ขอ้ บังคบั เกี่ยวกับการทาํ งาน
ของ
บริษทั เนสท์ 16 จาํ กดั
(โฮม่า ภเู ก็ต ทาวน)์
มผี ลบงั คับใช้วันท่ี 1 ตุลาคม 2564
สาํ นักงานใหญ่
3/41 หมู่ท่ี 5 ตาํ บลรัษฎา อาํ เภอเมอื งภเู กต็ จังหวัดภเู กต็ 83000
ประเภทกจิ การ
โรงแรม/อาคารชุด/อพาร์ทเมนท์
1
สารบญั
เร่ือง หน้า
บททวั่ ไป .................................................................................................................................................................3
หมวดท่ี 1 วนั ทาํ งาน เวลาทาํ งาน และเวลาพกั ............................................................................................................. 4
หมวดท่ี 2 วนั หยุด และหลกั เกณฑก์ ารหยดุ .................................................................................................................. 5
หมวดท่ี 3 วนั ลา และหลกั เกณฑก์ ารลา ........................................................................................................................ 6
หมวดท่ี 4 หลกั เกณฑก์ ารทาํ งานล่วงเวลาและการทาํ งานในวนั หยดุ .............................................................................. 9
หมวดท่ี 5 หลกั เกณฑก์ ารจ่ายค่าจา้ ง การคาํ นวณ
ภาษเี งนิ ไดแ้ ละเงนิ สมทบกองทนุ ประกนั สงั คม............................................................................................ 10
หมวดท่ี 6 ขอ้ กาํ หนดทวั่ ไปในการทาํ งาน.................................................................................................................... 11
หมวดท่ี 7 ระเบยี บปฏบิ ตั ขิ องพนกั งาน....................................................................................................................... 13
หมวดท่ี 8 วนิ ยั และโทษทางวนิ ยั ................................................................................................................................ 19
หมวดท่ี 9 การพน้ สภาพจากการเป็นพนกั งาน และการเลกิ จา้ ง .................................................................................. 23
หมวดท่ี 10 การจ่ายค่าชดเชย ...................................................................................................................................... 24
หมวดท่ี 11 ผลประโยชน์และสวสั ดกิ าร......................................................................................................................... 26
หมวดท่ี 12 การรอ้ งทุกข์.............................................................................................................................................. 27
หมวดท่ี 13 การแกไ้ ขขอ้ บงั คบั เกย่ี วกบั การทาํ งาน ....................................................................................................... 29
2
ข้อบงั คบั เก่ียวกบั การทาํ งาน
บททวั่ ไป
ช่ือบริษทั บริษทั เนสท์ 16 จาํ กดั (สาํ นักงานใหญ่)
ทอ่ี ยบู่ รษิ ทั 3/41 หมทู่ ่ี 5 ตําบลรษั ฎา อําเภอเมอื งภเู กต็ จงั หวดั ภเู กต็ 83000
ชื่อทางการคา้ โฮมา่ ภเู กต็ ทาวน์
ทอ่ี ยสู่ ถานประกอบการ 3/41 หมทู่ ่ี 5 ตําบลรษั ฎา อําเภอเมอื งภเู กต็ จงั หวดั ภเู กต็ 83000
ประเภทของธุรกจิ โรงแรม อาคารชดุ อพารท์ เมนท์
มผี ลบงั คบั ใช้ ณ วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2564
การบงั คบั ใช้
1. ขอ้ บงั คบั น้เี รยี กว่า “ขอ้ บงั คบั เกย่ี วกบั การทาํ งานของ บรษิ ทั เนสท์ 16 จาํ กดั
2. ขอ้ บงั คบั เกย่ี วกบั การทาํ งานฉบบั น้ีมผี ลบงั คบั ใชต้ งั้ แต่วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2564 เป็นตน้ ไป
3. หากปรากฏวา่ คาํ สงั่ ประกาศ ระเบยี บ หรอื ขอ้ บงั คบั ทม่ี อี ย่กู อ่ นหน้าน้ี มขี อ้ ความขดั แยง้ กบั ขอ้ บงั คบั เกย่ี วกบั การทาํ งานฉบบั น้ใี หใ้ ชข้ อ้ บงั คบั
เกย่ี วกบั การทาํ งานฉบบั น้ีแทน
คาํ จาํ กดั ความ หมายถงึ บรษิ ทั เนสท์ 16 จํากดั รวมถึงผู้มอี ํานาจกระทําการแทนบรษิ ัทฯ และผู้ซ่งึ ได้รบั มอบหมายให้
“บริษทั ฯ” กระทาํ การแทนผมู้ อี าํ นาจดงั กล่าว
“พนักงาน” หมายถงึ ผทู้ ป่ี ฏบิ ตั งิ านใน เนสท์ 16 จาํ กดั โดยไดร้ บั คา่ จา้ งเป็นการตอบแทนและ ไดม้ กี ารทําสญั ญาจา้ ง
งานกบั บรษิ ทั ฯ ไวแ้ ลว้ ซง่ึ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่
1. พนกั งานประจาํ สาํ นกั งาน
2. พนกั งานปฏบิ ตั กิ าร
“พนักงานประจาํ สาํ นักงาน” หมายถงึ พนกั งานผู้รบั ผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านประจําอยู่ในสํานักงาน เช่น พนักงานธุรการ บญั ชี จดั ซ้อื บุคคล
พนกั งานขาย และเลขานุการ
“พนักงานปฏิบตั ิการ” หมายถงึ พนกั งานผูร้ บั ผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านในบรเิ วณทจ่ี ดั ไวเ้ พ่อื ใหบ้ รกิ ารลกู คา้ เช่น พนักงานต้อนรบั รบั
จองห้องพกั พนักงานเก็บเงนิ ฝ่ ายหน้า พนักงานห้องอาหาร พนักงานเสิร์ฟ พนักงานประกอบอาหาร
พนกั งานทาํ ความสะอาดภาชนะ แมบ่ า้ น คนสวน ช่างซ่อมบาํ รงุ พนกั งานขบั รถ
“ผบู้ งั คบั บญั ชา” หมายถงึ พนกั งานตงั้ แต่ระดบั หวั หน้างานขน้ึ ไป ซง่ึ มอี ํานาจหน้าทท่ี าํ การแทนนายจา้ ง คอื มสี ทิ ธใิ หค้ ุณ
ใหโ้ ทษแก่ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา
“ลกู คา้ ” หมายถงึ ผทู้ ม่ี าใชบ้ รกิ ารของบรษิ ทั ฯ
3
หมวดที่ 1 วนั ทาํ งาน เวลาทาํ งาน และเวลาพกั
1.1 วนั ทาํ งานและเวลาทาํ งาน
พนกั งานทุกคนตอ้ งทาํ งานสปั ดาหล์ ะ 5 วนั โดยหวั หน้าแผนกจะต้องเป็นผูก้ าํ หนดตารางเวลาทํางาน โดยมหี วั หน้าแผนกทรพั ยากร
บคุ คลตรวจสอบและควบคมุ
พนักงานประจาํ สาํ นักงาน ทาํ งานสปั ดาหล์ ะไมเ่ กนิ 48 ชวั่ โมง, โดยทํางานเวลา 8:00 / 8:30 – 18:00 / 18:30 หรอื ตามทห่ี วั หน้า
แผนกมคี าํ สงั่
พนักงานปฏิบตั ิการ เมอ่ื รวมเวลาทาํ งานทงั้ สน้ิ แลว้ สปั ดาหล์ ะไมเ่ กนิ 48 ชวั่ โมง ตารางเวลาทาํ งานกาํ หนดโดยหวั หน้าแผนก
1. วนั หยดุ ประจาํ สปั ดาห์ ไมน่ ้อยกว่าสปั ดาหล์ ะ 2 วนั มรี ะยะหา่ งกนั ไมเ่ กนิ 5 วนั โดยหมนุ เวยี นกนั หยดุ
2. หวั หน้างาน หรอื ผจู้ ดั การแผนกจะเป็นผกู้ าํ หนดวนั เวลาการทาํ งาน และเวลาพกั ผอ่ นของพนกั งาน
3. บรษิ ทั ฯ อาจทาํ ความตกลงกบั พนกั งานในการเปลย่ี นแปลงตารางเวลาโดยจะมกี ารดาํ เนินตาม พรบ. คมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541
ซง่ึ แกไ้ ขตาม พรบ. คุม้ ครองแรงงาน (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2551 และ พรบ. แรงงานสมั พนั ธ์ พ.ศ. 2518
4. ในกรณที พ่ี นกั งานมคี วามจาํ เป็นตอ้ งขอเปลย่ี นแปลงตารางเวลาการทาํ งานตามทบ่ี รษิ ทั ฯ กําหนด ใหย้ น่ื แบบฟอรม์ ขออนุมตั ติ อ่
ผบู้ งั คบั บญั ชาล่วงหน้าอยา่ งน้อย 3 วนั
1.2 เวลาพกั (รบั ประทานอาหาร)
พนกั งานทกุ คนมเี วลาพกั เพอ่ื รบั ประทานอาหารวนั ละ 60 นาที ตามทห่ี วั หน้าแผนกกาํ หนด
สาํ หรบั วนั ทาํ งาน เวลาทาํ งาน เวลาพกั บรษิ ทั ฯ สงวนสทิ ธใิ์ นการเปลย่ี นปลงไดต้ ามความจาํ เป็นและเหมาะสม ทงั้ น้เี พอ่ื ประโยชน์ต่อ
การดาํ เนินธุรกจิ
4
หมวดท่ี 2 วนั หยดุ และหลกั เกณฑ์การหยดุ
2.1 วนั หยดุ ประจาํ สปั ดาห์ (โดยบรษิ ทั ฯ จา่ ยค่าจา้ งเทา่ กบั คา่ จา้ งในวนั ทาํ งานแกพ่ นกั งานรายเดอื น)
พนกั งานทุกคนมสี ทิ ธหิ์ ยุดประจาํ สปั ดาห์ สปั ดาหล์ ะ 2 วนั หลงั จากไดท้ าํ งานครบ 5 วนั ทาํ งานแลว้ ในสปั ดาหน์ นั้ โดยกาํ หนดดงั น้ี
พนักงานประจาํ สาํ นักงาน หยดุ ทุกวนั เสาร์ และ วนั อาทติ ย์ หรอื ตามทห่ี วั หน้าแผนกกาํ หนด
พนักงานปฏิบตั ิการ ใหเ้ ป็นไปตามหวั หน้าแผนกกาํ หนด ตามความจาํ เป็นของธุรกจิ
หากพนกั งานมคี วามจาํ เป็นตอ้ งเปลย่ี นแปลงวนั หยุดประจาํ สปั ดาหใ์ หย้ น่ื แบบฟอรม์ ขออนุมตั ติ ่อผบู้ งั คบั บญั ชาล่วงหน้าอย่างน้อย 3 วนั
2.2 วนั หยดุ ตามประเพณี
2.2.1 พนกั งานจะมวี นั หยดุ ตามประเพณปี ีละไมน่ ้อยกวา่ 14 วนั รวมวนั แรงงานแหง่ ชาติ ดว้ ยโดยไดร้ บั คา่ จา้ งเท่ากบั ค่าจา้ งในวนั ทาํ งาน
ซง่ึ ทางบรษิ ทั ฯ จะแจง้ ใหท้ ราบลว่ งหน้าในเดอื นธนั วาคมของทกุ ปี
2.2.2 หากวนั หยุดตามประเพณวี นั ใดตรงกบั วนั หยดุ ประจาํ สปั ดาห์ หรอื มคี วามจาํ เป็นตอ้ งทาํ งานในวนั ดงั กล่าว พนกั งานจะไดห้ ยุดชดเชย
วนั หยดุ ตามประเพณนี นั้ ในวนั ทาํ งานถดั ไป หรอื บรษิ ทั ฯ จะตกลงกบั พนกั งานกาํ หนดวนั หยดุ ชดเชยในวนั อ่นื แทนตามความเหมาะสม โดย
ไดร้ บั ค่าจา้ งเท่ากบั วนั ทาํ งานปกติ
2.3 วนั หยดุ พกั ผอ่ นประจาํ ปี
พนกั งานทผ่ี า่ นทดลองงานแลว้ จะไดร้ บั สทิ ธหิ ยดุ พกั ผ่อนประจาํ ปีโดยไดร้ บั คา่ จา้ งเทา่ กบั ค่าจา้ งในวนั ทาํ งานปกตติ ามระดบั พนกั งานดงั น้ี
ระดบั พนกั งาน ทาํ งานครบ ทาํ งานครบ ทาํ งานครบ
0 – 2 ปี 2 – 5 ปี 5 ปี ขน้ึ ไป
1 ผจู้ ดั การทวั่ ไป 24 วนั ทาํ งาน ไมป่ รบั เพม่ิ ไมป่ รบั เพมิ่
(หรอื ตามสญั ญา)
2 ผบู้ รหิ ารระดบั สงู 17 วนั ทาํ งาน ไมป่ รบั เพมิ่ ไมป่ รบั เพมิ่
3 หวั หน้าแผนก 15 วนั ทาํ งาน ไมป่ รบั เพมิ่ ไมป่ รบั เพม่ิ
4 รองหวั หน้าแผนก 13 วนั ทาํ งาน 14 วนั ทาํ งาน 15 วนั ทาํ งาน
5 หวั หน้าสว่ นงาน 10 วนั ทาํ งาน 11 วนั ทาํ งาน 13 วนั ทาํ งาน
6 พนกั งาน 7 วนั ทาํ งาน 8 วนั ทาํ งาน 10 วนั ทาํ งาน
2.3.1 กรณพี นกั งานเขา้ ทาํ งาน หรอื ลาออก ระหว่างปีสทิ ธใิ นการหยดุ พกั ผ่อนประจาํ ปีจะคาํ นวณโดยเฉลย่ี ตามจาํ นวนเดอื นทท่ี าํ งานจรงิ ใน
ปีนนั้ ๆ
2.3.2 บรษิ ทั ฯ จะเป็นผูก้ ําหนดวนั หยุดพกั ผ่อนประจําปีล่วงหน้าให้พนักงานหรอื อาจตกลงกบั พนักงานในการกําหนดวนั หยุดพกั ผ่อน
ประจาํ ปี โดยการหยุดพกั ผ่อนประจาํ ปี จะตอ้ งไมใ่ หง้ านทร่ี บั ผดิ ชอบปกตเิ สยี หาย
2.3.3 พนกั งานตอ้ งขออนุมตั จิ ากผบู้ งั คบั บญั ชาลว่ งหน้าอยา่ งน้อย 3 วนั มฉิ ะนนั้ บรษิ ทั ฯ ถอื ว่าพนกั งานผนู้ นั้ ขาดงาน
2.3.4 บรษิ ัทฯ ไม่อนุญาตให้สะสมวนั หยุดพกั ผ่อนประจาํ ปีในปีต่อไป หรอื สะสมเพ่อื นํามาคดิ ทดแทนเป็นเงนิ ค่าจา้ งไม่ได้ นอกจากกรณี
พเิ ศษ ซง่ึ ไดร้ บั อนุมตั จิ ากผจู้ ดั การทวั่ ไป
5
หมวดที่ 3 วนั ลา และหลกั เกณฑก์ ารลา
บททวั่ ไปเกี่ยวกบั ระเบยี บการลาทุกประเภท
1. พนักงานท่ปี ระสงค์จะลาหยุดงานจะต้องใชแ้ บบฟอร์มใบลาตามทบ่ี รษิ ทั ฯ กําหนด และย่นื ขออนุญาตเป็นการล่วงหน้า ต่อผูบ้ งั คบั บญั ชา
ตามลําดบั ชนั้ และจะหยุดงานไดต้ ่อเมอ่ื ผูบ้ งั คบั บญั ชาของตน (ระดบั หวั หน้าแผนกขน้ึ ไป) ไดล้ งนามอนุมตั ิแลว้ เท่านัน้ ซ่งึ ขน้ึ อยู่กบั การ
พจิ ารณาอนุมตั ติ ามสถานการณ์ของธุรกจิ ในขณะนนั้ ๆ
2. ในกรณที ม่ี เี หตุสดุ วสิ ยั ทาํ ใหไ้ มส่ ามารถขออนุญาตลว่ งหน้าได้ เป็นหน้าทข่ี องพนกั งานทจ่ี ะหาวธิ แี จง้ ใหผ้ ูบ้ งั คบั บญั ชาของตนไดท้ ราบโดยเรว็
ทส่ี ดุ แต่อย่างชา้ ไมค่ วรเกนิ กวา่ กาํ หนดเวลาเขา้ ทาํ งานของตน และเมอ่ื กลบั มาทาํ งานตามปกตแิ ลว้ ใหย้ น่ื ใบลาต่อผบู้ งั คบั บญั ชาในทนั ที
3. การฝ่าฝืนระเบยี บการลา หรอื การแจง้ ความเทจ็ ต่อผบู้ งั คบั บญั ชาเพอ่ื ทต่ี นจะไดร้ บั อนุญาต ใหล้ าหยุดงานนัน้ ถอื เป็นความผดิ ทางวนิ ัยซ่งึ ใน
บางกรณอี าจถงึ ขนั้ รา้ ยแรง
ประเภทการลา
3.1 การลาป่ วย
3.1.1 พนกั งานมสี ทิ ธลิ าป่วยไดเ้ ทา่ ทป่ี ่วยจรงิ บรษิ ทั ฯ จะจา่ ยคา่ จา้ งใหเ้ ท่ากบั ค่าจา้ งในวนั ทาํ งานตลอดระยะเวลาทล่ี า
แต่ปีหน่ึงไมเ่ กนิ 30 วนั ทาํ งาน
3.1.2 วนั ลาป่วยทไ่ี มไ่ ดใ้ ชใ้ นแต่ละปี ไมส่ ามารถสะสมไวใ้ ชใ้ นปีอน่ื หรอื ขอแลกเปลย่ี นเป็นเงนิ แต่อยา่ งใด
3.1.3 การลาป่วยแต่ละครงั้ พนกั งานจะตอ้ งแจง้ ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชา หรอื ฝ่ายทรพั ยากรบคุ คลทราบทนั ที ซง่ึ อาจเป็นการโทรศพั ท์ หรอื
ใหญ้ าติ หรอื ผอู้ น่ื มาแจง้ แทนได้ แต่การส่งขอ้ ความสนั้ ทางโทรศพั ท์ หรอื ฝากขอ้ ความการลาไวท้ เ่ี พอ่ื นพนกั งาน ไมถ่ อื วา่ เป็น
การแจง้ การลาป่วย
3.1.4 ถา้ ไมอ่ าจแจง้ ไดท้ นั ทดี ว้ ยเหตุสดุ วสิ ยั ใหแ้ จง้ ในวนั แรกทม่ี าทาํ งาน และพนกั งานตอ้ งยน่ื ใบลาทนั ทใี นวนั แรกทก่ี ลบั เขา้ ทาํ งาน
3.1.5 การลาป่วยตดิ ต่อกนั ตงั้ แต่ 3 วนั ทาํ งานขน้ึ ไป พนกั งานตอ้ งแสดงใบรบั รองของแพทยแ์ ผนปัจจุบนั ชนั้ หน่ึง หรอื ของสถานพยาบาล
ของทางราชการเพอ่ื ประกอบการลาต่อบรษิ ทั ฯ ในกรณที พ่ี นกั งานไมอ่ าจแสดงใบรบั รองของแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั ชนั้ หน่งึ หรอื ของ
สถานพยาบาลของทางราชการได้ กใ็ หพ้ นกั งานชแ้ี จงเหตุผลใหบ้ รษิ ทั ฯ ทราบเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร อยา่ งไรกด็ หี ากมพี ยานหลกั ฐาน
ทพ่ี สิ จู น์ไดว้ า่ พนกั งานทล่ี าป่วยนนั้ มไิ ดป้ ่วยจรงิ บรษิ ทั ฯ จะถอื ว่าพนกั งานผนู้ นั้ ขาดงาน และกระทาํ การผดิ ระเบยี บการลาตามขอ้ 3
ดงั กล่างขา้ งตน้
3.1.6 วนั ทพ่ี นกั งานไมส่ ามารถมาทาํ งานไดเ้ น่ืองจากประสบอนั ตรายหรอื เจบ็ ป่วยทเ่ี กดิ ขน้ึ เน่อื งจากการทาํ งาน และวนั ลาเพอ่ื คลอด
บตุ ร ไมถ่ อื เป็นวนั ลาป่วย
3.1.7 ในทกุ กรณี บรษิ ทั ฯ อาจขอใหแ้ พทยท์ บ่ี รษิ ทั แต่งตงั้ ทาํ การตรวจรา่ งกายของพนกั งานคนใดคนหน่งึ และใหค้ วามเหน็ วา่
พนกั งานคนนนั้ ๆ มสี ุขภาพร่างกายและจติ เหมาะสมทจ่ี ะทาํ งานอย่กู บั บรษิ ทั อกี ต่อไปหรอื ไม่
3.1.8 การลาป่วยทไ่ี มป่ ฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑท์ ก่ี าํ หนดไว้ บรษิ ทั ฯ ถอื วา่ พนกั งานกระทาํ ผดิ ระเบยี บการลาและจะไดร้ บั โทษทางวนิ ยั
3.2 การลาพิเศษ
บรษิ ทั ฯ กาํ หนดใหพ้ นกั งาน มสี ทิ ธใิ นการลาพเิ ศษ โดยไดร้ บั ค่าจา้ งเท่ากบั คา่ จา้ งในวนั ทาํ งานปกติ ในกรณดี งั ต่อไปน้ี
3.2.1 พนกั งานทผ่ี ่านการทดลองงาน มสี ทิ ธใิ์ นการลาเพอ่ื การแต่งงานได้ 3 วนั ทาํ งาน โดยตอ้ งมหี ลกั ฐานมาแสดงและลาไดค้ รงั้ เดยี ว
ตลอดระยะเวลาการเป็นพนกั งานของบรษิ ทั ฯ
3.2.2 ลาเพอ่ื งานฌาปณกจิ หรอื ประกอบพธิ ฝี ังศพ เมอ่ื บดิ า มารดา ค่สู มรสหรอื บุตรของพนกั งานทช่ี อบดว้ ยกฎหมายถงึ แก่กรรม ใหล้ าได้ 3
วนั โดยพนกั งานตอ้ งนําสาํ เนาใบมรณะบตั รมาแสดง
3.2.3 พนกั งานชายลาเพอ่ื ดแู ลการกาํ เนิดบตุ ร ลาได้ 2 วนั
3.2.4 ลาเน่ืองในวนั เกดิ 1 วนั
พนกั งานจะลาดงั กล่าว ตอ้ งแจง้ ล่วงหน้า ยกเวน้ ขอ้ 3.2.2
6
3.3. การลาเพ่ือทาํ หมนั และลาเน่ืองจากการทาํ หมนั
พนกั งานมสี ทิ ธลิ าเพ่อื ทําหมนั และลาเน่ืองจากการทาํ หมนั โดยไดร้ บั ค่าจา้ งเท่ากบั ค่าจา้ งในวนั ทาํ งานปกติ โดยพนักงานมสี ทิ ธลิ าได้
ตามระยะเวลาทแ่ี พทยแ์ ผนปัจจุบนั ชนั้ หน่งึ กาํ หนดและออกใบรบั รองแพทยใ์ หก้ ารลาเพ่อื ทําหมนั พนักงานต้องย่นื ใบลาต่อผูบ้ งั คบั บญั ชาล่วงหน้าอย่าง
น้อย 3 วนั เพอ่ื การอนุมตั ิ และยน่ื ใบรบั รองแพทยต์ ่อแผนกบุคคลหลงั การทาํ หมนั ในวนั แรกทก่ี ลบั มาปฏบิ ตั หิ น้าท่ี
3.4 การลาเพ่อื คลอดบตุ ร
พนกั งานหญงิ ทม่ี คี รรภม์ สี ทิ ธลิ าเพอ่ื คลอดบตุ รครรภห์ น่งึ ไดไ้ มเ่ กนิ 98 วนั (รวมวนั หยุดประจําสปั ดาห์ และวนั หยุดตามประเพณที ค่ี นั่ อย่)ู
โดยไดร้ บั ค่าจ้างเท่ากบั ค่าจา้ งในวนั ทํางานตลอดระยะเวลาทล่ี าแต่ไม่เกนิ 53 วนั การลาเพ่อื คลอดบุตรพนักงานต้องย่นื ใบลาต่อผู้บงั คบั บญั ชา
ล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วนั เพอ่ื การอนุมตั ยิ กเวน้ กรณฉี ุกเฉนิ หรอื คลอดก่อนกาํ หนด
ถา้ พนกั งานหญงิ มคี รรภไ์ มส่ ามารถทาํ งานในหน้าทเ่ี ดมิ ได้ บรษิ ทั ฯ จะพจิ ารณาเปลย่ี นงานในหน้าทใ่ี หเ้ ป็นการชวั่ คราว ทงั้ น้ีไมว่ ่าก่อน
หรอื หลงั คลอดโดยบรษิ ทั ฯ จะพจิ ารณาเปลย่ี นงานใหต้ ามทเ่ี หน็ สมควร
อน่ึง พนกั งานหญงิ ทท่ี ราบว่าตนเองตงั้ ครรภ์ ต้องนําใบรบั รองของแพทยแ์ ผนปัจจุบนั ชนั้ หน่ึงมาแสดงและแจง้ เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร
ใหบ้ รษิ ทั ทราบทนั ที
3.5 การลาเพ่อื รบั ราชการทหาร
พนกั งานมสี ทิ ธลิ าเพ่อื รบั ราชการทหารในการเรยี กพลเพ่อื ตรวจสอบ เพ่อื ฝึกวชิ าทหาร หรอื เพอ่ื ทดลองความพรงั่ พรอ้ มตามกฎหมายว่า
ดว้ ยการรบั ราชการทหาร โดยไดร้ บั ค่าจา้ งเท่ากบั ค่าจา้ งในวนั ทาํ งานตลอดระยะเวลาทล่ี าแต่ไม่เกนิ 60 วนั ต่อปี อน่ึงการลาเพอ่ื รบั ราชการทหารน้ีไม่
รวมถงึ การลาเพอ่ื เกณฑท์ หาร หรอื ไปรบั ราชการทหารเมอ่ื อายุครบเกณฑต์ ามปกติ
พนกั งานต้องยน่ื ใบลาต่อผบู้ งั คบั บญั ชาเพ่อื การอนุมตั ใิ นทนั ทที ไ่ี ดร้ บั หมายเรยี กของทางราชการ พรอ้ มทงั้ แนบหมายเรยี กและเอกสาร
ของทางราชการประกอบการขออนุมตั ดิ ว้ ย และเมอ่ื กลบั จากการเรยี กตามหมายเรยี กแลว้ พนกั งานตอ้ งรายงานตวั ต่อบรษิ ทั ฯภายใน 5 วนั นบั จาก
วนั ทพ่ี น้ จากระยะเวลาการเรยี กตามหมายเรยี ก และตอ้ งสง่ มอบหลกั ฐานของทางราชการทแ่ี สดงว่าพนกั งานไดถ้ ูกเรยี กตามหมายเรยี กแก่บรษิ ทั ฯ
ดว้ ย หากพน้ กาํ หนดแลว้ ยงั ไมก่ ลบั เขา้ ทาํ งานโดยไมม่ เี หตุผลสมควรบรษิ ทั ฯ ถอื เสมอื นว่ามคี วามประสงคข์ อลาออก บรษิ ทั ไม่มพี นั ธะทจ่ี ะรบั กลบั
เขา้ ทาํ งาน
3.6 การลาเพ่อื การฝึกอบรมหรอื พฒั นาความรู้
พนกั งานมสี ทิ ธลิ าเพอ่ื การฝึกอบรมหรอื พฒั นาความรใู้ นกรณดี งั ต่อไปน้ี
3.6.1 เพ่อื ประโยชน์ต่อการแรงงานและสวสั ดกิ ารสงั คมหรอื การเพมิ่ ทกั ษะความชํานาญ เพ่อื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการทํางานของพนักงาน การ
ฝึกอบรมหรอื พฒั นาความรจู้ ะตอ้ งมโี ครงการหรอื หลกั สตู ร และกาํ หนดช่วงเวลาของโครงการหรอื หลกั สตู รทแ่ี น่นอนและชดั เจน
3.6.2 เพอ่ื การสอบวดั ผลทางการศกึ ษาทท่ี างราชการจดั หรอื อนุญาตใหจ้ ดั ขน้ึ
3.6.3 ในการลาเพอ่ื การฝึกอบรมหรอื พฒั นาความรูข้ องพนกั งานพนักงานจะต้องยน่ื ใบลา พรอ้ มทงั้ แสดงหลกั ฐานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง(ถา้ ม)ี ต่อ
ผบู้ งั คบั บญั ชาลว่ งหน้าอยา่ งน้อย 7 วนั กอ่ นวนั ลาเพอ่ื เขา้ รบั การฝึกอบรมหรอื พฒั นาความรู้ เมอ่ื บรษิ ทั ฯ อนุญาตแลว้ จงึ จะลา
หยดุ งานเพอ่ื การดงั กลา่ วได้ โดยบรษิ ทั ฯ มสี ทิ ธจิ ะใหห้ รอื ไมใ่ หค้ า่ จา้ งกไ็ ดท้ งั้ น้โี ดยดลุ พนิ จิ ของบรษิ ทั ฯ แต่ลาํ พงั
3.6.4 บรษิ ทั ฯ อาจไมอ่ นุญาตใหพ้ นกั งานลาเพอ่ื การฝึกอบรมหรอื พฒั นาความรใู้ นกรณดี งั น้ี
1. ในปีทล่ี าเพอ่ื การฝึกอบรมหรอื พฒั นาความรนู้ นั้ พนกั งานเคยไดร้ บั อนุญาตใหล้ าเพอ่ื การฝึกอบรมหรอื พฒั นาความรใู้ นปีเดยี วกนั นัน้
มาแลว้ ไมน่ ้อยกว่า 30 วนั หรอื สามครงั้
2. บรษิ ัทฯ มเี หตุผลซ่งึ แสดงใหเ้ ห็นว่าการลาเพ่อื การฝึกอบรมหรอื พฒั นาความรูข้ องพนักงาน อาจก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายหรอื
ผลกระทบต่อการประกอบธรุ กจิ ของบรษิ ทั ฯ
7
3.7 การลาอปุ สมบทหรอื แสวงบญุ
บรษิ ทั ฯ อาจอนุญาตใหพ้ นกั งานทท่ี าํ งานครบ 1 ปี ลาเพอ่ื การอุปสมบทในบวรพทุ ธศาสนาหรอื ลาเพอ่ื แสวงบญุ โดยไดร้ บั ค่าจา้ ง ทงั้ น้ีขน้ึ อย่กู บั
หลกั เกณฑก์ ารลาอุปสมบทซง่ึ บรษิ ทั ฯ จะกาํ หนดไวใ้ นประกาศของบรษิ ทั ฯ โดยพนกั งานสามารถลาไดไ้ ม่เกิน 7 วนั ตลอดระยะเวลาการเป็นพนกั งานของ
บรษิ ทั ซง่ึ การพจิ ารณาอนุมตั ขิ องผบู้ รหิ ารจะสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ดาํ เนินธุรกจิ ในขณะนนั้
3.8 การลากิจ
พนักงานสามารถลากิจเน่ืองจากเหตุจําเป็นได้ไม่เกนิ ปีละ 3 (สาม) วนั ทํางาน โดยได้รบั ค่าจ้าง ทงั้ น้ี ต้องได้รับอนุญาตจาก
ผบู้ งั คบั บญั ชากอ่ นตามระเบยี บการลา
เหตุจาํ เป็นทบ่ี รษิ ทั จะอนุญาตใหล้ ากจิ ได้ ไดแ้ ก่ กรณตี ้องตดิ ต่อกบั หน่วยราชการ สถานศกึ ษา เพ่อื ตนเองหรอื เพ่อื บุคคลในอุปการะ
การจดั งานศพญาตใิ กลช้ ดิ หรอื บุคคลในอุปการะ งานสมรสของตนเองหรอื ของบุตร หรอื กจิ อ่นื ใดทพ่ี นักงานต้องไปจดั การด้วยตนเองเท่านัน้
ทงั้ น้ใี หอ้ ย่ใู นดุลยพนิ จิ ของผบู้ งั คบั บญั ชาทจ่ี ะพจิ ารณาอนุญาต
3.9 การลาหยดุ งานโดยไมข่ อรบั คา่ จา้ ง
พนกั งานทป่ี ระสงคจ์ ะขอลาหยดุ งาน แต่สทิ ธลิ าหยดุ โดยไดร้ บั คา่ จา้ งของตนไมม่ แี ลว้ หรอื ประสงค์จะลาหยุดงานเพ่อื การอ่นื ใดทไ่ี ม่มี
กาํ หนดในระเบยี บ สามารถขอลาหยุดงานโดยไมร่ บั ค่าจา้ งได้ อย่างไรกต็ าม เหตุผลการลาหยุดต้องเป็นเรอ่ื งทม่ี เี หตุ หรอื ความจาํ เป็นโดยแท้
และชดั เจน ซง่ึ หากไมไ่ ปดาํ เนินการดงั กล่าวดว้ ยตนเองแลว้ ตนเอง ครอบครวั หรอื ญาตใิ กลช้ ดิ อาจไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ น ทงั้ น้ี ต้องไดร้ บั ความ
เหน็ ชอบจากผบู้ งั คบั บญั ชากอ่ น มเิ ช่นนนั้ จะถอื ว่าเป็นการละทง้ิ หน้าท่ี อนั เป็นการกระทาํ ผดิ ทางวนิ ยั และตอ้ งรบั โทษทางวนิ ยั
พนกั งานทจ่ี ะใชส้ ทิ ธขิ อลาหยุดงานโดยไมร่ บั ค่าจา้ งตอ้ งปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
- ยน่ื ใบลาและไดร้ บั อนุมตั จิ ากผบู้ งั คบั บญั ชาของตนลว่ งหน้าเป็นระยะเวลาไมน่ ้อยกว่า 7 (เจด็ ) วนั
- การนบั วนั ลาจะนบั ต่อเน่ืองกนั ไปทุกวนั โดยรวมวนั หยดุ (ยกเวน้ วนั หยดุ ตามประเพณ)ี ในระหว่างวนั ลาดว้ ย
3.10 การขาดงาน
การขาดงานหมายถงึ การไมม่ าทาํ งานโดยมไิ ดแ้ จง้ ลาต่อบรษิ ทั ฯ หรอื ผูบ้ งั คบั บญั ชาตามระเบยี บ หรอื หยุดงานไปโดยไม่มเี หตุผลอนั
สมควร และผบู้ งั คบั บญั ชามไิ ดอ้ นุญาต ซง่ึ เป็นความผดิ ทางวนิ ยั ฐานละทง้ิ หน้าทแ่ี ละจะไมไ่ ดร้ บั คา่ จา้ งในวนั ขาดงานนนั้ ๆ
พนกั งานทข่ี าดงานจะไดร้ บั การตกั เตอื นจากผบู้ งั คบั บญั ชา แต่หากขาดงานหลายครงั้ และไดร้ บั การตกั เตอื นเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรมา
กอ่ นแลว้ หรอื ขาดงานเป็นเวลา 3 วนั ทาํ งานตดิ ต่อกนั ไมว่ ่าจะมวี นั หยดุ คนั่ หรอื ไม่ โดยไมม่ เี หตุผลอนั สมควรมโี ทษถงึ ถูกปลดออกจากงานและ
จะไมไ่ ดร้ บั คา่ ชดเชยการเลกิ จา้ งแต่อยา่ งใด
3.11 การลาหยดุ งานบอ่ ยครงั้
การลาหยุดงานบ่อยครงั้ ย่อมมผี ลกระทบกระเทอื นถงึ ประสทิ ธภิ าพในการทํางานของพนักงานผลู้ าและการดําเนินงานของบรษิ ทั ฯ โดย
ส่วนรวมฉะนัน้ จงึ มผี ลในทางลบต่อการพจิ ารณาข้นึ เงนิ เดอื นประจําปีและผลประโยชน์ตอบแทนอ่ืนๆท่บี รษิ ัทฯ จะใหแ้ ก่พนกั งานผูน้ นั้ ยง่ิ กว่านัน้
บรษิ ทั ฯ ยงั อาจจาํ เป็นตอ้ งพจิ ารณาว่า พนกั งานผนู้ นั้ เป็นบคุ คลทม่ี สี มรรถภาพไมเ่ หมาะสมทจ่ี ะทํางานกบั บรษิ ทั ฯ ต่อไปหรอื ไมด่ ว้ ย
8
หมวดท่ี 4 หลกั เกณฑก์ ารทาํ งานลว่ งเวลา และการทาํ งานในวนั หยดุ
ปกตบิ รษิ ทั ฯ ไมม่ นี โยบายใหพ้ นักงานทาํ งานล่วงเวลา หรอื ทาํ งานในวนั หยุด นอกจากเป็นกรณรี บี ด่วน หรอื งานนนั้ มคี วามจาํ เป็นทจ่ี ะต้อง
ทาํ ตดิ ต่อกนั ซง่ึ ไมส่ ามารถทําใหเ้ สรจ็ ไดใ้ นเวลาทํางานปกติ ดงั นนั้ การทาํ งานล่วงเวลาและการทํางานในวนั หยุด จะตอ้ งมคี าํ สงั่ จากผบู้ งั คบั บญั ชาเป็น
ลายลกั ษณ์อกั ษร (ตามแบบฟอรม์ ทบ่ี รษิ ทั ฯ กาํ หนดไว)้ โดยกาํ หนดการจ่ายคา่ ล่วงเวลา และค่าทาํ งานในวนั หยุดตามหลกั เกณฑต์ ่อไปน้ี
4.1 คา่ ลว่ งเวลา
ถ้าบรษิ ทั ฯ ต้องให้พนกั งานทาํ งานล่วงเวลาในวนั ทํางาน พนักงานจะไดร้ บั ค่าล่วงเวลาเป็นค่าตอบแทนหรอื วนั หยุดชดเชยในอตั รา
หนึ่งเท่าครึ่งของอตั ราค่าจ้างต่อชวั่ โมง ในวนั ทาํ งานตามจาํ นวนชวั่ โมงทท่ี าํ
4.2 ค่าลว่ งเวลาในวนั หยดุ
ถา้ บรษิ ทั ฯ ตอ้ งใหพ้ นกั งานทาํ งานล่วงเวลาในวนั หยุดพนกั งานจะไดร้ บั คา่ ล่วงเวลาในวนั หยดุ เท่ากบั สามเท่าของอตั ราคา่ จ้างต่อ
ชวั่ โมง ในวนั ทาํ งานตามจาํ นวนชวั่ โมงทท่ี าํ
4.3 คา่ ทาํ งานในวนั หยดุ
ถา้ บรษิ ทั ฯ ตอ้ งใหพ้ นกั งานทาํ งานในวนั หยดุ พนกั งานจะไดร้ บั คา่ ทาํ งานในวนั หยุด ดงั น้ี
พนักงานท่ีมีสิทธิได้รบั ค่าจ้างในวนั หยดุ
พนกั งานทม่ี สี ทิ ธไิ ดร้ บั คา่ จา้ งในวนั หยุด เชน่ วนั หยดุ ประจาํ สปั ดาห,์ วนั หยดุ ประเพณี และวนั หยุดพกั ผ่อนประจาํ ปี สําหรบั พนกั งาน
รายเดอื น ถา้ มาทาํ งานในวนั หยดุ จะไดร้ บั ค่าทํางานในวนั หยุดเพมิ่ ขน้ึ อกี หน่ึงเท่าของอตั ราค่าจา้ งต่อชวั่ โมงในวนั ทํางานตามจาํ นวน
ชวั่ โมงทท่ี าํ
พนักงานท่ีไม่มีสิทธิได้รบั ค่าจ้างในวนั หยดุ
พนักงาน รายวนั รายชวั่ โมง หรอื ตามผลงาน ทไ่ี มม่ สี ทิ ธไิ ดร้ บั ค่าจา้ งในวนั หยุดประจําสปั ดาห์ ถ้ามาทํางานในวนั หยุดดงั กล่าวจะ
ไดร้ บั คา่ ทาํ งานในวนั หยดุ สองเทา่ ของอตั ราคา่ จา้ งต่อชวั่ โมงในวนั ทาํ งานปกติ ตามจาํ นวนชวั่ โมงทท่ี าํ งานในวนั หยุด
ลกั ษณะงานที่ไมม่ ีสิทธิได้รบั คา่ ลว่ งเวลา
งานระดบั ผู้บงั คบั บญั ชา หรอื หวั หน้าแผนก ซ่ึงมอี ํานาจหน้าท่ที ําการแทนนายจ้างสําหรบั กรณีการจ้าง การเลกิ จ้างหรอื การให้
บาํ เหน็จ จะไมไ่ ดร้ บั คา่ ลว่ งเวลา
9
หมวดที่ 5 หลกั เกณฑก์ ารจา่ ยค่าจ้าง การคาํ นวณ ภาษีเงินได้และเงินสมทบกองทนุ ประกนั สงั คม
5.1 การจ่ายคา่ จา้ ง
บรษิ ทั ฯ กาํ หนดการจา่ ยค่าจา้ ง ค่าล่วงเวลา ค่าทํางานในวนั หยุดและค่าล่วงเวลาในวนั หยุด การจ่ายเงนิ ค่าจา้ งทุกประเภทจะทําการ
จา่ ยผา่ นธนาคารทบ่ี รษิ ทั ฯ เป็นผกู้ าํ หนดในวนั สดุ ทา้ ยของเดอื น หากวนั ดงั กล่าวตรงกบั วนั หยุด บรษิ ทั ฯ จะเลอ่ื นการจ่ายขน้ึ เป็นวนั ทาํ งานก่อน
วนั สุดทา้ ยของเดอื น
5.2 การคาํ นวณคา่ จา้ ง
บรษิ ทั ฯ จะตดั รอบการคาํ นวณคา่ ล่วงเวลา ค่าทาํ งานในวนั หยดุ และค่าลว่ งเวลาในวนั หยดุ ในวนั ท่ี 20 ของเดอื น และจะจ่ายสว่ นท่ี
คาํ นวณใหพ้ รอ้ มการจา่ ยเงนิ เดอื นและเบย้ี เลย้ี งของเดอื นนนั้ ๆ สาํ หรบั คา่ ลว่ งเวลา คา่ ทาํ งานในวนั หยุด และคา่ ลว่ งเวลาในวนั หยดุ ทท่ี าํ ตงั้ แต่
วนั ท่ี 21 จนถงึ วนั สดุ ทา้ ยของเดอื นใด ๆ จะจ่ายในเดอื นถดั ไป
5.3 อตั ราการคาํ นวณคา่ จ้าง
5.3.1 บรษิ ทั ฯ กาํ หนดอตั ราทใ่ี ชเ้ ป็นฐานในการคาํ นวณค่าจา้ งในแต่ละเดอื นคอื 30 วนั ต่อ เดอื นและ 9 ชวั่ โมงตอ่ วนั
(พนกั งานรายเดอื น)
5.3.2 บรษิ ทั ฯ กาํ หนดอตั ราทใ่ี ชใ้ นการคาํ นวณค่าจา้ งสาํ หรบั พนกั งานรายวนั คอื ตามวนั ทม่ี าทาํ งานจรงิ ในแต่ละเดอื น
และชวั่ โมงทาํ งาน 9 ชวั่ โมงต่อวนั
5.4 ภาษีเงินไดแ้ ละเงินสมทบกองทุนประกนั สงั คม
พนกั งานทกุ คนมหี น้าทเ่ี สยี ภาษเี งนิ ไดแ้ ละเงนิ สมทบกองทนุ ประกนั สงั คม ซง่ึ บรษิ ทั ฯ มหี น้าทห่ี กั ภาษเี งนิ ไดด้ งั กลา่ ว ณ ทจ่ี ่าย ตามท่ี
กฎหมายกําหนด โดยจะคํานวณจากรายได้ตอนส้นิ เดอื นของทุกเดอื น ซ่งึ จะทําการคํานวณรวมหกั ครงั้ เดยี วในงวดจ่ายเงนิ เดอื นแล้วนําส่ง
กรมสรรพากรและกองทนุ ประกนั สงั คม
เน่ืองจากเงนิ ไดข้ องพนักงานอาจไม่เท่ากนั ทุกเดอื น หรอื อาจมกี ารเปล่ยี นแปลงเก่ยี วกบั การทํางาน รายการลดหย่อนภาษี ของ
พนักงานเองในระหว่างปีตามหลกั ฐานท่ีส่งมอบบริษัทฯ ฉะนัน้ ในงวดจ่ายเงนิ เดือนครงั้ สุดท้ายของปี คือ ในเดอื นธนั วาคมแผนกบุคคล
จําเป็นต้องปรบั จํานวนภาษีให้สอดคล้องกบั การประเมนิ ภาษีท่มี กี ารเปลย่ี นแปลงต่าง ๆ ดงั กล่าว ซ่ึงอาจมผี ลใหจ้ ํานวนภาษีทห่ี กั ในเดอื น
ธนั วาคมนนั้ แตกต่างจากเดอื นอน่ื ๆ
10
หมวดที่ 6 ข้อกาํ หนดทวั่ ไปในการทาํ งาน
6.1 หน้าท่ีความรบั ผิดชอบของพนักงาน
นโยบายทวั่ ไปของบรษิ ทั ฯ มจี ุดประสงค์ทต่ี ้องการใหพ้ นกั งานแต่ละคนปฏบิ ตั หิ น้าทใ่ี หด้ ที ส่ี ุดตามความสามารถของแต่ละคน โดย
ประพฤตติ นใหเ้ หมาะสม ทงั้ ในขณะปฏบิ ตั หิ น้าทแ่ี ละเมอ่ื อยู่ภายนอกบรษิ ทั ฯ เพ่อื ผลดขี องพนักงานเองและเพ่อื ชอ่ื เสยี งขององคก์ าร พนกั งาน
ตอ้ งเคารพเชอ่ื ฟังผบู้ งั คบั บญั ชา ผจู้ ดั การและหวั หน้างานโดยปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บของบรษิ ทั ฯทก่ี าํ หนดไวท้ ุกประการ
6.2 การทาํ งาน
6.2.1 พนักงานต้องมารายงานตวั เขา้ รบั หน้าท่ใี ห้ตรงเวลา พนักงานทต่ี ้องสวมเคร่อื งแบบท่ีบรษิ ัทจดั หาให้ ต้องมาถึงบรเิ วณ
ทาํ งานหรอื หน่วยงานในชุดเครอ่ื งแบบทค่ี รบถว้ นตรงตามตารางเวลาเรมิ่ งานตามทผ่ี บู้ งั คบั บญั ชามอบหมาย
6.2.2 การมาทาํ งานสายจะถอื วา่ พนกั งานประพฤตผิ ดิ ทางวนิ ยั
6.2.3 พนกั งานตอ้ งปฏบิ ตั หิ น้าทอ่ี ย่ใู นหน่วยงานหรอื เขตรบั ผดิ ชอบต่อหน้าทข่ี องตนเท่านัน้ หากไมม่ กี จิ ใดๆ หา้ มเขา้ ไปเกย่ี วขอ้ งหรอื
ตดิ ต่อกบั แผนกอ่นื ยกเวน้ การตดิ ต่อเพอ่ื การปฏบิ ตั หิ น้าทเ่ี ทา่ นนั้
6.3 การลงเวลาทาํ งาน
เพอ่ื ความเป็นระเบยี บเกย่ี วกบั การบนั ทกึ เวลาเรมิ่ และเลกิ งาน การลาในระหว่างเวลาทํางาน พนักงานจะต้องปฏบิ ตั ติ ามรายละเอยี ด
ดงั น้ี
6.3.1 พนกั งานจะตอ้ งบนั ทกึ เวลาดว้ ยอุปกรณ์ หรอื วธิ กี ารทบ่ี รษิ ทั ฯ จดั ไวใ้ หเ้ พอ่ื บนั ทกึ เวลาเรม่ิ และเลกิ งาน ยกเวน้ ไดร้ บั การอนุมตั ิ
เป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจากผจู้ ดั การทวั่ ไป มฉิ ะนนั้ จะถอื วา่ พนกั งานผนู้ นั้ ขาดงาน
6.3.2 หา้ มพนกั งานบนั ทกึ เวลาใหก้ นั ไมว่ ่ากรณใี ด ๆ ทงั้ สน้ิ
6.3.3 พนกั งานทจ่ี ะขอลาหรอื ไปธรุ ะสว่ นตวั นอกบรษิ ทั ฯ ระหว่างเวลาปฏบิ ตั งิ าน ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากผบู้ งั คบั บญั ชาก่อนโดยให้
แจง้ สาเหตุทล่ี าและเวลาทจ่ี ะกลบั เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร มฉิ ะนนั้ จะถอื วา่ พนกั งานผนู้ นั้ ละทง้ิ หน้าท่ี
6.3.4 สาํ หรบั พนกั งานทม่ี ตี ําแหน่งตงั้ แต่หวั หน้าแผนกขน้ึ ไป เมอ่ื มเี หตุจาํ เป็นต้องออกจาก บรษิ ทั ฯ เพ่อื ตดิ ต่อธุรกจิ ของบรษิ ทั ฯ ให้
แจง้ ผูจ้ ดั การใหญ่ หรอื ผชู้ ่วยผจู้ ดั การใหญ่ทราบว่าจะกลบั เมอ่ื ใดหรอื ตดิ ต่อไดท้ ใ่ี ด ทงั้ น้ีเพอ่ื ความสะดวกในการตดิ ต่องานหากมี
ความจาํ เป็น
6.4 การรบั พนักงาน
คณุ สมบตั ิของพนักงานใหม่ที่บริษทั ฯ จะทาํ การว่าจา้ ง มีดงั นี้
6.4.1 ตอ้ งมอี ายุไมต่ ่ํากว่า 18 ปีบรบิ รู ณ์ และไมเ่ กนิ 60 ปีบรบิ รู ณ์ในวนั ทเ่ี ขา้ บรรจุเป็นพนกั งานของบรษิ ทั ฯ
6.4.2 ไมเ่ ป็นบุคคลทุพลภาพ จติ ฟัน่ เฟือน ไมส่ มประกอบ ไมเ่ ป็นโรคอย่างใดอยา่ งหน่ึงต่อไป น้คี อื โรคเรอ้ื น วณั โรค โรคพษิ สุราเรอ้ื รงั
ตดิ ยาเสพตดิ โรคตดิ ต่อทส่ี งั คมพงึ รงั เกยี จ หรอื โรคอน่ื ใดซง่ึ ยากแก่การรกั ษาใหห้ ายขาด และอาจเป็นอุปสรรคต่อการปฏบิ ตั งิ าน
6.4.3 ไมเ่ ป็นคนไรค้ วามสามารถ หรอื เสมอื นไรค้ วามสามารถ
6.4.4 ไมเ่ ป็นบุคคลลม้ ละลาย หรอื มหี น้สี นิ ลน้ พน้ ตวั
6.4.5 ไมเ่ คยถูกไลอ่ อก หรอื ถกู ปลดโดยมคี วามผดิ หรอื โดยมมี ลทนิ มวั หมองจากงานอน่ื มากอ่ น
6.4.6 ไมอ่ ย่ใู นระหว่างดาํ เนินคดที างอาญา เวน้ แต่ความผดิ นนั้ จะ เกดิ ขน้ึ โดยประมาทหรอื เป็นความผดิ ลหโุ ทษ
6.4.7 มคี วามประพฤตเิ รยี บรอ้ ย
6.4.8 มรี า่ งกายและสุขภาพแขง็ แรง เหมาะแก่การทจ่ี ะปฏบิ ตั หิ น้าทใ่ี นตาํ แหน่งงาน
6.4.9 ตอ้ งมคี ณุ วฒุ เิ หมาะสมแกห่ น้าทก่ี ารงานทบ่ี รษิ ทั ฯ ตกลงจะว่าจา้ ง
6.4.10เอกสารสมคั รงานถอื เป็นส่วนหน่งึ ในการทบ่ี รษิ ทั ฯ ตดั สนิ ใจรบั ผสู้ มคั รงานเขา้ เป็นพนักงานของบรษิ ทั ฯ ดงั นนั้ หากบรษิ ทั ฯ พสิ จู น์ได้
ว่าพนกั งานไดใ้ หข้ อ้ มลู ทไ่ี มต่ รงกบั ความเป็นจรงิ หรอื ใหข้ อ้ มลู เทจ็ บรษิ ทั ฯ อาจถอื ว่าการรบั พนกั งานดงั กล่าวเกดิ ขน้ึ โดยสําคญั ผดิ ใน
สาระสาํ คญั ซง่ึ ทาํ ใหก้ ารจา้ งงานเป็นโมฆะ และบรษิ ทั ฯ สามารถเลกิ จา้ งไดท้ นั ที
11
6.4.11 บรษิ ทั ฯ จะใหพ้ นกั งานใหมท่ ดลองปฏบิ ตั งิ านเป็นเวลาไมเ่ กนิ 90 วนั ตดิ ต่อกนั เมอ่ื ครบกาํ หนดระยะเวลาทดลองงาน หากปรากฏว่า
พนกั งานนนั้ มคี วามรู้ ความสามารถเหมาะสม บรษิ ทั ฯ จะมคี าํ สงั่ บรรจุเป็นพนกั งานประจําโดยจะแจง้ ใหท้ ราบเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร
หากครบกาํ หนดระยะเวลาทดลองงาน ภายในระยะเวลาไม่เกนิ 90 วนั ผลการปฏบิ ตั งิ านไมเ่ ป็นทน่ี ่าพอใจ บรษิ ทั ฯ มสี ทิ ธทิ จ่ี ะเลกิ
จา้ งพนักงานผูน้ ัน้ ได้ โดยบรษิ ทั ฯ จะบอกกล่าวล่วงหน้าก่อน 1 งวดการจ่ายค่าจา้ งและปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายคุ้มครองแรงงานทุก
ประการ
6.4.12 บรษิ ทั ฯ สามารถทจ่ี ะรบั ญาตหิ รอื ครอบครวั ของพนกั งานปัจจบุ นั เขา้ ทาํ งานไมว่ ่าจะใชน้ ามสกุลร่วมกนั หรอื ไม่กต็ าม เวน้ แต่ใน
กรณีจาํ เป็นและไดร้ บั ความเห็นชอบจากผจู้ ดั การทวั่ ไป ในกรณพี นกั งานสมรสกบั พนกั งานดว้ ยกนั บรษิ ทั ฯ อาจจําเป็นต้อง
เปลย่ี นแปลงหน้าทห่ี รอื แผนก โดยบรษิ ทั ฯ จะพจิ ารณาดว้ ยความเป็นธรรม และทุกความสมั พนั ธ์จะต้องแจง้ ใหฝ้ ่ายทรพั ยากร
บคุ คลทราบ
6.4.13 พนกั งานใหมจ่ ะตอ้ งนําใบรบั รองสุขภาพจากสถานพยาบาลหรอื โรงพยาบาลมายน่ื ต่อบรษิ ทั ฯ ก่อน หรอื วนั เรม่ิ เขา้ ทาํ งาน และ
ผลการตรวจสุขภาพตอ้ งผ่านเกณฑท์ บ่ี รษิ ทั ฯ กาํ หนด
6.4.14 ในระหว่างการวา่ จา้ งพนกั งาน พนกั งานจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามขอ้ บงั คบั เกย่ี วกบั การทาํ งานของบรษิ ทั ฯ ทงั้ น้ีรวมไปถงึ กฎระเบยี บ
และหรอื ขอ้ บงั คบั ทบ่ี รษิ ทั ฯ อาจจะปรบั เปลย่ี นไดใ้ นอนาคตโดยไมข่ ดั กบั กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
6.5 หลกั เกณฑก์ ารเลือ่ นตาํ แหน่งและการโยกย้าย
หลกั เกณฑ์ในการพิจารณาการเล่อื นตําแหน่งและแต่งตัง้ พนักงาน บรษิ ัทฯ จะพจิ ารณาถึงหน้าท่คี วามรบั ผดิ ชอบ ผลงาน ความ
ซอ่ื สตั ย์ ความประพฤติ และอตั ราเงนิ เดอื นเป็นมลู ฐานในการพจิ ารณา
พนักงานท่ีบรษิ ัทฯ โยกยา้ ยให้ไปดํารงตําแหน่งอ่ืน ไม่ว่าจะเป็นการเล่อื นตําแหน่งหรอื ไม่กต็ าม บรษิ ัทฯ มสี ทิ ธกิ ําหนดให้มกี าร
ทดลองปฏบิ ตั งิ านในตาํ แหน่งใหมใ่ นระยะเวลาหน่งึ เพ่อื ดคู วามสามารถ และ/หรอื ความเหมาะสมแลว้ แต่กรณี หากปรากฎว่าพนกั งานผูน้ นั้ ไม่
เหมาะสมกบั ตาํ แหน่งใหมก่ อ็ าจใหย้ า้ ยกลบั มาทาํ งานในตาํ แหน่งเดมิ หรอื ยา้ ยไปทาํ งานตําแหน่งอ่นื ต่อไปกไ็ ด้
อน่ึง ในระหว่างการทาํ งานของพนกั งานกบั บรษิ ทั ฯ ผจู้ ดั การใหญ่มสี ทิ ธโิ ยกยา้ ยหรอื ปรบั เปลย่ี นพนกั งานจากงานทท่ี ําอยู่ไปยงั แผนกอ่นื
ทงั้ น้ี โดยไมข่ ดั กบั กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
12
หมวดท่ี 7 ระเบยี บปฏิบตั ิของพนักงาน
7.1 ระเบียบเก่ียวกบั มารยาทในการปฏิบตั ิหน้าที่
7.1.1 พนกั งานทกุ คนจะตอ้ งตงั้ ใจปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องตนเองใหด้ ที ส่ี ดุ และเตม็ ความสามารถ
7.1.2 พนกั งานตอ้ งสรา้ งและรกั ษาไวซ้ ง่ึ ชอ่ื เสยี ง รวมทงั้ ผลประโยชน์และความลบั บรษิ ทั ฯ
7.1.3 พนกั งานตอ้ งไมใ่ หค้ วามสนทิ สนมกบั ลกู คา้ จนเกนิ สมควร
7.1.4 พนกั งานตอ้ งปฏบิ ตั ติ อ่ ลกู คา้ และผมู้ าตดิ ต่อดว้ ยกรยิ ามารยาทและอธั ยาศยั อนั ดงี าม
7.1.5 งดการพดู คยุ เรอ่ื งส่วนตวั หรอื วพิ ากษ์วจิ ารณ์ลูกคา้ หรอื เพอ่ื นร่วมงาน ควรสนทนาเฉพาะเรอ่ื งในหน้าทเ่ี ทา่ นนั้
7.1.6 พนกั งานทม่ี หี น้าทต่ี ดิ ต่อกบั ลกู คา้ หา้ มสบู บุหร่ี เคย้ี วอาหารหรอื หมากฝรงั่ ในระหว่างปฏบิ ตั หิ น้าทโ่ี ดยเดด็ ขาด
7.1.7 พนกั งานตอ้ งใหก้ ารบรกิ ารลกู คา้ ตามหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบดว้ ยความเสมอภาคกนั
7.1.8 พนกั งานตอ้ งมคี วามสาํ รวม โดยไมว่ ง่ิ ไมพ่ ดู หรอื ส่งเสยี งดงั ตะโกนโหวกเหวก หรอื หยอกลอ้ กบั ลกู คา้ หรอื เพอ่ื นพนกั งานดว้ ยกนั
โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในบรเิ วณทใ่ี หบ้ รกิ ารลกู คา้
7.1.9 หา้ มพนกั งานขน้ึ ไปบนอาคารหรอื เขา้ หอ้ งพกั ของลกู คา้ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากผบู้ รหิ าร ยกเวน้ การเขา้ ปฏบิ ตั งิ านตามหน้าท่ี
ในเวลาทาํ งาน
7.1.10 พนกั งานตอ้ งมคี วามยนิ ดใี หค้ วามช่วยเหลอื เกอ้ื กลู และสรา้ งความสามคั คตี ่อเพอ่ื นพนกั งานทกุ คน
7.1.11 หา้ มพนกั งานใชโ้ ทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทส่ี ่วนตวั หรอื โทรศพั ทข์ องบรษิ ทั ตดิ ต่อเรอ่ื งสว่ นตวั ในระหว่างปฏบิ ตั หิ น้าท่ี ยกเวน้ ในตําแหน่งท่ี
ไดร้ บั อนุญาต
7.1.12 พนกั งานตอ้ งอยใู่ นบรเิ วณทไ่ี ดร้ บั มอบหมายใหป้ ฏบิ ตั หิ น้าทเ่ี ท่านนั้ หา้ มพนกั งานเขา้ ไปในบรเิ วณใดบรเิ วณหน่งึ ของบรษิ ทั ฯ
โดยเดด็ ขาดนอกจากจะมหี น้าทป่ี ฏบิ ตั งิ านในบรเิ วณนนั้
7.1.13 หา้ มพนกั งาน ลว้ ง แคะ แกะ สว่ นใดๆ ของร่างกายในบรเิ วณสาธารณะของอาคาร หรอื บรเิ วณใหบ้ รกิ ารลกู คา้
7.2 ระเบียบการแต่งกาย
ระเบยี บการแต่งกายน้กี าํ หนดขน้ึ เพอ่ื ใหพ้ นกั งานทกุ ทา่ นมบี คุ ลกิ ภาพทด่ี แี ละมมี าตรฐานเดยี วกนั โดยพนกั งานตอ้ งปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
พนักงานหญิง
1) ใบหน้า
1.1 พนกั งานหญงิ ตอ้ งแต่งหน้าพอสมควร หา้ มแต่งหน้าดว้ ยเครอ่ื งสาํ อางเขม้ เกนิ งาม
1.2 หา้ มสกั ยนั ตบ์ นใบหน้า บรเิ วณทใ่ี กลเ้ คยี งกบั ใบหน้า หรอื ในสว่ นทเ่ี หน็ ชดั
1.3 หา้ มเจาะจมกู หรอื ใสเ่ ครอ่ื งประดบั จมกู
1.4 ใสต่ ่างหเู กนิ 1 คู่ เป็นสง่ิ ทบ่ี รษิ ทั ขอแนะนํา
2) ผม
2.1 พนกั งานหญงิ ตอ้ งดแู ลความเรยี บรอ้ ยเสมอ หากไวผ้ มยาวใหร้ วบผมใหเ้ รยี บรอ้ ย อนุญาตใหใ้ ชย้ างรดั ผมแบบสุภาพ
2.2 การทาํ สเี สน้ ผมใหม้ สี เี ปลย่ี นไปจากสเี ป็นธรรมชาติ จะตอ้ งผ่านการอนุมตั จิ ากผจู้ ดั การทวั่ ไปก่อนเสมอ
ตลอดเวลาการทาํ งานในพน้ื ทอ่ี าหารและเครอ่ื งดม่ื พนกั งานจะตอ้ งใส่หมวกหมวกครอบผมตลอดเวลา
3) เครื่องประดบั
3.1 แนะนําใส่เครอ่ื งประดบั ใหน้ ้อยชน้ิ ทส่ี ดุ
3.2 หา้ มสวมเครอ่ื งประดบั ทม่ี รี าคาแพง
3.3 อนุญาตใหส้ ามารถสวมใสน่ าฬกิ าแบบและสสี ภุ าพได้
3.4 แนะนําใหใ้ สเ่ ป็นต่างหชู น้ิ เลก็
13
3.5 เพอ่ื ความสะอาด หา้ มพนกั งานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การประกอบอาหารหรอื บรกิ ารเสรฟิ อาหารสวมแหวนทม่ี หี วั สตี ่างๆหรอื สรอ้ ยขอ้ มอื
ประดบั ขณะปฏบิ ตั งิ าน
4) เครอ่ื งแบบ
พนกั งานหญงิ ทส่ี วมเครอ่ื งแบบ
4.1 พนกั งานทส่ี วมใสเ่ ครอ่ื งแบบตอ้ งสวมเครอ่ื งแบบทซ่ี กั รดี เรยี บรอ้ ย ไมม่ รี อยยบั ย่นมากเกนิ ไป
4.2 พนกั งานตอ้ งตรวจความเรยี บรอ้ ยของเครอ่ื งแบบทุกครงั้ กอ่ นออกและขณะปฏบิ ตั หิ น้าท่ี เชน่ กระดมุ ตะขอ ซปิ ฯลฯ
วา่ ตดิ ครบตลอดเวลา
4.3 พนกั งานทส่ี วมเครอ่ื งแบบตอ้ งตดิ ป้ายชอ่ื บนเสอ้ื เครอ่ื งแบบขณะปฏบิ ตั หิ น้าทต่ี ลอดเวลา
5) รองเท้าและถงุ เท้าสาํ หรบั พนักงานหญิงท่ีสวมเครื่องแบบ
5.1 พนกั งานหญงิ ทส่ี วมเครอ่ื งแบบตอ้ งสวมรองเทา้ หุม้ สน้ สดี าํ หรอื รองเทา้ ตามแบบทโ่ี รงแรมกาํ หนด ในขณะปฏบิ ตั หิ น้าท่ี
หา้ มสวม รองเทา้ ผา้ ใบ (ยกเวน้ พนกั งานแผนก Health Club) หรอื รองเทา้ แตะ
5.2 ตอ้ งดแู ลทาํ ความสะอาดรองเทา้ ขดั มนั และปราศจากกลนิ่
พนักงานชาย
1) ใบหน้า
1.1 พนกั งานชายการไวห้ นวดและเคราจะตอ้ งไดร้ บั การอนุมตั จิ ากผจู้ ดั การทวั่ ไปก่อนเสมอ
1.2 การสกั ยนั ต์บนใบหน้า บรเิ วณใกลเ้ คยี งใบหน้า หรอื บนร่างกายบรเิ วณทส่ี ามารถมองเหน็ ไดช้ ดั เจนถอื เป็นขอ้ หา้ ม
1.3 หา้ มเจาะจมกู หรอื ใสเ่ ครอ่ื งประดบั จมกู
1.4 หา้ มพนกั งานชายใส่ต่างหทู ุกชนดิ
2) ผม
2.1 พนกั งานชายตอ้ งไวผ้ มทรงสนั้ ทส่ี ุภาพ ตอ้ งตดั ผม รกั ษาความสะอาด หวเี รยี บรอ้ ยและดแู ลความเรยี บรอ้ ยเสมอ
2.2 การโกรกหรอื ยอ้ มสเี สน้ ผมใหม้ สี สี ว่างเกนิ ไปจากเป็นธรรมชาติ หรอื ยอ้ มผมสตี ามแฟชนั่ ตอ้ งผา่ นการอนุมตั จิ ากผจู้ ดั การทวั่ ไป
ก่อนเสมอ
3) เครื่องประดบั
3.1 แนะนําใส่เครอ่ื งประดบั ใหน้ ้อยชน้ิ ทส่ี ดุ
3.2 หา้ มสวมใส่เครอ่ื งประดบั ทม่ี รี าคาแพง
3.3 อนุญาตใหส้ ามารถสวมใสน่ าฬกิ าแบบและสสี ุภาพได้
3.4 การสวมใส่ต่างหสู าํ หรบั พนกั งานชายตอ้ งไดร้ บั การอนุมตั จิ ากผบู้ รหิ ารกอ่ นเสมอ
3.5 เพอ่ื ความสะอาดหา้ มพนกั งานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การประกอบอาหารหรอื บรกิ ารเสรฟิ อาหารสวมแหวนทม่ี หี วั พลอยหรอื หนิ สี
หรอื สรอ้ ยขอ้ มอื ทม่ี เี ครอ่ื งประดบั ตุง้ ตง้ิ ขณะปฏบิ ตั งิ าน
4) เครื่องแบบ
พนกั งานชายในเครอ่ื งแบบ
4.1 พนกั งานชายทส่ี วมเครอ่ื งแบบตอ้ งสวมเครอ่ื งแบบทซ่ี กั รดี เรยี บรอ้ ย ไมม่ รี อยยบั ยน่ มากเกนิ ไป
4.2 พนกั งานตอ้ งตรวจความเรยี บรอ้ ยของเครอ่ื งแบบทุกครงั้ ก่อนออกและขณะปฏบิ ตั หิ น้าท่ี เช่นกระดุม ตะขอ ซปิ ฯลฯ ว่าตดิ ครบ
ตลอดเวลา
4.3 พนกั งานทส่ี วมเครอ่ื งแบบตอ้ งตดิ ป้ายชอ่ื บนเสอ้ื เครอ่ื งแบบขณะปฏบิ ตั หิ น้าทต่ี ลอดเวลา
14
5) รองเท้าและถงุ เท้า
5.1 รองเทา้ ทจ่ี ะสวมใส่ในขณะปฏบิ ตั หิ น้าทจ่ี ะถกู ถกู กาํ หนดโดยทมี บรหิ าร
5.2 รองเทา้ ตอ้ งสะอาดอยเู่ สมอ
อนามยั ส่วนบคุ คลของพนักงานหญิงและชาย
1.ดแู ลความสะอาดของมอื และเลบ็ โดยตดั เลบ็ ใหเ้ หมาะสมอยเู่ สมอ
2.หา้ มพนกั งานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การประกอบอาหารหรอื บรกิ ารเสรฟิ อาหาร แต่งสเี ลบ็ ใดๆ โดยเดด็ ขาด
3.ลา้ งมอื ฟอกสบ่ทู กุ ครงั้ หลงั จากการใชห้ อ้ งน้ํา
4.เมอ่ื มบี าดแผลเลก็ ๆ ใหใ้ ชพ้ ลาสเตอรป์ ิดแผลขนาดพอดไี มใ่ หญ่เกนิ ไป และตอ้ งดูแลความสะอาดของใชพ้ ลาสเตอร์ปิดแผลอย่เู สมอ ถา้ ไม่
แน่ใจว่าสมควรตดิ พลาสเตอรป์ ิดแผลหรอื ไม่ ขอใหส้ อบถามหวั หน้าแผนกถงึ ความเหมาะสม หากบาดแผลทเ่ี ป็นนนั้ ดูไม่เหมาะสมเมอ่ื ปฏบิ ตั ิ
หน้าทต่ี ่อหน้าลกู คา้
5.ชาํ ระร่างกาย และใชย้ าดบั กลน่ิ ตวั ทุกครงั้ ตอ้ งสระผมและดแู ลความสะอาดของผมอย่เู สมอ
6.กอ่ นเรมิ่ งานตอ้ งแปรงฟันทุกครงั้ หลงั รบั ประทานอาหาร
7.ไมค่ วรใส่น้ําหอมทม่ี กี ลน่ิ ฉุน หรอื มากเกนิ ความจาํ เป็น
8.ไมบ่ บี สวิ แคะหู แคะจมกู เคย้ี วหมากฝรงั่ หรอื อาหาร เมอ่ื อย่ใู นบรเิ วณทม่ี ลี กู คา้
9.มบี คุ ลกิ ดี ยม้ิ แยม้ แจม่ ใส ในขณะปฏบิ ตั หิ น้าท่ี
10. ตอ้ งปฏบิ ตั หิ น้าทด่ี ว้ ยความตงั้ ใจ เตม็ ใจ ดแู ลเอาใจใส่และพรอ้ มใหก้ ารบรกิ ารตามหน้าทแ่ี กล่ กู คา้ เสมอ
7.3 ระเบียบการบนั ทึกเวลา การเข้างานและการเลิกงาน
1.พนกั งานทุกคนจะตอ้ งเขา้ -ออก จากบรษิ ทั ฯ โดยใชเ้ สน้ ทางเขา้ -ออกซง่ึ ทางบรษิ ทั ฯ จดั ไวส้ าํ หรบั พนกั งานโดยเฉพาะ หา้ มพนกั งาน
ใชเ้ สน้ ทางเขา้ -ออกทางดา้ นหน้าของบรษิ ทั ฯ ซง่ึ จดั ไวส้ าํ หรบั แขกโดยเดด็ ขาด
2.พนกั งานตอ้ งลงบนั ทกึ เวลาการทาํ งานดว้ ยเครอ่ื งบนั ทกึ ลายน้วิ มอื ทกุ ครงั้ ท่ี เขา้ หรอื ออกจากบรษิ ทั ฯ หากเคร่อื งบนั ทกึ ลายน้ิวมอื
มปี ัญหา พนกั งานตอ้ งแสดงตวั ต่อแผนกรกั ษาความปลอดภยั และลงลายมอื ชอ่ื เพอ่ื เป็นหลกั ฐานการเขา้ และการออก ของรอบเวลา
ทาํ งาน
3.การไมบ่ นั ทกึ เวลาเขา้ งานหรอื เลกิ งานดว้ ยความจงใจหรอื ไมจ่ งใจ ถอื เป็นการทาํ ผดิ วนิ ยั
4.เมอ่ื ลงเวลาเขา้ ทาํ งานแลว้ หา้ มออกไปนอกบรเิ วณบรษิ ทั ฯ เวน้ แต่จะไดร้ บั อนุญาตจากผบู้ รหิ าร
5.พนกั งานทกุ คนตอ้ งรายงานตวั ณ บรเิ วณทท่ี าํ งานของตนตรงตามเวลาทก่ี าํ หนด
6.อนุญาตใหพ้ นกั งานมาก่อนเวลาปฏบิ ตั หิ น้าทไ่ี ดไ้ มเ่ กนิ 1 ชวั่ โมงกอ่ นเวลาเขา้ งานจรงิ
7.ไมอ่ นุญาตใหพ้ นกั งานอยใู่ นบรเิ วณบรษิ ทั ฯ เมอ่ื เลกิ งานแลว้ เวน้ แต่ไดร้ บั อนุญาตจากผบู้ รหิ าร
7.4 ระเบียบเก่ียวกบั การเปล่ียนแปลงข้อมลู ส่วนบคุ คล
พนกั งานมหี น้าทต่ี อ้ งแจง้ ใหฝ้ ่ายบุคคลทราบ เมอ่ื มกี ารเปลย่ี นแปลงสถานะสว่ นตวั ภายใน 7 วนั นบั จากมกี าเปลย่ี นแปลง อนั ไดแ้ ก่
1.การเปลย่ี นแปลงชอ่ื ตวั ชอ่ื สกุล บตั รประจาํ ตวั ประชาชน
2.หมายเลขโทรศพั ทข์ องทอ่ี ย่ปู ัจจุบนั และทอ่ี ยตู่ ามทะเบยี นบา้ น
3.สถานภาพทางครอบครวั เชน่ สมรส หยา่ การเปลย่ี นแปลงผมู้ สี ทิ ธริ บั ประโยชน์ต่างๆ ของพนกั งาน
4.พนกั งานหญงิ ทม่ี คี รรภจ์ ะตอ้ งรายงานผลรบั รองการตงั้ ครรภ์จากแพทย์ ต่อฝ่ายทรพั ยากรบุคคลภายใน 15 วนั นบั จากวนั ทท่ี ราบผล
การตงั้ ครรภ์ เพอ่ื จดั ตารางการทาํ งานใหเ้ หมาะสม
7.5 ระเบียบเกี่ยวกบั การใช้อปุ กรณ์ และอปุ กรณ์อาํ นวยความสะดวก
7.5.1 อุปกรณ์สาํ นกั งานและอุปกรณ์ในการทาํ งาน โดยพนกั งานทกุ คนมหี น้าทด่ี แู ล จดั เกบ็ รกั ษา อุปกรณ์และสง่ิ อํานวยความสะดวกในการ
ทาํ งานต่างๆ ทบ่ี รษิ ทั ฯ จดั ให้ เพอ่ื ใหอ้ ุปกรณ์อยู่ในสภาพทด่ี ี พรอ้ มใชง้ านไดต้ ลอดเวลา หา้ มพนักงานนําสง่ิ ของเครอ่ื งใชใ้ ดๆ อนั
เป็นทรพั ยส์ นิ ของบรษิ ทั ฯ ไปใชเ้ พอ่ื ประโยชน์ส่วนตวั หรอื นําออกไปนอกบรเิ วณบรษิ ทั ฯ หรอื มไี วใ้ นครอบครองโดยเดด็ ขาด
15
การขโมยทรพั ย์สนิ อย่างใดอย่างหน่ึงภายในบริษัทฯ ไม่ว่าจะเป็นของลูกค้าหรอื ของเพ่อื นพนักงานจะถือเป็นความผดิ ทงั้ ต่อ
กฎหมายบา้ นเมอื งและกฎขอ้ บงั คบั ของบรษิ ทั ฯ จะตอ้ งถูกดาํ เนนิ คดตี ามกฎหมาย และถกู เลกิ จา้ งโดยไมไ่ ดร้ บั คา่ ชดเชยใดๆ
7.5.2 พนักงานต้องติดป้ายช่อื ตลอดเวลา ในระหว่างเวลาทํางาน หากเกดิ การชํารุด หรอื สูญหาย พนักงานต้องรายงานให้ฝ่ าย
ทรพั ยากรบคุ คลทราบทนั ที กรณสี ญู หายจะตอ้ งชาํ ระค่าปรบั เพอ่ื ทาํ การทาํ ป้ายชอ่ื ใหม่
7.5.3 เครอ่ื งแบบพนกั งานทบ่ี รษิ ทั ฯ มอบใหพ้ นกั งานเพอ่ื ใชร้ ะหว่างการเป็นพนกั งานถอื เป็นทรพั ยส์ นิ ของบรษิ ทั ฯ กรณเี กดิ ชาํ รุด พนกั งาน
ตอ้ งรบี แจง้ ใหเ้ จา้ หน้าทห่ี อ้ งผา้ จดั การซ่อมแซมใหเ้ รยี บรอ้ ยทนั ที ซง่ึ พนกั งานมหี น้าทต่ี อ้ งดูแลรกั ษา หากเกดิ ความเสยี หายหรอื
สญู หาย จะดว้ ยเจตนาหรอื ไมก่ ต็ าม พนกั งานจกั ตอ้ งรบั ผดิ ชอบค่าใชจ้ า่ ยทเ่ี กดิ ขน้ึ
7.5.4 ตลู้ อ็ คเกอร์ พนกั งานทส่ี วมเครอ่ื งแบบไดร้ บั อนุญาตใหใ้ ชต้ ูล้ อ็ คเกอรข์ องบรษิ ทั ฯ ดงั นนั้ พนักงานมหี น้าทด่ี ูแลรกั ษาความสะอาด
และรบั ผดิ ชอบต่อความเสยี หายทกุ อย่างทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ตลู้ อ็ คเกอรข์ องตน
ขอ้ ปฏิบตั ิสาํ หรบั การใช้ต้ลู อ็ คเกอร์ พนักงานต้องปฏิบตั ิดงั ต่อไปน้ี
1.ทางบรษิ ทั ฯ จะจดั เตรยี มตูล้ อ็ คเกอรส์ าํ หรบั พนกั งานทกุ คน
2.พนกั งานมสี ทิ ธใิ ชต้ ลู้ อ๊ คเกอร์ คนละ 1 ตูเ้ ทา่ นนั้
3.พนกั งานจะตอ้ งรบั ผดิ ชอบตูล้ อ็ คเกอรท์ ใ่ี ชโ้ ดยไมม่ สี ทิ ธทิ จ่ี ะแลกเปลย่ี นตูล้ อ็ คเกอร์ของตนเองกบั พนกั งานคนอ่นื ๆ โดยมไิ ด้
รบั อนุญาตจากฝ่ายทรพั ยากรบคุ คล
4.กรณที พ่ี นักงานลมื รหสั ผ่าน จะตอ้ งดําเนินการแจง้ ฝ่ายทรพั ยากรบุคคล เพอ่ื ดาํ เนินการเปิดล๊อคเกอรด์ ว้ ยกุญแจ โดยมฝี ่าย
รกั ษาความปลอดภยั เป็นพยาน และจะมกี ารบนั ทกึ การเปิดตูล้ อ็ คเกอรโ์ ดยเจา้ หน้าทร่ี กั ษาความปลอดภยั
5.พนกั งานทใ่ี ชต้ ทู้ กุ คนมหี น้าทด่ี แู ลรวมถงึ การทาํ ความสะอาดตูข้ องตนเองทงั้ ภายนอกและภายใน รวมถงึ หา้ มการตดิ รูปลอก
หรอื สตกิ เกอรใ์ ดๆ บนตู้
6.หา้ มนําอาหารสดทกุ ชนดิ ใส่ไวใ้ นตูล้ อ็ คเกอร์
7.สง่ิ ของใดๆทเ่ี ป็นสมบตั ขิ องบรษิ ทั ฯ หา้ มเกบ็ ไวใ้ ชเ้ ป็นสมบตั สิ ่วนตวั ในตลู้ อ็ คเกอรย์ กเวน้ เครอ่ื งแบบพนกั งาน
8.ของใชส้ ่วนตวั เชน่ เสอ้ื ผา้ เครอ่ื งแบบ เครอ่ื งสาํ อางและรองเทา้ ตอ้ งเกบ็ ไวใ้ นตูล้ อ็ คเกอรเ์ ท่านนั้
9.ไมอ่ นุญาตใหพ้ นกั งานแขวนเสอ้ื ผา้ หรอื วางสง่ิ ของอ่นื ใดนอกตูล้ อ็ คเกอร์
10. การตรวจเชค็ ตลู้ อ็ คเกอร์ ดว้ ยความร่วมมอื จากผจู้ ดั การแผนกรกั ษาความปลอดภยั รวมทงั้ เจา้ หน้าทฝ่ี ่ายทรพั ยากรบุคคล
โดยไมต่ อ้ งบอกกลา่ วล่วงหน้า
11. พนกั งานทฝ่ี ่าฝืนระเบยี บวนิ ยั ขอ้ 6. และ 7. จะไดร้ บั การพจิ ารณาโทษ
12. ไมแ่ นะนําใหพ้ นกั งานนําสงิ่ ของมคี ่าเกบ็ ไวใ้ นตู้ลอ็ คเกอร์ ทางบรษิ ทั ไมร่ บั ผดิ ชอบต่อการสญู หายของทรพั ยส์ นิ ทเ่ี กบ็ ในตู้
ลอ็ คเกอร์
13. กรณที พ่ี นกั งานพบขอ้ บกพรอ่ งหรอื เหตุการณ์น่าสงสยั ของตลู้ อ็ คเกอรก์ รณุ าแจง้ ทฝ่ี ่ายทรพั ยากรบุคคลทราบโดยดว่ น
14. พนกั งานทท่ี าํ ความเสยี หายใหก้ บั ลอ๊ กเกอร์ จะตอ้ งรบั ผดิ ชอบค่าซ่อมแซม ตามราคาทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ
15. ไมอ่ นุญาตใหพ้ นกั งานนํากุญแจแบบคลอ้ ง มาคลอ้ งตโู้ ดยเดด็ ขาด
7.6 ระเบยี บเกี่ยวกบั การใช้ห้องอาหารพนักงาน
7.6.1 ทางบริษัทฯ ได้จัดเตรียมห้องอาหารให้พนักงานรบั ประทานในวนั ทํางานเท่านัน้ พนักงานจะต้องรกั ษาระเบียบการใช้
หอ้ งอาหารพนกั งานดงั น้ี
(1) อุปกรณ์เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชท้ บ่ี รษิ ทั ฯ จดั เตรยี มไวใ้ นหอ้ งอาหารพนกั งานนนั้ หา้ มพนกั งานนําอุปกรณ์ทุกชนิดออกนอกหอ้ งอาหาร
ยกเวน้ กรณที ไ่ี ดร้ บั อนุญาตจากผบู้ รหิ าร
(2) การรกั ษาความสะอาดโต๊ะอาหารและเกา้ อ้หี ลงั การใชเ้ ป็นมารยาททด่ี ขี องการรบั ประทานอาหารในหอ้ งอาหารพนกั งาน
7.6.2 การใชโ้ ทรศพั ท์ หา้ มพนักงานใชโ้ ทรศพั ท์ในการตดิ ต่อเร่อื งส่วนตวั ท่ไี ม่ใช่ธุรกจิ ของบรษิ ทั ฯ โดยเดด็ ขาด ในกรณมี โี ทรศพั ท์
ภายนอกมาถงึ พนักงานในระหว่างปฏบิ ตั ิหน้าท่ี พนักงานรบั โทรศพั ทจ์ ะส่งสายให้เจา้ หน้าทฝ่ี ่ ายทรพั ยากรบุคคลเป็นผูร้ บั เร่อื ง
และจดขอ้ ความเพอ่ื แจง้ รายละเอยี ดต่างๆ จากผทู้ โ่ี ทรศพั ทเ์ ขา้ มา ในกรณถี า้ เป็นเรอ่ื งดว่ นจงึ จะตามพนักงานมารบั สายได้ และ
หา้ มพนกั งานใชโ้ ทรศทั พส์ ว่ นตวั ในระหว่างเวลางานยกเวน้ ตาํ แหน่งทไ่ี ดร้ บั อนุญาตจากผบู้ รหิ ารเทา่ นนั้
16
7.6.3 การใชล้ ฟิ ต์ พนกั งานสามารถใชล้ ฟิ ท์ในกรณจี ําเป็น หรอื ต้องการเคล่อื นยา้ ยสง่ิ ของเท่านนั้ พนักงานต้องระวงั รกั ษาไม่ใหเ้ กดิ
ความสกปรกในลฟิ ต์ เมอ่ื มลี กู คา้ รอใชบ้ รกิ ารลฟิ ต์ ตอ้ งรอใหล้ ูกคา้ ไดส้ ทิ ธกิ ารใชบ้ รกิ ารใหเ้ รยี บรอ้ ยก่อน กรณีการขน้ึ ลงเพยี ง
หน่งึ หรอื สองชนั้ ใหใ้ ชบ้ นั ไดแทน และพนกั งานจะตอ้ งใชล้ ฟิ ทต์ ามทบ่ี รษิ ทั ฯ กาํ หนดไวเ้ ทา่ นนั้
7.6.4 สถานทท่ี จ่ี ดั ไวส้ าํ หรบั บรกิ ารลูกคา้ บรษิ ทั ฯ ไม่อนุญาตใหพ้ นกั งานใชส้ ถานทท่ี จ่ี ดั ไวส้ าํ หรบั บรกิ ารลูกคา้ ยกเวน้ พนกั งานทม่ี หี น้าท่ี
ปฏบิ ตั งิ านอยู่ ณ ทน่ี นั้ หรอื ไดร้ บั อนุญาตจากฝ่ายบรหิ าร เช่น ลอบบ้ี หอ้ งอาหาร หรอื หอ้ งน้ําสาํ หรบั ลกู คา้
7.7 ระเบยี บเก่ียวกบั ทรพั ยส์ ิน และการเกบ็ ส่ิงของที่ตกไดใ้ นบริเวณบริษทั ฯ
กรณที พ่ี นกั งานพบเหน็ สงิ่ ของใดๆ ตกหล่นอยใู่ นบรเิ วณของบรษิ ทั ฯ และไมท่ ราบว่าเป็นของใครหรอื ไมส่ ามารถคนื ใหก้ บั เจา้ ของได้
ใหแ้ จง้ ผบู้ งั คบั บญั ชาทราบทนั ทเี พอ่ื หาเจา้ ของ ถา้ ไม่สามารถกระทาํ ไดใ้ นขณะนนั้ ใหน้ ําส่งสง่ิ ของทพ่ี บนนั้ ไปยงั ทแ่ี ผนกแมบ่ า้ นเพ่อื ลงบนั ทกึ
ของทเ่ี กบ็ ได้ ซง่ึ โดยปกตหิ ากไมส่ ามารถตามหาเจา้ ของไดภ้ ายในระยะเวลาทก่ี ําหนดไวใ้ นระเบยี บ สงิ่ ของนัน้ จะมอบคนื ใหก้ บั ผทู้ เ่ี กบ็ ได้ เมอ่ื
จะนําสงิ่ ของดงั กล่าวออกนอกบรษิ ทั ฯ ผูพ้ บสง่ิ ของจะต้องมหี นังสอื ทไ่ี ดร้ บั การอนุมตั จิ ากผูบ้ รหิ าร ใบนําของออก (Gate Pass) เพอ่ื แสดงต่อ
เจา้ หน้าทร่ี กั ษาความปลอดภยั หากพนกั งานไมป่ ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บน้ี จะถอื วา่ พนกั งานมเี จตนาขโมยสง่ิ ของ ซง่ึ ถอื เป็นความผดิ ขนั้ รา้ ยแรงตาม
กฎหมาย และต่อระเบยี บขอ้ บงั คบั ของบรษิ ทั ฯ
นอกจากน้ี สงิ่ ของใดๆ ทล่ี กู คา้ ไดม้ อบใหพ้ นกั งาน จะตอ้ งมจี ดหมายรบั รองของลกู คา้ มาแสดงโดยแนบพรอ้ มสง่ิ ของทม่ี อบใหเ้ พอ่ื เป็น
การยนื ยนั ประกอบกบั ใบอนุญาตนําของออก (Gate Pass)
7.8 ระเบยี บเก่ียวกบั การตรวจคน้
7.8.1 พนักงานตอ้ งยนิ ยอมใหเ้ จา้ หน้าทร่ี กั ษาความปลอดภยั หรอื ผู้ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจากบรษิ ทั ทาํ การตรวจคน้ กระเป๋ า หรอื สง่ิ ของ ทงั้ ใน
เวลาเขา้ หรอื ออกจากตวั อาคารของบรษิ ทั ฯ รวมทงั้ ขณะปฏบิ ตั หิ น้าทอ่ี ยใู่ นบรเิ วณอาคารบรษิ ทั ฯ
7.8.2 พนกั งานทม่ี คี วามจาํ เป็นตอ้ งนํากระเป๋ า หบี หอ่ สง่ิ ของหรอื อุปกรณ์ไฟฟ้า เขา้ มาในบรเิ วณหรอื ออกนอกบรเิ วณบรษิ ทั ฯ จะต้องฝาก
สง่ิ ของไวท้ แ่ี ผนกรกั ษาความปลอดภยั โดยเขยี นชอ่ื นามสกุล ตดิ ไวท้ ห่ี บี ห่อ สง่ิ ของใหช้ ดั เจน และไปรบั คนื เมอ่ื พนกั งานพน้
เวลาปฏบิ ตั หิ น้าท่ี
7.9 ระเบยี บเก่ียวกบั การตรวจสขุ ภาพ
พนักงานทุกคนจะต้องดูแล รกั ษาสุขภาพให้แขง็ แรงพรอ้ มปฏบิ ตั ิหน้าท่ไี ดต้ ลอดเวลา และจะต้องให้ความร่วมมอื เขา้ รบั การตรวจ
สขุ ภาพประจาํ ปีตามทบ่ี รษิ ทั ฯ กาํ หนดกรณพี นกั งานพบว่าสขุ ภาพอ่อนแอ ไมอ่ ย่ใู นสภาพพรอ้ มปฏบิ ตั งิ านใหพ้ นักงานแจง้ ฝ่ายทรพั ยากรบุคคล
ทนั ท่ี เพอ่ื ดาํ เนนิ การต่อไป
7.10 ระเบยี บเกี่ยวกบั การส่งคนื ทรพั ยส์ ินของบริษทั
เมอ่ื พนกั งานพน้ สภาพการจา้ ง จะตอ้ งคนื ทรพั ยส์ นิ ใหก้ บั บรษิ ทั ฯ หากทรพั ยส์ นิ เหล่านนั้ เกดิ การเสยี หาย หรอื สญู หาย พนักงานตอ้ ง
รบั ผดิ ชอบต่อความเสยี หายหรอื สญู หายทเ่ี กดิ ขน้ึ จะโดยเจตนาหรอื ไมก่ ต็ าม อนั ไดแ้ ก่
1. อุปกรณ์ในการทาํ งาน
2. คมู่ อื พนกั งาน
3. ป้ายชอ่ื
4. เครอ่ื งแบบพนกั งานทบ่ี รษิ ทั ฯ มอบใหพ้ นกั งานเพอ่ื ใชร้ ะหวา่ งการเป็นพนกั งาน
5. ตลู้ อ็ คเกอร์
17
7.11 ระเบียบเกี่ยวกบั การรกั ษาความปลอดภยั
1.พนักงานมหี น้าท่ใี นการรกั ษาความปลอดภยั ของบรษิ ทั ฯ และคุม้ ครองป้องกนั ทรพั ย์สนิ ของบรษิ ทั ฯไม่ใหเ้ สยี หาย หรอื ถูกใชไ้ ป
ในทางทผ่ี ดิ
2.เมอ่ื พนกั งานพบเหน็ สง่ิ ผดิ ปกติ เชน่ บุคคลทน่ี ่าผดิ สงั เกต การโจรกรรม ประสบเหตุเพลงิ ไหมห้ รอื ก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายเกดิ ขน้ึ ใหร้ บี
แจง้ ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชา เจา้ หน้าทร่ี กั ษาความปลอดภยั หรอื ผมู้ หี น้าทเ่ี กย่ี วขอ้ งเพอ่ื ทาํ การตรวจสอบโดยทนั ที
3.กรณีท่ีมผี ู้มาพบพนักงานหรอื แขกส่วนตัว ให้มาตดิ ต่อท่พี นักงานรกั ษาความปลอดภยั ณ จุดบนั ทกึ เวลาหรอื จุดท่ี บรษิ ัทฯ
กาํ หนดใหเ้ ทา่ นนั้ โดยหา้ มพนักงานนดั พบหรอื พูดคุยกบั ผทู้ ม่ี าพบพนกั งานหรอื แขกส่วนตวั ในบรเิ วณทาํ งาน หรอื ลอบบ้เี ดด็ ขาด
ยกเวน้ ผทู้ ไ่ี ดร้ บั อนุญาตเป็นพเิ ศษจากผจู้ ดั การทวั่ ไป
4.พนกั งานจะตอ้ งขออนุญาตผบู้ งั คบั บญั ชาหรอื ผมู้ หี น้าทร่ี บั ผดิ ชอบในขณะนนั้ เพอ่ื มาพบแขกส่วนตวั ณ จดุ ทบ่ี รษิ ทั ฯ กาํ หนดให้
5.หา้ มพนกั งานสบู บหุ รใ่ี นบรเิ วณอน่ื ใดโดยเฉพาะบรเิ วณทห่ี า้ มสบู หรอื บรเิ วณทม่ี คี วามเสย่ี งทอ่ี าจกอ่ ใหเ้ กดิ เพลงิ ไหม้ เช่นตามบนั ได
ทางเดนิ ในหอ้ งน้ําพนักงาน ในห้องเกบ็ ตู้เสอ้ื ผา้ พนักงาน บรเิ วณเกบ็ ถงั แกส็ และบรเิ วณอ่นื ๆ โดยพนักงานสามารถสบู บุหรไ่ี ด้
เฉพาะในบรเิ วณทท่ี างบรษิ ทั ฯ จดั ใหเ้ ทา่ นนั้
6.พนกั งานทุกคนมหี น้าทป่ี ้องกนั และระงบั อคั คภี ยั โดยปฏบิ ตั ติ ามหน้าทท่ี ไ่ี ดร้ บั มอบหมายอยา่ งเคร่งครดั
7.พนกั งานจะตอ้ งจดั เกบ็ อุปกรณ์ต่างๆ ใหเ้ ป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย ไมก่ ดี ขวาง ขดั ขวางเกะกะหรอื เป็นอุปสรรคตามทางเดนิ ในบรเิ วณ
บนั ไดหนไี ฟ (Fire Exit)
7.12 ระเบยี บเก่ียวกบั เพศสมั พนั ธ์
1.หา้ มพนกั งานกระทาํ การชกั จงู เชญิ ชวน ใหบ้ รกิ าร นําเสนอ จดั หา ใหม้ กี ารบรกิ ารทางเพศใดๆ แก่ลกู คา้ หรอื กบั พนกั งานดว้ ยกนั
2.หา้ มพนกั งานแสดงกริ ยิ าใดๆ ไมว่ ่าดว้ ยทางวาจา ทางกาย อนั มลี กั ษณะเป็นการลว่ งเกนิ ทางเพศ ต่อเพอ่ื นพนกั งาน ผบู้ งั คบั บญั ชา
ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา หรอื กบั ลกู คา้
3.หา้ มผบู้ งั คบั บญั ชา กระทาํ การลว่ งเกนิ ทางเพศต่อพนกั งาน
4.พนกั งานทท่ี าํ ผดิ ระเบยี บเกย่ี วกบั เพศสมั พนั ธ์ จะถกู พจิ ารณาเป็นความผดิ ทางวนิ ยั ขนั้ รา้ ยแรงถงึ เลกิ จา้ งโดยไมไ่ ดร้ บั ค่าชดเชยใดๆ
และถอื เป็นความผดิ ทางอาญา
7.13 ระเบยี บเก่ียวกบั การเข้ารบั การฝึ กอบรมและการติดตามขอ้ มลู ข่าวสาร
1.พนกั งานมหี น้าทเ่ี ขา้ รบั การฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรม
2.หากพนักงานละเลยไม่สนใจในการเขา้ รบั การฝึกอบรมจะไดร้ บั การบนั ทกึ ในทะเบยี นประวตั ิ พนักงานซ่ึงมผี ลต่อการพจิ ารณาความดี
ความชอบ
3.พนกั งานมหี น้าทต่ี ดิ ตาม บอรด์ ป้ายประกาศของบรษิ ทั ฯ ใหค้ วามร่วมมอื และปฏบิ ตั ติ ามเมอ่ื บรษิ ทั ฯ กาํ หนด การไมส่ นใจ ไม่ให้
ความร่วมมอื และไมป่ ฏบิ ตั ติ ามถอื เป็นความรบั ผดิ ชอบของพนกั งานทต่ี อ้ งไดร้ บั การพจิ ารณาโทษ หากเป็นกรณีทม่ี ผี ลกระทบและหรอื
เสยี หาย
18
หมวดท่ี 8 วินัยและโทษทางวินัย
เพอ่ื ใหก้ ารดาํ เนินธรุ กจิ และการบรหิ ารงานของบรษิ ทั ฯ เป็นไปโดยราบรน่ื มมี าตรฐาน และเพ่อื ใหเ้ กดิ ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย จงึ
จาํ เป็นตอ้ งวางนโยบายเกย่ี วกบั ความประพฤติ ระเบยี บ วนิ ยั โดยมจี ุดมงุ่ หมายใหพ้ นกั งานและบุคคลในองคก์ ารไดย้ ดึ ถอื ปฏบิ ตั ติ นอย่ใู นระเบยี บ
และวนิ ยั รวมถงึ โอกาสในการแกไ้ ข เปลย่ี นแปลง ปรบั ปรุงความประพฤตขิ องพนักงานใหด้ ขี น้ึ มากกว่าทจ่ี ะดําเนินการลงโทษเพยี งประการ
เดยี ว ซง่ึ พนกั งานจะไดร้ บั การพจิ ารณาโทษเน่อื งจากการฝ่าฝืนระเบยี บ วนิ ัยหรอื ขอ้ บงั คบั ทว่ี างไวท้ งั้ น้ีการลงโทษตกั เตอื นเป็นหนงั สอื ในแต่ละ
ครงั้ จะมผี ลบงั คบั ใชเ้ ป็นเวลา 1 ปีนบั จากวนั ทพ่ี นกั งานไดก้ ระทาํ ผดิ ยกเวน้ ความผดิ สถานรา้ ยแรง
รายละเอียดของการกระทาํ ความผิดทางวินัย และบทลงโทษ แบง่ ออกเป็น 3 ลกั ษณะ ดงั นี้คอื
1. ความผิดสถานเบา
การลงโทษทางวินัยคือ
ขนั้ ท่ี 1. ตกั เตอื นดว้ ยวาจา (โดยบนั ทกึ เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร)
ขนั้ ท่ี 2. ตกั เตอื นเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรครงั้ ท่ี 1
ขนั้ ท่ี 3. ตกั เตอื นเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรครงั้ ท่ี 2
ขนั้ ท่ี 4. ตกั เตอื นเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรครงั้ สดุ ทา้ ย
ขนั้ ท่ี 5. พกั งานไมเ่ กนิ 7 วนั โดยไมจ่ า่ ยค่าจา้ ง
ขนั้ ท่ี 6. ปลดออกจากงาน (เลกิ จา้ ง) โดยไมไ่ ดร้ บั คา่ ชดเชยใดๆ
2. ความผิดสถานหนัก
การลงโทษทางวินัย
ขนั้ ท่ี 1. ตกั เตอื นเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรครงั้ สุดทา้ ย
ขนั้ ท่ี 2. พกั งานไมเ่ กนิ 7 วนั โดยไมจ่ า่ ยคา่ จา้ ง
ขนั้ ท่ี 3. ปลดออกจากงาน (เลกิ จา้ ง) โดยไมไ่ ดร้ บั ค่าชดเชยใดๆ
3. ความผิดสถานรา้ ยแรง
การลงโทษทางวินัย ปลดออกจากงานทนั ทโี ดยไมไ่ ดร้ บั คา่ ชดเชยใดๆ
ความผดิ ทกุ ประเภทหากพนกั งานฝ่าฝืนหรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บวนิ ยั ขอ้ บงั คบั หรอื คาํ สงั่ ของบรษิ ทั อนั ชอบดว้ ยกฎหมาย ผจู้ ดั การ
แผนก ซง่ึ เป็นผบู้ งั คบั บญั ชาโดยตรงของพนักงานผูซ้ ง่ึ กระทําความผดิ มอี ํานาจในการพจิ ารณาลงโทษทางวนิ ัยตามความผดิ และสถานการณ์ตามท่ี
กาํ หนดไว้ ดว้ ยความเหน็ ชอบของผจู้ ดั การฝ่ายทรพั ยากรบุคคล เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเป็นธรรมกบั ทกุ ฝ่าย
หากพนกั งานยงั คงฝ่าฝืน ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บวนิ ัย บงั คบั หรอื คาํ สงั่ เมอ่ื พจิ ารณาแลว้ มคี วามผดิ ถงึ ขนั้ ต้องลงโทษดว้ ยการปลดออก
จากงานนนั้ ผจู้ ดั การฝ่ายทรพั ยากรบุคคล สามารถดาํ เนนิ การตดั สนิ ใจโดยมผี จู้ ดั การทวั่ ไป และหรอื รองผจู้ ดั การทวั่ ไปเป็นผอู้ นุมตั ใิ นขนั้ สุดทา้ ย
ความผดิ อน่ื ใดทไ่ี มไ่ ดร้ ะบไุ วห้ รอื ใกลเ้ คยี ง การพจิ ารณาใหเ้ ป็นอาํ นาจของฝ่ายบรหิ าร ทจ่ี ะพจิ ารณาลงโทษพนกั งานทก่ี ระทาํ ความผดิ
ในแต่ละกรณตี ามเหตุผลสมควรไดเ้ ช่นกนั
8.1 รายละเอียดความผิดสถานเบา
การกระทาํ ดงั ต่อไปนี้ถอื ว่าเป็นความผิดทางวินัย
1. มาปฏบิ ตั งิ านสาย หรอื ชา้ กวา่ เวลาเรม่ิ ปฏบิ ตั งิ านทผ่ี บู้ งั คบั บญั ชากาํ หนดและแจง้ ใหท้ ราบ
2. ไมม่ ารายงานตวั เพอ่ื ทาํ งานล่วงเวลา หรอื งานพเิ ศษ หลงั จากไดร้ บั แจง้ กาํ หนดเวลางานแลว้ โดยปราศจากเหตุผลอนั สมควร
3. ไมแ่ จง้ หรอื ไมพ่ ยายามตดิ ต่อผบู้ งั คบั บญั ชา เมอ่ื ไมส่ ามารถมาทาํ งานตรงตามเวลา
4. ไมแ่ สกนลายน้ิวมอื หรอื ลงบนั ทกึ เวลาเขา้ ทาํ งาน หรอื เลกิ งาน
5. ไมใ่ ชท้ างเขา้ -ออกทจ่ี ดั ไวส้ าํ หรบั พนกั งาน
6. ตอ้ นรบั เพอ่ื น หรอื ญาตริ ะหวา่ งชวั่ โมงทาํ งาน โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจากผบู้ งั คบั บญั ชา
19
7. ให้ ญาติ เพอ่ื น หรอื บคุ คลอ่นื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ตน มาก่อความราํ คาญในทางใดๆ แกพ่ นกั งานอน่ื หรอื ลกู คา้ ในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ
8. แต่งกายไมเ่ รยี บรอ้ ย หรอื พนักงานสวมเคร่อื งแบบแต่งเคร่อื งแบบไม่ถูกต้อง หรอื ไม่รกั ษาความสะอาดของเคร่อื งแบบ หรอื ไมร่ กั ษา
ความสะอาดของร่างกาย หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บขอ้ บงั คบั วา่ ดว้ ยเรอ่ื งการแต่งกาย
9. ไมต่ ดิ ป้ายชอ่ื ทห่ี น้าอกเสอ้ื หรอื ตดิ ป้ายชอ่ื ไมถ่ ูกตอ้ ง
10. ใชบ้ ตั รประจาํ ตวั หรอื ป้ายชอ่ื ของเพอ่ื นพนกั งาน ทไ่ี มใ่ ช่ของตนเอง
11. สวมใส่เคร่อื งแบบออกนอกบรเิ วณบรษิ ัทฯ ในระหว่างเวลาทํางาน หรอื นําเคร่อื งแบบกลบั บา้ นโดยไม่ได้รบั อนุญาตเป็นลาย
ลกั ษณ์อกั ษรจากผบู้ งั คบั บญั ชา
12. ไมจ่ ดั สง่ เครอ่ื งแบบพนกั งานไปซกั หรอื ทาํ ความสะอาดตามวนั เวลาทก่ี าํ หนด
13. รบั ประทานอาหาร เคย้ี วอาหาร หรอื หมากฝรงั่ ต่อหน้าลกู คา้ ในขณะปฏบิ ตั หิ น้าท่ี
14. อ่านหนงั สอื พมิ พ์ หนงั สอื อ่านเล่น หรอื นติ ยสารในบรเิ วณทท่ี าํ งานขณะปฏบิ ตั งิ าน
15. ไมแ่ จง้ ต่อผบู้ งั คบั บญั ชาเมอ่ื พบเหน็ ทรพั ยส์ นิ เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชข้ องบรษิ ทั ฯเสยี หายหรอื สญู หาย
16. ในขณะทาํ งานไมร่ ายงานเมอ่ื พบเหน็ ผบู้ าดเจบ็ หรอื ประสบอุบตั เิ หตุโดยทนั ที
17. ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามคาํ สงั่ ของผบู้ งั คบั บญั ชาเมอ่ื มกี ารประชมุ พนกั งาน
18. ไมเ่ ขา้ รบั การฝึกอบรม หรอื ล่าชา้ ในการเขา้ ฝึกอบรม
19. ซุบซบิ นินทาหรอื สอดรสู้ อดเหน็ ในเรอ่ื งสว่ นตวั หรอื ธรุ กจิ สว่ นตวั ของลกู คา้
20. แสดงอากปั กรยิ าเพอ่ื ขอรางวลั หรอื ทปิ จากลกู คา้
21. ไมย่ อมตรวจรา่ งกาย หรอื เอกซเรยต์ ามเวลาทก่ี าํ หนด เมอ่ื จดั ใหม้ กี ารตรวจสุขภาพประจาํ ปี
22. ไมแ่ จง้ ใหท้ ราบเมอ่ื มกี ารเปลย่ี นแปลงทะเบยี นประวตั ขิ องพนกั งาน ภายใน 7 วนั นบั แต่มกี ารเปลย่ี นแปลง
23. หน่วงเหน่ียว เถลไถลในการปฎิบตั ิงาน หรือเข้าไปในแผนกอ่ืนท่ีตนไม่มีหน้าท่ีเก่ียวข้องหรือบริเวณท่ีมีลูกค้าใช้บริการอยู่
นอกเหนอื จากการเขา้ ไปเพอ่ื ปฏบิ ตั หิ น้าทต่ี ามปกติ
24. ใชโ้ ทรศพั ทข์ องบรษิ ทั หรอื โทรศพั ทม์ อื ถอื ของตนเองในเรอ่ื งส่วนตวั ไม่ว่าเพ่อื ต่อสายออกหรอื รบั สายเขา้ ขณะปฏบิ ตั หิ น้าท่ี ใน
กรณฉี ุกเฉนิ ตอ้ งขออนุมตั จิ ากผบู้ งั คบั บญั ชาเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรเพอ่ื ขอใชโ้ ทรศพั ท์ หรอื ใชโ้ ทรศพั ท์สาธารณะในบรเิ วณทจ่ี ดั ไว้
สาํ หรบั พนกั งานเท่านนั้
25. หา้ มรบั ประทานอาหาร หรอื ทง้ิ เศษอาหารในบรเิ วณทาํ งาน ยกเวน้ การรบั ประทานอาหารในหอ้ งอาหารพนกั งาน
26. นําอาหาร เครอ่ื งดม่ื หรอื อุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นการรบั ประทานอาหารออกนอกหอ้ งอาหารพนักงานโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตเป็นลายลกั ษณ์
อกั ษรจากผบู้ งั คบั บญั ชา
27. ขอรบั บรจิ าค เรย่ี ไร หรอื รวบรวมเงนิ หรอื สง่ิ ของอ่นื ใด ไมว่ ่าเพ่อื วตั ถุประสงค์อย่างใดกต็ ามในบรษิ ทั ฯ เวน้ แต่จะไดร้ บั อนุญาตเป็นลาย
ลกั ษณ์อกั ษรจากผจู้ ดั การใหญ่หรอื ผชู้ ว่ ยผจู้ ดั การใหญ่
28. ใชบ้ รกิ ารหอ้ งอาหาร บาร์ หอ้ งน้ําสาํ หรบั แขก หรอื สถานทท่ี ม่ี ไี วบ้ รกิ ารแขกโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต
29. ไมส่ นใจ ไมร่ บั รู้ ขา่ วสาร หรอื ป้ายประกาศของทางบรษิ ทั ฯ
30. การกระทาํ ความผดิ สถานเบาทน่ี อกจากทก่ี ล่าวมาแลว้ ขา้ งตน้ ซง่ึ บรษิ ทั ฯจะพจิ ารณาเป็นกรณไี ป
8.2 รายละเอียดความผิดสถานหนัก
การกระทาํ ดงั ต่อไปนี้ถอื วา่ เป็นความผิดทางวินัยสถานหนัก
1. ละท้งิ หน้าทอ่ี อกไปนอกบรเิ วณสถานทท่ี าํ งานหรอื ออกนอกบรเิ วณบรษิ ทั ฯ ในระหว่างเวลางานหรอื กลบั ก่อนเวลาเลกิ งานโดย
ไมไ่ ดร้ บั อนุญาต เป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจากผบู้ งั คบั บญั ชา
2. หลบั ในขณะปฏบิ ตั หิ น้าท่ี
3. ขดั คาํ สงั่ หรอื จงใจฝ่าฝืน ไมเ่ ชอ่ื ฟังคาํ สงั่ ของผบู้ งั คบั บญั ชา
4. ปฏบิ ตั หิ น้าทด่ี ว้ ยความประมาทเลนิ เล่อ หรอื ขาดความระมดั ระวงั ตามสมควรแต่กรณี
5. ขาดงาน โดยไมม่ สี าเหตุ หรอื คาํ อธบิ ายทเ่ี หมาะสมแกผ่ บู้ งั คบั บญั ชา
6. เสพสุรายาเมาทุกชนิดในทส่ี าธารณะใกล้สถานท่ที าํ งาน และแสดงกริ ยิ าอนั ไม่เหมาะสม อนั เป็นเหตุใหเ้ ส่อื มเสยี ช่อื เสยี งของ
บรษิ ทั ฯ
20
7. ทาํ ความสกปรกเลอะเทอะในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ เชน่ ทง้ิ ขยะ เศษอาหาร สงิ่ ของ กน้ บหุ ร่ี ถ่มน้ําลายหรอื เสมหะลงบนพน้ื หรอื ฝาผนงั
8. จงใจไมแ่ สกนลายน้ิวมอื หรอื ลงบนั ทกึ เวลาเขา้ งานเมอ่ื มาสายหรอื เมอ่ื ถงึ เวลาทาํ งาน
9. เปลย่ี นแปลงวนั หรอื เวลาทาํ งาน หรอื วนั หยดุ จากทผ่ี บู้ งั คบั บญั ชากาํ หนดให้ โดยไมแ่ จง้ ใหบ้ รษิ ทั ฯ ทราบล่วงหน้าตามกําหนด โดย
ไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากผบู้ งั คบั บญั ชาก่อน
10. แกลง้ ทาํ เป็นป่วยไข้ หรอื ลาป่วยโดยพสิ จู น์ไดภ้ ายหลงั วา่ ไมไ่ ดป้ ่วยจรงิ
11. ไมย่ น่ื ใบลาใหถ้ กู ตอ้ งตามระเบยี บการลา และหรอื หยุดงานโดยใบลายงั ไมไ่ ดร้ บั การอนุมตั จากผบู้ งั คบั บญั ชา
12. ใหย้ มื หรอื อนุญาตใหผ้ อู้ น่ื หรอื เพอ่ื นพนกั งานใชบ้ ตั รประจาํ ตวั พนกั งานของตนเอง
13. ไมร่ ะมดั ระวงั หรอื ไมร่ กั ษาทรพั ยส์ นิ ของบรษิ ทั ฯ หรอื ทาํ ใหเ้ กดิ การเสยี หาย หรอื สญู หาย
14. นําเครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชห้ รอื อุปกรณ์ของทางบรษิ ทั ฯไปใชส้ ว่ นตวั โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจากผบู้ งั คบั บญั ชา
15. จงใจทาํ ใหท้ รพั ยส์ นิ ของบรษิ ทั ฯ หรอื ของลกู คา้ หรอื เพอ่ื นรว่ มงานเสยี หาย
16. ไมส่ ่งมอบสงิ่ ของทเ่ี กบ็ ไดค้ นื ใหก้ บั เจา้ ของ หรอื นําไปครอบครองไวน้ านเกนิ สมควรโดยไมแ่ จง้ แก่ผบู้ งั คบั บญั ชา หรอื ไมส่ ่งของท่ี
เกบ็ ไดไ้ ปทแ่ี ผนกแมบ่ า้ นทม่ี หี น้าทด่ี แู ลรบั ผดิ ชอบโดยตรง
17. ประกอบอาหารภายในบรษิ ทั ฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจากผบู้ งั คบั บญั ชา
18. โตเ้ ถยี ง ทะเลาะววิ าทหรอื เป็นเหตุใหเ้ กดิ การววิ าทกบั ผบู้ งั คบั บญั ชา หรอื เพอ่ื นรว่ มงาน หรอื กบั ลกู คา้
19. ใชถ้ อ้ ยคาํ หรอื แสดงกริ ยิ าทา้ ทายผอู้ น่ื ใหต้ ่อสหู้ รอื เป็นคศู่ ตั รู
20. สบู บุหรใ่ี นทห่ี า้ มสบู หรอื สบู บหุ รใ่ี นขณะทอ่ี ย่ใู นลฟิ ท์ ต่อหน้าลกู คา้ หรอื ในขณะทป่ี ฏบิ ตั หิ น้าท่ี หรอื บรเิ วณอน่ื ใด เช่นบรเิ วณ
ทางเดนิ หอ้ งเกบ็ ของ บนั ไดหนีไฟ หอ้ งน้ําและอน่ื ๆ
21. ใชเ้ งนิ ส่วนตวั แลกเปลย่ี นเงนิ ตราต่างประเทศกบั ลกู คา้ หรอื เพอ่ื นรว่ มงาน หรอื จากเงนิ ทบ่ี รษิ ทั ฯ รบั แลกหรอื ซอ้ื ไว้
22. นําเงนิ สว่ นตวั เขา้ มาในบรเิ วณบรษิ ทั มากเกนิ ความจาํ เป็นในการใชจ้ า่ ยประจาํ วนั หากนําเขา้ มามากจะตอ้ งรายงานให้
ผบู้ งั คบั บญั ชาของตนทราบทนั ที
23. ใชย้ านพาหนะของบรษิ ทั ฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจากผบู้ งั คบั บญั ชา
24. ใหก้ ารเป็นเทจ็ เมอ่ื มกี ารสอบสวน
25. กระทาํ การในลกั ษณะไมเ่ หมาะสม ทก่ี ่อใหเ้ กดิ ความไมส่ งบในหมเู่ พอ่ื นรว่ มงาน
26. ตดิ ประกาศ หรอื เคลอ่ื นยา้ ย ถอดถอน ต่อเตมิ ขดี ฆา่ ทาํ ลาย หรอื ปลดออกซง่ึ สง่ิ พมิ พห์ รอื ประกาศต่างๆของบรษิ ทั ฯ บนบอรด์
หรอื ป้ายประกาศของบรษิ ทั ฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต
27. แจกเอกสารทงั้ ทเ่ี ป็นขอ้ เขยี น หรอื รปู ภาพ ใบปลวิ หรอื สง่ิ ตพี มิ พท์ ุกชนิด รวมถงึ บทความต่างๆภายในบรษิ ทั ฯ โดยไมไ่ ดร้ บั
อนุญาตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจากผจู้ ดั การใหญ่
28. จงใจและเจตนาแสดงภาพ รปู ถ่าย หรอื ฟิลม์ ทล่ี ามกอนาจาร
29. ขดี เขยี น ขอ้ ความ หรอื ถอ้ ยคาํ ไมส่ ุภาพในทส่ี าธารณะของบรษิ ทั ฯ อนั เป็นผลทาํ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายแก่ผอู้ ่นื และทรพั ยส์ นิ ของ
บรษิ ทั ฯ
30. เป็นมคั คเุ ทศก์ หรอื แนะนําลกู คา้ ไปใชบ้ รกิ ารธุรกจิ อ่นื เชน่ เดยี วกบั บรษิ ทั ฯ ดาํ เนินการ
31. ไมพ่ กหรอื แสดงบตั รประจาํ ตวั พนกั งานขณะทอ่ี ย่ใู นบรเิ วณบรษิ ทั ฯ หรอื ไมแ่ จง้ ใหฝ้ ่ายบุคคลทราบกรณบี ตั รสญู หาย
32. หลบั ในขณะปฏบิ ตั หิ น้าท่ี หรอื นอนหลบั ภายในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ หลงั จากพน้ หน้าทแ่ี ลว้ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตเป็นลายลกั ษณ์
อกั ษรจากผบู้ งั คบั บญั ชา
33. การกระทาํ ความผดิ สถานหนกั ทน่ี อกเหนอื จากทก่ี ล่าวมาแลว้ ขา้ งตน้ ซง่ึ บรษิ ทั ฯ จะพจิ ารณาเป็นกรณไี ป
8.3 รายละเอียดความผิดสถานร้ายแรง
การกระทาํ ดงั ต่อไปนี้ถือเป็นการฝ่ าฝืนวินัยที่รา้ ยแรง
1. ไมป่ ฏบิ ตั งิ านดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ทงั้ ในสว่ นทเ่ี กย่ี วกบั ลกู คา้ หรอื บรษิ ทั ฯ หรอื เพอ่ื นรว่ มงาน
2. ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกฎ และระเบยี บปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั ความปลอดภยั โดยเครง่ ครดั อนั กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายแก่บรษิ ทั ฯอย่างรา้ ยแรง
3. ปลอมแปลงเอกสารของบรษิ ทั ฯ
4. บนั ทกึ เวลาใหผ้ อู้ ่นื หรอื ใหผ้ อู้ น่ื ลงบนั ทกึ เวลาใหโ้ ดยมเี จตนาทจุ รติ
21
5. ใชช้ อ่ื ทอ่ี ยขู่ องบรษิ ทั ฯ ทาํ กจิ ธรุ ะ หรอื ธุรกจิ ใดๆ พอ่ื ประโยชน์ส่วนตวั
6. ใชช้ วั่ โมงการทาํ งานในการดาํ เนนิ ธุรกจิ ส่วนตวั
7. นําสงิ่ ของหรอื สนิ คา้ มาจาํ หน่ายในบรเิ วณบรษิ ทั ไมว่ า่ จะจาํ หน่ายเงนิ สดหรอื ในระบบเช่าซอ้ื หรอื เงนิ ผอ่ นรวมถงึ การเสนอขายโดยไมน่ ํา
สนิ คา้ มาแสดงเพอ่ื วตั ถุประสงคใ์ ดๆ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต เป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจากผบู้ งั คบั บญั ชา
8. ไมร่ ายงานเกย่ี วกบั โรคตดิ ต่อรา้ ยแรง ซง่ึ ทราบแลว้ วา่ อาจจะเป็นอนั ตรายต่อสุขภาพของลกู คา้ และพนกั งานของบรษิ ทั ฯ
9. นําเขา้ หรอื มไี วห้ รอื ครอบครองซง่ึ อาวุธทกุ ชนิด ระเบดิ วตั ถุไวไฟ ของมนึ เมา ยาเสพตดิ หรอื อาวุธทเ่ี ป็นอนั ตรายรา้ ยแรง
ภายในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ รวมถงึ การนําสตั วร์ า้ ยเขา้ มาในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ
10. เกบ็ วตั ถุไวไฟ สง่ิ ผดิ กฎหมาย หรอื ทรพั ยส์ นิ ของบรษิ ทั ฯ ทม่ี ไิ ดจ้ า่ ยใหแ้ ก่พนกั งานเป็นการเฉพาะส่วนตวั ไวใ้ นตเู้ กบ็ ของของ
พนกั งาน (Locker)
11. จงใจทาํ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายต่อทรพั ยส์ นิ ของบรษิ ทั หรอื ลกู คา้ หรอื บุคคลอน่ื ทม่ี สี ่วนเกย่ี วขอ้ งกบั บรษิ ทั ฯ
12. การกระทาํ ใดๆ ทอ่ี าจเป็นเหตุใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อเพอ่ื นรว่ มงาน หรอื บคุ คลอน่ื ๆ ทม่ี สี ่วนเกย่ี วขอ้ งกบั บรษิ ทั ฯ
13. ฝ่าฝืนคาํ สงั่ โดยการสูบบหุ รห่ี รอื ทําใหเ้ กดิ ประกายไฟในบรเิ วณสถานทเ่ี สย่ี งอนั ตราย หรอื สถานทม่ี ปี ้ายหา้ มสบู บุหรก่ี าํ กบั อยู่ หรอื
ใกลว้ ตั ถุไวไฟ หรอื ในบรเิ วณประกอบอาหารทอ่ี าจก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายหรอื เพลงิ ไหม้
14. ขเู่ ขญ็ คุกคาม บบี บงั คบั กา้ วกา่ ย หรอื ทาํ รา้ ยผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา เพอ่ื นรว่ มงาน หวั หน้างานผู้ บงั คบั บญั ชา หรอื เจา้ หน้าท่ี
ระดบั สงู ของบรษิ ทั ฯ
15. แสดงกริ ยิ าไมส่ ภุ าพ หรอื ใชถ้ อ้ ยคาํ หรอื คาํ พดู ทห่ี ยาบคาย ดา่ ทอลกู คา้ หรอื ผบู้ งั คบั บญั ชา หรอื เพอ่ื นร่วมงานทม่ี รี ะดบั เท่ากนั
หรอื ต่าํ กวา่ ต่อหน้าลกู คา้
16. ยวั่ ยุ ใหม้ กี ารทะเลาะววิ าทกนั หรอื เจตนาทาํ รา้ ยร่างกาย หรอื ทาํ ลายทรพั ยส์ นิ ของพนกั งานอน่ื ๆ ภายในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ
17. ต่อสกู้ นั ภายในบรเิ วณบรษิ ทั ไมว่ า่ จะมอี าวุธหรอื ไมก่ ต็ ามอนั กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายแก่ บรษิ ทั ฯอยา่ งรา้ ยแรง
18. เขา้ ไปในหอ้ งพกั สาํ หรบั ลกู คา้ หรอื พรอ้ มกบั ลกู คา้ หรอื พรอ้ มกบั พนกั งานอน่ื ซง่ึ ไมใ่ ชก่ ารปฏบิ ตั หิ น้าทต่ี ามปกตโิ ดยไมไ่ ดร้ บั
อนุญาตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจากผบู้ งั คบั บญั ชา
19. ทาํ ตวั สนทิ สนมกบั ลกู คา้ หรอื พนกั งานในลกั ษณะทเ่ี ป็นความสมั พนั ธฉ์ นั ทช์ สู้ าว
20. นําบคุ คลภายนอก เขา้ ไปในบรเิ วณหอ้ งพกั หรอื ในบรเิ วณของบรษิ ทั ฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต
21. ลกั ขโมยหรอื ยกั ยอกทรพั ยส์ นิ ของบรษิ ทั ฯ ของลกู คา้ หรอื ของเพอ่ื นพนกั งาน
22. รบั ประทานอาหาร หรอื เครอ่ื งดม่ื ทงั้ ทม่ี แี อลกอฮอลลห์ รอื ไมม่ ี ทจ่ี ดั ไวส้ าํ หรบั บรกิ ารแขกหรอื เหลอื จากการบรกิ ารโดยไมไ่ ดร้ บั
อนุญาต
23. มาปฏบิ ตั งิ านดว้ ยอาการมนึ เมาเน่อื งจากฤทธขิ์ องสุรา เครอ่ื งดม่ื ทม่ี แี อลกอฮอรห์ รอื ยาเสพตดิ อนั ก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายแก่
บรษิ ทั ฯ อยา่ งรา้ ยแรง
24. เสพสรุ ายาเมาทกุ ชนดิ ในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ ไมว่ ่าจะอย่ใู นระหวา่ งปฏบิ ตั งิ านหรอื ไม่ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร
จากผจู้ ดั การใหญ่หรอื รองผจู้ ดั การใหญ่ อนั กอ่ ใหเ้ กดิ ความ เสยี หายอย่างรา้ ยแรง
25. ประพฤตติ นในลกั ษณะทผ่ี ดิ ศลี ธรรมจรรยา หยาบโลน ลามกอนาจาร หรอื สอ่ ไปในทางคา้ ประเวณี
26. เสนอขาย หรอื ชกั ชวนใหล้ กู คา้ ใชบ้ รกิ ารทบ่ี รษิ ทั ฯไมม่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งทางธรุ กจิ โดยการกระทาํ นนั้ พนกั งานอาจมโี อกาสไดร้ บั
ผลประโยชน์ตอบแทนไมว่ า่ ทางตรงหรอื ทางออ้ ม
27. มสี ่วนรว่ ม หรอื เลน่ การพนนั ทุกชนิดในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ รวมถงึ การเล่นหวย การตงั้ วงแชร์
28. เปิดเผยความลบั ของเกย่ี วกบั แผนการดาํ เนินงานของบรษิ ทั ฯ ต่อบุคคลภายนอกอนั เป็นประโยชน์ต่อคแู่ ขง่ ขนั หรอื อาจกอ่ ใหเ้ กดิ
ความเสยี หายอ่นื ใดต่อบรษิ ทั ฯ ได้
29. เปิดเผยความลบั เกย่ี วกบั เงนิ เดอื น ค่าจา้ งของตนเองหรอื เพอ่ื นพนกั งานตอ่ เพอ่ื นพนกั งานหรอื บุคคลอน่ื ทไ่ี มม่ หี น้าทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
อนั กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายแก่บรษิ ทั ฯ อยา่ งรา้ ยแรง
30. ทาํ งานสองแห่ง โดยเฉพาะงานทไ่ี ดร้ บั ผลประโยชน์เน่อื งจากตําแหน่งหน้าทท่ี ท่ี าํ อยกู่ บั บรษิ ทั ฯ
31. ครอบครองกญุ แจต่างๆ ของบรษิ ทั ฯ หรอื จาํ ลองกุญแจโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจากผบู้ งั คบั บญั ชาเพอ่ื เปิด
ประตหู อ้ งพกั ลกู คา้ หรอื หอ้ งต่างๆ ของบรษิ ทั ฯ
32. เสนอ หรอื ขอรบั สนิ บน คา่ นายหน้าจากบคุ คลทม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั การประกอบธุรกจิ ของบรษิ ทั ฯ
22
33. ให้ หรอื รบั สงิ่ ของมคี า่ หรอื สง่ิ หน่งึ สงิ่ ใด เพอ่ื แลกเปลย่ี นกบั การยา้ ย หรอื เลอ่ื นตําแหน่ง หรอื เพอ่ื ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงอ่นื ใด
ทเ่ี ป็นประโยชน์ตอ่ ผใู้ หน้ นั้
34. กระทาํ การล่วงเกนิ ทางเพศต่อพนกั งานอน่ื
35. การกระทาํ ความผดิ สถานรา้ ยแรงทน่ี อกเหนอื จากทก่ี ล่าวมาแลว้ ขา้ งตน้ ซง่ึ บรษิ ทั ฯจะพจิ ารณาเป็นกรณไี ป
หมวดท่ี 9 การพน้ สภาพจากการเป็นพนักงาน และการเลิกจ้าง
พนกั งานจะพน้ สภาพจากการเป็นพนกั งานของบรษิ ทั ฯ เมอ่ื
1. ตาย
2. ลาออก
3. เกษยี ณอายุ
4. เลกิ จา้ ง
9.1 ตาย
ทายาทของผตู้ ายตอ้ งแจง้ ใหบ้ รษิ ทั ฯ ทราบ ภายใน 3 วนั ทาํ การ นบั ตงั้ แต่วนั ทพ่ี นกั งานตาย
9.2 ลาออก
9.2.1 พนักงานท่ีประสงค์จะลาออกต้องแจ้งให้ทางบริษัทฯ ทราบเป็ นลายลักษณ์อักษรโดยย่ืนใบลาออกต่อหัวหน้าฝ่ าย หรือ
ผบู้ งั คบั บญั ชาของตนเองล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหน่ึงงวดการจ่ายค่าจา้ ง (ยกเวน้ กรณีทไ่ี ด้ระบุไวเ้ ป็นอย่างอ่ืนในหนังสอื
ว่าจา้ ง) เมอ่ื ผจู้ ดั การใหญ่อนุมตั ใิ บลาออกแลว้ จงึ ถอื ว่าการลาออกนนั้ สมบรู ณ์
9.2.2 ในระยะเวลาทแ่ี จง้ ลว่ งหน้าพนกั งานทล่ี าออกตอ้ งปฏบิ ตั งิ านตามปกติ และไม่มสี ทิ ธขิ อใชส้ ทิ ธหิ ยุดพกั ผ่อนประจําปี เวน้ แต่จะ
ไดร้ บั อนุญาตจากผจู้ ดั การใหญ่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร
9.2.3 พนกั งานทล่ี าออกโดยไมแ่ จง้ ใหบ้ รษิ ทั ทราบล่วงหน้า หรอื ยน่ื ใบลาออกแลว้ แต่ไมม่ าทาํ งานต่อไปจนถงึ วนั ทก่ี ําหนดออกจาก
งานบรษิ ทั จะถอื ว่าพนกั งาน ผนู้ นั้ ละทง้ิ หน้าทซ่ี ง่ึ ถอื ว่าเป็นความผดิ ทางวนิ ยั รา้ ยแรงถงึ ขนั้ ปลดออก
9.2.4 พนกั งานทล่ี าออกจะตอ้ งส่งมอบรายงานการทํางาน การตดิ ตามงาน(Hand Over Report) ทรพั ย์สนิ และอุปกรณ์ต่างๆ ของ
บรษิ ทั ฯ ทม่ี อบใหพ้ นักงานใชป้ ฏบิ ตั งิ าน ดแู ลหรอื รบั ผดิ ชอบซ่งึ รวมทงั้ เครอ่ื งแบบ บตั รประจําตวั พนกั งาน ป้ายช่อื และคู่มอื
พนกั งาน อุปกรณ์ในการทาํ งาน ตูเ้ กบ็ ของ(Locker) รวมถงึ กุญแจโต๊ะทาํ งาน ตูใ้ ส่เอกสาร ซง่ึ ทรพั ยส์ นิ เหล่าน้ีจะตอ้ งอยใู่ นสภาพ
เรยี บรอ้ ยและตอ้ งส่งมอบใหก้ บั ผบู้ งั คบั บญั ชาหรอื ผูท้ ม่ี หี น้าทร่ี บั มอบใหเ้ ป็นทเ่ี รยี บรอ้ ยก่อนวนั พน้ หน้าท่ี และตอ้ งสะสางภาระ
ผกู พนั ต่างๆ ทเ่ี กย่ี ว ขอ้ งกบั งานใหเ้ รยี บรอ้ ยกอ่ นวนั สุดทา้ ยของการทาํ งาน
9.2.5 ในกรณที พ่ี นกั งานไมส่ ามารถสง่ มอบทรพั ยส์ นิ ของบรษิ ทั ฯ ครบถว้ น บรษิ ทั ฯสงวนสทิ ธทิ จ่ี ะประเมนิ ราคาทรพั ยส์ นิ ดงั กลา่ วและ
เรยี กเกบ็ เงนิ คา่ ทรพั ยส์ นิ ดงั กล่าวจากพนกั งาน
9.2.6 หากพนกั งานทล่ี าออกโดยไม่ดําเนินการเร่อื งต่างๆ ตามระเบยี บการลาออกให้เรยี บรอ้ ยก่อนพน้ หน้าท่บี รษิ ทั สงวนสทิ ธทิ์ จ่ี ะ
ฟ้องรอ้ งเรยี กค่าเสยี หายต่อศาล
9.2.7 พนกั งานทพ่ี น้ สภาพการเป็นพนักงานของบรษิ ทั ฯ ไมม่ สี ทิ ธเิ ขา้ มาภายในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ ตลอดเวลา การขอเขา้ พบพนกั งาน
อน่ื จะตอ้ งปฎบิ ตั ติ ามระเบยี บของบรษิ ทั ฯ เรอ่ื งการเขา้ พบพนกั งานบรษิ ทั ฯ
9.3 เกษียณอายุ
9.3.1 ฝ่ายทรพั ยากรบคุ คลจะแจง้ เป็นลายลกั ษณ์อกั ษรใหพ้ นกั งานทราบลว่ งหน้าหน่ึงงวดการจ่ายค่าจา้ งก่อนเดอื นทพ่ี นักงานผนู้ ัน้ มี
อายุครบเกษยี ณท่ี 60 ปีบรบิ รู ณ์
9.3.2 ในกรณที ไ่ี ม่มวี นั ท่ี และเดอื นเกดิ ระบุไวใ้ นสตู บิ ตั ร พนกั งานจะตอ้ งปลดเกษยี ณภายใน วนั ท่ี 31 ธนั วาคมของปีเกดิ เมอ่ื มอี ายุ
ครบ 60 ปีบรบิ รู ณ์
23
9.3.3 พนกั งานทค่ี รบเกษยี ณมสี ทิ ธไิ ดร้ บั ค่าชดเชยตามทก่ี ฎหมายกาํ หนด
9.3.4 การพจิ ารณาขยายระยะเวลาการจ้างงานหลงั ครบเกษียณ หรอื การจ้างกลบั เขา้ ทํางานใหม่อีกครงั้ หน่ึงจะต้องไดร้ บั ความ
ยนิ ยอมจากพนกั งานและไดร้ บั อนุมตั จิ ากผจู้ ดั การทวั่ ไปเทา่ นนั้
9.4 การเลิกจ้าง
บริษัทฯ สงวนสิทธิในการพิจารณาเลกิ จ้างพนักงานซ่ึงไม่ได้ทําผิดกฎข้อบงั คบั หรอื ระเบยี บปฎิบตั ิต่างๆ ของบริษัทฯ ตามท่ี
เหน็ สมควร โดยพนกั งานทถ่ี ูกเลกิ จา้ งจะไดร้ บั คา่ ชดเชยตามทก่ี ฎหมายแรงงานกาํ หนด
9.5 สาเหตกุ ารเลิกจา้ งโดยจา่ ยคา่ ชดเชย
7.5.1 เลิกจ้างเน่ืองจากคนล้นงาน โดยปรากฎว่ามคี นมากกว่างาน และทําให้บรษิ ัทฯ เกดิ ความสูญเปล่าหรือกรณีทท่ี างบรษิ ัท
พจิ ารณาเหน็ ความจาํ เป็นทจ่ี ะตอ้ งยุบหน่วยงานนนั้
7.5.2 เลกิ จา้ งเน่ืองจากสขุ ภาพของพนกั งานไมเ่ หมาะสมเมอ่ื พนกั งานลาป่วยเกนิ 30 วนั ทาํ งานในรอบปี ยกเวน้ การเจบ็ ป่วยทเ่ี กดิ ขน้ึ
เน่อื งจากการทาํ งาน
7.5.3 กรณผี ลงานไมเ่ ป็นทน่ี ่าพอใจ พนกั งานคนใดทผ่ี ลการปฏบิ ตั งิ านไมถ่ งึ ระดบั มาตรฐานหรอื ไมเ่ ป็นทพ่ี อใจของฝ่ายบรหิ ารอาจจะ
ถกู พจิ ารณาเลกิ จา้ งโดยจ่ายคา่ ชดเชย
7.5.4 กรณบี รษิ ทั ฯ ขาดความไวว้ างใจ บรษิ ทั ฯ อาจจะพจิ ารณาเลกิ จา้ งพนกั งานผนู้ นั้ ไดโ้ ดยจา่ ยคา่ ชดเชย
7.5.5 เน่ืองจากทุพพลภาพ หรอื เน่อื งจากสุขภาพไมส่ มบรู ณ์ไมม่ สี มรรถภาพในการทาํ งาน
หมวดที่ 10 การจ่ายค่าชดเชย
ในกรณที บ่ี รษิ ทั ฯ ตอ้ งเลกิ จา้ งพนกั งานใหอ้ อกจากงานโดยไมม่ คี วามผดิ อย่างหลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ ในกรณเี ช่นคนลน้ งาน ยุบตําแหน่ง เลกิ
กจิ การ ยกเลกิ การบรกิ าร สุขภาพไม่เอ้อื อํานวยต่อการทาํ งาน หรอื เกษยี ณอายุ บรษิ ทั ฯ จะดําเนินการช่วยเหลอื พนักงานผนู้ ัน้ โดยการจ่าย
ค่าชดเชยตามกฎหมาย
10.1 การจ่ายคา่ ชดเชย
บรษิ ทั จะจ่ายค่าชดเชยตามรายละเอยี ดดงั น้ี
10.1.1. พนกั งานซง่ึ ทาํ งานตดิ ต่อกนั ครบ 120 วนั แต่ไมค่ รบ 1 ปี โดยรวมวนั หยุด วนั ลา วนั ทบ่ี รษิ ทั ฯสงั่ ใหห้ ยุดงานเพ่อื ประโยชน์
ของบรษิ ทั ฯ และวนั ทบ่ี รษิ ทั ฯอนุญาตใหห้ ยดุ งานเพอ่ื ประโยชน์ของพนักงาน บรษิ ทั ฯจะจ่ายค่าชดเชยใหไ้ ม่น้อยกว่าค่าจา้ ง
อตั ราสุดทา้ ย 30 วนั
10.1.2 พนักงานซ่งึ ทาํ งานตดิ ต่อกนั ครบ 1 ปีแต่ไม่ครบ 3 ปี โดยรวมวนั หยุดวนั ลา วนั ทบ่ี รษิ ทั ฯ สงั่ ใหห้ ยุดงานเพ่อื ประโยชน์ของ
บรษิ ทั ฯ และวนั ทบ่ี รษิ ทั ฯ อนุญาตใหห้ ยดุ งานเพอ่ื ประโยชน์ของพนกั งาน บรษิ ทั ฯจะจ่ายค่าชดเชยใหไ้ มน่ ้อยกวา่ ค่าจา้ งอตั รา
สุดทา้ ย 90 วนั
10.1.3 พนกั งานซง่ึ ทาํ งานตดิ ต่อกนั ครบ 3 ปี แต่ไมค่ รบ 6 ปี โดยรวมวนั หยุด วนั ลา วนั ทบ่ี รษิ ทั ฯ สงั่ ใหห้ ยุดงานเพอ่ื ประโยชน์ของ
บรษิ ทั ฯ และวนั ทบ่ี รษิ ทั ฯ อนุญาตใหห้ ยุดงานเพ่อื ประโยชน์ของพนักงาน บรษิ ทั ฯ จะจ่ายค่าชดเชยใหไ้ ม่น้อยกว่าค่าจ้าง
อตั ราสุดทา้ ย 180 วนั
10.1.4 พนกั งานซง่ึ ทาํ งานตดิ ต่อกนั ครบ 6 ปี แต่ไมค่ รบ 10 ปี โดยรวมวนั หยุด วนั ลา วนั ทบ่ี รษิ ทั ฯ สงั่ ใหห้ ยดุ งานเพอ่ื ประโยชน์ของ
บรษิ ทั ฯ และวนั ท่บี รษิ ทั ฯ อนุญาตใหห้ ยุดงานเพ่อื ประโยชน์ของพนักงาน บรษิ ัทฯจะจ่ายค่าชดเชยใหไ้ ม่น้อยกว่าค่าจา้ ง
อตั ราสุดทา้ ย 240 วนั
10.1.5 พนกั งานซ่งึ ทํางานตดิ ต่อกนั ครบ 10 ปี แต่ไม่ครบ 20 ปี โดยรวมวนั หยุด วนั ลา วนั ทบ่ี รษิ ทั ฯ สงั่ ใหห้ ยุดงานเพอ่ื ประโยชน์
ของบรษิ ทั ฯ และวนั ทบ่ี รษิ ทั ฯ อนุญาตใหห้ ยุดงานเพอ่ื ประโยชน์ของพนกั งาน บรษิ ทั ฯจะจ่ายค่าชดเชยใหไ้ ม่น้อยกว่าค่าจา้ ง
อตั ราสดุ ทา้ ย 300 วนั
24
10.1.6 พนกั งานซง่ึ ทาํ งานตดิ ต่อกนั ครบ 20 ปีขน้ึ ไป โดยรวมวนั หยุด วนั ลา วนั ทบ่ี รษิ ทั ฯ สงั่ ใหห้ ยุดงานเพอ่ื ประโยชน์ของบรษิ ทั ฯ
และวนั ทบ่ี รษิ ทั ฯ อนุญาตใหห้ ยดุ งานเพอ่ื ประโยชน์ของพนกั งาน บรษิ ทั ฯจะจ่ายค่าชดเชยใหไ้ มน่ ้อยกว่าค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ย
400 วนั
10.2 คา่ ชดเชยพิเศษ
บรษิ ทั ฯ จะจา่ ยคา่ ชดเชยพเิ ศษใหแ้ กพ่ นกั งานในกรณแี ละอตั ราดงั น้ี
10.2.1 กรณยี า้ ยสถานประกอบการไปตงั้ ณ สถานทอ่ี ่นื อนั มผี ลกระทบสาํ คญั ต่อการดาํ รงชวี ติ ตามปกตขิ องพนกั งานหรอื ครอบครวั
บรษิ ทั ฯ จะปฏบิ ตั ดิ งั น้คี อื
10.2.1.1 บรษิ ทั ฯ จะแจง้ ให้พนักงานทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วนั ก่อนวนั ยา้ ยสถานประกอบกจิ การ ในการน้ีถ้า
พนักงานไมป่ ระสงค์จะไปทาํ งานดว้ ยใหพ้ นักงานมสี ทิ ธบิ อกเลกิ สญั ญาจา้ งไดภ้ ายใน 30 วนั นบั แต่วนั ทไ่ี ดร้ บั
แจง้ จากบรษิ ทั หรอื วนั ทบ่ี รษิ ทั ยา้ ยสถานประกอบกจิ การแลว้ แต่กรณี โดยพนกั งานมสี ทิ ธไิ ดร้ บั ค่า ชดเชยพเิ ศษ
ไมน่ ้อยกว่าอตั ราคา่ ชดเชยทพ่ี นกั งานพงึ มสี ทิ ธไิ ดร้ บั ตามขอ้ 10.1
10.2.1.2 ในกรณีทบ่ี รษิ ทั ไม่แจง้ ให้พนกั งานทราบล่วงหน้าตามขอ้ 10.2.1.1 บรษิ ัทจะจ่ายค่าชดเชยพเิ ศษแทนการบอก
กล่าวล่วงหน้าเท่ากับค่าจ้างอตั ราสุดท้าย 30 วนั หรือเท่ากับค่าจ้างของการทํางาน 30 วนั สุดท้ายสําหรับ
พนกั งานซง่ึ ไดร้ บั คา่ จา้ งตามผลงานโดยคาํ นวณเป็นหน่วย โดยบรษิ ทั จ่ายค่าชดเชยพเิ ศษ หรอื ค่าชดเชยพเิ ศษ
แทนการบอกกล่าวล่วงหน้าใหแ้ กพ่ นกั งานภายใน 7 วนั นบั แต่วนั ทพ่ี นกั งานบอกเลกิ สญั ญา
10.2.1.3 ในกรณที บ่ี รษิ ทั ไมจ่ ่ายค่าชดเชยพเิ ศษ หรอื ค่าชดเชยพเิ ศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามขอ้ 10.2.1.1 และ
10.2.1.2 ใหพ้ นกั งานมสี ทิ ธยิ น่ื คาํ รอ้ งต่อคณะกรรมการสวสั ดกิ ารแรงงานเพ่อื พจิ ารณาภายใน 30 วนั นับแต่วนั
ครบกาํ หนดการจ่ายค่าชดเชยพเิ ศษหรอื คา่ ชดเชยพเิ ศษแทนการบอกกลา่ วลว่ งหน้า
10.2.2 กรณบี รษิ ัทฯ เลกิ จา้ งพนักงาน เน่ืองจากปรบั ปรุงหน่วยงาน กระบวนการผลติ การจําหน่ายหรอื การบรกิ าร เน่ืองจากการนํา
เครอ่ื งจกั รมาใช้ หรอื เปลย่ี นแปลงเครอ่ื งจกั ร หรอื เทคโนโลยี บรษิ ทั ฯ จะปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
1 แจง้ วนั ทเ่ี ลกิ จา้ ง เหตุผลของการเลกิ จา้ ง และรายชอ่ื พนกั งานทจ่ี ะถกู เลกิ จา้ งใหพ้ นกั งานและพนกั งานตรวจแรงงานทราบ
ล่วงหน้าไมน่ ้อยกว่า 60 วนั ก่อนวนั เลกิ จา้ ง
2 ในกรณที บ่ี รษิ ทั ฯ ไมแ่ จง้ ใหพ้ นกั งานทจ่ี ะถูกเลกิ จา้ งทราบลว่ งหน้าตาม ขอ้ 1. หรอื
3 แจง้ ล่วงหน้าน้อยกว่าระยะเวลาทก่ี าํ หนดไวใ้ น ขอ้ 1. บรษิ ทั ฯจะจา่ ยค่าชดเชยพเิ ศษ แทนการบอกกล่าวลว่ งหน้าเท่ากบั
คา่ จา้ งอตั ราสุดทา้ ย 60 วนั
บรษิ ทั ฯ จะจ่ายค่าชดเชยพเิ ศษเพมิ่ ขน้ึ จากค่าชดเชยปกตเิ น่ืองจากปรบั ปรุงหน่วยงาน กระบวนการผลติ การจําหน่ายหรอื
การบรกิ าร เน่ืองจากการนําเครอ่ื งจกั รมาใช้ หรอื เปลย่ี นแปลงเครอ่ื งจกั รหรอื เทคโนโลยดี งั ต่อไปน้ี
1 พนกั งานทาํ งานตดิ ต่อกนั เกนิ 6 ปีขน้ึ ไป โดยรวมวนั หยุดวนั ลา วนั ทบ่ี รษิ ทั ฯสงั่ ใหห้ ยุดงานเพอ่ื ประโยชน์ของบรษิ ทั ฯ
และวนั ทบ่ี รษิ ทั ฯ อนุญาตใหห้ ยดุ งานเพอ่ื ประโยชน์ของพนกั งาน บรษิ ทั ฯจะจา่ ยค่าชดเชยพเิ ศษเพมิ่ ขน้ึ จากคา่ ชดเชย
ปกตติ ามทร่ี ะบไุ วใ้ นขอ้ 10.1 สาํ หรบั การทาํ งานทเ่ี กนิ 6 ปีเป็นจาํ นวนไมน่ อ้ ยกวา่ ค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ย 15 วนั ต่อการ
ทาํ งานครบ 1 ปีในปีถดั จากปีท่ี 6
2 คา่ ชดเชยพเิ ศษน้รี วมแลว้ จะไมเ่ กนิ คา่ จา้ งอตั ราสดุ ทา้ ย 360 วนั
3 เพอ่ื ประโยชน์ในการคาํ นวณคา่ ชดเชยพเิ ศษน้ี กรณรี ะยะเวลาทาํ งานไมค่ รบ 1 ปีถา้ ระยะเวลาทท่ี าํ งานในปีนนั้ มากกว่า
180 วนั ใหน้ บั เป็นการทาํ งานครบ 1 ปี
10.3 การเลิกจ้างโดยไม่จ่ายคา่ ชดเชย
บรษิ ทั ฯ ไมต่ อ้ งจ่ายคา่ ชดเชยใหแ้ กพ่ นกั งานซง่ึ ไดเ้ ลกิ จา้ งในกรณใี ดกรณหี น่งึ ดงั ต่อไปน้ี
1. ทุจรติ ต่อหน้าทห่ี รอื กระทาํ ความผดิ อาญาโดยเจตนาแก่บรษิ ทั ฯ
25
2. จงใจทาํ ใหบ้ รษิ ทั ฯไดร้ บั ความเสยี หาย
3. ประมาทเลนิ เล่อเป็นเหตุใหบ้ รษิ ทั ฯไดร้ บั ความเสยี หายอยา่ งรา้ ยแรง
4. ฝ่าฝืนขอ้ บงั คบั เกย่ี วกบั การทาํ งานหรอื ระเบยี บหรอื คาํ สงั่ ของบรษิ ทั ฯอนั ชอบดว้ ยกฎหมายและเป็นธรรมและบรษิ ทั ฯ ไดต้ กั เตอื น
เป็นหนงั สอื แลว้ เวน้ แต่กรณที ร่ี า้ ยแรง บรษิ ทั ฯไมจ่ าํ เป็นตอ้ งตกั เตอื น โดยหนงั สอื เตอื นฉบบั นนั้ มผี ลบงั คบั ไดไ้ ม่เกนิ 1 ปีนบั แต่
วนั ทพ่ี นกั งานไดก้ ระทาํ ผดิ
5. ละทง้ิ หน้าทเ่ี ป็นเวลาสาม (3) วนั ทาํ งานตดิ ต่อกนั ไมว่ ่าจะมวี นั หยดุ คนั่ หรอื ไมก่ ต็ ามโดยไมม่ เี หตุอนั สมควร
6. ไดร้ บั โทษจาํ คุกตามคาํ พพิ ากษาถงึ ทส่ี ดุ ใหจ้ าํ คกุ ในกรณี (6) ถ้าเป็นความผดิ ทไ่ี ดก้ ระทําโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษต้อง
เป็นกรณที เ่ี ป็นเหตุ ใหน้ ายจา้ งไดร้ บั ความเสยี หาย
หมวดที่ 11 ผลประโยชน์และสวสั ดิการ
บรษิ ทั ฯ ไดค้ าํ นงึ ถงึ ความสาํ คญั เรอ่ื งคุณภาพชวี ติ พนกั งานและครอบครวั รวมตลอดถงึ ความปลอดภยั ทงั้ ในและนอกเวลาการทาํ งานตลอด
ชวี ติ การทาํ งานอย่กู บั บรษิ ทั ฯ ดงั นนั้ บรษิ ทั ฯ จงึ ไดจ้ ดั สรรสวสั ดกิ ารและประโยชน์เพมิ่ พนู ใหพ้ นกั งานดงั น้ี
11.1 สขุ ภาพพนักงาน
1. การประกนั สขุ ภาพ
บรษิ ทั ฯ ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารประกนั สุขภาพหม่สู าํ หรบั การเป็นคนไขใ้ นของโรงพยาบาลใหแ้ ก่พนกั งานประจาํ ตามนโยบายของบรษิ ัทฯ โดย
บรษิ ทั เป็นผจู้ ่ายเบย้ี ประกนั ใหก้ บั พนกั งาน
2. การประกนั ชีวิตและอบุ ตั ิเหตุ
บรษิ ทั ฯ ไดจ้ ดั ทาํ แผนประกนั ชวี ติ และอบุ ตั เิ หตุสว่ นบุคคลหมสู่ าํ หรบั พนกั งานประจาํ ไวก้ บั บรษิ ทั ประกนั ชวี ติ โดยบรษิ ทั ฯเป็นผจู้ า่ ยคา่ เบย้ี
ประกนั ให้ รายละเอยี ดของทุนประกนั ผลประโยชน์ของแผนประกนั ชวี ติ และอบุ ตั เิ หตุสว่ นบุคคลทพ่ี นกั งานแต่ละคนจะไดร้ บั นนั้ จะเป็นไป
ตามนโยบายของบรษิ ทั ฯ
3. กองทนุ ประกนั สงั คม
บรษิ ทั ฯ ไดจ้ ่ายเงนิ สมทบเขา้ กองทุนประกนั สงั คมเพ่อื ยงั ประโยชน์ใหก้ บั พนักงานในเร่อื งค่ารกั ษาพยาบาล ชดเชยการขาดรายได้
ช่วยเหลอื ค่าคลอดบุตร ตลอดจนทุพพลภาพหรอื เสยี ชวี ติ อนั มใิ ช่เน่ืองมาจากการทาํ งาน และเรอ่ื งอ่นื ๆ ทพ่ี รบ.ประกนั สงั คมจะนํามา
ประกาศใช้ตามพรบ.ประกนั สงั คม บรษิ ัทฯ และพนักงานจะต้องจ่ายเงนิ สมทบเขา้ กองทุนประกนั สงั คมกนั คนละส่วน โดยส่วนของ
พนกั งานนนั้ ทางบรษิ ทั ฯ จะทาํ การหกั เงนิ สมทบดงั กลา่ วน้ีจากเงนิ เดอื นพนกั งานและนําส่งเขา้ กองทุนประกนั สงั คมทุกเดอื น ซ่งึ พนักงาน
จะไดร้ บั สทิ ธผิ ลประโยชน์จากสวสั ดกิ ารประกนั สงั คมตามบทบญั ญตั ขิ องพรบ.ประกนั สงั คมทกุ ประการ
4. กองทุนเงินทดแทน
บรษิ ทั ฯ ไดจ้ า่ ยเงนิ เขา้ สมทบกองทนุ เงนิ ทดแทน เพอ่ื ยงั ประโยชน์ใหก้ บั พนกั งานในกรณเี กดิ อุบตั เิ หตุหรอื เจบ็ ป่วยเน่อื งจากการทาํ งาน หรอื
ในระหวา่ งปฏบิ ตั งิ าน โดยจะไดร้ บั สวสั ดกิ าร คา่ รกั ษาพยาบาล ค่าชดเชยการขาดรายได้ เงนิ ชว่ ยเหลอื กรณเี สยี ชวี ติ ทุพพลภาพ ตามสทิ ธิ
ประโยชน์และระเบยี บปฏบิ ตั ติ ามบทบญั ญตั แิ ห่งกฎหมาย
5. การเย่ียมไข้พนักงาน
เมอ่ื พนกั งานเจบ็ ป่วยเป็นเวลาตดิ ต่อกนั หลายวนั หรอื ไดร้ บั อุบตั เิ หตุ ทนั ทที บ่ี รษิ ทั ฯ ไดร้ บั แจง้ บรษิ ทั ฯ จะส่งตวั แทนไปเยย่ี มอาการ
เจบ็ ป่วยของพนกั งานเพอ่ื เป็นการบาํ รงุ ขวญั และกาํ ลงั ใจแกพ่ นกั งาน
26
11.2 เรือ่ งทวั่ ไป
1. เครื่องแบบพนักงาน
บรษิ ทั ฯ จะจดั เครอ่ื งแบบใหแ้ กพ่ นกั งานในตําแหน่งทท่ี างบรษิ ทั ฯ เหน็ ว่าจําเป็นตอ้ งสวมเคร่อื งแบบจํานวนคนละ 3 ชุด พรอ้ มการซกั
รดี เครอ่ื งแบบพนกั งานใหฟ้ รี
2. ห้องแต่งกายและต้เู กบ็ เครอื่ งแบบพนักงาน
สาํ หรบั พนกั งานทต่ี อ้ งสวมเครอ่ื งแบบ ทางบรษิ ทั ฯ ไดจ้ ดั ใหม้ หี อ้ งสาํ หรบั เปลย่ี นเสอ้ื ผา้ โดยมหี อ้ งน้ําและหอ้ งสว้ ม รวมทงั้ ตลู้ อ็ คเกอรแ์ ละ
สง่ิ ของไวเ้ พอ่ื อํานวยความสะดวก
11.3 การพฒั นาและฝึกอบรม
บรษิ ทั ฯ เหน็ ถงึ ความสาํ คญั ในการพฒั นาศกั ยภาพของพนักงานทุกคน จงึ จดั ใหม้ สี วสั ดกิ ารดา้ นการฝึกอบรมเพอ่ื เป็นเครอ่ื งมอื ในการ
พฒั นาพนกั งานใหม้ คี วามรู้ ความสามารถ และศกั ยภาพ ในการประกอบอาชพี ทส่ี ่งผลใหท้ งั้ พนกั งานและธุรกจิ ของบรษิ ทั ฯ สามารถ
ดาํ เนนิ ไปไดด้ ว้ ยดี มปี ระสทิ ธภิ าพและมาตรฐาน ดงั นนั้ จงึ ไมใ่ ช่หน้าทข่ี องบรษิ ทั ฯ เพยี งฝ่ายเดยี วทม่ี คี วามรบั ผดิ ชอบต่อการเขา้ รบั การ
ฝึกอบรม แต่เป็นหน้าทข่ี องพนกั งานทพ่ี งึ ปฏบิ ตั ติ ่อบรษิ ทั ฯและใหค้ วามรว่ มมอื เมอ่ื บรษิ ทั ฯ มกี ารจดั การฝึกอบรม
11.4 สวสั ดิการอ่ืน ๆ
1. เงินค่าอาหาร
บรษิ ทั ฯ มกี ารจ่ายเงนิ คา่ อาหารใหแ้ กพนกั งานเป็นรายเดอื น แทนการจดั อาหารใหพ้ นกั งานในหอ้ งอาหารพนกั งาน ทางบรษิ ทั ฯ อาจ
กาํ หนดใหม้ สี วสั ดกิ ารอน่ื ๆ ทเ่ี หมาะสมแก่พนกั งาน โดยทางบรษิ ทั ฯ พจิ ารณาดาํ เนนิ การและกาํ หนดไวใ้ นประกาศของบรษิ ทั ฯ
หมวดท่ี 12 การร้องทุกข์
นโยบาย
เพอ่ื เป็นการสรา้ งสมั พนั ธภาพและบรรยากาศทด่ี รี ะหว่างบรษิ ทั ฯ และพนกั งาน และเป็นนโยบายทท่ี างบรษิ ทั เหน็ ถึงความจาํ เป็น
สาํ หรบั การทํางานในทุกสถานการณ์และสถานท่ี โดยพรอ้ มทจ่ี ะดาํ เนินการปรบั ปรุงแกไ้ ขและใหค้ วามเป็นธรรมแก่พนักงานทท่ี าํ การรอ้ งทุกข์
การรอ้ งทุกข์ การรอ้ งเรยี นหรอื ปัญหาต่างๆนนั้ จะไดร้ บั การแกไ้ ขหากผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งตามสายงานไดท้ ราบระเบยี บการรอ้ งทุกขข์ องพนกั งาน ซ่งึ
หมายถงึ การรอ้ งเรยี นทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เวลาการทาํ งาน เงนิ เดอื น ค่าจา้ ง เงอ่ื นไขเกย่ี วกบั การทาํ งาน ซง่ึ ทางบรษิ ทั ฯยนิ ดรี บั ฟังและพจิ ารณาทาํ
การช่วยเหลอื แกไ้ ขอย่างยตุ ธิ รรมและตามความเหมาะสม
ความหมายและขอบเขตของข้อรอ้ งทุกข์
1. ขอ้ รอ้ งทุกขข์ องพนกั งานจะต้องเป็นเรอ่ื งทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ความคดิ เหน็ หรอื ขอ้ ขดั แยง้ ว่าดว้ ยระบบหรอื วธิ กี ารทํางาน สทิ ธปิ ระโยชน์
ตามสญั ญาหรอื สภาพการจา้ ง ความประพฤตแิ ละความเป็นธรรมของพนกั งาน
2. ขอ้ รอ้ งทกุ ขจ์ ะตอ้ งมใิ ชเ่ รอ่ื งขอใหแ้ ต่งตงั้ โยกยา้ ย เลกิ จา้ ง หรอื ปลดออกซง่ึ บคุ คล หรอื พนกั งานอ่นื
3. ขอ้ รอ้ งทกุ ขจ์ ะตอ้ งเป็นเรอ่ื งทเ่ี กย่ี วกบั การทาํ งาน มใิ ช่เรอ่ื งส่วนตวั เวน้ แต่เรอ่ื งนนั้ จะเกย่ี วขอ้ งกบั การทาํ งานของพนกั งาน
การรอ้ งทกุ ข์
ดงั นัน้ เมอ่ื พนักงานมปี ัญหาขอ้ รอ้ งทุกข์ ซง่ึ อาจเกดิ ขน้ึ จากความไม่พอใจต่อสภาพการทํางาน ผู้บงั คบั บญั ชา หรอื ระหว่างพนักงาน
ดว้ ยกนั เงนิ เดอื น ค่าจา้ ง เง่อื นไขเกย่ี วกบั การทาํ งาน ปัญหาขอ้ ร้องทุกขน์ ัน้ ๆ ควรจะได้รบั การแกไ้ ขใหเ้ สรจ็ ส้นิ โดยเรว็ ทงั้ น้ี พนักงานจะไดร้ บั
โอกาสในการหยบิ ยกปัญหาซง่ึ มผี ลกระทบต่อบคุ คลหน่งึ หรอื กลุ่มบคุ คล มาเสนอใหฝ้ ่ายบรหิ ารไดร้ บั รแู้ ละดาํ เนนิ การแกไ้ ข
27
วิธีการรอ้ งทุกข์
ทางบรษิ ทั จงึ จดั ใหม้ กี ระบวนการในการรอ้ งทกุ ขแ์ ละอุทธรณ์ ดงั ต่อไปน้ี
วธิ ที ่ี 1 รอ้ งทกุ ขต์ ่อผบู้ งั คบั บญั ชาโดยตรง
วธิ ที ่ี 2 รอ้ งทกุ ขต์ ่อผบู้ งั คบั บญั ชาหรอื หวั หน้าแผนก
วธิ ที ่ี 3 รอ้ งทุกขต์ ่อผจู้ ดั การฝ่ายทรพั ยากรบุคคล
วธิ ที ่ี 4 รอ้ งทกุ ขต์ ่อผจู้ ดั การทวั่ ไป หรอื รองผจู้ ดั การทวั่ ไป
การสอบสวนและพิจารณาขอ้ ร้องทกุ ข์
ขนั้ ตอนท่ี1 ผบู้ งั คบั บญั ชาโดยตรง
เมอ่ื พนกั งานมปี ัญหาหรอื ความเดอื ดรอ้ นตอ้ งการจะรอ้ งทกุ ขเ์ น่ืองจากไมไ่ ดร้ บั ความยุตธิ รรมในหน้าทห่ี รอื สทิ ธเิ กย่ี วกบั การทํางาน
รวมถงึ สภาพแวดลอ้ มในสถานทท่ี ํางาน ใหพ้ นกั งานแจง้ ดว้ ยวาจาต่อผูบ้ งั คบั บญั ชาโดยตรงของพนักงานทนั ทเี พ่อื การสอบสวนและพจิ ารณา
แกไ้ ข
หากพนักงานไม่ไดร้ บั คาํ ตอบจากขอ้ รอ้ งทุกขห์ รอื ยงั ไม่ไดร้ บั การดําเนินการภายใน 3-7 วนั หลงั จากเวลาอนั สมควร หรอื ไม่
พอใจคาํ ตอบทไ่ี ดร้ บั ใหถ้ อื ว่ามขี อ้ รอ้ งทุกขเ์ กดิ ข้นึ พนักงานอาจย่นื ขอ้ รอ้ งทุกขด์ งั กล่าวเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรเสนอต่อหวั หน้าแผนกหรอื ผูจ้ ดั การ
แผนกภายใน 5 วนั ซง่ึ หวั หน้าแผนกหรอื ผจู้ ดั การแผนกจะเป็นผดู้ าํ เนินการพจิ ารณาแกไ้ ขขอ้ รอ้ งทกุ ขน์ นั้ เพอ่ื ใหค้ วามเป็นธรรม
ขนั้ ตอนที่ 2 หวั หน้าแผนก
เมอ่ื หวั หน้าแผนกไดร้ บั คาํ รอ้ งทุกขจ์ ากพนักงานแลว้ ใหร้ บี ดําเนินการสอบสวนเพ่อื ใหท้ ราบขอ้ เทจ็ จรงิ และดาํ เนินการแกไ้ ขโดยเรว็
ทงั้ น้ี ผรู้ อ้ งทุกขจ์ ะไดร้ บั ทราบผลการยตุ ขิ อ้ รอ้ งทกุ ขภ์ ายในระยะเวลาไมเ่ กนิ 5 วนั
ขนั้ ตอนท่ี 3 ผจู้ ดั การฝ่ ายทรพั ยากรบคุ คล
หากพนกั งานยงั ตอ้ งการย่นื ขอ้ รอ้ งทุกขต์ ่อไป หรอื ไมพ่ อใจการแกไ้ ขขอ้ รอ้ งทุกขท์ ไ่ี ดร้ บั จากหวั หน้าแผนกผจู้ ดั การแผนกของตน
ใหย้ น่ื อุทธรณ์รอ้ งทุกขเ์ ป็นหนงั สอื ต่อผจู้ ดั การฝ่ายทรพั ยากรบุคคลหรอื ผจู้ ดั การแผนกบุคคลและฝึกอบรม เพ่อื พจิ ารณาทบทวนการตดั สนิ รวม
สอบสวนขอ้ ถงึ ขอ้ เทจ็ จรงิ จากบคุ คลซง่ึ เกย่ี วขอ้ ง เพอ่ื การพจิ ารณาอย่างถูกตอ้ งและเป็นธรรม ผูจ้ ดั การฝ่ายทรพั ยากรบุคคลหรอื ผูจ้ ดั การแผนก
บคุ คลและฝึกอบรมอาจจะจดั ตงั้ คณะกรรมการพจิ ารณา และประเมนิ เรอ่ื งราวการรอ้ งทกุ ข์
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเป็นธรรมมากทส่ี ดุ
ขนั้ ตอนที่ 4 ผจู้ ดั การทวั่ ไปหรือรองผจู้ ดั การทวั่ ไป
กรณีท่พี นักงานยงั คงยนื ยนั ท่ไี ม่เห็นชอบกบั การตดั สนิ ในลําดบั ท่ผี ่านมา พนักงานสามารถรอ้ งเรยี นต่อผูจ้ ดั การทวั่ ไปหรอื รอง
ผจู้ ดั การทวั่ ไป เพ่อื ทจ่ี ะไดพ้ จิ ารณาทบทวน สอบสวนหาขอ้ เทจ็ จรงิ จากบุคคลทเ่ี กย่ี วขอ้ งตลอดจนหาขอ้ มลู ต่างๆ ทต่ี ้องการ เพอ่ื ประกอบการ
ตดั สนิ ขนั้ สงู สดุ
กระบวนการยตุ ิขอ้ รอ้ งทุกข์
พนกั งานทต่ี ้องการยน่ื ขอ้ รอ้ งทุกขแ์ ละไดร้ บั การพจิ ารณารวมถงึ การตดั สนิ ตามลําดบั ขนั้ แลว้ นัน้ การตดั สนิ และยุตขิ อ้ รอ้ งทุกข์
โดยผจู้ ดั การทวั่ ไปหรอื รองผจู้ ดั การทวั่ ไป ผลการพจิ ารณาของผจู้ ดั ผจู้ ดั การทวั่ ไปหรอื รองผจู้ ดั การทวั่ ไป ถอื เป็นทส่ี น้ิ สุด
ความค้มุ ครองผรู้ อ้ งทุกข์
การคุม้ ครองผู้รอ้ งทุกข์และผู้เก่ยี วขอ้ ง บรษิ ทั ฯ จะใหค้ วามคุ้มครองแก่พนักงานผู้ร้องทุกข์และพนักงานผูใ้ ห้ขอ้ เทจ็ จรงิ ท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั ขอ้ รอ้ งทุกข์ในทุกขนั้ ตอนตลอดการพจิ ารณาจนกระทงั้ ส้นิ สุดการตดั สนิ และยุติขอ้ รอ้ งทุกขข์ นั้ สงู สุดโดยผู้จดั การทวั่ ไปหรอื รอง
ผจู้ ดั การทวั่ ไป มใิ หไ้ ดร้ บั ผลกระทบทงั้ ทางตรงและทางอ้อมจากผูบ้ งั คบั บญั ชาหรอื จากพนกั งานอ่นื โดยจะถอื ว่าขอ้ มลู ขอ้ เทจ็ จรงิ ทไ่ี ดจ้ ากผูร้ อ้ ง
ทกุ ข์ และพนกั งานทเ่ี กย่ี วขอ้ งเป็นความลบั
28
หมวดท่ี 13 การแก้ไขข้อบงั คบั เก่ียวกบั การทาํ งาน
บรษิ ทั ฯ อาจตกลงกบั พนักงานในการเปลย่ี นแปลงแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ขอ้ บงั คบั เกย่ี วกบั การทาํ งานน้ีไดโ้ ดยบรษิ ทั ฯ จะปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย
คุ้มครองแรงงานและกฎหมายแรงงานสมั พนั ธ์ รวมถงึ ประกาศ คําสงั่ ของทางราชการ และกฏหมายอ่นื ๆ ท่ใี ชเ้ ป็นขอ้ บงั คบั แทนเฉพาะในส่วนท่ี
ขดั แยง้ กบั สทิ ธปิ ระโยชน์และผลประโยชน์ตามทก่ี าํ หนดไวน้ ้ี เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพในการทาํ งานและเพม่ิ พนู ความเขา้ ใจในเรอ่ื งทบ่ี รษิ ทั ฯ จะ
ปฏบิ ตั ติ ่อพนกั งาน
ทงั้ น้มี ผี ลบงั คบั ใชต้ งั้ แต่วนั ท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564
................................................ ................................................
( นายไนเจล โทวเวย์ ) ( นายลกู า้ ดอตติ )
ผมู้ อี ํานาจในการลงนาม ผมู้ อี าํ นาจในการลงนาม
บรษิ ทั เนสท์ 16 จาํ กดั บรษิ ทั เนสท์ 16 จาํ กดั
(โฮมา่ ภเู กต็ ทาวน์) (โฮมา่ ภเู กต็ ทาวน์)
29
WORK RULES AND REGULATIONS
Nest 16 Co., Ltd.
(HOMA Phuket Town)
Effective Date: 01 October 2021
Head Office
3/41 Moo 5, Tumbon Rassada Aumpher Muang Phuket, Phuket 83000
Type of Business:
Hospitality Management / Hotel / Serviced Apartment
TABLE OF CONTENTS Page
GENERAL 3
SECTION 1: Working Days, Working Hours and Break Times 4
SECTION 2: Day off and Regulation on Taking Day off 5
SECTION 3: Leave and Regulation on Taking Leave 6
SECTION 4: Regulation on Overtime Working and Holidays Working 10
SECTION 5: Regulation over Wages, Income Tax and 11
Social Welfare Fund Contribution 12
SECTION 6: General Regulation on Working in Company 14
SECTION 7: General Regulation for Team Member 21
SECTION 8: Discipline and Disciplinary Punishment 27
SECTION 9: End of Employment 29
SECTION 10: Compensation 31
SECTION 11: Benefits and Welfare 33
SECTION 12: Filing Complaints 35
SECTION 13: Amendments
2
General Regulation
Company Name: Nest 16 Co., LTD (Headquarter)
Company Address:
3/41 Moo 5, Tumbon Rassada Aumpher Muang Phuket, Phuket 83000
Trade Mark:
Hotel Address: HOMA Phuket Town
Business Type:
Effective: 3/41 Soi Samkong 1, Ratsada, Muang-Phuket, Phuket 83000 Thailand
Service Apartment
01 October 2021
Regulation Enforcement
1. This regulation is called “The Working Regulation of the Nest 16 Co., Ltd”
2. This Working Regulation is announced effective since 01 October 2021 onwards.
3. If any order, announcement, or regulations mentioned previously are not in line with
this Working Regulation, it will be deemed that the former regulation is void and every
updated regulation must be based on this Working Regulation.
Definitions refers to the Nest 16 Co., Ltd, including authorized personnel who
“The Company” perform tasks on behalf of the company. This term also refers to those
who are assigned to perform tasks on behalf of the authorized personnel.
“Team Member” refers to those who perform assigned duties in the Nest 16 Co., Ltd and
receive wages in return. Hereby, all Team Member has officially signed
their working contract with the company. The Team Member is divided
into 2 categories:
1. The Office Team Member
2. The Operation Team Member
“The Office Team Member” refers to the Team Members who are assigned to perform their
duties in the office such as Administration, Accounting, Purchasing,
Human Resources, Sales, Coordinator, Clerk and Secretarial.
“The Operation Team Member” refers to Team Members who are assigned to perform their
duties in specific area in order to serve customers such as Receptionist,
Reservation, Front Office, Guest Service, Restaurant Service Team
Member, Gardener, Housekeeping, Engineering, Restaurant, Kitchen
Team Member, Steward, gardener and driver.
“The Managers” refers to senior Team Member ranked from the Assistant Manager level
upwards. These personnel are authorized to perform tasks on behalf of
the employers. Hereby, they are able to both promote and punish Team
Member under their command.
“The Customers” refers to those who use the service of the company.
3
SECTION 1 Working Days, Office Hours, and Break Times
1.1 Working Days and Office Hours
Every Team Members work 5 days per week. The Head of Department will regulate the
working schedule, controlled and checked by Human Resources Manager.
Office Team Member: working not over 48 hours per week, start from 8:00 / 8:30 hrs.
to 18:00 / 18:30 hrs. or assigned by Head of Department as necessary.
Operation Team Member: working not over 48 hours per week, working schedule will
be regulated by Head of Department.
All team members are obliged to perform their task as follows:
1. The weekly day off is not less than 2 days per week and the interval between each weekly
holiday shall be no longer than five days.
2. The Head of Department or Supervisors will regulate the working days, working hours, and
the break time of the Team Member.
3. The company & Team Member will agree to any changes of the working time schedule
under Thai Labour Law. Furthermore, the company will inform all Team Member in
advance such changes.
4. Those who wishes to change their working time schedule as regulated by the company
must submit the approval form to their superior or head of department for approval at
least 3 days in advance.
1.2 Break Period
All team members will have break time to have meal 60 minutes per day during canteen opening
period as following
Working day, working time and break time may be changed as business needed but the amount
of time will not less than the time mentioned above.
4
SECTION 2 Day off and Regulation on Taking Day off
2.1 The Weekly Day off
All team members will have 2 days off per week after completing 5 working days.
Office Team Member: Saturday and Sunday or assigned by head of department.
Operation Team Member: Days off will be regulated by head of department as per
business needs.
Team members who require to change their days off as regulated by the company must
submit the changing day off form to get approval from their head of department at least 3 days
in advance.
2.2 Public Holidays
2.2.1 Team Member is allowed to have 14 Public Holidays, including the country’s
National Labor Day. Hereby, the wages will be paid to all Team Member in the
same amount as the normal working days. The company will announce the public
holidays of next year in advance on December of every year.
2.2.2 If any public holiday falls on the weekly day off or team member was assigned to
work on the day as per business need, it should be compensated on the next day
or on other day which is agreed between team member and head of department.
The wages will be paid to all team member in the same amount as the normal
working days.
2.3 Annual Leave
Team Members who have completed probation of service will be entitled to the
annual leave program. Hereby, the wages will be paid normally to team member as usual.
The rate of the company’s Annual Leave Program is classified as follows:
Level Complete probation Complete 2 – 5 year 5 years over
to 2 years
1 (GM) 24 days No Adjustment No Adjustment
2 (ExCom) (or as per contract) No Adjustment No Adjustment
3 (HODs) 17 days No Adjustment No Adjustment
4 (Asst.) 15 days
5 (Sup) 13 days 14 days 15 days
6 (TM) 10 days 11 days 13 days
7 days 8 days 10 days
2.3.1 The entitlement of annual leave will be calculated as pro rata basis for any
resignation during the year.
2.3.2 The company will schedule in advance the annual leave for the Team Member or
would probably make an agreement over the matter with team member but not
effect to the normal operation.
2.3.3 Team Member must submit the leave application form to their head of department
in order to be granted his/her approval for at least 3 days in advance. Otherwise, it
will be considered that the Team Member is absent from his/her work.
2.3.4 The company will not allow Team Member to accumulate their current annual leave
period and carry it forward to the following year except in some cases officially
approved by General Manager.
5
SECTION 3 Leave & Regulation on Taking Leave
General Regulation related to all kinds of leave
1. Team Member must submit the Leave Application Form to their immediate Supervisor
and Head of Department in advance. The request will be granted only when their Head of
Department has signed his/her name for approval the request.
2. In cases where the Team Member is not able to submit the company’s Leave Form in
advance, it is the Team Member responsibility to inform his/her Head of Department
within their working time schedule; or at least before beginning their shift. And upon
returning to work on the first day, the Team Member must immediately submit the Leave
Application Form to the immediate Supervisor or Head of Department approval.
3. Any violation or false statement submitted to the Head of Department in order to be
granted approval for leave will be considered an offence and subject to disciplinary
action.
Types of Leave
3.1 Sick Leave
3.1.1 Team Member is entitled to sick leave as actually sick and the company will pay
wages in the same rate as the normal working days not exceeding 30 days per year.
3.1.2 Any unspent sick leave in each year cannot be accumulated and carried forward on
the next year or refunded for money.
3.1.3 Each sick leave must be immediately informed to the Head of Department or Human
Resources Department. Hereby, the Team Member may inform by telephone, or by
their relatives. Any SMS message or leaving the message to their colleagues is not
acceptable.
3.1.4 If the Team Member is not able to advise their immediate Head of Department, they
must inform on their first day to work and submit the Leave Application Form with
valid reason.
3.1.5 For each sick leave of three or more days irrespective of the holiday during the sick
period, the employee must provide a medical certificate of his/her sickness issued by
first grade doctor or government hospital. In case of not being able to present a
medical certificate, the Team Member is required to explain
the matter to the company in writing. If such sickness is falsified, the company will
consider that the Team Member is absent and also breaks the regulation of 3.1.3. and
is subject to disciplinary action.
3.1.6 Any working days in which the Team Member is not able to come to work due to
accident or sickness which occurred during their duty and maternity leave are not
considered sick leave. (As 3.1.6)
3.1.7 In all cases, the company would probably assign its own doctor to conduct health and
body check for any Team Member in order to file comment that whether he/she is
physically and mentally capable to continue working with the company.
3.1.8 Any sick leave, which is not in line with above mentioned regulation, will be subjected
to disciplinary punishment.
6
3.2 Special Leave
Team Member is allowed to take their Special Leave with pay as normal working day,
in case of.
3.2.1 3 working days for married leave, support evident must be presented and only one
time during period of employment.
3.2.2 3 working days for attending funeral or cremation ceremony of his/her immediate
family, legally certified parents, spouse, and children. Hereby, a copy of death must
be presented.
3.2.3 Male team members are entitled for 2 days of paternity leave of his baby giving birth,
a copy of birth certificate must be presented.
3.2.4 Every team member is entitled for a birthday leave for 1 day.
All leaves above must be informed to Head of Department in advance except 3.2.2 and 3.3.3
3.3 Leave for sterilization or leave because of sterility
Team Member is entitled to take leave as a result of being sterilized for the period fixed
and issued a certificate by the first-class doctor with pay as a normal working day. The
Team Member has to notify the company at least 3 days in advance and get an approval
before taking such leave and submit the doctor certificate to HR Department on their first
day of return to work.
3.4 Maternity Leave
Female Team Member that is pregnant is entitled to maternity leave not exceeding
98 days per one occasion (including holidays, and public holidays). The normal working day
will be paid for the first 53 days. The employee must submit the leave application to his/her
head of department for at least 30 days in advance for approval.
If the pregnant Team Member is not able to perform her normal duty, the company will
temporarily and appropriately change her job responsibility whether before or after the
delivery.
Female Team Member that realizes she is pregnant must bring along the medical
certificate issued by certified doctors to present to the company, and the company must also
be informed in writing immediately.
3.5 Military Service Leave
Team Member is entitled to leave for military service under the military training program
in line with the country’s Law of Military Service. Hereby, the normal working day will be
paid to the Team Member but not exceeding 60 days per year (including weekly day off, and
public holidays).
However, taking leave to render military service as per the age requirement as in line
with the Law of Military Service is excluded from above mentioned.
Team Member must notify his Head of Department immediately in advance when they
get the letter of summons & get an approval before taking leave by submitting the Letter of
Summons and any other related document for reference. After completing the military
service program, Team Member must report to the company within 5 days as from the date
he is disobliged from the military service.
7
All related documentation mentioning that Team Member has already served the service
must be submitted, failure to report within 5 days without specifying appropriate reason, the
company will consider that he wishes to resign from the company and there is no obligation
that obliges the company to recruit him as the company’s Team Member again.
3.6 Leave for academic training program or skill development
Team Member is entitled to leave for academic training program or skill development in
the following cases:
3.6.1 Taking leave for the benefit of Labor and Social Welfare or for the skill improvement in
order to improve the Team Member performance. Hereby, the academic training
program and the training period must be stated and confirmed by the academy.
3.6.2 Taking leave to apply for academic test conducted or approved by governmental
offices.
3.6.3 To take leave over the matter, Team Member must submit the company's Leave Form
together with all related documentation (if any) to his/her Head of Department for at
least 7 days in advance. Team Member is able to take such leave only after the leave
application has been approved. However, the company reserves the right to either
have the wages is paid or not paid.
3.6.4 The company would probably not grant approval to the Team Member to enter any
academic training program based on the following cases:
(1) He/she has previously been permitted by the company to enter any academic
training program in the same year for three times or not less than 30 days.
(2) The company possesses its own reason to specify that his/her requirement to
enter any academic training program may affect the company business.
3.7 Leave for Monkhood (Ordination)
After completed 1 year of service, the company allows Team Member to take leave for
ordination or to seek merit for a maximum of 7 days with pay during the employment. The
company may not approve the application depending on whether the leave may damage or
have an impact on the business
3.8 Business Leave
The Employees may take business leave for necessary affairs for no more than 3 (three)
working days a year with pay, subject to prior permission from their supervisors in
accordance with the rules on leave.
Such necessary affairs for which the Company may grant permission to take business
leave include contact with government authorities, educational institutes for themselves or
persons under their care, arrangement for funeral of immediate family or persons under
their care, weddings of their own or offspring, or any other affairs to which the Employees
must personally attend, subject to the discretion of their supervisors.
8
3.9 Leave without Pay Leave
For any Employees wishing to take leave, whose paid leave entitlement has been
exhausted, or wishing to take leave for any other purpose than those mentioned in the rules
on leave, the Employees may request to take leave without pay, provided that the reasons
for such leave must be truly and clearly reasonable or necessary, and if the Employees do
not personally attend to such affairs, the Employees, their families or close relatives may
face difficulty; such leave must first be approved by their supervisors, otherwise, it shall be
deemed as neglect of duty which is disciplinary misconduct and subject to disciplinary
action.
The Employees wishing to take leave without pay shall proceed as follows:
- Submit a leave request form and obtain approval from their supervisors in advance at
least 7 (seven) days;
- The leave days shall be counted continuously (except for holiday and traditional
holidays) during such leave period.
3.10 Absence from Work
The term of Absence from Work means leaving work and duties without informing the
Head of Department, verbally confirmation is not enough or leave even has been informed
and discussed but the Head of Department did not approve. This is subject to disciplinary
action and Team Member will not receive wage on that day.
The Team Member will be verbally warned in writing by their Head of Department and
Human Resources Department. If they have been absented for several times and have
previously been warned in writing or have consecutively taken leave for 3 days whether the
leaves are overlapped by any holidays without appropriate reason, the punishment would be
termination from work without any compensation.
3.11 Repeated Absences
Repeated absences will always affect the efficiency of performance and the company’s
business operation. As a result, it will negatively affect the annual wages increase and other
benefits in which the company is to provide to the Team Member. In addition, the company
would also consider whether the Team Member is efficiently suitable to continue their work
with the company.
9
SECTION 4 Regulations on Overtime Working and Holidays Working
In general, the company will not assign Team Member to work overtime or work on
holidays except if there are some urgent and necessary tasks to do or some special assignment
or duties need to be consecutively done and cannot be completed within normal working time.
Therefore, a request for overtime or holidays working must be made in writing by the Head of
Department (According to the form that set by the Company). The payment made for overtime
working and holidays working will be as follows:
4.1 Overtime Payment
If the company requires Team Member to work overtime on normal working day, the
overtime rate of 1.5 times of the normal working rate per hour will be paid to the Team
Member by cash or compensate time off.
4.2 Overtime Payment on Holidays
If the company requires Team Member to work overtime on public holidays, the overtime
rate 3 times of the normal working rate per hour will be paid to the Team Member.
4.3 Payment on Holidays Working
If the company requires Team Member to work on holidays, the extra payment will be
paid to the Team Member as follows:
Team Member that are allowed to earn wages on holidays
Team Member who earn wages on public holidays. Such as, Team Member who receives
a monthly wage], if they are assigned to work on holidays, the rate of 1 time the normal
working rate per hour will be paid to them.
Team Member that are not allowed to earn wages on holidays
Team Member who receives a daily wage, an hourly wage or a wage calculated on output
is not allowed to earn wages on holidays. If they are assigned to work on holidays, the rate
of 2 times the normal working rate per hour will be paid to them.
Type of Duties, which are not allowed to take overtime payment
Senior Team Members, leveling up from Assistant Head of Department to Head of
Department that are authorized to conduct duties on behalf of the company for hiring
condition, termination or compensation are not allowed to take overtime payment.
10
SECTION 5 Regulation over Wages, Income Tax and Social Welfare Fund contribution
5.1 Wages Payment
The company is obliged to conduct its Wages Payment, Overtime Payment, Holidays
Payment, and Overtime Payment on Holidays, including all types of wages payment at its
official location or by transferring payment to the Team Member commercial banking
account. The payment will be transferred to the Team Member commercial banking accounts
at the end of each month. If the last day of the month falls on a holiday, the payment
transaction will be made one day earlier.
5.2 Wages Calculation
The company will make its calculation for the overtime payment, extra payment on
holidays, and overtime payment on holidays, for the Team Member on the 20th of the
month. This kind of extra payment will be paid together with the salary and remuneration of
that month. All mentioned extra payments that are made on the date 21st onwards of any
months are to be paid to the Team Member on the next month.
5.3 Rate of Wages Calculation
5.3.1 The company has appointed its standard rate of Wages Calculation of 30 days per
month and 9 hours per day for Team Member who receive a monthly wage.
5.3.2 The company has appointed its standard rate of Wages Calculation for Team Member
who receives a daily wage as per Team Member working day.
5.4 Income Taxes and Social Welfare Fund Contribution
All Team Member is obliged to pay the income tax and Social Welfare Fund Contribution,
which the company has to deduct as specified by the Law. The calculation of deduction will
be based on the total income of each month. The made deduction will be forwarded to the
Revenue Department and the Social Welfare Fund accordingly.
As the total monthly income of the Team Member may not be fixed or may be changed
upon working, tax increase or decrease of the Team Member during the year in line with
related documentations submitted to the company, therefore, on the last payment due of
the year end as on December, the Personnel Department needs to adjust the tax amount to
be in accordance with the tax estimation as mentioned, which would probably result in the
total tax deduction on December to be different from other months.
11
SECTION 6 General Regulation in Company
6.1 The Team Member Responsibility
The company’s general policy is made under the objective of encouraging all Team
Member to conduct their duties to the best of their abilities. The Team Member is also
obliged to behave themselves properly both inside and outside the company in order to
maintain their own and the company's reputation. They are also required to pay respect to
senior executives and to strictly follow the company's entire rules and regulation.
6.2 Working Regulation
6.2.1 Team Member must have themselves registered to perform their duties punctually.
Uniformed Team Member must reach their working section /department in accordance
with their working schedules assigned by Department Heads.
6.2.2 Those who are late on their duty will be considered breaking the company's
regulation.
6.2.3 Team Member must only perform their assignment inside their section/department.
They are prohibited to enter other sections /departments without necessity unless
they are required to do so as per their job responsibilities.
6.3 Working Time Record
To maintain the regulation over the time recording of the Team Member attendance the
following procedure must be followed:
6.3.1 Team Member must have their finger scan record when they reach the office or
start/finish their daily work. They must also sign their name in the attendance sheet
otherwise, they will be considered absent.
6.3.2 Team Member is strictly prohibited to record the time in/out for other Team Member.
6.3.3 Those who require to take a day off or to do personal business outside the company
during working hours must request permission from their Department Heads in
writing, stating the reason and time to be out and in. Otherwise, it will be considered
leaving their duties without permission & subject to disciplinary action.
6.3.5 In case of Department Heads, they are required to inform the General Manager or
Resident Manager whenever they need to conduct the business outside the company,
stating the place to contact and the time out for further convenience and if necessity
occurs.
6.4 Team Member Employment
The company will employ new Team Member under the following conditions:
6.4.1 They must not be under 18 years of age and over 60 years on the date when they are
employed.
6.4.2 They must not be heavily handicapped, mentally sick, and must not be affected by
some of the following diseases: leprosy, tuberculosis, alcoholism, drug addicted,
communicable disease, or any other diseases which are difficult to cure and would be
an obstruction for work performance.
6.4.3 They must not be disabled or considered disabled people.
6.4.4 They must not be bankrupt or seriously obliged with debts.
12
6.4.5 They must never be terminated or with illegal proceedings from other companies.
6.4.6 They must not currently be in the middle of criminal proceedings, except the
accusation has been accidentally and unintentionally made or has been sentenced to
light punishment.
6.4.7 They must possess appropriate behavior.
6.4.8 They must be physically healthy to suit the post they apply for.
6.4.9 They must be qualified for the post, which the company offers.
6.4.10 Documentation submitted to apply for jobs are part for the company's decision to
employ Team Member. Therefore, if the company finds out that all submitted
documentation are falsified, the company reserves the right to immediately void or
terminate the employment contract.
6.4.11 The Company will provide the probation period for new Team Member for not more
than 90 consecutive days. When the probation period is completed the Team Member
will be confirmed in writing. On the contrary, if he/she is not able to pass the
probation period of 90 days in which his/her performance does not satisfy the
company, the company possesses the right to terminate the employment contract.
Hereby, the company will strictly follow the Labor Law regulation.
6.4.12 The Company can employ any Team Member relatives, whether they are having the
same family name. If Team Member is married to another Team Member in another
department, the company is to change his/her job duties or department as deemed
appropriate. Any relationships must be reported to HR.
6.4.13 New Team Member must undergo a pre-employment check-up and results to be
submitted to the company on the date he/she starts working.
6.4.14 All Team Member must strictly follow the working regulation appointed by the
company, including other related regulation which might be changed or adjusted in
the future without any obstruction to related law.
6.5 Promotion and Transfer Procedure
The company has to consider the following basis with regards to transfer/promotion
considering the Team Member's responsibility, performance, honesty, behavior, and the
salary scale.
Those who are transferred to another position, whether it is a promotion or not, the
company possesses the right to set up a new probation period for the new position in order
to assess the skill of the Team Member in that position. If Team Member is found not fit for
the new position, he/she would either be transferred back to the previous position or would
be transferred to another suitable position.
Hereby, during working period with the company, the Department Head is authorized to
transfer or rotate Team Member from his/her current position to other departments or other
subsidiaries without any obstruction to related law.
13
SECTION 7 Regulation for Team Member
7.1 Regulation over appropriate manner on duties
7.1.1 Team Member must perform his/her duties to the best of his/her abilities.
7.1.2 Team Member must build up and maintain the company's reputation and benefit
which includes keeping the confidentiality of data which would affect the company.
7.1.3 Team Member must not get too close or maintain personal relation with the
customers.
7.1.4 Team Member must treat the customers and visitors politely.
7.1.5 Team Member must not discuss his/her personal affairs, and must not criticize the
customers, including his/her colleagues. Any discussion should be based on
responsible duties only.
7.1.6 Smoking, eating or chewing gum in the work area is not allowed.
7.1.7 Team Member must equally provide best service to all customers.
7.1.8 Team Member is not allowed to talk loudly, or tease customers or their colleagues, in
the customer service area.
7.1.9 Team Member is not allowed to go up to the guest floors or enter the Guest’s room
without permission from her/his supervisor or Manager, except he/she is assigned to
do so while on duty.
7.1.10 Team Member must be willing to assist one another in order to build up unity
between all Team Member.
7.1.11 Team Member is not allowed to use personal mobile phones. except some positions,
approved by the management. The company's telephones are for company business
only,
7.1.12 Team Member is not allowed to go to other areas or department during their working
hours, except when he/she is assigned to go on duties in the mentioned area by
his/her supervisor.
7.1.13 Team Member are not allowed to scratch any parts of his/her body, pick nose or lean
on furniture in public areas.
7.2 Grooming
Grooming standard is set in order to ensure that all Team Member are neatly groomed
and observe a high standard of personal hygiene. The following are the regulation that must
be strictly adhered to.
Female Team Member
1) Facial Appearance
1.1 Put on light makeup to enhance the normal beauty. Heavy makeup is not allowed.
1.2 Facial Tattoo, or body tattoo which are extremely noticeable are strictly prohibited.
1.3 Nose ring, or any decorative nose ornaments is not allowed.
1.4 One pair of earrings only is recommended.
14
2) Hair
2.1 Hair must be kept clean at all times as per the standard set by the management. In
case of long hair, the hair should be neatly kept. Big size or dazzling hair ornament
is not allowed.
2.2 Hair dying of colorful style other than the natural color of hair must be pre-approve
by General Manager. Kitchen Team Member to have their hair covered at all times
whilst in the kitchen.
3) Ornaments
3.1 Minimum ornaments are expected.
3.2 Expensive precious ornaments are prohibited.
3.3 Normal style wristwatches expected. Fashionable style wristwatches with cartoons
painting and dazzling colors are not allowed while on duty.
3.4 Small earrings are expected.
3.5 For hygiene purposes Team Members in production or with cooking duties or serving
food, bracelets and rings are not allowed while on duty.
4) Uniformed Team Member
Must adhere to follow the following regulations:
4.1 The uniform must be kept tidy and clean at all times.
4.2 Team Member is obliged to check the tidiness of the uniform before going on floor
and while on duty for example, buttons, hooks, zips, etc.
4.3 Name badge must be worn at all the times while on duty.
5) Shoes and Stocking
5.1 Shoes must be worn as specified by the management while on duty
5.2 Shoes must be kept clean and polished at all times.
Male Team Member
1) Facial Appearance
1.1. Beard and moustache must be approved by General Manager.
1.2 Facial Tattoo, or body tattoo which are extremely noticeable are strictly prohibited.
1.3 Nose ring or any other decorative nose ornaments are not allowed.
1.4 No earring is allowed.
2) Hair
2.1 Regular cut hairstyle is expected, together with cleanliness and tidiness.
2.2 Hair dying of colorful style must be approved by General Manager. Kitchen Team
Member to wear hats at all times whilst in the kitchen.
3) Ornaments
3.1 Minimum ornaments are expected.
3.2 Expensive ornaments are prohibited.
3.3 Normal style wristwatches are acceptable.
3.4 Earrings for male Team Member must be approved.
15
3.5 Service and kitchen Team Member are not allowed to wear rings and bracelets while
on duty.
4) Uniformed Team Member
4.1 Uniform must be clean and tidy at all times.
4.2 Team Member is obliged to check the tidiness of the uniform before going on duty
for example, buttons, hooks, zips, etc.
4.3 Name badge must be worn at all times while on duty.
5) Shoes and socks
5.1 Shoes must be worn as specified by the management while on duty
5.2 Shoes must be kept clean and polished at all times.
Personal Hygiene for Male and Female
1. Nails must be presentable.
2. Team Member involved with food namely food servers, cook, stewards must never have
their nails colored.
3. Always wash hands with soap after using toilets.
4. Small wounds must be covered with appropriately sized plaster. Cleanliness must never
be ignored. Team Member can ask their supervisors for advice.
5. Deodorant must be used to prevent body odor.
6. Brush the teeth after every meal to maintain a fresh breath.
7. Strong smelling perfume should not be used.
8. Not allowed to pick nose or ear, squeeze pimple, and chew gum or food in public area.
9. Team Member must display on good characteristic and smiling while on duty.
10.Team Member must perform his/her duties professionally, and always be ready to serve
the customers.
7.3 Regulation over Attendance Record
1 All Team Member must use the Team Member entrance provided by the company. They
must never enter/exit the company by routes provided for customers.
2 Those that must have their finger scan record. If the finger scanner error, team member
needs to present themselves to Security Officer to keep the in/ out record in the time
attendance sheet with signature.
3 Those who failed to have their attendance recorded, whether it is intentional or
unintentional will be subject to disciplinary action.
4 After having time recorded, Team Member is prohibited to go outside the company area
unless they are granted approval by the Department Head.
5 All Team Member must have reported ready for work at their designated areas on time.
6 Team Member is allowed to arrive at the working area before the scheduled time but not
more than one hour before.
7 Team Member is not allowed to stay in the company premises after his/her duty hours
unless they are granted approval by the Department Head.
16
7.4 Regulation over Personal Data Change
Team Member is obliged to inform the Personnel Department when he/she has his/her
personal data changed within 7 days from the day the change is made. The detail is as
follows:
1 Changing of Name, Family name, and I.D. card.
2 Change of address, and address on the House Registration.
3 Changing of family status such as marriage, divorce, and changing of person who is to
earn the Team Member's benefits.
4 Female Team Member who is pregnant must submit the medical Certificate issued by a
reputable doctor to the Human Resources Department within 15 days since the date she
is informed about her pregnancy. Hereby, the company will set up appropriate working
schedule for the pregnant Team Member.
7.5 Regulation over the usage of the company's assets
7.5.1 Team Member is obliged to maintain and keep office/working assets provided
by the company in good condition. Team Member is not allowed to use the company
assets for personal purpose or take the assets outside the company. The Team
Members who steal any assets from customers or friends have acted against the law
and company’s rules and regulation will be terminated from the company without any
compensation payment.
7.5.2 Team Member name badge must always be shown while on duty. If they are lost or
damaged, the Human Resources Department must be informed immediately. (If the
Team Member lost his/her Team Member name badge, fee will be fined for the new
one.)
7.5.3 Uniforms provided by the company are considered the company's asset. If they are
damaged, Team Member must inform the company's Laundry Department. Team
Member is obliged to take care of the uniform. If the uniform is damaged, whether it
is intentional or unintentionally done, Team Member is responsible to cover all
repairing expenses.
7.5.4 Uniformed Team Member is allowed to use the company's clothing lockers. Therefore,
Team Member must keep their locker clean and responsible for all the damage of the
locker.
Locker Procedures
The company will only provide lockers for uniformed Team Member.
1. Uniformed Team Member will only be provided with 1 locker.
2. Team Member is obliged to be responsible for his/her locker. Changing the locker with
another Team Member is not allowed unless approval is granted by the Human Resources
Department.
3. Opening the locker for this case, will have Security Department to be witness and keep
the record.
4. Team Member is obliged to take care of his/her own clothing locker including to keep it
clean both inside and outside. Sticker attachment onto the locker is prohibited.
5. Fresh Food is strictly prohibited to keep inside the locker.
6. All company's asset is strictly prohibited to be kept in the locker except the uniform.
17
7. Personal belonging such as clothes, uniform, cosmetic, and shoes must be kept in the
locker.
8. Team Member is not allowed to hang their clothes and put other items outside their
locker.
9. Team Member must allow the Security Manager, and the Human Resources Officer to
inspect his/her clothing locker without prior notice.
10. Those who violate regulations no. 6 and no. 7 will be disciplined.
11. Keeping precious items inside the locker is not allowed, and at all the risk and
responsibility of the Team Member. The company will not take responsibility over the
loss of items kept inside the locker.
12. If Team Member finds any defect or suspicious events related to clothing locker, the
Team Member is to immediately inform the Human Resources Department.
13. Team Member who causes damage to the locker will be fined for the repair and
maintenance cost.
14. Team Member is not allowed to use padlock to lock his/her locker. Any padlock found
on the locker will be cut off without prior notice, except if the lock was out of order. The
spare key of padlock is required to submit to personnel office.
7.6 Team Member Canteen
7.6.1 The company provides a place for Team Member who come to work to have
breakfast, lunch or dinner at the property. Hereby, Team Member must follow the
canteen regulation as follows:
1. Team Member is not allowed to take any items out of the canteen unless granted
approval by the Management.
2. Keeping tables and chairs clean and keep all items in place are a good canteen
manner.
7.6.2 Telephone Usage
Team Member is strictly not allowed to use the company's telephone for personal call.
If there is an outside call for the Team Member while on duty, the operator will
transfer the line to the Human Resources Department who takes the message and
have the messages written to the team member. In case of urgent matter, Team
Member is allowed to directly answer the call. Team Member is also prohibited to use
personal mobile phone while on duty except for some position granted approval from
the Management.
7.6.3 Elevator Usage
In case of using elevator, Team Member must always keep the elevator clean. If there
are customers waiting for the elevator, the customers should be allowed to use the
elevator first. Going up and down for only one or two floors, stairways should be used
instead of elevator. The elevator must only be used in accordance with the company's
regulation.
7.6.4 Customer Facilities Team Member may use the facilities as per policy.
18