The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฏีใหม่ 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kew_k0712, 2024-02-14 21:33:08

รายงาน 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฏีใหม่ 2566

รายงาน 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฏีใหม่ 2566

3-4 9) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 สภาพพื้นที่ที่ทำการผลิตมีสภาพเป็นที่ลุ่มร้อยละ 77.14 และที่ดอนร้อยละ 22.86 โดยมีขนาดพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 5 ไร่ ร้อยละ 48.57 3ไร่ ร้อยละ 37.14 4 ไร่ ร้อยละ 11.43และ 2.5 ไร่ ร้อยละ 2.86 สระเก็บน้ำส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นแบบสี่เหลี่ยมร้อยละ 88.57 แบบตัวแอลร้อยละ 8.57 และแบบวงกลมร้อยละ2.86แหล่งน้ำที่ใช้ก่อนเข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ใช้น้ำฝนร้อยละ 97.14 รองลงมาคือ น้ำชลประทานร้อยละ 25.71 แหล่งน้ำธรรมชาติร้อยละ 20.00 เป็นต้น โดยก่อนเข้าร่วมโครงการ เกษตรกรร้อยละ 80.00 มีปริมาณน้ำที่ใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ สามารถใช้น้ำได้เฉลี่ย 4.04 เดือนต่อปี ส่วนเกษตรกรร้อยละ 20.00 มีปริมาณน้ำเพียงพอตลอดปี ซึ่งหลังเข้าร่วมโครงการเกษตรกร ร้อยละ 80.00 มีปริมาณน้ำที่ใช้ในการเกษตรเพิ่มขึ้น ซึ่งสามารถใช้น้ำได้เฉลี่ย 11.57 เดือนต่อปี และเกษตรกรร้อยละ 20.00 มีปริมาณน้ำที่ใช้ในการเกษตรเพียงพอเท่าเดิม (ตารางที่ 3-1) 10) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 สภาพพื้นที่ที่ทำการผลิตมีสภาพเป็นที่ลุ่มร้อยละ 97.14และที่ดอนร้อยละ 2.86 โดยมีขนาดพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 3 ไร่ ร้อยละ 45.71 4 ไร่และ 5 ไร่ ร้อยละ 20.00 เท่ากัน และ 2.5 ไร่ ร้อยละ 14.29 สระเก็บน้ำส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นแบบสี่เหลี่ยมร้อยละ 94.29 และแบบตัวแอล ร้อยละ 5.71 แหล่งน้ำที่ใช้ก่อนเข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ใช้แหล่งน้ำธรรมชาติร้อยละ 57.14 รองลงมาคือ น้ำฝน และน้ำชลประทานร้อยละ 14.29 เท่ากัน แหล่งน้ำสาธารณะร้อยละ 8.57 เป็นต้น โดยก่อนเข้าร่วม โครงการเกษตรกรร้อยละ 85.71 มีปริมาณน้ำที่ใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ สามารถใช้น้ำได้เฉลี่ย 5.77 เดือนต่อปี ส่วนเกษตรกรร้อยละ 14.29 มีปริมาณน้ำเพียงพอตลอดปี ซึ่งหลังเข้าร่วมโครงการเกษตรกร ร้อยละ 85.71 มีปริมาณน้ำที่ใช้ในการเกษตรเพิ่มขึ้น ซึ่งสามารถใช้น้ำได้เฉลี่ย 11.87 เดือนต่อปี และเกษตรกรร้อยละ 14.29 มีปริมาณน้ำที่ใช้ในการเกษตรเพียงพอเท่าเดิม (ตารางที่ 3-1) 11) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 สภาพพื้นที่ที่ทำการผลิตมีสภาพเป็นที่ลุ่มร้อยละ 74.29 และที่ดอนร้อยละ 25.71 โดยมีขนาดพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 3 ไร่ ร้อยละ 51.43 5 ไร่ ร้อยละ 22.86 2.5 ไร่ ร้อยละ 20.00และ 4 ไร่ ร้อยละ 5.71 สระเก็บน้ำส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นแบบสี่เหลี่ยมร้อยละ 91.43 และแบบวงกลมร้อยละ 8.57 แหล่งน้ำที่ใช้ก่อนเข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ใช้น้ำฝนร้อยละ 71.43 รองลงมาคือ แหล่งน้ำธรรมชาติ และสระน้ำในไร่นาร้อยละ 20.00 เท่ากัน น้ำชลประทานร้อยละ 8.57 เป็นต้น โดยก่อนเข้าร่วมโครงการ เกษตรกรร้อยละ 82.86 มีปริมาณน้ำที่ใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ สามารถใช้น้ำได้เฉลี่ย 5.72 เดือนต่อปี ส่วนเกษตรกรร้อยละ 17.14 มีปริมาณน้ำเพียงพอตลอดปี ซึ่งหลังเข้าร่วมโครงการเกษตรกรร้อยละ 82.86 มีปริมาณน้ำที่ใช้ในการเกษตรเพิ่มขึ้น ซึ่งสามารถใช้น้ำได้เฉลี่ย 11.79 เดือนต่อปี และเกษตรกร ร้อยละ 17.14 มีปริมาณน้ำที่ใช้ในการเกษตรเพียงพอเท่าเดิม (ตารางที่ 3-1)


3-5 12) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 สภาพพื้นที่ที่ทำการผลิตมีสภาพเป็นที่ลุ่มร้อยละ 85.71และที่ดอนร้อยละ 14.29 โดยมีขนาดพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 3 ไร่ ร้อยละ 45.71 2.5ไร่ ร้อยละ 28.57 4 ไร่ ร้อยละ 14.29และ 5 ไร่ ร้อยละ 11.43 สระเก็บน้ำทั้งหมดมีลักษณะเป็นแบบสี่เหลี่ยม แหล่งน้ำที่ใช้ก่อนเข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ ใช้น้ำฝนร้อยละ 88.57 รองลงมาคือ แหล่งน้ำธรรมชาติร้อยละ 34.29 และสระน้ำในไร่นาร้อยละ 14.29 เป็นต้น โดยก่อนเข้าร่วมโครงการเกษตรกรร้อยละ 42.86 มีปริมาณน้ำที่ใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ สามารถใช้น้ำได้เฉลี่ย 5.53 เดือนต่อปี ส่วนเกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 57.14 มีปริมาณน้ำเพียงพอ ตลอดปี ซึ่งหลังเข้าร่วมโครงการเกษตรกรร้อยละ 42.86 มีปริมาณน้ำที่ใช้ในการเกษตรเพิ่มขึ้น ซึ่งสามารถใช้น้ำได้ตลอดทั้งปีและเกษตรกรร้อยละ 57.14 มีปริมาณน้ำที่ใช้ในการเกษตรเพียงพอ เท่าเดิม (ตารางที่ 3-1) 13) เฉลี่ยรวม สภาพพื้นที่ที่ทำการผลิตมีสภาพเป็นที่ลุ่มร้อยละ 76.19และที่ดอนร้อยละ 23.81 โดยมีขนาดพื้นที่เข้าร่วมโครงการ3 ไร่ ร้อยละ46.67 5 ไร่ ร้อยละ 29.52 2.5 ไร่ ร้อยละ 12.14และ 4 ไร่ ร้อยละ 11.67 สระเก็บน้ำส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นแบบสี่เหลี่ยมร้อยละ 95.24 แบบวงกลมร้อยละ 2.62 แบบตัวแอลร้อยละ 1.90 ตัวยูร้อยละ 0.24 แหล่งน้ำที่ใช้ก่อนเข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ใช้น้ำฝนร้อยละ 79.29 รองลงมาคือ แหล่งน้ำธรรมชาติร้อยละ 33.57 น้ำชลประทานร้อยละ 14.29 เป็นต้น โดยก่อน เข้าร่วมโครงการเกษตรกรร้อยละ 78.10 มีปริมาณน้ำที่ใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ สามารถใช้น้ำได้เฉลี่ย 5.54 เดือนต่อปี ส่วนเกษตรกรร้อยละ 21.90 มีปริมาณน้ำเพียงพอตลอดปี ซึ่งหลังเข้าร่วมโครงการ เกษตรกรร้อยละ 77.38 มีปริมาณน้ำที่ใช้ในการเกษตรเพิ่มขึ้น ซึ่งสามารถใช้น้ำได้เฉลี่ย 11.49 เดือนต่อปี เกษตรกรร้อยละ 22.38 มีปริมาณน้ำที่ใช้ในการเกษตรเพียงพอเท่าเดิม และร้อยละ 0.24 ปริมาณน้ำที่ใช้ ในการเกษตรลดลง เนื่องจากสระเกิดความเสียหาย (ตารางที่ 3-1)


3-6 ตารางที่ 3-1 ลักษณะพื้นที่ที่ทำการผลิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ปี 2566 หน่วย: ร้อยละ รายการ สำนักงานพัฒนาที่ดิน เฉลี่ยรวม เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 สภาพพื้นที่ ที่ลุ่ม 91.43 80.00 54.29 60.00 42.86 77.14 91.43 82.86 77.14 97.14 74.29 85.71 76.19 ที่ดอน 8.57 20.00 45.71 40.00 57.14 22.86 8.57 17.14 22.86 2.86 25.71 14.29 23.81 ขนาดพื้นที่ 2.5 ไร่ 22.86 5.71 5.71 8.57 5.71 11.43 8.57 11.43 2.86 14.29 20.00 28.57 12.14 3 ไร่ 48.57 48.57 42.86 22.86 42.86 62.86 51.43 60.00 37.14 45.71 51.43 45.71 46.67 4 ไร่ 11.43 - 14.29 17.14 8.57 17.14 14.29 5.71 11.43 20.00 5.71 14.29 11.67 5 ไร่ 17.14 45.72 37.14 51.43 42.86 8.57 25.71 22.86 48.57 20.00 22.86 11.43 29.52 ลักษณะสระเก็บน้ำ สี่เหลี่ยม 94.29 97.14 91.43 100.00 91.43 100.00 94.29 100.00 88.57 94.29 91.43 100.00 95.24 วงกลม 5.71 2.86 5.71 - 5.71 - 5.71 - 2.86 - 8.57 - 2.62 ตัวแอล - - - - - - - - 8.57 5.71 - - 1.90 ตัวยู - - 2.86 - 2.86 - - - - - - - 0.24 แหล่งน้ำที่ใช้ก่อนเข้าร่วมโครงการ น้ำฝน 77.14 88.57 85.71 80.00 94.29 91.43 88.57 74.29 97.14 14.29 71.43 88.57 79.29 แหล่งน้ำสาธารณะ 5.71 2.86 5.71 - 8.57 20.00 40.00 8.57 8.57 8.57 5.71 11.43 10.48 น้ำชลประทาน 57.14 11.43 5.71 5.71 8.57 14.29 - 11.43 25.71 14.29 8.57 8.57 14.29 แหล่งน้ำธรรมชาติ 20.00 40.00 20.00 8.57 25.71 45.71 51.43 60.00 20.00 57.14 20.00 34.29 33.57 น้ำบาดาล 22.86 5.71 25.71 11.43 40.00 5.71 17.14 11.43 14.29 5.71 - - 13.33 สระน้ำในไร่นา 5.71 20.00 25.71 5.71 34.29 11.43 8.57 8.57 11.43 2.86 20.00 14.29 14.05


3-7 ตารางที่ 3-1(ต่อ) หน่วย: ร้อยละ รายการ สำนักงานพัฒนาที่ดิน เฉลี่ยรวม เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 ความเพียงพอของน้ำในพื้นที่โครงการ ก่อนเข้าร่วมโครงการ เพียงพอ 20.00 11.43 8.57 34.29 14.29 22.86 11.43 31.43 20.00 14.29 17.14 57.14 21.90 ไม่เพียงพอ 80.00 88.57 91.43 65.71 85.71 77.14 88.57 68.57 80.00 85.71 82.86 42.86 78.10 ระยะเวลาการใช้น้ำ (เดือน) 5.14 5.19 5.59 6.74 5.47 6.11 5.55 5.96 4.04 5.77 5.72 5.53 5.54 หลังเข้าร่วมโครงการ เพิ่มขึ้น 80.00 82.86 88.57 60.00 85.71 77.14 88.57 74.29 80.00 85.71 82.86 42.86 77.38 ระยะเวลาการใช้น้ำ (เดือน) 11.50 10.21 11.13 12.00 11.80 12.00 10.71 11.85 11.57 11.87 11.79 12.00 11.49 เท่าเดิม 20.00 17.14 8.57 40.00 14.29 22.86 11.43 25.71 20.00 14.29 17.14 57.14 22.38 ลดลง - - 2.86 - - - - - - - - - 0.24 เนื่องจาก บ่อเสียหาย - - 100.00 - - - - - - - - - 100.00 ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-8 3.1.2 การกระจายผลผลิต 1) ก่อนเข้าร่วมโครงการ เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกข้าว มีการกระจายผลผลิตโดยการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนร้อยละ 63.91 และจำหน่ายผลผลิต ร้อยละ 89.47 2) หลังเข้าร่วมโครงการ เกษตรกรทั้งหมดได้ปรับเปลี่ยนการผลิตเป็นเกษตร ผสมผสาน โดยใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกพืช(ข้าว, ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์, มันสำปะหลัง, สับปะรด, ไม้ผล, ไม้เศรษฐกิจ, ไม้ดอกไม้ประดับ, พืชผักสวนครัว) การทำประมง (เลี้ยงปลา) และการเลี้ยงปศุสัตว์ (ไก่ไข่, ไก่เนื้อ, ห่าน, วัว) มีการกระจายผลผลิตโดยการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนร้อยละ 35.86 และจำหน่ายผลผลิตร้อยละ 64.41 (ตารางที่ 3-2) ตารางที่ 3-2 การกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ปี 2566 หน่วย: ร้อยละ รายการ ก่อนเข้าร่วมโครงการ (ข้าว) หลังเข้าร่วมโครงการ (เกษตรผสมผสาน) ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน การแจกจ่ายผลผลิต บริโภค/แลกเปลี่ยน 63.91 35.86 จำหน่ายผลผลิต 89.47 64.14 ที่มา: จากการสำรวจและคำนวณ (2566) กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน 3.2 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิต 3.2.1 ต้นทุนและผลตอบแทน 1)ก่อนเข้าร่วมโครงการ เกษตรกรมีมูลค่าผลผลิตเฉลี่ย 4,796.10 บาทต่อไร่ ต้นทุน ทั้งหมดเฉลี่ย2,755.90 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 2,040.20 บาทต่อไร่ และอัตราส่วนรายได้ ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 1.74 2) หลังเข้าร่วมโครงการ เกษตรกรมีมูลค่าผลผลิตเฉลี่ย 9,282.20 บาทต่อไร่ ต้นทุน ทั้งหมดเฉลี่ย3,169.32 บาทต่อไร่ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 6,112.88 บาทต่อไร่ และอัตราส่วนรายได้ ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 2.93 (ตารางที่ 3-3)


3-9 ตารางที่ 3-3 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ปี 2566 หน่วย: ต่อไร่ รายการ ก่อนเข้าร่วมโครงการ (ข้าว) หลังเข้าร่วมโครงการ (เกษตรผสมผสาน) มูลค่าผลผลิต (บาท) 4,796.10 9,282.20 ต้นทุนทั้งหมด (บาท) 2,755.90 3,169.32 ผลตอบแทนสุทธิ(บาท) 2,040.20 6,112.88 B/C Ratio 1.74 2.93 ที่มา: จากการสำรวจและคำนวณ (2566) กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน


3-9 3.2.2 เกษตรกรกลุ่มตัวอย่าง (รายแปลง) หลังเข้าร่วมโครงการเกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์จากสระกักเก็บน้ำในการ ปรับเปลี่ยนการผลิตจากพืชเชิงเดี่ยวเป็นเกษตรผสมผสาน ซึ่งทำให้เกษตรกรสามารถทำกิจกรรม ทางการเกษตรได้ตลอดทั้งปี ส่งผลให้มีรายได้ในครัวเรือนเพิ่มขึ้น ดังนี้ ภาพที่ 1 เกษตรกรที่นำพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 จังหวัดปทุมธานี


3-10 ภาพที่ 2 เกษตรกรที่นำพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 จังหวัดสิงห์บุรี


3-11 ภาพที่ 3 เกษตรกรที่นำพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 จังหวัดชัยนาท


3-12 ภาพที่ 4 เกษตรกรที่นำพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 จังหวัดสระแก้ว


3-13 ภาพที่ 5 เกษตรกรที่นำพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 จังหวัดฉะเชิงเทรา


3-14 ภาพที่ 6 เกษตรกรที่นำพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 จังหวัดบุรีรัมย์


3-15 ภาพที่ 7 เกษตรกรที่นำพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 จังหวัดอุบลราชธานี


3-16 ภาพที่ 8 เกษตรกรที่นำพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 จังหวัดพิษณุโลก


3-17 ภาพที่ 9 เกษตรกรที่นำพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 จังหวัดพิจิตร


3-18 ภาพที่ 10 เกษตรกรที่นำพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 จังหวัดราชบุรี


3-19 ภาพที่ 11 เกษตรกรที่นำพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 จังหวัดกาญจนบุรี


3-20 ภาพที่ 12 เกษตรกรที่นำพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช


3-21 3.3 คุณภาพชีวิตของเกษตรกร 3.3.1 คุณภาพชีวิตของเกษตรกร 1) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 เกษตรกรในภาพรวมมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.08 เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านพบว่า มีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านสิ่งแวดล้อม มีค่าเฉลี่ย 3.32 สำหรับคุณภาพชีวิตที่อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านจิตวิญญาณมีค่าเฉลี่ย 3.24 ด้านครอบครัวมีค่าเฉลี่ย 3.15 และด้านสุขภาพมีค่าเฉลี่ย 2.99 และด้านสังคมเศรษฐกิจมีค่าเฉลี่ย 2.98 (ตารางที่ 3-4) 2) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 เกษตรกรในภาพรวมมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.21 เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านพบว่า คุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านจิตวิญญาณมีค่าเฉลี่ย 3.50 ด้านครอบครัวและด้านสิ่งแวดล้อมมีค่าเฉลี่ย 3.39 เท่ากัน สำหรับคุณภาพชีวิตที่อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านสังคมเศรษฐกิจมีค่าเฉลี่ย 3.18 และด้านสุขภาพมีค่าเฉลี่ย 3.01 (ตารางที่ 3-5) ตารางที่ 3-4 คุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 ปี 2566 คุณภาพชีวิต ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตฐาน ระดับคุณภาพชีวิต องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต ด้านสุขภาพ 2.99 0.57 มาก ด้านสังคมเศรษฐกิจ 2.98 0.63 มาก ด้านจิตวิญญาณ 3.24 0.68 มาก ด้านครอบครัว 3.15 0.64 มาก ด้านสิ่งแวดล้อม 3.32 0.66 มากที่สุด ภาพรวม 3.08 0.59 มาก ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-22 3) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 เกษตรกรในภาพรวมมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.19 เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านพบว่า คุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านจิตวิญญาณมีค่าเฉลี่ย 3.36 ด้านสิ่งแวดล้อมมีค่าเฉลี่ย 3.32 และด้านครอบครัวมีค่าเฉลี่ย 3.29 สำหรับคุณภาพชีวิตที่อยู่ใน ระดับมาก ได้แก่ ด้านสังคมเศรษฐกิจมีค่าเฉลี่ย 3.17 และด้านสุขภาพมีค่าเฉลี่ย 3.07 (ตารางที่ 3-6) ตารางที่ 3-5 คุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 ปี 2566 คุณภาพชีวิต ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตฐาน ระดับคุณภาพชีวิต องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต ด้านสุขภาพ 3.01 0.64 มาก ด้านสังคมเศรษฐกิจ 3.18 0.70 มาก ด้านจิตวิญญาณ 3.50 0.76 มากที่สุด ด้านครอบครัว 3.39 0.72 มากที่สุด ด้านสิ่งแวดล้อม 3.39 0.72 มากที่สุด ภาพรวม 3.21 0.66 มาก ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) ตารางที่ 3-6 คุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 ปี 2566 คุณภาพชีวิต ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตฐาน ระดับคุณภาพชีวิต องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต ด้านสุขภาพ 3.07 0.64 มาก ด้านสังคมเศรษฐกิจ 3.17 0.69 มาก ด้านจิตวิญญาณ 3.36 0.72 มากที่สุด ด้านครอบครัว 3.29 0.69 มากที่สุด ด้านสิ่งแวดล้อม 3.32 0.69 มากที่สุด ภาพรวม 3.19 0.64 มาก ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-23 4) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 เกษตรกรในภาพรวมมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.08 เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านพบว่า คุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านสิ่งแวดล้อมมีค่าเฉลี่ย 3.51 ด้านจิตวิญญาณมีค่าเฉลี่ย 3.49 และด้านครอบครัวมีค่าเฉลี่ย 3.32 สำหรับคุณภาพชีวิตที่อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านสังคมเศรษฐกิจมีค่าเฉลี่ย 3.15 และด้านสุขภาพมีค่าเฉลี่ย 2.70 (ตารางที่ 3-7) 5) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.34 เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านพบว่า คุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านจิตวิญญาณมีค่าเฉลี่ย 3.59 ด้านครอบครัวมีค่าเฉลี่ย 3.55 และด้านสิ่งแวดล้อมมีค่าเฉลี่ย 3.53 สำหรับคุณภาพชีวิตที่อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านสังคมเศรษฐกิจมีค่าเฉลี่ย 3.25 และด้านสุขภาพมีค่าเฉลี่ย 3.18 (ตารางที่ 3-8) ตารางที่ 3-7 คุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 ปี 2566 คุณภาพชีวิต ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตฐาน ระดับคุณภาพชีวิต องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต ด้านสุขภาพ 2.70 0.76 มาก ด้านสังคมเศรษฐกิจ 3.15 0.62 มาก ด้านจิตวิญญาณ 3.49 0.71 มากที่สุด ด้านครอบครัว 3.32 0.73 มากที่สุด ด้านสิ่งแวดล้อม 3.51 0.72 มากที่สุด ภาพรวม 3.08 0.66 มาก ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-24 6) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 เกษตรกรในภาพรวมมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.19 เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านพบว่า คุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ด้านครอบครัวมีค่าเฉลี่ย 3.41 ด้านจิตวิญญาณมีค่าเฉลี่ย 3.32 และด้านสิ่งแวดล้อมมีค่าเฉลี่ย 3.30 สำหรับคุณภาพชีวิตที่อยู่ในระดับ มาก ได้แก่ ด้านสังคมเศรษฐกิจมีค่าเฉลี่ย 3.15 และด้านสุขภาพมีค่าเฉลี่ย 3.05 (ตารางที่ 3-9) ตารางที่ 3-8 คุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 ปี 2566 คุณภาพชีวิต ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตฐาน ระดับคุณภาพชีวิต องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต ด้านสุขภาพ 3.18 0.64 มาก ด้านสังคมเศรษฐกิจ 3.25 0.64 มาก ด้านจิตวิญญาณ 3.59 0.72 มากที่สุด ด้านครอบครัว 3.55 0.72 มากที่สุด ด้านสิ่งแวดล้อม 3.53 0.71 มากที่สุด ภาพรวม 3.34 0.63 มากที่สุด ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) ตารางที่ 3-9 คุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 ปี 2566 คุณภาพชีวิต ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตฐาน ระดับคุณภาพชีวิต องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต ด้านสุขภาพ 3.05 0.60 มาก ด้านสังคมเศรษฐกิจ 3.15 0.62 มาก ด้านจิตวิญญาณ 3.32 0.70 มากที่สุด ด้านครอบครัว 3.41 0.68 มากที่สุด ด้านสิ่งแวดล้อม 3.30 0.67 มากที่สุด ภาพรวม 3.19 0.59 มาก ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-25 7) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 เกษตรกรในภาพรวมมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.35 เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านพบว่า คุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านสิ่งแวดล้อมมีค่าเฉลี่ย 3.57 ด้านจิตวิญญาณมีค่าเฉลี่ย 3.55 และด้านครอบครัวมีค่าเฉลี่ย 3.54 สำหรับคุณภาพชีวิตที่อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านสังคมเศรษฐกิจมีค่าเฉลี่ย 3.25 และด้านสุขภาพมีค่าเฉลี่ย 3.19 (ตารางที่ 3-10) 8) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 เกษตรกรในภาพรวมมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.35 เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านพบว่า คุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านสิ่งแวดล้อมมีค่าเฉลี่ย 3.53 ด้านจิตวิญญาณมีค่าเฉลี่ย 3.51 ด้านครอบครัวมีค่าเฉลี่ย 3.49 และด้านสังคมเศรษฐกิจมีค่าเฉลี่ย 3.29 สำหรับคุณภาพชีวิตที่อยู่ในระดับมาก คือ ด้านสังคมสุขภาพมีค่าเฉลี่ย 3.23 (ตารางที่ 3-11) ตารางที่ 3-10 คุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ปี 2566 คุณภาพชีวิต ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตฐาน ระดับคุณภาพชีวิต องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต ด้านสุขภาพ 3.19 0.64 มาก ด้านสังคมเศรษฐกิจ 3.25 0.67 มาก ด้านจิตวิญญาณ 3.55 0.71 มากที่สุด ด้านครอบครัว 3.54 0.72 มากที่สุด ด้านสิ่งแวดล้อม 3.57 0.71 มากที่สุด ภาพรวม 3.35 0.62 มากที่สุด ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) ตารางที่ 3-11 คุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ปี 2566 คุณภาพชีวิต ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตฐาน ระดับคุณภาพชีวิต องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต ด้านสุขภาพ 3.23 0.62 มาก ด้านสังคมเศรษฐกิจ 3.29 0.66 มากที่สุด ด้านจิตวิญญาณ 3.51 0.72 มากที่สุด ด้านครอบครัว 3.49 0.70 มากที่สุด ด้านสิ่งแวดล้อม 3.53 0.72 มากที่สุด ภาพรวม 3.35 0.63 มากที่สุด ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-26 9) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 เกษตรกรในภาพรวมมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.22 เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านพบว่า คุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านจิตวิญญาณและด้านครอบครัว มีค่าเฉลี่ย 3.42 เท่ากัน และด้านสิ่งแวดล้อมมีค่าเฉลี่ย 3.34 สำหรับคุณภาพชีวิตที่อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านสุขภาพมีค่าเฉลี่ย 3.12 และด้านสังคมเศรษฐกิจมีค่าเฉลี่ย 3.09 (ตารางที่ 3-12) 10) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 เกษตรกรในภาพรวมมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.29 เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านพบว่า คุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านสิ่งแวดล้อมมีค่าเฉลี่ย 3.56 ด้านครอบครัวมีค่าเฉลี่ย 3.41 และด้านจิตวิญญาณมีค่าเฉลี่ย 3.26 สำหรับคุณภาพชีวิตที่อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านสุขภาพมีค่าเฉลี่ย 3.23 และด้านสังคมเศรษฐกิจมีค่าเฉลี่ย 3.19 (ตารางที่ 3-13) ตารางที่ 3-12 คุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 ปี 2566 คุณภาพชีวิต ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตฐาน ระดับคุณภาพชีวิต องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต ด้านสุขภาพ 3.12 0.63 มาก ด้านสังคมเศรษฐกิจ 3.09 0.64 มาก ด้านจิตวิญญาณ 3.42 0.67 มากที่สุด ด้านครอบครัว 3.42 0.76 มากที่สุด ด้านสิ่งแวดล้อม 3.34 0.77 มากที่สุด ภาพรวม 3.22 0.61 มาก ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-27 11) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 เกษตรกรในภาพรวมมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.31 เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านพบว่า คุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านจิตวิญญาณมีค่าเฉลี่ย 3.51 ด้านสิ่งแวดล้อมมีค่าเฉลี่ย 3.44 และด้านครอบครัวมีค่าเฉลี่ย 3.40 สำหรับคุณภาพชีวิตที่อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านสุขภาพ และด้านสังคมเศรษฐกิจมีค่าเฉลี่ย 3.22 เท่ากัน (ตารางที่ 3-14) ตารางที่ 3-13 คุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 ปี 2566 คุณภาพชีวิต ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตฐาน ระดับคุณภาพชีวิต องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต ด้านสุขภาพ 3.23 0.62 มาก ด้านสังคมเศรษฐกิจ 3.19 0.66 มาก ด้านจิตวิญญาณ 3.26 0.69 มากที่สุด ด้านครอบครัว 3.41 0.72 มากที่สุด ด้านสิ่งแวดล้อม 3.56 0.71 มากที่สุด ภาพรวม 3.29 0.61 มากที่สุด ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) ตารางที่ 3-14 คุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 ปี 2566 คุณภาพชีวิต ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตฐาน ระดับคุณภาพชีวิต องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต ด้านสุขภาพ 3.22 0.69 มาก ด้านสังคมเศรษฐกิจ 3.22 0.66 มาก ด้านจิตวิญญาณ 3.51 0.73 มากที่สุด ด้านครอบครัว 3.40 0.69 มากที่สุด ด้านสิ่งแวดล้อม 3.44 0.73 มากที่สุด ภาพรวม 3.31 0.66 มากที่สุด ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-28 12) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 เกษตรกรในภาพรวมมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.52 เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านพบว่า ทั้งหมดมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านครอบครัว มีค่าเฉลี่ย 3.66 ด้านจิตวิญญาณมีค่าเฉลี่ย 3.64 ด้านสิ่งแวดล้อมมีค่าเฉลี่ย 3.60 ด้านสุขภาพมีค่าเฉลี่ย 3.49 และด้านสังคมเศรษฐกิจมีค่าเฉลี่ย 3.36 (ตารางที่ 3-15) 13) เฉลี่ยรวม เกษตรกรในภาพรวมมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.26 เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน พบว่า คุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านสิ่งแวดล้อมและ ด้านจิตวิญญาณ มีค่าเฉลี่ย 3.45 เท่ากัน และด้านครอบครัวมีค่าเฉลี่ย 3.42 สำหรับคุณภาพชีวิต ที่อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านสังคมเศรษฐกิจมีค่าเฉลี่ย 3.19 และด้านสุขภาพมีค่าเฉลี่ย 3.12(ตารางที่ 3-16) ตารางที่ 3-15 คุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 ปี 2566 คุณภาพชีวิต ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตฐาน ระดับคุณภาพชีวิต องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต ด้านสุขภาพ 3.49 0.69 มากที่สุด ด้านสังคมเศรษฐกิจ 3.36 0.75 มากที่สุด ด้านจิตวิญญาณ 3.64 0.72 มากที่สุด ด้านครอบครัว 3.66 0.76 มากที่สุด ด้านสิ่งแวดล้อม 3.60 0.76 มากที่สุด ภาพรวม 3.52 0.69 มากที่สุด ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-29 3.3.2 ความพึงพอใจต่อโครงการ 1) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 เกษตรกรมีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.57 โดยมีความพึงพอใจ 3 ระดับ ได้แก่ ระดับมากที่สุดร้อยละ 60.00 ระดับมากร้อยละ 37.14 และระดับน้อยร้อยละ 2.86 (ตารางที่ 3-17) 2) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 เกษตรกรมีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.49 โดยมีความพึงพอใจ 3 ระดับ ได้แก่ ระดับมากที่สุดร้อยละ 51.43 ระดับมากร้อยละ 45.71 และระดับน้อยร้อยละ 2.86 (ตารางที่ 3-17) 3) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 เกษตรกรมีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.63 โดยมีความพึงพอใจ 2 ระดับ ได้แก่ ระดับมากที่สุดร้อยละ 62.86 และระดับมากร้อยละ 37.14 (ตารางที่ 3-17) 4) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 เกษตรกรมีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.63 โดยมีความพึงพอใจ 2 ระดับ ได้แก่ ระดับมากที่สุดร้อยละ 62.86 และระดับมากร้อยละ 37.14 (ตารางที่ 3-17) ตารางที่ 3-16 คุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ เฉลี่ยรวม ปี 2566 คุณภาพชีวิต ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตฐาน ระดับคุณภาพชีวิต องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต ด้านสุขภาพ 3.12 0.45 มาก ด้านสังคมเศรษฐกิจ 3.19 0.44 มาก ด้านจิตวิญญาณ 3.45 0.47 มากที่สุด ด้านครอบครัว 3.42 0.47 มากที่สุด ด้านสิ่งแวดล้อม 3.45 0.46 มากที่สุด ภาพรวม 3.26 0.38 มากที่สุด ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-30 5) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 เกษตรกรมีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.69 โดยมีความพึงพอใจ 2 ระดับ ได้แก่ ระดับมากที่สุดร้อยละ 68.57 และระดับมากร้อยละ 31.43 (ตารางที่ 3-17) 6) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 เกษตรกรมีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.60 โดยมีความพึงพอใจ 2 ระดับ ได้แก่ ระดับมากที่สุดร้อยละ 60.00 และระดับมากร้อยละ 40.00 (ตารางที่ 3-17) 7) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 เกษตรกรมีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.43 โดยมีความพึงพอใจ 3 ระดับ ได้แก่ ระดับมากร้อยละ 51.43 ระดับมากที่สุดร้อยละ 45.71 และระดับน้อย ร้อยละ 2.86 (ตารางที่ 3-17) 8) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 เกษตรกรมีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.46 โดยมีความพึงพอใจ 3 ระดับ ได้แก่ ระดับมากที่สุดและระดับมากร้อยละ 48.57 เท่ากัน และระดับน้อย ร้อยละ 2.86 (ตารางที่ 3-17) 9) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 เกษตรกรมีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.17 โดยมีความพึงพอใจ 3 ระดับ ได้แก่ ระดับมากร้อยละ 77.14 ระดับมากที่สุดร้อยละ 20.00 และระดับน้อย ร้อยละ 2.86 (ตารางที่ 3-17) 10) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 เกษตรกรมีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.09 โดยมีความพึงพอใจ 3 ระดับ ได้แก่ ระดับมากร้อยละ 62.86 ระดับมากที่สุดร้อยละ 22.86 และระดับน้อย ร้อยละ 14.28 (ตารางที่ 3-17) 11) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 เกษตรกรมีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.46 โดยมีความพึงพอใจ 2 ระดับ ได้แก่ ระดับมากร้อยละ 54.29 และระดับมากที่สุดร้อยละ 45.71 (ตารางที่ 3-17)


3-31 12) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 เกษตรกรมีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.49 โดยมีความพึงพอใจ 3 ระดับ ได้แก่ ระดับมากที่สุดร้อยละ 51.43 ระดับมากร้อยละ 45.71 และระดับน้อย ร้อยละ 2.86 (ตารางที่ 3-17) 13) เฉลี่ยรวม เกษตรกรมีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.47 โดยมีความพึงพอใจ 3 ระดับ ได้แก่ ระดับมากที่สุดร้อยละ 50.00 ระดับมากร้อยละ 47.38 และระดับน้อย ร้อยละ 2.62 (ตารางที่ 3-17)


3-32 ตารางที่ 3-17 ความพึงพอใจที่มีต่อโครงการของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ปี 2566 หน่วย: ร้อยละ รายการ สำนักงานพัฒนาที่ดิน เฉลี่ยรวม เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด 60.00 51.43 62.86 62.86 68.57 60.00 45.71 48.57 20.00 22.86 45.71 51.43 50.00 มาก 37.14 45.71 37.14 37.14 31.43 40.00 51.43 48.57 77.14 62.86 54.29 45.71 47.38 น้อย 2.86 2.86 - - - - 2.86 2.86 2.86 14.28 - 2.86 2.62 น้อยที่สุด - - - - - - - - - - - - - ค่าสถิติ ค่าเฉลี่ย 3.57 3.49 3.63 3.63 3.69 3.60 3.43 3.46 3.17 3.09 3.46 3.49 3.47 ค่าเบี่ยงเบนมาตฐาน 0.81 0.80 0.77 0.77 0.77 0.77 0.79 0.80 0.69 0.79 0.76 0.80 0.57 แปลผล มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มาก มาก มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-33 3.3.3 การแนะนำและเผยแพร่โครงการ 1) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 เกษตรกรทั้งหมดมีการแนะนำและเผยแพร่โครงการให้แก่ผู้ที่สนใจ (ตารางที่ 3-18) 2) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 เกษตรกรมีการแนะนำและเผยแพร่โครงการร้อยละ 94.29 และไม่แนะนำ ร้อยละ 5.71 โดยเกษตรกรทั้งหมดให้เหตุผลที่ไม่แนะนำ เนื่องจากต้องการทดลองให้เกิดผลสำเร็จก่อน (ตารางที่ 3-18) 3) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 เกษตรกรมีการแนะนำและเผยแพร่โครงการร้อยละ 97.14 และไม่แนะนำ ร้อยละ 2.86 โดยเกษตรกรทั้งหมดให้เหตุผลที่ไม่แนะนำ เนื่องจากต้องการทดลองให้เกิดผลสำเร็จก่อน (ตารางที่ 3-18) 4) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 เกษตรกรทั้งหมดมีการแนะนำและเผยแพร่โครงการให้แก่ผู้ที่สนใจ(ตารางที่ 3-18) 5) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 เกษตรกรมีการแนะนำและเผยแพร่โครงการร้อยละ 94.29 และไม่แนะนำ ร้อยละ 5.71 โดยเกษตรกรให้เหตุผลที่ไม่แนะนำ เนื่องจากต้องการทดลองให้เกิดผลสำเร็จก่อน และการเข้าร่วมโครงการทำให้เสียพื้นที่ทำนาบางส่วนร้อยละ 50.00 เท่ากัน (ตารางที่ 3-18) 6) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 เกษตรกรมีการแนะนำและเผยแพร่โครงการร้อยละ 94.29 และไม่แนะนำ ร้อยละ 5.71 โดยเกษตรกรทั้งหมดให้เหตุผลที่ไม่แนะนำ เนื่องจากต้องการทดลองให้เกิดผลสำเร็จก่อน (ตารางที่ 3-18) 7) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 เกษตรกรมีการแนะนำและเผยแพร่โครงการร้อยละ 97.14 และไม่แนะนำ ร้อยละ 2.86 โดยเกษตรกรทั้งหมดให้เหตุผลที่ไม่แนะนำ เนื่องจากต้องการทดลองให้เกิดผลสำเร็จก่อน (ตารางที่ 3-18) 8) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 เกษตรกรมีการแนะนำและเผยแพร่โครงการร้อยละ 94.29 และไม่แนะนำร้อยละ 5.71 โดยเกษตรกรให้เหตุผลที่ไม่แนะนำ เนื่องจากต้องการทดลองให้เกิดผลสำเร็จก่อน และการเข้าร่วม โครงการทำให้เสียพื้นที่ทำนาบางส่วนร้อยละ 50.00 เท่ากัน (ตารางที่ 3-18)


3-34 9) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 เกษตรกรมีการแนะนำและเผยแพร่โครงการร้อยละ 77.14 และไม่แนะนำร้อยละ 22.86 โดยเกษตรกรให้เหตุผลที่ไม่แนะนำ เนื่องจากต้องการทดลองให้เกิดผลสำเร็จก่อนร้อยละ 62.50 และการเข้าร่วมโครงการทำให้เสียพื้นที่ทำนาบางส่วนร้อยละ 37.50 (ตารางที่ 3-18) 10) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 เกษตรกรมีการแนะนำและเผยแพร่โครงการร้อยละ 97.14 และไม่แนะนำ ร้อยละ 2.86 โดยเกษตรกรทั้งหมดให้เหตุผลที่ไม่แนะนำ เนื่องจากต้องการทดลองให้เกิดผลสำเร็จก่อน (ตารางที่ 3-18) 11) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 เกษตรกรมีการแนะนำและเผยแพร่โครงการร้อยละ 97.14 และไม่แนะนำ ร้อยละ 2.86 โดยเกษตรกรทั้งหมดให้เหตุผลที่ไม่แนะนำ เนื่องจากต้องการทดลองให้เกิดผลสำเร็จก่อน (ตารางที่ 3-18) 12) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 เกษตรกรทั้งหมดมีการแนะนำและเผยแพร่โครงการให้แก่ผู้ที่สนใจ(ตารางที่ 3-18) 13) เฉลี่ยรวม เกษตรกรมีการแนะนำและเผยแพร่โครงการร้อยละ 95.24 และไม่แนะนำ ร้อยละ 4.76 โดยเกษตรกรให้เหตุผลที่ไม่แนะนำ เนื่องจากต้องการทดลองให้เกิดผลสำเร็จก่อนร้อยละ 75.00 และการเข้าร่วมโครงการทำให้เสียพื้นที่ทำนาบางส่วนร้อยละ 25.00 (ตารางที่ 3-18)


3-35 ตารางที่ 3-18 การแนะนำและเผยแพร่โครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ปี 2566 หน่วย: ร้อยละ รายการ สำนักงานพัฒนาที่ดิน เฉลี่ยรวม เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 แนะนำ 100.00 94.29 97.14 100.00 94.29 94.29 97.14 94.29 77.14 97.14 97.14 100.00 95.24 ไม่แนะนำ - 5.71 2.86 - 5.71 5.71 2.86 5.71 22.86 2.86 2.86 - 4.76 เนื่องจาก - ต้องการทดลองให้เกิดผลสำเร็จก่อน - 100.00 100.00 - 50.00 100.00 100.00 50.00 62.50 100.00 100.00 - 75.00 - ต้องเสียพื้นที่ทำนา - - - 50.00 - - 50.00 37.50 - - - 25.00 ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-36 3.3.4 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะโครงการ 1) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 เกษตรกรมีปัญหาและอุปสรรคในการเข้าร่วมโครงการ โดยลักษณะปัญหา และอุปสรรคส่วนใหญ่ที่พบคือ ดินมีธาตุอาหารน้อยขาดความอุดมสมบูรณ์ร้อยละ 44.44 ปัจจัยการผลิต ที่ได้รับสนับสนุนไม่เพียงพอร้อยละ 38.89 ปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการเกษตร ความล่าช้าของโครงการ หน่วยงานภาครัฐขาดความต่อเนื่องในการแนะนำและถ่ายทอดความรู้ ขาดแคลนระบบไฟฟ้าทางการเกษตร และปัญหาศัตรูพืช โรคพืช และโรคระบาดต่าง ๆ ร้อยละ 5.56 เท่ากัน สำหรับข้อเสนอแนะในการ พัฒนาโครงการ เกษตรกรให้ข้อเสนอแนะว่า ควรแนะนำการปรับปรุงบำรุงดินร้อยละ 44.44 จัดสรรงบประมาณสนับสนุนปัจจัยการผลิตให้เพียงพอร้อยละ 38.89 ติดตามผลการดำเนินงาน อย่างต่อเนื่องร้อยละ 11.11 เป็นต้น (ตารางที่ 3-19) 2) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 เกษตรกรมีปัญหาและอุปสรรคในการเข้าร่วมโครงการ โดยลักษณะปัญหา และอุปสรรคส่วนใหญ่ที่พบคือ ปัจจัยการผลิตที่ได้รับสนับสนุนไม่เพียงพอร้อยละ 75.00 ความล่าช้า ของโครงการและหน่วยงานภาครัฐขาดความต่อเนื่องในการแนะนำและถ่ายทอดความรู้ร้อยละ 16.67 เท่ากัน ดินมีธาตุอาหารน้อยขาดความอุดมสมบูรณ์ และขาดแคลนระบบไฟฟ้าทางการเกษตร ร้อยละ 8.33 เท่ากัน สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการ เกษตรกรให้ข้อเสนอแนะว่า ควรจัดสรร งบประมาณสนับสนุนปัจจัยการผลิตให้เพียงพอร้อยละ 75.00 ให้คำปรึกษา แนะนำและให้ความรู้เพิ่มเติม แก่เกษตรกรร้อยละ 25.00 ติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง สนับสนุนระบบไฟฟ้าทางการเกษตร แบบโซล่าเซลล์ร้อยละ 16.67 เท่ากัน เป็นต้น (ตารางที่ 3-19) 3) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 เกษตรกรมีปัญหาและอุปสรรคในการเข้าร่วมโครงการ โดยลักษณะปัญหา และอุปสรรคส่วนใหญ่ที่พบคือ ดินมีธาตุอาหารน้อยขาดความอุดมสมบูรณ์ ปัจจัยการผลิตที่ได้รับ การสนับสนุนไม่เพียงพอ และหน่วยงานภาครัฐขาดความต่อเนื่องในการแนะนำและถ่ายทอดความรู้ร้อยละ 26.67 เท่ากัน ปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการเกษตร และขาดแคลนระบบไฟฟ้าทางการเกษตรร้อยละ 20.00 เท่ากัน ปัญหาศัตรูพืช โรคพืช และโรคระบาดต่าง ๆ ร้อยละ 13.33 เป็นต้น สำหรับข้อเสนอแนะ ในการพัฒนาโครงการ เกษตรกรให้ข้อเสนอแนะว่า ควรจัดสรรงบประมาณสนับสนุนปัจจัยการผลิต ให้เพียงพอร้อยละ 52.63 แนะนำการปรับปรุงบำรุงดินร้อยละ 21.05 ให้คำปรึกษา แนะนำและให้ความรู้


3-37 เพิ่มเติมแก่เกษตรกร แนะนำเรื่องการหาแหล่งน้ำสำรอง สนับสนุนระบบไฟฟ้าทางการเกษตรแบบโซลาเซลล์ ร้อยละ 15.79 เท่ากัน เป็นต้น (ตารางที่ 3-19) 4) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 เกษตรกรมีปัญหาและอุปสรรคในการเข้าร่วมโครงการ โดยลักษณะปัญหา และอุปสรรคส่วนใหญ่ที่พบคือ ขาดแคลนระบบไฟฟ้าทางการเกษตรร้อยละ 41.67 ปัจจัยการผลิตที่ได้รับ สนับสนุนไม่เพียงพอร้อยละ 33.33 ดินมีธาตุอาหารน้อยขาดความอุดมสมบูรณ์ และปริมาณน้ำไม่เพียงพอ ต่อการเกษตรร้อยละ 16.67 เท่ากัน สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการ เกษตรกรให้ข้อเสนอแนะว่า ควรสนับสนุนระบบไฟฟ้าทางการเกษตรแบบโซล่าเซลล์ร้อยละ 41.68 จัดสรรงบประมาณสนับสนุนปัจจัย การผลิตให้เพียงพอร้อยละ 33.33 ให้คำปรึกษา แนะนำและให้ความรู้เพิ่มเติมแก่เกษตรกร แนะนำเรื่อง การหาแหล่งน้ำสำรอง และแนะนำเรื่องการปรับปรุงบำรุงดินร้อยละ 8.33 เท่ากัน (ตารางที่ 3-19) 5) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 เกษตรกรมีปัญหาและอุปสรรคในการเข้าร่วมโครงการ โดยลักษณะปัญหา และอุปสรรคส่วนใหญ่ที่พบ คือ ปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการเกษตรร้อยละ 33.33 ขาดแคลนระบบไฟฟ้า ทางการเกษตรร้อยละ 29.17 ความล่าช้าของโครงการร้อยละ 20.83 เป็นต้น สำหรับข้อเสนอแนะในการ พัฒนาโครงการเกษตรกรให้ข้อเสนอแนะว่า ควรจัดสรรงบประมาณสนับสนุนปัจจัยการผลิตให้เพียงพอ ร้อยละ 39.13 ติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องร้อยละ 34.78 แนะนำเรื่องการหาแหล่งน้ำสำรอง และแนะนำการปรับปรุงบำรุงดินร้อยละ 17.39 เท่ากัน เป็นต้น (ตารางที่ 3-19) 6) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 เกษตรกรมีปัญหาและอุปสรรคในการเข้าร่วมโครงการ โดยลักษณะปัญหา และอุปสรรคส่วนใหญ่ที่พบคือ หน่วยงานภาครัฐขาดความต่อเนื่องในการแนะนำและถ่ายทอดความรู้ ร้อยละ 30.77 ดินมีธาตุอาหารน้อยขาดความอุดมสมบูรณ์ และปัจจัยการผลิตที่ได้รับสนับสนุน ไม่เพียงพอร้อยละ 23.08 เท่ากัน ปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการเกษตรร้อยละ 15.38 เป็นต้น สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการเกษตรกรให้ข้อเสนอแนะว่า ควรให้คำปรึกษา แนะนำและให้ ความรู้เพิ่มเติมแก่เกษตรกร และแนะนำการปรับปรุงบำรุงดินร้อยละ 30.77 เท่ากัน จัดสรรงบประมาณ สนับสนุนปัจจัยการผลิตให้เพียงพอร้อยละ 23.08 แนะนำเรื่องการหาแหล่งน้ำสำรองร้อยละ 15.38 เป็นต้น (ตารางที่ 3-19)


3-38 7) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 เกษตรกรมีปัญหาและอุปสรรคในการเข้าร่วมโครงการ โดยลักษณะปัญหา และอุปสรรคส่วนใหญ่ที่พบคือ ดินมีธาตุอาหารน้อยขาดความอุดมสมบูรณ์ร้อยละ 40.00 ปัจจัยการผลิต ที่ได้รับสนับสนุนไม่เพียงพอร้อยละ 32.00 ปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการเกษตรร้อยละ 24.00 เป็นต้น สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการ เกษตรกรให้ข้อเสนอแนะว่า ควรแนะนำการปรับปรุงบำรุงดิน ร้อยละ 40.00 จัดสรรงบประมาณสนับสนุนปัจจัยการผลิตให้เพียงพอร้อยละ 32.00 แนะนำ เรื่องการหาแหล่งน้ำสำรองร้อยละ 24.00 เป็นต้น (ตารางที่ 3-20) 8) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 เกษตรกรมีปัญหาและอุปสรรคในการเข้าร่วมโครงการ โดยลักษณะปัญหา และอุปสรรคส่วนใหญ่ที่พบ คือ ดินมีธาตุอาหารน้อยขาดความอุดมสมบูรณ์ และปัจจัยการผลิตที่ได้รับ สนับสนุนไม่เพียงพอร้อยละ 41.67 เท่ากัน ปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการเกษตร และหน่วยงานภาครัฐ ขาดความต่อเนื่องในการแนะนำและถ่ายทอดความรู้ร้อยละ 16.67 เท่ากัน สำหรับข้อเสนอแนะ ในการพัฒนาโครงการ เกษตรกรให้ข้อเสนอแนะว่า ควรจัดสรรงบประมาณสนับสนุนปัจจัยการผลิต ให้เพียงพอร้อยละ 71.43 แนะนำการปรับปรุงบำรุงดิน และแนะนำการป้องกันและกำจัด ศัตรูพืช โรคระบาดในพืชและสัตว์ร้อยละ 21.43 เท่ากัน ให้คำปรึกษา แนะนำ และให้ความรู้เพิ่มเติม แก่เกษตรกรร้อยละ 14.29เป็นต้น (ตารางที่ 3-20) 9) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 เกษตรกรมีปัญหาและอุปสรรคในการเข้าร่วมโครงการ โดยลักษณะปัญหา และอุปสรรคส่วนใหญ่ที่พบคือ ดินมีธาตุอาหารน้อยขาดความอุดมสมบูรณ์ร้อยละ 88.89 ปริมาณน้ำ ไม่เพียงพอต่อการเกษตรและความล่าช้าของโครงการร้อยละ 11.11 เท่ากัน สำหรับข้อเสนอแนะ ในการพัฒนาโครงการ เกษตรกรให้ข้อเสนอแนะว่า ควรให้คำปรึกษา แนะนำและให้ความรู้เพิ่มเติม แก่เกษตรกรร้อยละ 46.15 แนะนำการปรับปรุงบำรุงดิน และติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 30.77 เท่ากัน และจัดสรรงบประมาณสนับสนุนปัจจัยการผลิตให้เพียงพอร้อยละ 23.08 (ตารางที่ 3-20) 10) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 เกษตรกรมีปัญหาและอุปสรรคในการเข้าร่วมโครงการ โดยลักษณะปัญหา และอุปสรรคส่วนใหญ่ที่พบคือ ปัจจัยการผลิตที่ได้รับสนับสนุนไม่เพียงพอร้อยละ 84.38 ดินมีธาตุอาหารน้อยขาดความอุดมสมบูรณ์ร้อยละ 43.75 ขาดแคลนระบบไฟฟ้าทางการเกษตร ร้อยละ 18.75 เป็นต้น สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการเกษตรกรให้ข้อเสนอแนะว่า


3-39 ควรแนะนำการปรับปรุงบำรุงดินร้อยละ 66.67 และจัดสรรงบประมาณสนับสนุนปัจจัยการผลิต ให้เพียงพอร้อยละ 33.33 (ตารางที่ 3-20) 11) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 เกษตรกรมีปัญหาและอุปสรรคในการเข้าร่วมโครงการ โดยลักษณะปัญหา และอุปสรรคส่วนใหญ่ที่พบคือ ดินมีธาตุอาหารน้อยขาดความอุดมสมบูรณ์ร้อยละ 70.00 ปัจจัยการผลิต ที่ได้รับสนับสนุนไม่เพียงพอร้อยละ 30.00 ปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการเกษตรร้อยละ 20.00 เป็นต้น สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการ เกษตรกรให้ข้อเสนอแนะว่า ควรให้คำปรึกษา แนะนำ และให้ความรู้เพิ่มเติมแก่เกษตรกรร้อยละ 45.00 แนะนำการปรับปรุงบำรุงดินร้อยละ 30.00 ติดตาม ผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องร้อยละ 25.00 เป็นต้น (ตารางที่ 3-20) 12) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 เกษตรกรมีปัญหาและอุปสรรคในการเข้าร่วมโครงการ โดยลักษณะปัญหา และอุปสรรคส่วนใหญ่ที่พบคือ ดินมีธาตุอาหารน้อยขาดความอุดมสมบูรณ์ร้อยละ 58.33 ปัจจัยการผลิต ที่ได้รับสนับสนุนไม่เพียงพอร้อยละ 25.00 หน่วยงานภาครัฐขาดความต่อเนื่องในการแนะนำและถ่ายทอด ความรู้ร้อยละ 12.50 เป็นต้น สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการเกษตรกรให้ข้อเสนอแนะว่า ควรแนะนำการปรับปรุงบำรุงดินร้อยละ 58.33 จัดสรรงบประมาณสนับสนุนปัจจัยการผลิตให้เพียงพอ ร้อยละ 25.00ติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องร้อยละ 8.33 เป็นต้น (ตารางที่ 3-20) 13) เฉลี่ยรวม เกษตรกรมีปัญหาและอุปสรรคในการเข้าร่วมโครงการ โดยลักษณะปัญหา และอุปสรรคส่วนใหญ่ที่พบคือ ปัจจัยการผลิตที่ได้รับสนับสนุนไม่เพียงพอร้อยละ 40.28 ดินมีธาตุอาหารน้อยขาดความอุดมสมบูรณ์ร้อยละ 39.35 ปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการเกษตรร้อยละ 13.43 เป็นต้น สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการ เกษตรกรให้ข้อเสนอแนะว่า ควรจัดสรร งบประมาณสนับสนุนปัจจัยการผลิตให้เพียงพอร้อยละ 37.24 แนะนำการปรับปรุงบำรุงดินร้อยละ 31.12 ให้คำปรึกษา แนะนำและให้ความรู้เพิ่มเติมแก่เกษตรกรร้อยละ 16.33เป็นต้น (ตารางที่ 3-20)


3-40 ตารางที่ 3-19 ปัญหาและอุปสรรคของโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ปี 2566 หน่วย: ร้อยละ ปัญหาและอุปสรรค สำนักงานพัฒนาที่ดิน เฉลี่ยรวม เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 - ดินมีธาตุอาหารน้อยขาดความอุดมสมบูรณ์ 44.44 8.33 26.67 16.67 8.33 23.08 40.00 41.67 88.89 43.75 70.00 58.33 39.35 - ปัจจัยการผลิตที่ได้รับสนับสนุนไม่เพียงพอ 38.89 75.00 26.67 33.33 - 23.08 32.00 41.67 - 84.38 30.00 25.00 40.28 - ปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการเกษตร 5.56 - 20.00 16.67 33.33 15.38 24.00 16.67 11.11 9.38 20.00 - 13.43 - ความล่าช้าของโครงการ 5.56 16.67 6.67 - 20.83 7.69 12.00 - 11.11 - 15.00 - 6.94 - หน่วยงานภาครัฐขาดความต่อเนื่องในการแนะนำ และถ่ายทอดความรู้ 5.56 16.67 26.67 - 12.50 30.77 8.00 16.67 - - 10.00 12.50 12.50 - ขาดแคลนระบบไฟฟ้าทางการเกษตร 5.56 8.33 20.00 41.67 29.17 7.69 4.00 - - 18.75 - 4.17 8.80 - ปัญหาศัตรูพืช โรคพืช และโรคระบาดต่าง ๆ 5.56 - 13.33 - 4.17 - 8.00 - - - 10.00 - 3.24 ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-41 ตารางที่ 3-20 ข้อเสนอแนะที่มีต่อโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ปี 2566 หน่วย: ร้อยละ ข้อเสนอแนะ สำนักงานพัฒนาที่ดิน เฉลี่ยรวม เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 - ควรให้คำปรึกษา แนะนำและให้ความรู้ เพิ่มเติมแก่เกษตรกร - 25.00 15.79 8.33 4.35 30.77 8.00 14.29 46.15 - 45.00 4.17 16.33 - ควรจัดสรรงบประมาณสนับสนุนปัจจัย การผลิตให้เพียงพอ 38.89 75.00 52.63 33.33 39.13 23.08 32.00 71.43 23.08 33.33 15.00 25.00 37.24 - ควรแนะนำเรื่องการหาแหล่งน้ำสำรอง 5.56 - 15.79 8.33 17.39 15.38 24.00 7.14 - - 10.00 - 10.20 - ควรแนะนำการปรับปรุงบำรุงดิน 44.44 8.33 21.05 8.33 17.39 30.77 40.00 21.43 30.77 66.67 30.00 58.33 31.12 - ควรติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 11.11 16.67 - - 34.78 7.69 12.00 7.14 30.77 - 25.00 8.33 14.29 - ควรสนับสนุนระบบไฟฟ้าทางการเกษตรแบบ โซล่าเซลล์ 5.56 16.67 15.79 41.68 - 7.69 4.00 7.14 - - 5.00 4.17 8.16 - ควรแนะนำการป้องกัน/กำจัด ศัตรูพืชและ โรคระบาดในพืชและสัตว์ - - 10.53 - 4.35 - 8.00 21.43 - - 10.00 - 5.10 ที่มา: จากการสำรวจ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) และ จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


บทที่ 4 สรุปผลและข้อเสนอแนะ การศึกษาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ และวิเคราะห์รายได้ของเกษตรกร ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ ซึ่งทำการสำรวจและเก็บข้อมูลจากเกษตรกรกลุ่มตัวอย่างทั่วประเทศ จำนวน 420 ราย ในพื้นที่สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12 โดยดำเนินการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล ภาวะเศรษฐกิจและสังคม ภาวะการผลิต คุณภาพชีวิตและทัศนคติของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ สรุปผลการศึกษาได้ดังนี้ 4.1 สรุปผล 1) ภาวะเศรษฐกิจและสังคม เกษตรกรเป็นเพศชายร้อยละ 55.00 และเพศหญิงร้อยละ 45.00 อายุเฉลี่ย 52 ปี ด้านการศึกษาส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษาร้อยละ 28.33 รองลงมาคือระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพร้อยละ25.48ระดับปริญญาตรีร้อยละ 24.05ตามลำดับ ด้านสถานภาพ ทางสังคมส่วนใหญ่ไม่ได้เป็นหมอดินอาสาร้อยละ 87.38 มีพื้นที่เข้าร่วมโครงการเฉลี่ย 3.65 ไร่ต่อครัวเรือน หนังสือสำคัญในที่ดินส่วนใหญ่เป็นโฉนดที่ดินร้อยละ 73.98 ของพื้นที่เข้าร่วมโครงการทั้งหมด รองลงมาคือ ส.ป.ก.4-01 ร้อยละ 18.71 และ น.ส.3ก. ร้อยละ 5.00 ด้านสถานภาพทางการเงิน เกษตรกรมีรายได้ เฉลี่ยต่อครัวเรือน 221,941.62 บาทต่อปี เป็นรายได้ในภาคการเกษตร 128,773.76 บาท หรือร้อยละ 58.02 และนอกภาคการเกษตร 93,167.86 บาท หรือร้อยละ 41.98 และมีรายจ่ายต่อครัวเรือนเฉลี่ย 121,964.29 บาทต่อปีด้านภาวะหนี้สินมีการกู้ยืมเงินร้อยละ 32.62 ของครัวเรือนทั้งหมด โดยเป็นกู้ยืมเงิน จากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ร้อยละ 67.88 รองลงมาคือ กองทุนหมู่บ้าน ร้อยละ 24.09 และสหกรณ์การเกษตรร้อยละ 5.84 ตามลำดับ และมีการกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้นอกระบบคือ ญาติพี่น้องร้อยละ 1.46 อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เฉลี่ยร้อยละ 6.52 ต่อปี สำหรับสถานภาพการทำงาน ของครัวเรือนเกษตรครัวเรือนเกษตรมีสมาชิกในเฉลี่ย 3.74 คนต่อครัวเรือน เป็นแรงงานภาคการเกษตรเฉลี่ย 2.12 คนต่อครัวเรือน และเป็นร้อยละ 56.68 ของสมาชิกในครัวเรือนเกษตรทั้งหมด สถานภาพแรงงาน คืนถิ่นในครัวเรือนเกษตร ประกอบด้วย ครัวเรือนเกษตรที่ไม่มีแรงงานคืนถิ่น 376 ครัวเรือน หรือร้อยละ 89.52 และมีแรงงานคืนถิ่น 44 ครัวเรือน หรือร้อยละ 10.48 โดยมีแรงงานคืนถิ่นในพื้นที่เข้าร่วมโครงการ ทั้งหมด 58 คน


4-2 2) ภาวะการผลิต สภาพพื้นที่ที่ใช้ในการผลิตของเกษตรกร มีสภาพพื้นที่เป็นที่ลุ่มร้อยละ 76.19 และที่ดอน ร้อยละ 23.81 ของพื้นที่เข้าร่วมโครงการ พื้นที่เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่มีขนาด 3 ไร่ ร้อยละ 46.67 รูปแบบ สระเก็บน้ำส่วนใหญ่เป็นแบบสี่เหลี่ยมร้อยละ 95.24 ซึ่งเกษตรกรร้อยละ 21.90 มีปริมาณน้ำในสระเพียงพอ ต่อการผลิตตลอดทั้งปี และเกษตรกรร้อยละ 78.10 มีปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการผลิต ซึ่งสามารถใช้น้ำ ในสระได้เฉลี่ย 5.54 เดือนต่อปี ด้านการผลิตของเกษตรกรก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ พบว่า ก่อนเข้าร่วมโครงการ เกษตรกรทั้งหมดมีการใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นการผลิตข้าวนาปีเพียงอย่างเดียว โดยส่วนใหญ่เป็นการกระจาย ผลผลิตเพื่อเพื่อการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนร้อยละ 63.91 และจำหน่ายร้อยละ 89.47 มีต้นทุนในการผลิต เฉลี่ย2,755.90 บาทต่อไร่ มูลค่าผลผลิตเฉลี่ย 4,796.10 บาทต่อไร่ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 2,040.20 บาทต่อไร่ และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 1.74 หลังเข้าร่วมโครงการเกษตรกรปรับเปลี่ยนการผลิตเป็นเกษตรผสมผสาน โดยส่วนใหญ่ เป็นการกระจายผลผลิตเพื่อจำหน่ายร้อยละ 64.14 และเพื่อการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนร้อยละ 35.86 มีต้นทุนในการผลิตเฉลี่ย 3,169.32 บาทต่อไร่ มูลค่าผลผลิตเฉลี่ย 9,282.20 บาทต่อไร่ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 6,112.88 บาทต่อไร่ และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด(B/C Ratio) 2.93 สรุปได้ว่า เมื่อเกษตรกรเข้าร่วมโครงการได้ปรับเปลี่ยนการผลิตจากการผลิตแบบเกษตร เชิงเดี่ยว (ข้าวนาปี) เป็นการผลิตแบบเกษตรผสมผสานทำให้มีต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น 413.42 บาทต่อไร่ แต่ส่งผลให้เกษตรกรมีมูลค่าผลผลิตเฉลี่ย และผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย เพิ่มขึ้นไปในทิศทางเดียวกัน 4,486.10 และ 4,072.68 บาทต่อไร่ ตามลำดับ และมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio) จาก 1.74 เพิ่มขึ้น เป็น 2.93 3) คุณภาพชีวิตและทัศนคติของเกษตรกร ด้านคุณภาพชีวิต เกษตรกรในภาพรวมมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.26 เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน พบว่า คุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านจิตวิญญาณ มีค่าเฉลี่ย 3.45 เท่ากัน และด้านครอบครัวมีค่าเฉลี่ย 3.42 สำหรับคุณภาพชีวิตที่อยู่ ในระดับมาก ได้แก่ ด้านสังคมเศรษฐกิจมีค่าเฉลี่ย 3.19 และด้านสุขภาพมีค่าเฉลี่ย 3.12


4-3 ด้านทัศนคติ เกษตรกรส่วนใหญ่มีการแนะนำและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของโครงการ ร้อยละ 95.24 และไม่ได้มีการแนะนำ ร้อยละ 4.76 เหตุผลส่วนใหญ่ที่ไม่แนะนำ ได้แก่ต้องการทดลองทำเอง ให้เกิดผลสำเร็จก่อนร้อยละ 75.00และต้องเสียพื้นที่ทำนาข้าวร้อยละ 25.00 ด้านปัญหาและอุปสรรค เกษตรกรมีปัญหาและอุปสรรคที่พบมากที่สุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ ปัจจัยการผลิตที่ได้รับสนับสนุนไม่เพียงพอร้อยละ 40.28 รองลงมาคือ ดินมีธาตุอาหารน้อยขาดความอุดม สมบูรณ์ร้อยละ 39.55และปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการเกษตรร้อยละ 13.43ตามลำดับ ข้อเสนอแนะ เกษตรกรมีข้อเสนอแนะมากที่สุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ ควรจัดสรรงบประมาณ สนับสนุนปัจจัยการผลิตให้เพียงพอร้อยละ 37.24 รองลงมาคือ แนะนำการปรับปรุงบำรุงดินร้อยละ 31.12 และ ควรให้คำปรึกษา แนะนำและให้ความรู้เพิ่มเติมแก่เกษตรกรร้อยละ 16.33 ตามลำดับ 4.2 ข้อเสนอแนะ 1) หน่วยงานภาครัฐควรส่งเสริม แนะนำ และให้ความรู้เพิ่มเติมแก่เกษตรกรในการปรับปรุงบำรุงดิน เช่น การจัดอบรมวิธีการปรับปรุงบำรุงดินให้เหมาะกับการผลิต การแนะนำการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน เพื่อลดการใช้ปัจจัยการผลิตที่ไม่จำเป็น ซึ่งส่งผลทำให้ต้นทุนการผลิตลดลง 2) จัดการศึกษาดูงานแปลงตัวอย่างของเกษตรกรที่ประสบผลสำเร็จจากการเข้าร่วมโครงการ เพื่อดึงดูดให้ปรับเปลี่ยนการผลิตเป็นเกษตรผสมผสาน และเพื่อลดความเสี่ยงจากการทำเกษตรเชิงเดี่ยว 3) ส่งเสริมและสนับสนุนการทำเกษตรแบบผสมผสาน เช่น การให้ความรู้และส่งเสริมการปลูก พืชผสมผสานตามฤดูกาล เพื่อให้สามารถสร้างรายได้ตลอดทั้งปี 4) สนับสนุนการจัดตั้งตลาดรับซื้อผลผลิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเพื่อเป็นช่องทาง ในการกระจายผลผลิต และการส่งเสริมการรวมกลุ่มของเกษตรกร 5) แนะนำและสนับสนุนการหาแหล่งเงินทุนในการทำการเกษตรแบบผสมผสานจากสถาบัน การเงินในระบบ เช่น การใช้มาตรการด้านดอกเบี้ย การให้สิทธิ์ในการเข้าถึงเงินทุนมากขึ้นหรือจัดตั้งกองทุน เกษตรผสมผสาน


เอกสารอ้างอิง กรมพัฒนาที่ดิน. 2553. ระเบียบกรมพัฒนาที่ดินว่าด้วยการบริหารงานหมอดินอาสา. แหล่งที่มา: http://www1.ldd.go.th/FLddwebsite/WEB_AUD/menumain/orderaud/rabeab61/R egulation-mordin2553.pdf กฤช เอี่ยมฐานนท์. 2557. โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ: การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทน ทางเศรษฐศาสตร์. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. กัญญ์พัสวีกล่อมธงเจริญ. 2560. คุณภาพชีวิตของเกษตรกรเกษตรอินทรีย์จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์การจัดการดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการธุรกิจ, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร. 2563. อัตราค่าธรรมเนียม. อัตราดอกเบี้ยเงินกู้. แหล่งที่มา: http://www.baac.or.th/th/contentrate.php?content_group=9&content _group_sub=2&inside=. 4 มิถุนายน 2565. ศุภรทิพย์ นิลารักษ์. 2557. คุณภาพชีวิตของเกษตรกรชาวสวนยาง ภายในเขตพื้นที่ จังหวัดตราด. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, มหาวิทยาลัยบูรพา. ศูนย์ประเมินผล. 2551. คู่มือวิทยากรการฝึกอบรม หลักสูตร การติดตาม และประเมินผล. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. ศูนย์สารสนเทศการเกษตร. 2565. คำนิยามข้อมูลสถิติการเกษตร. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก การกำหนดขนาดตัวอย่าง จำนวนตัวอย่าง สถานที่สำรวจข้อมูล ตารางภาคผนวกที่ ก1 การกำหนดขนาดตัวอย่าง การกำหนด ขนาดตัวอย่าง สูตรการคำนวณ วิธีการคำนวณ ขนาดตัวอย่าง Taro Yamane n = N/1+Ne^2 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% n = 27,117/1+(27,117*0.05^2) n = 27,117/1+(27,117*0.0025) n = 27,117/1+67.7925 n = 27,117/68.7925 n = 394.19 394 ตัวอย่าง ที่มา: จากการคำนวณ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) ตารางภาคผนวกที่ ก2 จำนวนตัวอย่างจำแนกตามสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต สำนักงานพัฒนาที่ดิน จังหวัด จำนวนตัวอย่าง เขต 1 สิงห์บุรี สระบุรี ชัยนาท ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา นครนายก ลพบุรี และอ่างทอง 35 เขต 2 สระแก้ว จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด ระยอง และ ปราจีนบุรี 35 เขต 3 นครราชสีมา บุรีรัมย์และชัยภูมิ 35 เขต 4 อำนาจเจริญ อุบลราชธานี และยโสธร 35 เขต 5 หนองบัวลำภู หนองคาย ขอนแก่น สกลนคร บึงกาฬ มหาสารคาม และอุดรธานี 35 เขต 6 แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง และเชียงใหม่ 35 เขต 7 เชียงราย น่าน พะเยา และแพร่ 35 เขต 8 พิจิตร พิษณุโลก เลย และอุตรดิตถ์ 35 เขต 9 อุทัยธานีและนครสรรค์ 35 เขต 10 ราชบุรี เพชรบุรี และกาญจนบุรี 35 เขต 11 สุราษฎร์ธานี ระนอง พังงา ภูเก็ต ชุมพร นครศรีธรรมราช และกระบี่ 35 เขต 12 สงขลา และพัทลุง 35 รวม 420


ผ-3 ตารางภาคผนวกที่ ก3 สถานที่สำรวจข้อมูล ลำดับ หมู่ที่ บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด 1 2 บ้านพึ่ง บ้านพึ่ง บ้านหมี่ ลพบุรี 2 7 คลองหนึ่ง คลองหนึ่ง คลองหลวง ปทุมธานี 3 7 สปก. บึงบอน หนองเสือ ปทุมธานี 4 5 ชำอ้อ บึงชำอ้อ หนองเสือ ปทุมธานี 5 2 วังตะเคียน บึงบา หนองเสือ ปทุมธานี 6 2 ดอนลาน ดอนลาน ผักไห่ พระนครศรีอยุธยา 7 1 ขวาง บ้านขวาง มหาราช พระนครศรีอยุธยา 8 5 หนองปรือ สีบัวทอง แสวงหา อ่างทอง 9 4 คลองชะอม สีบัวทอง แสวงหา อ่างทอง 10 1 ท่าช้าง เตาปูน แก่งคอย สระบุรี 11 5 หนองโปร่ง ห้วยป่าหวาย พระพุทธบาท สระบุรี 12 10 หนองม่วง หนองโน เมืองสระบุรี สระบุรี 13 8 โคก ม่วงงาม เสาไห้ สระบุรี 14 6 ไผ่ต่ำ ไผ่ต่ำ หนองแค สระบุรี 15 1 หัวดอน บางมัญ เมืองสิงห์บุรี สิงห์บุรี 16 4 บางกระโจม โพธิ์ชัย อินทร์บุรี สิงห์บุรี 17 1 ประโมง ประศุกร์ อินทร์บุรี สิงห์บุรี 18 4 ละเมาะยุบ โพประจักษ์ ท่าช้าง สิงห์บุรี 19 5 คลองสี่ หนองกระทุ่ม ค่ายบางระจัน สิงห์บุรี 20 6 นอก ปากพลี ปากพลี นครนายก 21 8 หนองมะกอก บ้านนา บ้านนา นครนายก 22 1 เขมรฝั่งใต้ โพธิ์แทน องค์รักษ์ นครนายก 23 6 ปากแบน โพธิ์แทน องค์รักษ์ นครนายก 24 4 หนองหวาย หันคา หันคา ชัยนาท 25 6 หนองเตียน ท่าแยก เมืองสระแก้ว สระแก้ว 26 10 ท่ากระบาก ท่าแยก เมืองสระแก้ว สระแก้ว 27 11 พะน้อย ท่าแยก เมืองสระแก้ว สระแก้ว 28 14 น้ำล้อม ท่าแยก เมืองสระแก้ว สระแก้ว


ผ-4 ตารางภาคผนวกที่ ก3 (ต่อ) ลำดับ หมู่ที่ บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด 29 14 เนินตะเคียน ศาลาลำดวน เมืองสระแก้ว สระแก้ว 30 1 วังศิลา วังน้ำเย็น วังน้ำเย็น สระแก้ว 31 27 พรนิมิตร ทุ่งมหาเจริญ วังน้ำเย็น สระแก้ว 32 6 ธารนพเก้า หนองหว้า เขาฉกรรจ์ สระแก้ว 33 8 เขาด่าน หนองหว้า เขาฉกรรจ์ สระแก้ว 34 12 เขาสำพุง หนองหว้า เขาฉกรรจ์ สระแก้ว 35 5 หนองมั่ง หนองแวง โคกสูง สระแก้ว 36 14 หนองหว้า หนองม่วง โคกสูง สระแก้ว 37 2 ทัพพริก ทัพพริก อรัญประเทศ สระแก้ว 38 4 โคกปราสาท ทัพไทย ตาพระยา สระแก้ว 39 2 ไกลนคร ซับมะกรูด คลองหาด สระแก้ว 40 4 หนองตะเคียน ไทยอุดม คลองหาด สระแก้ว 41 4 ไทรเดี่ยว ไทรทอง คลองหาด สระแก้ว 42 8 พรหมนิมิตร เทพอุดม คลองหาด สระแก้ว 43 11 เทพนิมิตร ซับมะกรูด คลองหาด สระแก้ว 44 6 คลองขวาง ท่ากุ่ม เมืองตราด ตราด 45 1 คลองขวางล่าง หนามแดง เมืองฉะเชิงเทรา ฉะเชิงเทรา 46 11 คลองบ้านใหม่ โพรงอากาศ บางน้ำเปรี้ยว ฉะเชิงเทรา 47 3 โคกปีบ โคกปีบ ศรีมโหสถ ปราจีนบุรี 48 5 เนินบาก เนินหอม เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี 49 3 โนนยาว ประจันตคาม ประจันตคาม ปราจีนบุรี 50 13 ขิงกระชาย บุฝ้าย ประจันตคาม ปราจีนบุรี 51 4 เขาไม้แก้ว เขาไม้แก้ว กบินทร์บุรี ปราจีนบุรี 52 9 โป่งศรีเจริญ เขาไม้แก้ว กบินทร์บุรี ปราจีนบุรี 53 7 วังประดู่ แม่น้ำคู้ ปลวกแดง ระยอง 54 4 นาไทร บัถวี มะขาม จันทบุรี 55 1 หนองพยาม หนองบอนแดง บ้านบึง ชลบุรี 56 3 สระตาพรม เกาะจันทร์ เกาะจันทร์ ชลบุรี


Click to View FlipBook Version