชน์ที่ เกิด ขึ้นกับกล้ำมเนื้อหลักของร่ำงกำย ทั้งนี้พบว่ำ เด็กส่วนใหญ่มี คะแนนผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้เรื่อง กำรละเล่นพื้นบ้ำนอยู่ในระดับปำนกลำงจ ำนวน 25 คน จำกจ ำนวนเด็ก ประถมทั้งหมด 30 คน ซึ่ง คะแนนปำนกลำงที่เด็กประถมสำมำรถท ำได้นั้นได้แก่ คะแนน 5 เท่ำกับ 4 คน คะแนน 6 เท่ำกับ 3 คน คะแนน 7 เท่ำกับ 10 คน และคะแนน 8 เท่ำกับ 8 คน ทั้งนี้จะเห็นได้ว่ำช่วงคะแนนที่ เด็กประถม ท ำได้สูงจะอยู่ในช่วงของ 7 และ 8 คะแนน ซึ่งเป็นคะแนนที่เข้ำใกล้เกณฑ์ในระดับดีนั้นแสดงให้ เห็น ว่ำกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนที่ผู้วิจัยก ำหนดขึ้นท ำให้เด็กประถมเกิดกำรเรียนรู้ ทั้งนี้กำรเรียนรู้เป็น กำร เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เป็นผลจำกประสบกำรณ์ที่ดีรับ หรือจำกกำรปฏิบัติอบรมสั่งสอนและ กำรปฏิสัมพันธ์ กับสภำพแวดล้อมที่เอื้อต่อควำมต้องกำร และควำมสนใจของเด็กท ำให้ควำมสำมำรถ ต่ำงๆ ของเด็กถูกน ำ ออกมำใช้อย่ำงมีประสิทธิภำพเต็มที่ ตลอดจนวิธีกำรเรียนรู้ในรูปแบบของกำรเล่น ที่เด็กได้ลงมือกระท ำ ศึกษำ ค้นคว้ำส ำรวจสิ่งรอบตัวตำมควำมพอใจของตนเองและเก็บสะสมเป็น ประสบกำรณ์ส่วนบุคคล เช่น เด็กที่อยู่ ในสภำพแวดล้อมที่มีหนังสือนิทำนและของเล่นรวมทั้งมี 66 ผู้ปกครองที่เอำใจใส่เล่ำนิทำน หรือแนะน ำกำร อ่ำนมักจะเรียนรู้กำรอ่ำนได้อย่ำงรวดเร็วกว่ำเด็กที่ไม่ได้รับควำมสนใจเท่ำที่ควร พัฒนำกำรของเด็กปฐมวัยเป็น ผลของกำรปฏิสัมพันธ์ระหว่ำงวุฒิภำวะ และกำรเรียนรู้(นิติธร ปิลวำสน์, ออนไลน์ วันที่ 5 กรกฎำคม 2557) โดยประสบกำรณ์เป็นสิ่งจ ำเป็น อย่ำงยิ่งส ำหรับกำรพัฒนำเด็กทำงด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์ จิตใจ สังคม และ สติปัญญำ ช่วยให้เด็กเกิด ทักษะที่ส ำคัญส ำหรับกำรสร้ำงองค์ควำมรู้ โดยให้เด็กได้มีปฏิสัมพันธ์กับวัตถุ สิ่งของ บุคคลต่ำงๆ ที่ อยู่ รอบตัว รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกันด้วย ประสบกำรณ์ที่ส่งเสริม พัฒนำกำรด้ำน ร่ำงกำย กำรทรงตัวและกำรประสำนสัมพันธ์ของกล้ำมเนื้อใหญ่ได้แก่กำรเคลื่อนไหวอยู่กับที่ และกำร เคลื่อนไหวเคลื่อนที่ กำรเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์และกำรเล่นเครื่องเล่นสนำม ในกำรศึกษำครั้ง นี้ผู้วิจัยได้ก ำหนดกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนที่เป็นกิจกรรมกำรเคลื่อนที่เคลื่อนไหว เนื่องจำกวิธีกำร เล่นนั้นจะ ช่วยส่งเสริมกำรเรียนรู้ของเด็กประถม (คณำจำรย์ชมรมเด็ก. 2545: 16 – 17) กำรเล่นจึง เป็นรูปแบบ กำรศึกษำอีกอย่ำงหนึ่ง ที่ส่งเสริมให้เด็กมีควำมรู้กว้ำงขวำง จำกกำรศึกษำผลของกำรฝึก เกมที่มีต่อกำรปรับตัว ทำงสังคมของเด็กประถม พบว่ำภำยหลังกำรทดลองกลุ่มที่ได้รับกำรฝึก เกม ศึกษำมีคะแนนกำรปรับตัวทำง สังคมสูงกว่ำก่อนกำรทดลอง ส ำหรับกลุ่มที่ได้รับกำรเล่นตำม มุม ประสบกำรณ์มีคะแนนกำรปรับตัวทำงสังคม สูงกว่ำก่อนกำรทดลอง และกลุ่มที่ได้รับกำรฝึกเกม ศึกษำ มีคะแนนกำรพัฒนำกำรปรับตัวทำงสังคมสูงกว่ำ กลุ่มที่ได้รับกำรเล่นตำมมุมประสบกำรณ์ (ชำลินี อัษฎำภำงกูร. 2550: 66) ทั้งนี้จำกกำรศึกษำควำมสำมำรถ ด้ำนกำรฟังของเด็กประถมที่ได้รับ กำรจัด ประสบกำรณ์ควำมสำมำรถด้ำนกำรฟังของเด็กประถมที่ได้รับกำร จัดประสบกำรณ์ ผลกำรวิจัยพบว่ำ เด็กประถมที่ได้รับกำรจัดประสบกำรณ์กำรเล่นมุมบ้ำนแบบครูมีปฏิสัมพันธ์


34 และครู ไม่มีปฏิสัมพันธ์ มี ควำมสำมำรถด้ำนกำรฟังแตกต่ำงกัน โดยเด็กประถมได้รับกำรจัดประสบกำรณ์กำร เล่นมุมบ้ำนแบบ ครูมีปฏิสัมพันธ์ มีควำมสำมรถด้ำนกำรฟังสูงกว่ำเด็กประถมได้รับกำรจัด ประสบกำรณ์กำร เล่นมุม บ้ำนแบบครูไม่มีปฏิสัมพันธ์ (อุบล เวียงสมุทร. 2549:45) และจำกกำรศึกษำ ผลกำรจัดกิจกรรม กำรละเล่นพื้นบ้ำนไทยเพื่อพัฒนำทักษะพื้นฐำนของเด็กประถม ผล กำรศึกษำพบว่ำ หลังจำกเด็ก ประถมได้รับ กำรจัดกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนไทย เด็กมีทักษะพื้นฐำนและกำรจัดกิจกรรม กำรละเล่นพื้นบ้ำนไทย สำมำรถส่งเสริมทักษะพื้นฐำนทำง กำรรู้ค่ำจ ำนวน และกำรจ ำแนกสูงขึ้น (ดวงพร สุขธิติพัฒน์. 2553:48) จำก เหตุผลดังกล่ำวจึงสรุปได้ว่ำ กำรละเล่นพื้นบ้ำนที่ผู้วิจัยได้น ำมำใช้ กับเด็กประถม จะส่งผล ให้เด็กเกิด พัฒนำกำรทั้งด้ำนร่ำงกำยและกำรเรียนรู้


35 บรรณำนุกรม คณำจำรย์ชมรมเด็ก. (2545). กำรละเล่นของเด็กไทย.กรุงเทพมหำนคร: สุวีริยำสำสน์. เจษฎำ เจียระนัย. (2530). โค้ช.กรุงเทพมหำนคร: ส ำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชำกำร. ชัชชัย โกมำรทัต. (2549). กีฬำพื้นเมืองไทยภำคใต้.กรุงเทพมหำนคร: บริษัทเยลโล่กำรพิมพ์. ชิดชนก เชิง เชำว์. (2553). ระเบียบวิธีวิจัยทำงกำรศึกษำ. ปัตตำนี: คณะศึกษำศำสตร์มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ วิทยำเขตปัตตำนี. ชำลินี อัษฎำภำงกูร. (2550). ผลของกำรฝึกเกมพลศึกษำที่มีต่อกำรปรับตัวทำงสังคมของ เด็กประถม. วิทยำนิพนธ์ศึกษำศำสตรมหำบัณฑิต สำขำพลศึษำ, มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ วิทยำเขต ปัตตำนี. ณัฐพร ไชยเดช,(2548). ผลของประสบกำรณ์กำรละเล่นพื้นบ้ำนที่มีต่อทักษะพื้นฐำนทำง คณิตศำสตร์ของ เด็กประถม ที่ใช้ภำษำไทยเป็นภำษำที่สอง ในจังหวัดปัตตำนี. ภำควิชำกำรปฐมวัยศึกษำ มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ วิทยำเขตปัตตำนี: วำสำร ศึกษำศำสตร์, (16) 1 หน้ำ 8 ดวงพร สุขธิติพัฒน์. (2553). ผลกำรจัดกิจกรรมกำรละเล่นพื้นบ้ำนไทยเพื่อพัฒนำทักษะ พื้นฐำนทำง คณิตศำสตร์ของเด็กปฐมวัย. วิทยำนิพนธ์ครุศำสตรมหำบัณฑิต กำรศึกษำปฐมวัย, มหำวิทยำลัยรำช ภัฏเพชรบุรี เดือนเพ็ญ เพียภู. (2553). กำรทดสอบสมรรถภำพทำงกลไก. (ออนไลน์) สืบค้นจำก http://duanpen.igetweb.com/articles/479538/eee.[15 มิถุนำยน 2556] ธนู ประเสริฐศรี. (2545). ผลของกำรฝึกกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะประกอบดนตรีที่มีผลต่อ สมรรถภำพทำงกลไกของนักเรียนระดับก่อนประถมศึกษำ. วิทยำนิพนธ์ศิลปศำสตร มหำบัณฑิต สำขำพลศึกษำ, มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์


36


Click to View FlipBook Version