The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินคุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจที่สำคัญในระดับพื้นที่ จังหวัดลพบุรี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kew_k0712, 2024-03-07 21:46:06

รายงานการประเมินคุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจที่สำคัญในระดับพื้นที่ จังหวัดลพบุรี 2566

รายงานการประเมินคุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจที่สำคัญในระดับพื้นที่ จังหวัดลพบุรี 2566

รายงานการประเมินคุณภาพที่ดินดานเศรษฐกิจ สําหรับพืชเศรษฐกิจที่สําคัญในระดับพื้นที่ จังหวัดลพบุรีปงบประมาณ 2566 กลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร เอกสารวิชาการเลขที่ 03/03/2566 กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กันยายน 2566 กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ


สารบัญ หนา สารบัญ (1) สารบัญตาราง (2) สารบัญภาพ (3) บทสรุปสําหรับผูบริหาร (4) บทที่ 1 บทนํา 1-1 1.1 หลักการและเหตุผล 1-1 1.2 วัตถุประสงค 1-1 1.3 ระยะเวลาและสถานที่ดําเนินงาน 1-1 1.4 ขั้นตอนและวิธีการดําเนินงาน 1-2 1.5 นิยามศัพท 1-5 บทที่ 2 ขอมูลทั่วไป 2-1 2.1 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกร 2-1 2.2 การถือครองที่ดินของเกษตรกร 2-1 2.3 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินของเกษตรกร 2-2 2.4 ปญหาในการผลิตและความตองการความชวยเหลือจากภาครัฐ 2-4 2.5 ทัศนคติในการผลิต 2-7 บทที่ 3 ผลการดําเนินงาน 3-1 3.1 ภาวะการผลิต 3-1 3.2 การประเมินความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจในการผลิตพืช 3-7 บทที่ 4 สรุปผลและขอเสนอแนะ 4-1 4.1 สรุปผล 4-1 4.2 ขอเสนอแนะ 4-5 เอกสารอางอิง อ-1 ภาคผนวก ผ-1 ภาคผนวก ก จํานวนตัวอยางและพื้นที่สํารวจพืชเศรษฐกิจ ผ-2 ภาคผนวก ข ประมวลภาพกิจกรรมและการเก็บขอมูล ผ-7 ภาคผนวก ค คุณสมบัติของกลุมชุดดิน ผ-12


(2) สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 2-1 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 2-1 ตารางที่ 2-2 การถือครองที่ดินและหนังสือสําคัญในที่ดินของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 2-2 ตารางที่ 2-3 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 2-3 ตารางที่ 2-4 ปญหาในการผลิตและความตองการความชวยเหลือจากภาครัฐของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 2-6 ตารางที่ 2-5 ทัศนคติในการผลิตของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 2-8 ตารางที่ 3-1 ตนทุนและผลตอบแทนของประเภทการใชประโยชนที่ดิน จําแนกตามกลุมชุดดิน ปการผลิต 2565/66 3-6 ตารางที่ 3-2 ผลการคํานวณคาตัวแปรสําหรับการจัดระดับความเหมาะสมดานเศรษฐกิจ ของการใชประโยชนที่ดินพืชเศรษฐกิจ ปการผลิต 2565/66 3-7 ตารางที่ 3-3 การวิเคราะหความเหมาะสมดานเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดิน พืชเศรษฐกิจ ปการผลิต 2565/66 3-10 ตารางที่ 3-4 ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดินทางเศรษฐกิจ ปการผลิต 2565/66 3-11


(3) สารบัญภาพ หนา ภาพที่ 1 แผนที่แสดงกลุมชุดดินขาวในพื้นที่ศักยภาพการผลิตสูง ผ-3 ภาพที่ 2 แผนที่แสดงกลุมชุดดินขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ศักยภาพการผลิตสูง ผ-4 ภาพที่ 3 แผนที่แสดงกลุมชุดดินมันสําปะหลังในพื้นที่ศักยภาพการผลิตสูง ผ-5 ภาพที่ 4 แผนที่แสดงกลุมชุดดินออยโรงงานในพื้นที่ศักยภาพการผลิตสูง ผ-6 ภาพที่ 5 การประชุมวางแผนการปฏิบัติงานและจัดทําแบบสอบถาม (21 ธันวาคม 2565) ผ-7 ภาพที่ 6 ประชุมหารือการกําหนดกลุมตัวอยาง จังหวัดลพบุรี(4 มกราคม 2566) ผ-7 ภาพที่ 7 การประชุมติดตามความกาวหนาการเขียนรางรายงาน (2 มิถุนายน 2566) ผ-7 ภาพที่ 8 การเก็บขอมูลพืชเศรษฐกิจขาว จังหวัดลพบุรี ผ-8 ภาพที่ 9 การเก็บขอมูลพืชเศรษฐกิจขาวโพดเลี้ยงสัตว จังหวัดลพบุรี ผ-9 ภาพที่ 10 การเก็บขอมูลพืชเศรษฐกิจมันสําปะหลัง จังหวัดลพบุรี ผ-10 ภาพที่ 11 การเก็บขอมูลพืชเศรษฐกิจออยโรงงาน จังหวัดลพบุรี ผ-11


บทสรุปสําหรับผูบริหาร รายงานการประเมินคุณภาพที่ดินดานเศรษฐกิจสําหรับพืชเศรษฐกิจที่สําคัญในระดับพื้นที่ จังหวัดลพบุรีมีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ศึกษาและวิเคราะหขอมูลพื้นฐานดานเศรษฐกิจในระดับพื้นที่ (2) วิเคราะหและประเมินความเหมาะสมในเชิงเศรษฐกิจตามประเภทการใชประโยชนที่ดินจําแนกตาม กลุมชุดดิน เพื่อสนับสนุนงานวางแผนการใชที่ดินในระดับพื้นที่ ซึ่งทําการศึกษาพืชเศรษฐกิจขาวนาป ขาวนาปรัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสําปะหลัง และออยโรงงานในพื้นที่จังหวัดลพบุรีตามกลุมชุดดิน ไดแก กลุมชุดดินที่ 1 7 18 28 52 54 และกลุมชุดดินที่ 55 สามารถสรุปไดดังนี้ ภาวะเศรษฐกิจและสังคม พบวา เกษตรกรอายุเฉลี่ย 58 ป จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษามากที่สุดรอยละ 73.66 ของเกษตรกรทั้งหมด การถือครองที่ดินสวนใหญเปนที่ดินของตนเอง และมีหนังสือสําคัญที่มีเอกสารสิทธิ์สวนใหญเปน ส.ป.ก.4-01 รอยละ 43.60 ของเกษตรกรทั้งหมด ครัวเรือนเกษตรมีภาวะหนี้สินและกูยืมเงิน รอยละ 41.94 มีจํานวนเงินกูเฉลี่ย 69,500.00 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนการกูยืมเงินในระบบเปนสวนใหญ โดยแหลงเงินกูที่กูยืมเงินมากที่สุด คือ ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) โดยที่อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ย รอยละ 4.72ตอปปญหาดานการผลิตทาง การเกษตร พบวาเกษตรกรที่ปลูกพืชเศรษฐกิจขาวนาป ขาวนาปรัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสําปะหลัง และออยโรงงาน ในปการเพาะปลูก 2565/66 พบปญหาที่เหมือนกันจํานวน 3 ปญหา ไดแก ปจจัยการผลิตมีราคาสูง น้ําทวม และศัตรูพืชรบกวน และสวนใหญตองการความชวยเหลือ ดานการเกษตร โดยใหรัฐจัดหาปจจัยราคาถูก และประกันราคาพืชผลทางการเกษตร สําหรับทัศนคติ ของครัวเรือนเกษตรสวนใหญไมตองการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกพืช สวนแนวคิดในการเพิ่มผลผลิต พบวา เกษตรกรรอยละ 59.14 มีแนวคิดการเพิ่มปริมาณปุยเคมีมากที่สุด ทั้งนี้ เกษตรกรสวนใหญไมมีแนวคิด วางแผนเปลี่ยนไปประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตร การประเมินความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจในการผลิตพืช พบวา (1) การประเมิน ความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจในการผลิตพืช อยูในระดับสูง S1 ไดแก กลุมชุดดินที่ 1 ขาวนาป กลุมชุดดินที่ 28 ขาวโพดเลี้ยงสัตวและมันสําปะหลัง กลุมชุดดินที่ 52 ขาวโพดเลี้ยงสัตว และมันสําปะหลัง กลุมชุดดินที่ 54 ขาวโพดเลี้ยงสัตว และออยโรงงาน กลุมชุดดินที่ 55 มันสําปะหลัง และออยโรงงาน (2) การประเมินความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจในการผลิตพืช อยูในระดับ S2 ไดแก กลุมชุดดินที่ 1 ขาวนาป-นาปรัง กลุมชุดดินที่ 7 ขาวนาป กลุมชุดดินที่ 18 ขาวนาปกลุมชุดดินที่ 28 ออยโรงงาน กลุมชุดดินที่ 52 ออยโรงงาน กลุมชุดดินที่ 54 มันสําปะหลัง ขอเสนอแนะ ภาครัฐหรือหนวยงานที่เกี่ยวของควรสงเสริมองคความรูดานการเกษตร ถายทอดเทคโนโลยีใหม ๆ ที่เหมาะสมไปสูเกษตรกร สนับสนุนปจจัยการผลิตที่สามารถชวยลดตนทุนได รวมถึงการการสงเสริม สนับสนุน เพิ่มศักยภาพ ของงานวิจัยและพัฒนาดานการเกษตรใหมากขึ้น


บทที่ 1 บทนํา 1.1 หลักการและเหตุผล การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยในชวงระยะเวลาที่ผานมา ตองอาศัยแหลง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนปจจัยพื้นฐานสําคัญในการผลิต แตเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของ ประชากรและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว ทําใหมีการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมเกินศักยภาพสงผลกระทบในดานตาง ๆ เชน ทรัพยากรดินขาดความอุดมสมบรูณ การใชที่ดินที่ไมเหมาะสมกับศักยภาพของดิน เกิดการชะลางพังทลายของดิน พื้นที่ปาไมถูกบุกรุกทําลาย เกิดปญหาอุทกภัยและภัยธรรมชาติบอยครั้ง ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศตาง ๆ ลดลง เปนตน ซึ่งมีผลกระทบอยางรุนแรงตอการดําเนินชีวิตของประชาชน ดังนั้น กระทรวงเกษตรและ สหกรณจึงมีนโยบายในการพัฒนายุทธศาสตรเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรในการผลิตพืช เศรษฐกิจ โดยกรมพัฒนาที่ดินเปนหนวยงานสําคัญมีหนาที่ในการจัดทําและกําหนดเขตการใชที่ดิน ใหเหมาะสมในการปลูกพืชเศรษฐกิจ ดวยการวางแผนการใชที่ดินเพื่อวิเคราะห และหาแนวทาง การแกไขปญหาจากการใชทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเกินศักยภาพ จึงตองทําการประเมิน คุณภาพที่ดิน เพื่อพิจารณาศักยภาพของทรัพยากรที่ดินตอการใชประโยชนที่ดินประเภทตาง ๆ ในระดับ การจัดการที่แตกตางกัน อีกทั้งการประเมินคุณภาพที่ดินยังเปนเครื่องมือสําคัญอยางหนึ่งในการกําหนด ทิศทางการใชประโยชนที่ดินใหเปนไปอยางเหมาะสม เกิดประโยชนอยางยั่งยืนและคุมคาทางเศรษฐกิจ ซึ่งในปจจุบันกองนโยบายและแผนการใชที่ดินไดใชวิธีการประเมินคุณภาพที่ดินของ FAO Framework (1983) มาประเมินความเหมาะสมทางกายภาพสําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ ดังนั้น กลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร จึงไดจัดทําโครงการประเมินคุณภาพที่ดิน ดานเศรษฐกิจสําหรับพืชเศรษฐกิจที่สําคัญในระดับพื้นที่จังหวัดลพบุรีเพื่อจัดระดับความเหมาะสม ดานเศรษฐกิจตามประเภทการใชประโยชนที่ดินในระดับพื้นที่และสนองตอยุทธศาสตรการพัฒนา การเกษตรในการปลูกพืชเศรษฐกิจ ซึ่งจะมีผลตอการกําหนดเขตการใชที่ดินใหเหมาะสมกับพื้นที่ในการ บริหารจัดการพื้นที่ภาคการเกษตรตอไป 1.2 วัตถุประสงค 1.2.1 เพื่อศึกษาและวิเคราะหขอมูลพื้นฐานดานเศรษฐกิจในระดับพื้นที่ จังหวัดลพบุรี 1.2.2 เพื่อวิเคราะหและประเมินความเหมาะสมในเชิงเศรษฐกิจตามประเภทการใช ประโยชนที่ดินตามกลุมชุดดิน เพื่อสนับสนุนงานวางแผนการใชที่ดินในระดับพื้นที่ จังหวัดลพบุรี 1.3 ระยะเวลาและสถานที่ดําเนินงาน 1.3.1 ระยะเวลาดําเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 1.3.2 สถานที่ดําเนินงาน จังหวัดลพบุรี


1-2 1.4 ขั้นตอนและวิธีการดําเนินงาน 1.4.1 ศึกษาขอมูลเบื้องตน และรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของ เชน แผนที่และเครื่องคํานวณ ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก(Global Positioning System: GPS) จัดทําแผนและวางแผนการปฏิบัติงาน รวมทั้งประสานขอความรวมมือหนวยงานที่เกี่ยวของ 1.4.2 การเก็บรวบรวมขอมูลจากหนวยงานตาง ๆ โดยสามารถจัดประเภทขอมูลได2 ประเภท 1) ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) คือ ขอมูลที่เก็บรวบรวมดวยวิธีการสัมภาษณ เกษตรกร โดยใชแบบสอบถาม (Questionnaires) 2) ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือ ขอมูลตาง ๆ ที่ทําการเก็บรวบรวมจาก เอกสารวิชาการ ผลงานวิจัยรายงาน บทความ และระบบสืบคนทางอินเตอรเน็ต เพื่อนําขอมูลดังกลาว มาอางอิงและประกอบการศึกษา 1.4.3การวิเคราะหขอมูลดานเศรษฐกิจและสังคม วิเคราะหผลตอบแทนตามประเภทการ ใชประโยชนที่ดิน และประเมินความเหมาะสมในเชิงเศรษฐกิจสําหรับประเภทการใชประโยชนที่ดิน ตามกลุมชุดดิน สามารถวิธีวิเคราะหไดดังนี้ 1) การวิเคราะหผลตอบแทนจากการผลิตตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน ในแตละกลุมชุดดิน โดยวิเคราะหในระดับตาง ๆ อาทิเชน ผลตอบแทนขั้นตนหรือผลตอบแทนเหนือ ตนทุนผันแปร ผลตอบแทนสุทธิหรือผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และอัตราสวนรายไดตอการลงทุน เปนตน 2) การประเมินความเหมาะสมในเชิงเศรษฐกิจสําหรับประเภทการใชประโยชนที่ดิน ตามกลุมชุดดิน ซึ่งการประเมินคุณภาพที่ดินทางเศรษฐกิจ สําหรับพืชเศรษฐกิจที่มีอายุการผลิต ไมเกิน 1 ป สามารถประเมินได ดังนี้ 2.1) การเลือกตัวแปรที่นํามาใชเปนตัวชี้วัดในการประเมินคุณภาพที่ดินดาน เศรษฐกิจ (จัดระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ) เลือกชนิดตัวแปรทางเศรษฐกิจที่นํามาใชวิเคราะห 4 ตัวแปร ไดแก รายไดหรือมูลคาผลผลิต ตนทุนการผลิต ผลตอบแทนจากการผลิต และอัตราสวนรายไดตอ ตนทุน 2.2) การกําหนดคาวิกฤตที่นํามาใชกําหนดจุดวิกฤต (Critical Point) และแบง ชวงของขอมูลตัวแปรจากคาพิสัย (Interval Range) เพื่อแบงระดับความเหมาะสมของตัวแปรตาง ๆ ซึ่งแต ละตัวแปรมีคาวิกฤตที่ตางกัน 2.3) วิธีการประเมินคุณภาพที่ดิน (1) จัดเตรียมขอมูลตัวแปรที่ใชเปนตัวชี้วัดในการจัดระดับความเหมาะสม ตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน โดยคํานวณใหเปนคาเฉลี่ยตอไรทุกตัวแปร ยกเวนอัตราสวนรายได ตอตนทุน ดังนี้ - รายไดหรือมูลคาผลผลิตเฉลี่ยตอไร คํานวณจากผลผลิตเฉลี่ยตอไร คูณดวยราคาขายเฉลี่ย (ใชราคาเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อกําจัดปญหาตัวแปรดานราคาที่แตกตางกันตาม สถานที่และระยะเวลาการผลผลิต)


1-3 รายได (Income: I) = ผลผลิต x ราคา - ตน ทุนการผลิตตอไร ตนทุ นการผลผลิตที่ นํามาป ระเมิน เปนตนทุนผันแปรเฉลี่ยตอไร (เปนเงินและไมเปนเงิน) ตนทุนผันแปร (Variable Cost: VC) = ตนทุนผันแปรที่เปนเงิน + ตนทุนผันแปรที่ไมเปนเงิน - ผลตอบแทนเฉลี่ยตอไร ผลตอบแทนจากการผลิตที่นํามาประเมิน เปนผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ยตอไร ทั้งนี้เนื่องจากผลผลิต และรายไดที่ไดรับเกิดจากการ ผลิตในระยะสั้น การประเมินผลตอบแทนจากการใชประโยชนที่ดิน จึงสามารถประเมินไดจาก ผลตอบแทนขั้นตนเหนือตนทุนผันแปร ซึ่งแสดงใหเห็นวา การผลิตในแตละประเภทนั้นจะคุมคากับ คาใชจายที่เกิดขึ้นเมื่อทําการผลิตหรือไม หากทําการผลิตแลวไดรับผลตอบแทนไมคุมคากับตนทุนผัน แปรก็ไมควรทําการผลิตตอไป เพราะเมื่อรวมตนทุนผันแปรกับตนทุนคงที่แลวจะทําใหขาดทุนยิ่งขึ้น ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร (Return of Over Variable Cost: RVC) = รายได -ตนทุนผันแปร อัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปร (Rate of Income/Variable Cost: R) = รายไดหรือมูลคาผลผลิต ตนทุนผันแปร (2) กําหนดระดับคาตัวแปร จากชุดขอมูลตัวแปรที่ไดจัดเตรียม ไวแลว นํามากําหนดระดับของคาตัวแปรตาง ๆ โดยดําเนินการดังนี้ - หาคาสูงสุด(Maximum) และคาต่ําสุด (Minimum) ของชุดขอมูลแต ละชุดดังนี้ รายไดหรือมูลคาผลผลิต (Income: I) ตนทุนผันแปร (Variable Cost: VC) ผลตอบแทน เหนือตนทุนผันแปร (Return Over Variable Cost: RVC) และอัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปร (Rate of Income/ Variable Cost: R) - หาคาพิสัย (Rang) และชวงกวางชั้น (Interval Range: IR) คาพิสัย (Rang) = คาสูงสุด (Max) - คาต่ําสุด (Min) ชวงกวางชั้น (IR) = Max - Min จํานวนชั้นที่ตองการแบงชั้นขอมูล (3) กําหนดชวงระดับคาตัวแปรแตละชุดที่จะนํามาใชเปนตัวชี้วัดในการ วิเคราะหเพื่อประเมินคุณภาพที่ดิน - ขอมูลรายได (I) และตนทุนผันแปร (VC) แบง Interval Range ออกเปน 4 ชวง สําหรับแบงระดับความเหมาะสมออกเปน 4 ระดับ เทา ๆ กัน - ขอมูลผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร (RVC) แบง Interval Range ออกเปน 3 ชวง เทา ๆ กัน โดยแบงระดับความเหมาะสมออกเปนระดับความเหมาะสมสูง ระดับความ เหมาะสมปานกลาง และระดับความเหมาะสมเล็กนอย และกําหนดคาวิกฤติ (Critical Point) ที่ 0 บาท (หมายถึง รายไดหรือมูลคาผลผลิตเทากับตนทุนผันแปร) เปนจุดแบงระดับความเหมาะสมระหวางระดับ ความเหมาะสมเล็กนอยกับระดับไมเหมาะสม


1-4 - ขอมูลอัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปร (R) แบง Interval Range ออกเปน 3 ชวง เทา ๆ กัน โดยแบงระดับความเหมาะสมออกเปนระดับความเหมาะสมสูง ระดับความ เหมาะสมปานกลาง และระดับความเหมาะสมเล็กนอย และกําหนดคาวิกฤติ(Critical Point) ที่ 1.00 บาท (หมายถึง อัตราสวนรายไดที่ไดรับตอตนทุนมีคาเทากับ 1.00) เปนจุดแบงระดับความเหมาะสมระหวาง ระดับความเหมาะสมเล็กนอยกับระดับไมเหมาะสม) (4) ระดับคาตัวแปรที่เปนตัวชี้วัด กําหนดไดดังนี้ - รายไดเฉลี่ยตอไร (I) กําหนดระดับ ดังนี้ I1 = รายไดสูงมาก = > Min+3IR I2 = รายไดสูง = > Min+2IR ถึง Min+3IR I3 = รายไดปานกลาง = > Min+IR ถึง Min+2IR I4 = รายไดต่ํา = ≤ Min+IR - ตนทุนผันแปรเฉลี่ยตอไร (VC) กําหนดระดับ ดังนี้ VC1 = ตนทุนต่ํา = ≤ Min+IR VC2 = ตนทุนปานกลาง = > Min+IR ถึง Min+2IR VC3 = ตนทุนสูง = > Min+2IR ถึง Min+3IR VC4 = ตนทุนสูงมาก = > Min+3IR -ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ยตอไร (RVC) กําหนดระดับ ดังนี้ RVC1 = สูงมาก = > 2IR RVC2 = สูง = > IR ถึง 2IR RVC3 = ปานกลาง = 0 ถึง IR RVC4 = ขาดทุน = < 0 - อัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปร (R) กําหนดระดับ ดังนี้ R1 = อัตราสวนรายไดสูงมาก = > Min+2IR R2 = อัตราสวนรายไดสูง = >Min+IR ถึง in+2IR R3 = อัตราสวนรายไดปานกลาง = > Min ถึง Min+IR R4 = อัตราสวนรายไดต่ํา = ≤ Min (5) คะแนนตัวแปร จากคาตัวแปรทั้ง 4 ชนิด ที่กําหนดระดับดังกลาว มาแลวนํามาใหคะแนนในแตละระดับหางกันระดับละ 1 คะแนน ดังนี้ ระดับ VC1 I1 RVC1 R1 คะแนน 4 คะแนน ตอ 1 ตัวแปร ระดับ VC2 I2 RVC2 R2 คะแนน 3 คะแนน ตอ 1 ตัวแปร ระดับ VC3 I3 RVC3 R3 คะแนน 2 คะแนน ตอ 1 ตัวแปร ระดับ VC4 I4 RVC4 R4 คะแนน 1 คะแนน ตอ 1 ตัวแปร หลังจากใหคะแนนในแตละตัวแปรแลว นําคะแนนที่ไดมาพิจารณาเพื่อ จัดระดับความเหมาะสมดานเศรษฐกิจตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน โดยแบงระดับคะแนนออกเปน 4 ชวง เพื่อกําหนดระดับความเหมาะสมดานเศรษฐกิจ ดังนี้


1-5 ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ชวงคะแนน 13-16 คะแนน ระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) ชวงคะแนน 9-12 คะแนน ระดับความเหมาะสมเล็กนอย (S3) ชวงคะแนน 5-8 คะแนน ไมเหมาะสม (N) ชวงคะแนน 1-4 คะแนน 1.5 นิยามศัพท เกษตรกร หมายถึง เกษตรกรที่ปลูกขาวนาป ขาวนาป-ขาวนาปรัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสําปะหลัง และออยโรงงานในจังหวัดลพบุรีที่ทําการสํารวจ ครัวเรือนเกษตร/ครัวเรือนเกษตรกรทั้งหมด หมายถึง ครัวเรือนเกษตรที่มีการปลูก ขาวนาป ขาวนาป-ขาวนาปรัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสําปะหลัง และออยโรงงานในจังหวัดลพบุรีที่ทํา การสํารวจ โฉนด หมายถึง หนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่รับรองถูกตองตาม พ.ร.บ.ประมวล กฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 (ศูนยสารสนเทศการเกษตร, 2565) น.ส.3 หมายถึง หนังสือรับรองการเขาทําประโยชนในที่ดินและสามารถนําไปใชในการทํา นิติกรรมตาง ๆ ได เชน การจํานอง ขายฝาก โอน เปนตน แตตองรอประกาศภายใน 30 วัน สําหรับ น.ส.3 และไมตองรอประกาศสําหรับ น.ส.3ก. (ศูนยสารสนเทศการเกษตร, 2565) ภ.บ.ท.5 หมายถึง ใบเสร็จเสียบํารุงทองที่ ซึ่งเปนเพียงหลักฐานแสดงวาผูมีชื่อในใบเสร็จ เปนผูเสียภาษีบํารุงทองที่เทานั้น มิใชสิทธิ์ครอบครองที่ดิน (ศูนยสารสนเทศการเกษตร, 2565) ส.ป.ก.4-01 หมายถึง หนังสือแสดงสิทธิ์การทําประโยชนเพื่อการเกษตรตามกฎหมาย การปฏิรูปที่ดิน ที่ออกใหโดยสํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร (ส.ป.ก) ซึ่งเกษตรกรมีสิทธิ์ นําไปใชเปนหลักทรัพยค้ําประกันเงินกูกับธนาคาร (ธ.ก.ส) ได แตไมมีสิทธิ์ที่จะนําไปขายหรือยกใหผูอื่น เวนแตจะตกทอดเปนมรดกใหลูกหลาน เพื่อทําการเกษตรเทานั้น (ศูนยสารสนเทศการเกษตร, 2565)


บทที่ 2 ขอมูลทั่วไป 2.1 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกร เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 58 ปโดยเกษตรกรเปนเพศชายรอยละ 55.91 ของเกษตรทั้งหมด และเพศหญิงรอยละ 44.09 นับถือศาสนาพุทธทั้งหมด โดยสวนใหญสําเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา รอยละ 73.66 ของเกษตรกรทั้งหมด รองลงมาคือ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือประกาศนียบัตร วิชาชีพ และปริญญาตรีรอยละ 7.52 เทากัน ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับอนุปริญญาหรือ ประกาศนียบัตรระดับวิชาชีพชั้นสูงรอยละ 5.38 เทากัน ทั้งนี้ มีเกษตรกรรอยละ 0.54 ที่ไมรูหนังสือ (ตารางที่ 2-1) ตารางที่ 2-1 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 รายการ รอยละ อายุเฉลี่ย (ป) 57.75 เพศ ชาย 55.91 หญิง 44.09 ศาสนา พุทธ 100.00 ระดับการศึกษา ไมรูหนังสือ 0.54 จบการศึกษา ประถมศึกษา 73.66 มัธยมศึกษาตอนตน 5.38 มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 7.52 อนุปริญญา/ปวส. 5.38 ปริญญาตรี 7.52 ที่มา: จากการสํารวจของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2.2 การถือครองที่ดินของเกษตรกร ลักษณะการถือครองที่ดินสวนใหญเปนที่ดินของตนเองรอยละ 62.44 ของการถือครองที่ดิน ทั้งหมด เปนที่เชารอยละ 29.24 และเปนที่ดินเขาทําเปลารอยละ 8.32 โดยมีหนังสือสําคัญในที่ดิน ของตนเองสวนใหญเปน ส.ป.ก.4-01 รอยละ 43.60 รองลงมาคือ โฉนดรอยละ 32.09 น.ส.3 รอยละ 3.50 และไมมีหนังสือสําคัญในที่ดินของตนเองเปน ภ.บ.ท.5 รอยละ 20.81 (ตารางที่ 2-2)


2-2 ตารางที่ 2-2การถือครองที่ดินและหนังสือสําคัญในที่ดินของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 รายการ รอยละ ลักษณะการถือครองที่ดิน ของตนเอง 62.44 เชา 29.24 เขาทําเปลา 8.32 หนังสือสําคัญในที่ดินของตนเอง มีหนังสือสําคัญ ส.ป.ก.4-01 43.60 โฉนด 32.09 น.ส.3 3.50 ไมมีหนังสือสําคัญ ภ.บ.ท.5 20.81 ที่มา: จากการสํารวจของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2.3 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินของเกษตรกร ในรอบปที่ผานมาครัวเรือนเกษตรมีภาวะหนี้สินและกูยืมเงินรอยละ 41.94 ของครัวเรือน เกษตรทั้งหมด โดยมีวงเงินกูเฉลี่ย 69,500.00 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนเงินกูในระบบรอยละ 73.12 ของแหลงเงินกูทั้งหมด มีวงเงินกูรวม 50,817.20 บาทตอครัวเรือน โดยแหลงเงินกูในระบบที่ครัวเรือน เกษตรกูยืมเงินมากที่สุด คือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) เฉลี่ย 44,580.65 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 64.15 ของวงเงินกูทั้งหมด รองลงมาคือ สหกรณการเกษตร เฉลี่ย 4,086.02 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ5.88 และกองทุนเงินลาน เฉลี่ย 2,150.53 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 3.09 โดยสวนใหญมีวัตถุประสงคการกูยืมเงินเพื่อใชในการเกษตรเฉลี่ย 41,994.62 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 82.64 รองลงมาคือ ใชในการครองชีพเฉลี่ย 5,596.77 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 11.01 และลงทุนในทรัพยสินเฉลี่ย 3,225.81 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 6.35 มีอัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ย รอยละ 6.41 บาทตอป ทั้งนี้ การกูยืมเงินสวนใหญมีระยะเวลา 1 ป หรือรอยละ 59.68 รองลงมาคือ ระยะเวลามากกวา 5 ป หรือรอยละ 24.19 และระยะเวลา 2 - 5 ป หรือรอยละ 16.13 สวนเงินกู นอกระบบรอยละ 26.88 ของแหลงเงินกูทั้งหมด มีวงเงินกูรวม 18,682.80 บาทตอครัวเรือน โดยแหลง เงินกูนอกระบบที่ครัวเรือนเกษตรกูยืมเงินทั้งหมด คือ พอคา มีวัตถุประสงคเพื่อใชในการเกษตรทั้งหมด อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยรอยละ 4.72 บาทตอปการกูยืมสวนใหญมีระยะเวลา 1 ปหรือรอยละ 92.86 และระยะเวลามากกวา 5 ป หรือรอยละ 7.14 ทั้งนี้มีครัวเรือนเกษตรรอยละ 58.06 ที่ไมมีภาวะหนี้สิน และการกูยืมเงิน (ตารางที่ 2-3)


2-3 ตารางที่ 2-3 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินของเกษตรกร ปการผลิต 2565/2566 ภาวะหนี้สิน จํานวน (บาท) รอยละ จํานวนครัวเรือนที่มีหนี้สิน 41.94 จํานวนครัวเรือนที่ไมมีหนี้สิน 58.06 จํานวนเงินกูเฉลี่ยตอครัวเรือน 69,500.00 รายละเอียดของการกูยืมเงิน เงินกูในระบบ จํานวนเงินกูรวม 50,817.20 73.12 แหลงเงินกู ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) 44,580.65 64.15 สหกรณการเกษตร 4,086.02 5.88 กองทุนเงินลาน 2,150.53 3.09 วัตถุประสงค ใชในการเกษตร 41,994.62 82.64 ใชในการครองชีพ 5,596.77 11.01 ลงทุนในทรัพยสิน 3,225.81 6.35 อัตราดอกเบี้ย เฉลี่ย 6.41 ระยะเวลากูยืม 1 ป 59.68 2-5 ป 16.13 >5 ป 24.19 เงินกูนอกระบบ จํานวนเงินกูรวม 18,682.80 26.88 แหลงเงินกู พอคา 18,682.80 26.88 วัตถุประสงค ใชในการเกษตร 18,682.80 100.00 อัตราดอกเบี้ย เฉลี่ย 4.72 ระยะเวลากูยืม 1 ป 92.86 >5 ป 7.14 ที่มา: จากการสํารวจของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


2-4 2.4 ปญหาในการผลิตและความตองการความชวยเหลือจากภาครัฐ 2.4.1 ขาวนาป 1) เกษตรกรมีปญหาดานการเกษตรรอยละ 79.41 ของเกษตรกรทั้งหมด ปญหาที่ พบสวนใหญ คือ ปจจัยการผลิตมีราคาสูงรอยละ 74.07ของเกษตรกรทั้งหมดที่ประสบปญหา รองลงมาคือ น้ําทวมรอยละ 33.33 ขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตรรอยละ 22.22 ศัตรูพืชรบกวนรอยละ 18.52 ราคา ผลผลิตตกต่ํารอยละ 14.81 ขาดแคลนแหลงน้ําเพื่อการเกษตรรอยละ 11.11 ขาดแคลนแรงงานรอยละ 7.41 และปริมาณผลผลิตต่ํารอยละ 3.70 ทั้งนี้มีเกษตรกรรอยละ 20.59 ที่ไมมีปญหาดานการผลิตทาง การเกษตร (ตารางที่ 4-2) 2) เกษตรกรตองการความชวยเหลือจากภาครัฐดานการเกษตรรอยละ 73.53 ของ เกษตรกรทั้งหมด โดยสวนใหญตองการใหจัดหาปจจัยการผลิตราคาต่ํารอยละ 76.00 ของครัวเรือน เกษตรที่ตองการความชวยเหลือ รองลงมาคือ ขุดลอกแหลงน้ําธรรมชาติหรือแหลงน้ําสาธารณะ ที่ตื้นเขิน จัดสรางแหลงน้ําเพื่อการเกษตร และประกันราคาผลผลิต รอยละ 16.00 เทากัน พยุงราคา พืชผลทางการเกษตร และประกันรายไดเกษตรกรรอยละ 8.00 เทากัน ทั้งนี้ มีเกษตรกรรอยละ 26.47 ที่ไมตองการความชวยเหลือดานการเกษตร (ตารางที่ 2-4) 2.4.2 ขาวนาปรัง 1) เกษตรกรมีปญหาดานการเกษตรรอยละ 75.00 ของเกษตรกรทั้งหมด ปญหาที่ เกษตรกรทั้งหมดพบ คือ ปจจัยการผลิตมีราคาสูง รองลงมาคือ ราคาผลผลิตตกต่ํารอยละ 66.67 น้ําทวมรอยละ 50.00 โรคพืชระบาด และศัตรูพืชรบกวนรอยละ 33.33 เทากัน ทั้งนี้ มีเกษตรกรรอยละ 25.00 ที่ไมมีปญหาดานการผลิตทางการเกษตร (ตารางที่ 2-4) 2) เกษตรกรตองการความชวยเหลือจากภาครัฐดานการเกษตรรอยละ 75.00 ของ เกษตรกรทั้งหมด โดยทั้งหมดตองการใหจัดหาปจจัยการผลิตราคาต่ํา รองลงมาคือ ประกันรายได เกษตรกรรอยละ 66.67 ประกันราคาพืชผลทางการเกษตรรอยละ 50.00 และพยุงราคาพืชผลทาง การเกษตรรอยละ 33.33 ทั้งนี้ มีเกษตรกรรอยละ 25.00 ที่ไมตองการความชวยเหลือดานการเกษตร (ตารางที่ 2-4) 2.4.3 ขาวโพดเลี้ยงสัตว 1) เกษตรกรมีปญหาดานการเกษตรรอยละ 95.83 ของเกษตรกรทั้งหมด ปญหาที่ พบสวนใหญ คือ ศัตรูพืชรบกวนรอยละ 71.74 ของเกษตรกรทั้งหมด รองลงมาคือ ปจจัยการผลิต มีราคาสูงรอยละ 60.87 ฝนแลงหรือฝนทิ้งชวงรอยละ 26.09 โรคพืชระบาดรอยละ 23.91 ขาดแคลนน้ํา เพื่อการเกษตรรอยละ 8.70 น้ําทวมรอยละ 6.52 ขาดแคลนแหลงน้ําเพื่อการเกษตร ปริมาณผลผลิต ตกต่ํา และวัชพืชรบกวนรอยละ 4.35 เทากัน และสภาพดินเสื่อมโทรมรอยละ 2.17 ทั้งนี้มีเกษตรกร รอยละ 4.17 ที่ไมมีปญหาดานการผลิตทางการเกษตร (ตารางที่ 2-4) 2) เกษตรกรตองการความชวยเหลือจากภาครัฐดานการเกษตร รอยละ 91.67 ของ เกษตรกรทั้งหมด โดยสวนใหญตองการใหจัดหาปจจัยการผลิตราคาต่ํารอยละ 77.27 ของเกษตรกรที่ ตองการความชวยเหลือ รองลงมาคือ ประกันราคาพืชผลทางการเกษตรรอยละ 18.18 จัดสรางแหลงน้ํา เพื่อการเกษตรรอยละ 11.36 พยุงราคาพืชผลทางการเกษตรรอยละ 6.82 จัดหาตลาดรับซื้อผลผลิตใหแก เกษตรกร จัดหาแหลงสินเชื่อที่มีอัตราดอกเบี้ยต่ํา สงเสริมและแนะนําการทําปุย สารปองกันและ


2-5 สารกําจัดศัตรูพืชใชเองรอยละ 4.55 เทากัน สงเสริมและแนะนําการปรับปรุงบํารุงดิน ประกันรายได เกษตรกร และสนับสนุนดานไฟฟาสําหรับทําการเกษตรรอยละ 2.27 เทากัน ทั้งนี้ มีเกษตรกร รอยละ 8.33 ที่ไมตองการความชวยเหลือดานการเกษตร (ตารางที่ 2-4) 2.4.4 มันสําปะหลัง 1) เกษตรกรสวนใหญมีปญหาดานการเกษตรรอยละ 85.42 ของเกษตรกรทั้งหมด โดยปญหาที่พบสวนใหญ คือ ปจจัยการผลิตมีราคาสูง และศัตรูพืชรบกวน รอยละ 39.02 เทากัน รองลงมาคือ วัชพืชรบกวนรอยละ 34.15 น้ําทวมรอยละ 31.71 ฝนแลงหรือฝนทิ้งชวง ขาดแคลน แรงงาน ขาดแคลนแหลงเงินลงทุนรอยละ 7.32 เทากัน โรคพืชระบาด ขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตร และคุณภาพผลผลิตตกต่ํารอยละ 4.88 เทากัน ขาดแคลนแหลงน้ําเพื่อการเกษตร และราคาผลผลิต ตกต่ํารอยละ 2.44 เทากัน ทั้งนี้ มีเกษตรกร รอยละ14.58 ที่ไมมีปญหาดานการผลิตทางการเกษตร (ตารางที่ 2-4) 2) เกษตรกรตองการความชวยเหลือจากภาครัฐดานการเกษตรรอยละ 87.50 ของเกษตรกรทั้งหมด โดยสวนใหญตองการใหจัดหาปจจัยการผลิตราคาต่ํารอยละ 54.76 ของเกษตรกร ที่ตองการความชวยเหลือ รองลงมาคือ ประกันราคาพืชผลทางการเกษตรรอยละ 35.71 สงเสริม และแนะนําการทําปุย สารปองกันและกําจัดศัตรูพืชใชเองรอยละ 21.43 จัดสรางแหลงน้ําเพื่อ การเกษตร สงเสริมและแนะนําการปรับปรุงบํารุงดินรอยละ 4.76 เทากัน ขุดลอกแหลงน้ําธรรมชาติ หรือแหลงน้ําสาธารณะที่ตื้นเขิน และสนับสนุนดานไฟฟาสําหรับทําการเกษตรรอยละ 2.38 เทากัน ทั้งนี้ มีเกษตรกรรอยละ 12.50 ที่ไมตองการความชวยเหลือดานการเกษตร (ตารางที่ 2-4) 2.4.5 ออยโรงงาน 1) เกษตรกรสวนใหญมีปญหาดานการเกษตรรอยละ 77.08 ของเกษตรกรทั้งหมด โดยปญหาที่พบสวนใหญ คือ ปจจัยการผลิตมีราคาสูงรอยละ 70.27 รองลงมาคือ โรคพืชระบาด และขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตรรอยละ 16.22 เทากัน ฝนแลงหรือฝนทิ้งชวงรอยละ 13.51 น้ําทวมรอย ละ 10.81 ราคาผลผลิตตกต่ํา ขาดแคลนแรงงาน และขาดแคลนเงินทุน รอยละ 8.11 เทากัน ศัตรูพืช รบกวน ขาดแคลนแหลงน้ําเพื่อการเกษตร และปริมาณผลผลิตต่ํารอยละ 5.41 เทากัน ทั้งนี้ มีเกษตรกร รอยละ 22.92 ที่ไมมีปญหาดานการผลิตทางการเกษตร (ตารางที่ 2-4) 2) เกษตรกรตองการความชวยเหลือจากภาครัฐดานการเกษตร รอยละ 89.58 ของเกษตรกรทั้งหมด โดยสวนใหญตองการใหผลิตจัดหาปจจัยการผลิตราคาต่ํารอยละ 79.07 ของเกษตรกรทั้งหมด รองลงมา คือ ประกันราคาพืชผลทางการเกษตรรอยละ 62.79 จัดสรางแหลงน้ําเพื่อ การเกษตรรอยละ 13.95 ออกฎระเบียบการเก็บเกี่ยวที่ชัดเจนรอยละ 6.98 ขุดลอกแหลงน้ําธรรมชาติหรือ แหลงน้ําสาธารณะที่ตื้นเขินรอยละ 4.65 จัดหาแหลงสินเชื่อที่มีอัตราดอกเบี้ยต่ํา สงเสริมและแนะนํา การปรับปรุงบํารุงดิน รอยละ 2.33 เทากัน ทั้งนี้มีเกษตรกรรอยละ 10.42 ที่ไมตองการความชวยเหลือ ดานการเกษตร (ตารางที่ 2-4)


2-6 ตารางที่ 2-4 ปญหาในการผลิตและความตองการความชวยเหลือจากภาครัฐของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 ลักษณะของปญหา หนวย:รอยละ ขาวนาป ขาวนาปรัง ขาวโพด เลี้ยงสัตว มัน สําปะหลัง ออย โรงงาน ปญหาดานการผลิตทางการเกษตร 79.41 75.00 95.83 85.42 77.08 ปจจัยการผลิตมีราคาสูง 74.07 100.00 60.87 39.02 70.27 ราคาผลผลิตตกต่ํา 14.81 66.67 - 2.44 8.11 น้ําทวม 33.33 50.00 6.52 31.71 10.81 โรคพืชระบาด - 33.33 23.91 4.88 16.22 ฝนแลง/ฝนทิ้งชวง - - 26.09 7.32 13.51 ขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตร 22.22 - 8.70 4.88 16.22 ศัตรูพืชรบกวน 18.52 33.33 71.74 39.02 5.41 ขาดแคลนแหลงน้ําเพื่อการเกษตร 11.11 - 4.35 2.44 5.41 ขาดแคลนแรงงาน 7.41 - - 7.32 8.11 ขาดแคลนแหลงเงินทุน - - - 7.32 8.11 คุณภาพผลผลิตตกต่ํา - - - 4.88 - ปริมาณผลผลิตต่ํา 3.70 - 4.35 - 5.41 วัชพืชรบกวน - - 4.35 34.15 - สภาพดินเสื่อมโทรม - - 2.17 - - ไมมีปญหาดานการผลิตทางการเกษตร 20.59 25.00 4.17 14.58 22.92 ความตองการความชวยเหลือดานการเกษตร 73.53 75.00 91.67 87.50 89.58 จัดหาปจจัยราคาต่ํา 76.00 100.00 77.27 54.76 79.07 ขุดลอกแหลงน้ําธรรมชาติ หรือแหลงน้ําสาธารณะที่ตื้นเขิน 16.00 - - 2.38 4.65 น้ําสาธารณะที่ตื้นเขิน จัดสรางแหลงน้ําเพื่อการเกษตร 16.00 - 11.36 4.76 13.95 ประกันราคาพืชผลทางการเกษตร 16.00 50.00 18.18 35.71 62.79 พยุงราคาพืชผลทางการเกษตร 8.00 33.33 6.82 - - ประกันรายไดเกษตรกร 8.00 66.67 2.27 - 13.95 จัดหาตลาดรับซื้อผลผลิต - - 4.55 - -ใหแกเกษตรกร จัดหาแหลงสินเชื่อที่มีอัตรา - - 4.55 - 2.33 ดอกเบี้ยต่ํา สงเสริมและแนะนําการทําปุย - - 4.55 21.43 -สารปองกันและสารกําจัดศัตรูพืชใชเอง


2-7 ตารางที่ 2-4 (ตอ) ลักษณะของปญหา หนวย:รอยละ ขาวนาป ขาวนาปรัง ขาวโพด เลี้ยงสัตว มัน สําปะหลัง ออย โรงงาน สงเสริมและแนะนําการปรับปรุง - - 2.27 4.76 2.33 บํารุงดิน สนับสนุนดานไฟฟาสําหรับ - - 2.27 2.38 -ทําการเกษตร ออกกฎระเบียบการเก็บเกี่ยว - - - - 6.98 ที่ชัดเจน (กรณีออยโรงงาน) ไมมีความตองการความชวยเหลือดาน การเกษตร 26.47 25.00 8.33 12.50 10.42 ที่มา: จากการสํารวจของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2.5 ทัศนคติในการผลิต เกษตรกรสวนใหญไมตองการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกพืชรอยละ 79.03 ของเกษตรกรทั้งหมด รองลงมาคือ ตองการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกรอยละ 11.29 และไมแนใจรอยละ 9.68 สําหรับเกษตรกร ที่ตองการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกมีแนวความคิดในการการเปลี่ยนแปลง ซึ่งแบงออกเปน เลิกปลูกขาว นาปรอยละ 4.76 เพื่อปลูกถั่วเหลืองแทนทั้งหมด โดยทั้งหมดใหเหตุผลวาตนทุนการผลิตพืชเดิมสูง เลิกปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวรอยละ 19.05 โดยพืชที่ตองการปลูกทดแทนทั้งหมด คือ มันสําปะหลัง ออยโรงงาน และพืชอื่นๆ โดยใหเหตุผลวาปลูกพืชชนิดอื่น ๆ เพื่อหมุนเวียนรอยละ 33.34ศัตรูพืชนอยกวา พืชชนิดเดิม และตนทุนการผลิตพืชเดิมสูงรอยละ 33.33 เทากัน เลิกปลูกมันสําปะหลังรอยละ 19.05 เพื่อปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแทนทั้งหมดโดยใหเหตุผลวาตองการปลูกพืชหมุนเวียนในพื้นที่เดิมรอยละ 75.00 และเก็บเกี่ยวผลผลิตงายรอยละ 25.00 เลิกปลูกออยโรงงานรอยละ 33.33 เพื่อปลูกมันสําปะหลังแทน ทั้งหมด โดยใหเหตุผลวาตองการปลูกพืชหมุนเวียนในพื้นที่เดิมรอยละ 57.14 และราคาผลผลิตดีรอยละ 42.86 และ ลดพื้นที่เพาะปลูกลงรอยละ 23.81 โดยใหเหตุผลวาตองการปลูกพืชหมุนเวียนในพื้นที่เดิม รอยละ 80.00 และมีปญหาพื้นที่น้ําทวมรอยละ 20.00สําหรับแนวคิดในการเพิ่มผลผลิต เกษตรกรรอยละ 59.14 ของเกษตรกรทั้งหมดมีแนวคิดเพิ่มปริมาณปุยเคมีมากที่สุดรองลงมาคือ เพิ่มฮอรโมน และปรับปรุง บํารุงดิน รอยละ 17.74 เทากัน เพิ่มปุยอินทรีย และปองกันวัชพืชและหรือโรคพืชและหรือศัตรูพืชรอยละ 15.05 เทากัน เปลี่ยนพันธุใหม และลงทุนจัดหาแหลงน้ํารอยละ 13.44 เทากัน และเปลี่ยนพื้นที่ปลูกใหม รอยละ 1.61 สวนการวางแผนเปลี่ยนไปประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตร เกษตรกรสวนใหญ ไมคิดเปลี่ยนไปประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตรรอยละ 96.77 โดยใหเหตุผลวา เปนอาชีพหลักของ ครอบครัวรอยละ 80.00 รองลงมาคือ มีที่ดินอยูแลวรอยละ 29.44ชราภาพรอยละ17.22 ไมมีความรูในการ ประกอบอาชีพ และผลผลิตดีอยูแลวรอยละ 7.22 เทากัน ราคาผลผลิตดีรอยละ 2.78 และสภาพพื้นที่ไม


2-8 เหมาะสมกับพืชชนิดอื่นรอยละ 2.22 สวนเกษตรกรที่คิดวางแผนเปลี่ยนไปประกอบอาชีพนอกภาค การเกษตรรอยละ 0.54อาชีพที่คิดจะทําทั้งหมด คือ คาขาย โดยทั้งหมดใหเหตุผลวามีรายไดสม่ําเสมอ ทั้งนี้ เกษตรกรรอยละ 2.69 ที่ไมมีความคิดเห็นและหรือไมแนใจเกี่ยวกับการวางแผนเปลี่ยนไปประกอบอาชีพ นอกภาคการเกษตร (ตารางที่ 2-5) ตารางที่ 2-5 ทัศนคติในการผลิตของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 รายการ รอยละ ความคิดเปลี่ยนแปลงการปลูกพืช ไมเปลี่ยน 79.03 เปลี่ยน 11.29 ไมแนใจ 9.68 ประเภทของการเปลี่ยนแปลง เลิกปลูกขาวนาป 4.76 พืชหลักที่จะปลูกแทน ถั่วเหลือง 100.00 เหตุผล ตนทุนการผลิตพืชเดิมสูง 100.00 เลิกปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว 19.05 พืชหลักที่จะปลูกแทน ออยโรงงาน มันสําปะหลัง 100.00 เหตุผล ตองการปลูกพืชหมุนเวียนในพื้นที่เดิม 33.34 ศัตรูพืชนอยกวาพืชชนิดเดิม 33.33 ตนทุนการผลิตพืชเดิมสูง 33.33 เลิกปลูกมันสําปะหลัง 19.05 พืชหลักที่จะปลูกแทน ขาวโพดเลี้ยงสัตว 100.00 เหตุผล ตองการปลูกพืชหมุนเวียนในพื้นที่เดิม 75.00 เก็บเกี่ยวผลผลิตงาย 25.00 เลิกปลูกออยโรงงาน 33.33 พืชหลักที่จะปลูกแทน มันสําปะหลัง 100.00 เหตุผล ตองการปลูกพืชหมุนเวียนในพื้นที่เดิม 57.14


2-9 ตารางที่ 2-5 (ตอ) รายการ รอยละ ราคาผลผลิตดี 42.86 ลดพื้นที่เพาะปลูกลง 23.81 สาเหตุ ปลูกพืชชนิดอื่น ๆ เพื่อหมุนเวียน 80.00 มีปญหาพื้นที่น้ําทวม 20.00 แนวคิดในการเพิ่มผลผลิต เพิ่มปุยเคมี 59.14 เพิ่มฮอรโมน 17.74 ปรับปรุงบํารุงดิน 17.74 เพิ่มปุยอินทรีย 15.05 ปองกันวัชพืช/โรคพืช/ศัตรูพืช 15.05 เปลี่ยนพันธุใหม 13.44 ลงทุนจัดหาแหลงน้ํา 13.44 เปลี่ยนพื้นที่ปลูกใหม 1.61 วางแผนเปลี่ยนไปประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตร ไมเปลี่ยน 96.77 เหตุผล เปนอาชีพหลักของครอบครัว 80.00 มีที่ดินอยูแลว 29.44 ชราภาพ 17.22 ไมมีความรูในการประกอบอาชีพ 7.22 ผลผลิตดีอยูแลว 7.22 ราคาผลผลิตดี 2.78 สภาพพื้นที่ไมเหมาะสมกับพืชชนิดอื่น 2.22 เปลี่ยน 0.54 อาชีพที่คิดจะทํา คาขาย 100.00 เหตุผล มีรายไดสม่ําเสมอ 100.00 ไมมีความคิดเห็น/ไมแนใจ 2.69 ที่มา: จากการสํารวจของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


บทที่ 3 ผลการดําเนินงาน 3.1 ภาวะการผลิต 3.1.1 ประเภทการใชประโยชนที่ดินตามกลุมชุดดิน กลุมชุดดิน ประเภทการใชประโยชนที่ดิน 1 ขาวนาป ขาวนาป-ขาวนาปรัง 7 ขาวนาป 18 ขาวนาป 28 ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสําปะหลัง ออยโรงงาน 52 ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสําปะหลัง ออยโรงงาน 54 ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสําปะหลัง ออยโรงงาน 55 มันสําปะหลัง ออยโรงงาน


3-2 3.1.2 ตนทุนและผลตอบแทนพืชตามกลุมชุดดิน 1) กลุมชุดดินที่ 1 (1) ขาวนาป ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตขาวนาป ไดรับผลผลิต เฉลี่ย 768.66 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิต 9.91 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิต 7,617.42 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 4,290.66 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร 3,245.99 บาทตอไร และตนทุนคงที่ 1,044.67 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด 4,003.26 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือ ตนทุนผันแปร 4,371.43 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 3,326.76 บาทตอไร โดยมี ตนทุนตอกิโลกรัม 5.58 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.78 (ตารางที่ 3-1) (2) ขาวนาป(พืชครั้งที่ 1) ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตขาวนาป ไดรับผลผลิตเฉลี่ย 704.91 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตขาวนาป 9.91 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิต 6,985.66 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 4,323.30 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร 3,573.10 บาทตอไร และตนทุนคงที่ 750.20 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด 3,280.69 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร 3,412.56 บาทตอไร และรายไดเหนือตนทุนทั้งหมด 2,662.36 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 6.13 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.62 (ตารางที่ 3-1) (3) ขาวนาปรัง (พืชครั้งที่ 2) ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิต ขาวนาปรัง ไดรับผลผลิตเฉลี่ย 810.71 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตขาวนาปรัง 8.63 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิต 6,996.43 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 4,890.52 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร 4,123.28 บาทตอไร และตนทุนคงที่ 767.24 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด 2,970.91 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร 2,873.15 บาทตอไร และผลตอบแทน เหนือตนทุนทั้งหมด 2,105.91 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 6.03 บาท และอัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด 1.43 (ตารางที่ 3-1) 2) กลุมชุดดินที่ 7 (1) ขาวนาปตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตขาวนาป ไดรับผลผลิต เฉลี่ย 689.68 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิต 9.91 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิต 6,834.73 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,311.95 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร 3,943.00 บาทตอไร และตนทุนคงที่ 1,368.95 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด 3,038.61 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือ ตนทุนผันแปร 2,891.73 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 1,522.81 บาทตอไร โดยมี ตนทุนตอกิโลกรัม 7.70 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.29 (ตารางที่ 3-1) 3) กลุมชุดดินที่ 18 (1) ขาวนาปตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตขาวนาป ไดรับผลผลิต เฉลี่ย 599.66 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิต 9.91 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิต 5,942.63 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,142.45 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร 3,718.80 บาทตอไร และตนทุนคงที่ 1,423.65 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด 2,551.01 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือ ตนทุนผันแปร 2,223.83 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 800.18 บาทตอไร โดยมี ตนทุนตอกิโลกรัม 8.58 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.16 (ตารางที่ 3-1)


3-3 4) กลุมชุดดินที่ 28 (1) ขาวโพดเลี้ยงสัตว ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตขาวโพดเลี้ยง สัตว ไดรับผลผลิตเฉลี่ย 1,257.60 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิต 7.93 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิต 9,972.77 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,830.74 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร 4,305.96 บาทตอไร และตนทุนคงที่ 1,524.78 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด 6,155.16 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร 5,666.81 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 4,142.03 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 4.64 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.71 (ตารางที่ 3-1) (2) มันสําปะหลัง ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตมันสําปะหลัง ไดรับ ผลผลิตเฉลี่ย 4.85 ตันตอไร ราคาผลผลิต 2,790 บาทตอตัน มูลคาผลผลิต 13,531.50 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 8,264.19 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร 6,304.56 บาทตอไร และตนทุนคงที่ 1,959.63 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด 8,545.33 บาทตอไร ผลตอบแทน เหนือตนทุนผันแปร 7,226.94 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 5,267.31 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 1.70 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,703.96 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.64 (ตารางที่ 3-1) (3) ออยโรงงาน ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตออยโรงงาน ไดรับ ผลผลิตเฉลี่ย 12.89 ตันตอไร ราคาผลผลิต 1,000 บาทตอตัน มูลคาผลผลิต 12,890 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 9,420.84 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร 7,415.24 บาทตอไร และตนทุนคงที่ 2,005.60 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด 6,367.83 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือ ตนทุนผันแปร 5,474.76 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 3,469.16 บาทตอไร โดยมี ตนทุนตอกิโลกรัม 0.73 บาท หรือตนทุนตอตัน 730.86 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.37 (ตารางที่ 3-1) 5) กลุมชุดดินที่ 52 (1) ขาวโพดเลี้ยงสัตว ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว ไดรับผลผลิตเฉลี่ย 1,360.80 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิต 7.93 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิต 10,791.14 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,637.14 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร 3,837.77 บาทตอไร และตนทุนคงที่ 1,799.37 บาทตอไร ทั้งนี้ มีรายไดเหนือตนทุนเงินสด 6,560.14 บาทตอไร รายได เหนือตนทุนผันแปร 6,953.37 บาทตอไร และรายไดเหนือตนทุนทั้งหมด 5,154.00 บาทตอไร โดยมี ตนทุนตอกิโลกรัม 4.14 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.92 (ตารางที่ 3-1) (2) มันสําปะหลัง ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตมันสําปะหลัง ไดรับ ผลผลิตเฉลี่ย 4.36 ตันตอไร ราคาผลผลิต 2,790 บาทตอตัน มูลคาผลผลิต 12,164.40 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 7,621.54 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร 5,451.29 บาทตอไร และตนทุนคงที่ 2,170.25 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด 8,554.88 บาทตอไร ผลตอบแทน เหนือตนทุนผันแปร 6,713.11 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 4,542.86 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 1.75 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,748.06 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.60 (ตารางที่ 3-1)


3-4 (3) ออยโรงงาน ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตออยโรงงาน ไดรับ ผลผลิตเฉลี่ย 11.25 ตันตอไร ราคาผลผลิต 1,000 บาทตอตัน มูลคาผลผลิต 11,250.00 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 8,748.91 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร 6,684.33 บาทตอไร และตนทุนคงที่ 2,064.58 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด 5,318.82 บาทตอไร ผลตอบแทน เหนือตนทุนผันแปร 4,566.67 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 2,501.59 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 0.78 บาท หรือตนทุนตอตัน 777.68 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.29 (ตารางที่ 3-1) 6) กลุมชุดดินที่ 54 (1) ขาวโพดเลี้ยงสัตว ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว ไดรับผลผลิตเฉลี่ย 1,355.84 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิต 7.93 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิต 10,751.81 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,700.51 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร 4,146.00 บาทตอไร และตนทุนคงที่ 1,554.51 บาทตอไร ทั้งนี้ มีรายไดเหนือตนทุนเงินสด 6,943.44 บาทตอไร รายไดเหนือ ตนทุนผันแปร 6,605.81 บาทตอไร และรายไดเหนือตนทุนทั้งหมด 5,051.30 บาทตอไร โดยมีตนทุน ตอกิโลกรัม 4.20 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.89 (ตารางที่ 3-1) (2) มันสําปะหลัง ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตมันสําปะหลัง ไดรับ ผลผลิตเฉลี่ย 5.01 ตันตอไร ราคาผลผลิต 2,790 บาทตอตัน มูลคาผลผลิต 13,977.90 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 8,813.67 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร 6,744.21 บาทตอไร และตนทุนคงที่ 2,069.46 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด 8,479.48 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือ ตนทุนผันแปร 7,233.69 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 5,164.23 บาทตอไร โดยมี ตนทุนตอกิโลกรัม 1.76 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,759.22 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.59 (ตารางที่ 3-1) (3) ออยโรงงาน ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตออยโรงงาน ไดรับ ผลผลิตเฉลี่ย 10.86 ตันตอไร ราคาผลผลิต 1,000 บาทตอตัน มูลคาผลผลิต 10,860.00 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 6,681.35 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร 4,561.29 บาทตอไร และตนทุนคงที่ 2,120.06 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด 6,933.91 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร 6,298.71 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 4,178.65 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 0.62 บาท หรือตนทุนตอตัน 615.23 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.63 (ตารางที่ 3-1) 7) กลุมชุดดินที่ 55 (1) มันสําปะหลัง ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตมันสําปะหลัง ไดรับ ผลผลิตเฉลี่ย 3.45 ตันตอไร ราคาผลผลิต 2,790 บาทตอตัน มูลคาผลผลิต 9,625.50 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 6,102.76 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร 3,868.29 บาทตอไร และตนทุนคงที่ 2,234.47 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด 6,518.52 บาทตอไร ผลตอบแทน เหนือตนทุนผันแปร 5,757.21 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 3,522.74 บาทตอไร โดยมี ตนทุนตอกิโลกรัม 1.77 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,768.92 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.58 (ตารางที่ 3-1)


3-5 (2) ออยโรงงาน ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตออยโรงงาน ไดรับ ผลผลิตเฉลี่ย 7.80 ตันตอไร ราคาผลผลิต 1,000 บาทตอตัน มูลคาผลผลิต 7,800 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,188.96 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร 2,852.01 บาทตอไร และตนทุนคงที่ 2,336.95 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด 4,293.34 บาทตอไร ผลตอบแทน เหนือตนทุนผันแปร 4,947.99 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 2,611.04 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 0.67 บาท หรือตนทุนตอตัน 665.25 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.50 (ตารางที่ 3-1)


3-6 ตารางที่ 3-1 ตนทุนและผลตอบแทนของประเภทการใชประโยชนที่ดิน จําแนกตามกลุมชุดดิน ป 2565/66 กลุมชุดดิน ประเภทการใช ประโยชนที่ดิน หนวย/ ไร ผลผลิต/ไร ราคา ผลผลิต (บาท) มูลคา ผลผลิต (บาท/ไร) ตนทุน (บาท/ไร) ผลตอบแทนเหนือตนทุน (บาท) ตนทุนตอ กิโลกรัม (บาท) ตนทุนตอ ตัน/(บาท) อัตราสวน รายไดตอ ตนทุน ทั้งหมด ทั้งหมด ผันแปร คงที่ เงินสด ผันแปร ทั้งหมด 1 ขาวนาป กก. 768.66 9.91 7,617.42 4,290.66 3,245.99 1,044.67 4,003.26 4,371.43 3,326.76 5.58 - 1.78 ขาวนาป-ขาวนาปรัง ขาวนาป(1) กก. 704.91 9.91 6,985.66 4,323.30 3,573.10 750.20 3,280.69 3,412.56 2,662.36 6.13 - 1.62 ขาวนาปรัง (2) กก. 810.71 8.63 6,996.43 4,890.52 4,123.28 767.24 2,970.91 2,873.15 2,105.91 6.03 - 1.43 7 ขาวนาป กก. 689.68 9.91 6,834.73 5,311.95 3,943.00 1,368.95 3,038.61 2,891.73 1,522.78 7.70 - 1.29 18 ขาวนาป กก. 599.66 9.91 5,942.63 5,142.45 3,718.80 1,423.65 2,551.01 2,223.83 800.18 8.58 - 1.16 28 ขาวโพดเลี้ยงสัตว กก. 1,257.60 7.93 9,972.77 5,830.74 4,305.96 1,524.78 6,155.16 5,666.81 4,142.03 4.64 - 1.71 มันสําปะหลัง ตัน 4.85 2,790 13,531.50 8,264.19 6,304.56 1,959.63 8,545.33 7,226.94 5,267.31 1.70 1,703.96 1.64 ออยโรงงาน ตัน 12.89 1,000 12,890.00 9,420.84 7,415.24 2,005.60 6,367.83 5,474.76 3,469.16 0.73 730.86 1.37 52 ขาวโพดเลี้ยงสัตว กก. 1,360.80 7.93 10,791.14 5,637.14 3,837.77 1,799.37 6,560.14 6,953.37 5,154.00 4.14 - 1.92 มันสําปะหลัง ตัน 4.36 2,790 12,164.40 7,621.54 5,451.29 2,170.25 8,554.88 6,713.11 4,542.86 1.75 1,748.06 1.60 ออยโรงงาน ตัน 11.25 1,000 11,250.00 8,748.91 6,684.33 2,064.58 5,318.82 4,566.67 2,501.09 0.78 777.68 1.29 54 ขาวโพดเลี้ยงสัตว กก. 1,355.84 7.93 10,751.81 5,700.51 4,146.00 1,554.51 6,943.44 6,605.81 5,051.30 4.20 - 1.89 มันสําปะหลัง ตัน 5.01 2,790 13,977.90 8,813.67 6,744.21 2,069.46 8,476.48 7,233.69 5,164.23 1.76 1,759.22 1.59 ออยโรงงาน ตัน 10.86 1,000 10,860.00 6,681.35 4,561.29 2,120.06 6,933.91 6,298.71 4,178.65 0.62 615.23 1.63 55 มันสําปะหลัง ตัน 3.45 2,790 9,625.50 6,102.76 3,868.29 2,234.47 6,518.52 5,757.21 3,522.74 1.77 1,768.92 1.58 ออยโรงงาน ตัน 7.80 1,000 7,800.00 5,188.96 2,852.01 2,336.95 4,293.34 4,947.99 2,611.04 0.67 665.25 1.50 ที่มา: จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-7 3.2 การประเมินความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจในการผลิตพืช 3.2.1 การประเมินตนทุนและรายไดจากการผลิตพืช การประเมินความเหมาะสมของที่ดินดานเศรษฐกิจสําหรับการใชประโยชนที่ดิน ในแตละกลุมชุดดินไดทําการประเมินจากผลของการวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนจากการผลิต โดยนํามาหาคาทางสถิติไดดังนี้ (ตารางที่ 3-2) ตารางที่3-2 ผลการคํานวณคาตัวแปรสําหรับการจัดระดับความเหมาะสมดานเศรษฐกิจ ของการใชประโยชนที่ดินพืชเศรษฐกิจ ปการผลิต 2565/66 คาทางสถิติ มูลคาผลผลิต (บาท/ไร) ตนทุนผันแปร (บาท/ไร) ผลตอบแทนเหนือ ตนทุนผันแปร (บาท/ไร) อัตราสวนรายได ตอตนทุนผันแปร ( I ) ( VC ) ( RVC ) ( R ) คาสูงสุด (Max) 13,982.09 7,696.38 7,233.69 2.81 คาต่ําสุด (Min) 5,942.63 2,852.01 0.00 1.00 อัตราภาคชั้น (IR) 2,009.87 1,211.09 2,411.23 0.60 2IR 4,019.74 2,422.18 4,822.46 1.20 3IR 6,029.61 3,633.27 - - สูตร IR Max – Min 4 Max – Min 4 Max – 0 3 Max – 1.00 3 ที่มา : จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากคาสถิติที่ไดนํามาจัดระดับความเหมาะสมของที่ดินดานเศรษฐกิจ ซึ่งไดใชตัวแปรดังนี้ 1) รายไดเฉลี่ยตอไร Income (I) = ราคาผลผลิตเฉลี่ย X ปริมาณผลผลิต กําหนดระดับ ดังนี้ I1 = รายไดสูงมาก =>Min + 3IR => 11,972.24 I2 = รายไดสูง =>Min + 2IR ถึง Min + 3IR => 9,962.37 ถึง 11,972.24 I3 = รายไดปานกลาง =>Min + IR ถึง Min + 2IR => 7,952.50 ถึง 9,962.37 I4 = รายไดต่ํา =≤Min + IR =≤ 7,952.50 2) ตนทุนผันแปรทั้งหมดเฉลี่ยตอไร (VC) กําหนดระดับ ดังนี้ VC1 = ตนทุนต่ํา =≤Min + IR =≤ 4,063.10 VC2 = ตนทุนปานกลาง =>Min + IR ถึง Min +2IR => 4,063.10 ถึง 5,274.19


3-8 VC3 = ตนทุนสูง =>Min + 2IR ถึง Min +3IR => 5,274.19 ถึง 6,485.28 VC4 = ตนทุนสูงมาก =>Min + 3IR => 6,485.28 3) รายไดเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด (RVC) กําหนดระดับ ดังนี้ RVC1 = รายไดสูงมาก =>2IR => 4,822.46 RVC2 = รายไดสูง =>IR ถึง 2IR => 2,411.23 ถึง 4,822.46 RVC3 = รายไดปานกลาง =0 ถึง IR = 0.00 ถึง 2,411.23 RVC4 = รายไดต่ํา =<0 =< 0.00 4) อัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปรทั้งหมด (R) กําหนดระดับ ดังนี้ R1 = อัตราผลตอบแทนสูง =>Min + 2IR => 2.20 R2 = อัตราผลตอบแทนปานกลาง =>Min + IR ถึง Min + 2IR => 1.60 ถึง 2.20 R3 = อัตราผลตอบแทนต่ํา =>Min ถึง Min + IR => 1.00 ถึง 1.60 R4 = อัตราผลตอบแทนต่ํามาก =≤Min =≤ 1.00 จากคาตัวแปรทั้ง 4 ชนิด ที่กําหนดระดับดังกลาวมาแลวนํามาใหคะแนนในแตละระดับ หางกันระดับละ 1 คะแนน ดังนี้ ระดับ I1 VC1 RVC1 R1 ใหคะแนน 4 คะแนนตอ 1 ตัวแปร ระดับ I2 VC2 RVC2 R2 ใหคะแนน 3 คะแนนตอ 1 ตัวแปร ระดับ I3 VC3 RVC3 R3 ใหคะแนน 2 คะแนนตอ 1 ตัวแปร ระดับ I4 VC4 RVC4 R4 ใหคะแนน 1 คะแนนตอ 1 ตัวแปร เมื่อคํานวณคะแนนในแตละตัวแปรแลว นําคะแนนที่ไดมาพิจารณาเพื่อจัดระดับ ความเหมาะสมดานเศรษฐกิจของประเภทการใชประโยชนที่ดิน โดยแบงระดับคะแนนออกเปน 4 ชอง (ชวงระดับความเหมาะสม 16/4=4 คะแนน ตอหนึ่งชวงระดับ) ดังนั้นจึงกําหนดระดับความเหมาะสม ดานเศรษฐกิจได ดังนี้ S1 = เหมาะสมสูง = 13-16 คะแนน S2 = เหมาะสมปานกลาง = 9-12 คะแนน S3 = เหมาะสมเล็กนอย = 5-8 คะแนน N = ไมเหมาะสม = 1-4 คะแนน


3-9 3.2.2 การพิจารณาทางเลือกการใชประโยชนที่ดิน สําหรับทางเลือกการใชประโยชนที่ดินจากการวิเคราะหขอมูลทางเศรษฐกิจ ในระดับพื้นที่จังหวัดลพบุรีนั้น เนื่องจากบางกลุมชุดดินเกษตรกรสามารถเลือกใชประโยชนที่ดินเพื่อผลิต พืชไดหลายชนิด ดังนั้น เมื่อวิเคราะหตัวชี้วัด 4 ตัวแปร ไดแก รายได ตนทุนผันแปรทั้งหมด รายไดเหนือ ตนทุนผันแปรทั้งหมด และอัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปรทั้งหมด จากนั้นนําผลการวิเคราะหตัวแปร ดังกลาวไปวัดระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของประเภทการใชประโยชนที่ดิน (ตารางที่ 3-3 และ ตารางที่ 3-4) สรุปไดดังนี้ 1) การใชประโยชนที่ดินประเภทเดียวกันในกลุมชุดดินตางกัน ขาวนาป ในกลุมชุดดินที่ 1 7 และ 18 พบวา ในกลุมชุดดินที่ 1 มีระดับความ เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับความเหมาะสูง (S1) และในกลุมชุดดินที่ 7 และ 18 มีระดับความเหมาะสม ทางเศรษฐกิจอยูในระดับความเหมาะปานกลาง (S2) ขาวนาป-นาปรัง ในกลุมชุดดินที่ 1 พบวา มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ อยูในระดับความเหมาะปานกลาง (S2) ขาวโพดเลี้ยงสัตวในกลุมชุดดินที่ 28 52 และ 54 พบวา ในกลุมชุดดินที่ 28 52 และ 54 มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับความเหมาะสมสูง (S1) มันสําปะหลัง ในกลุมชุดดินที่ 28 52 54 และ 55 พบวา ในกลุมชุดดินที่ 28 52 และ 55 มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และในกลุมชุดดินที่ 54 มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) ออยโรงงาน ในกลุมชุดดินที่ 28 52 54 และ 55 พบวา ในกลุมชุดดินที่ 54 และ 55 มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และ ในกลุมชุดดินที่ 28 และ 52 มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2)


3-10 ตารางที่ 3-3 การวิเคราะหความเหมาะสมดานเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดินพืชเศรษฐกิจ ปการผลิต 2565/66 กลุมชุด ดิน ประเภทการใช ประโยชนที่ดิน มูลคา ผลผลิต ตนทุนผัน แปร ผลตอบแทน เหนือ อัตราสวน รายไดตอ ตนทุนผัน แปร R ระดับตัวแปร คะแนนตัวแปร คะแนน รวม ระดับความ เหมาะสม ทาง เศรษฐกิจ ตนทุนผันแปร I VC RVC (บาท/ไร) (บาท/ไร) (บาท/ไร) I VC RVC R I VC RVC R 1 ขาวนาป 7,617.42 3,245.99 4,371.43 2.35 I4 VC1 RVC2 R1 1 4 3 4 14 S1 1 ขาวนาป-นาปรัง 13,982.09 7,696.38 6,285.71 1.82 I1 VC4 RVC1 R2 4 1 4 3 12 S2 7 ขาวนาป 6,834.73 3,943.00 2,891.73 1.73 I4 VC1 RVC2 R2 1 4 3 3 11 S2 18 ขาวนาป 5,942.63 3,718.80 2,223.83 1.60 I4 VC1 RVC3 R3 1 4 2 2 9 S2 28 ขาวโพดเลี้ยงสัตว 9,972.70 4,305.96 5,666.81 2.32 I2 VC2 RVC1 R1 3 3 4 4 14 S1 28 มันสําปะหลัง 13,531.50 6,304.56 7,226.94 2.15 I1 VC3 RVC1 R2 4 2 4 3 13 S1 28 ออยโรงงาน 12,890.00 7,415.24 5,474.96 1.74 I1 VC4 RVC1 R2 4 1 4 3 12 S2 52 ขาวโพดเลี้ยงสัตว 10,791.14 3,837.77 6,953.37 2.81 I2 VC1 RVC1 R1 3 4 4 4 15 S1 52 มันสําปะหลัง 12,164.40 5,451.29 6,713.11 2.23 I1 VC3 RVC1 R1 4 2 4 4 14 S1 52 ออยโรงงาน 11,250.00 6,684.33 4,566.67 1.68 I2 VC4 RVC2 R2 3 1 3 3 10 S2 54 ขาวโพดเลี้ยงสัตว 10,751.81 4,146.00 6,605.81 2.59 I2 VC2 RVC1 R1 3 3 4 4 14 S1 54 มันสําปะหลัง 13,977.90 6,744.21 7,233.69 2.07 I1 VC4 RVC1 R2 4 1 4 3 12 S2 54 ออยโรงงาน 10,860.00 4,561.29 6,298.71 2.38 I2 VC2 RVC1 R1 3 3 4 4 14 S1 55 มันสําปะหลัง 9,625.50 3,868.29 5,757.21 2.49 I3 VC1 RVC1 R1 2 4 4 4 14 S1 55 ออยโรงงาน 7,800.00 2,852.01 4,947.99 2.73 I4 VC1 RVC1 R1 1 4 4 4 13 S1


3-11 2) การใชประโยชนที่ดินตางประเภทกันในกลุมชุดดินเดียวกัน กลุมชุดดินที่ 1 เกษตรกรปลูกขาวนาปมีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูใน ระดับความเหมาะสูง (S1)ขาวนาปตามดวยนาปรัง มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับความ เหมาะสมปานกลาง (S2) กลุมชุดดินที่ 7 เกษตรกรปลูกขาวนาป มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ อยูในระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) กลุมชุดดินที่ 18 เกษตรกรปลูกขาวนาป มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ อยูในระดับความเหมาะปานกลาง (S2) กลุมชุดดินที่ 28 เกษตรกรปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวมันสําปะหลัง มีระดับความ เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับความเหมาะสูง (S1) และออยโรงงาน มีระดับความเหมาะสมทาง เศรษฐกิจอยูในระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) กลุมชุดดินที่ 52 เกษตรกรปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสําปะหลัง มีระดับความ เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับความเหมาะสูง (S1) และออยโรงงาน มีระดับความเหมาะสม ทางเศรษฐกิจอยูในระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) กลุมชุดดินที่ 54 เกษตรกรปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวออยโรงงาน มีระดับความ เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และมันสําปะหลัง มีระดับความเหมาะสม ทางเศรษฐกิจอยูในระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) กลุมชุดดินที่ 55 เกษตรกรปลูกมันสําปะหลัง และออยโรงงาน มีระดับความ เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับความเหมาะสมสูง (S1) ตารางที่ 3-4 ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดินทางเศรษฐกิจ ปการผลิต 2565/2566 ประเภทการ กลุมชุดดิน การใชประโยชนที่ดิน 1 7 18 28 52 54 55 ขาวนาป S1 S2 S2 ขาวนาป-นาปรัง S2 ขาวโพดเลี้ยงสัตว S1 S1 S1 มันสําปะหลัง S1 S1 S2 S1 ออยโรงงาน S2 S2 S1 S1 ที่มา : จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


บทที่ 4 สรุปผลและขอเสนอแนะ 4.1 สรุปผล โครงการประเมินคุณภาพที่ดินดานเศรษฐกิจสําหรับพืชเศรษฐกิจที่สําคัญในระดับพื้นที่ จังหวัดลพบุรีปการผลิต 2565/66 มีวัตถุประสงคเพื่อเพื่อศึกษาและวิเคราะหขอมูลพื้นฐานดานเศรษฐกิจ ในระดับพื้นที่ และวิเคราะหและประเมินความเหมาะสมในเชิงเศรษฐกิจตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน ตามกลุมชุดดิน เพื่อสนับสนุนงานวางแผนการใชที่ดินในระดับพื้นที่จังหวัดลพบุรี โดยทําการสํารวจ และเก็บขอมูลจากเกษตรกรกลุมตัวอยางที่ทําการผลิตขาวนาป-นาปรัง ขาวโพดเลี้ยงสัตวมันสําปะหลัง และออยโรงงานในพื้นที่จังหวัดลพบุรีซึ่งสามารถสรุปผลการศึกษา ไดดังนี้ 4.1.1 ภาวะเศรษฐกิจและสังคม เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 58 ปสวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษามากที่สุด รอยละ 73.66 ของเกษตรกรทั้งหมด มีลักษณะการถือครองที่ดินสวนใหญเปนที่ดินของตนเอง และมีหนังสือสําคัญที่มีเอกสารสิทธิ์สวนใหญเปน ส.ป.ก.4-01 รอยละ 43.60 ของครัวเรือนเกษตรกรที่มี ที่ดินเปนของตนเอง ครัวเรือนเกษตรมีภาวะหนี้สินและกูยืมเงิน รอยละ 41.94 ของครัวเรือนเกษตร ทั้งหมด โดยมีวงเงินกูเฉลี่ย 69,500.00 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนการกูยืมเงินในระบบเปนสวนใหญ โดยแหลงเงินกูที่ครัวเรือนเกษตรกูยืมเงินมากที่สุด คือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) และใชเพื่อการเกษตรมากที่สุด การกูยืมเงินของเกษตรกรสวนใหญเปนระยะสั้นหรือ 1 ป โดยที่อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ย รอยละ 4.72 ตอป ปญหาดานการผลิตทางการเกษตร พบวา เกษตรกรที่ปลูกพืชเศรษฐกิจขาวนาป ขาวนาปรัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสําปะหลัง และออยโรงงาน ในปการผลิต 2565/66 พบเจอปญหา ที่เหมือนกันจํานวน 3 ปญหา ไดแก ปจจัยการผลิตมีราคาสูง น้ําทวม และศัตรูพืชรบกวน ซึ่งจากปญหา ดังกลาวทําใหเกษตรกรตองการความชวยเหลือดานการเกษตรจากภาครัฐ โดยสวนใหญตองการใหจัดหา ปจจัยราคาถูกเพื่อลดตนทุนการผลิตลง และประกันราคาพืชผลทางการเกษตร ทัศนคติในการผลิต สวนใหญไมตองการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ แตมีเกษตรกรรอยละ 11.29 ที่ตองการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูก โดยเกษตรกรที่ปลูกขาวนาปตองการ เลิกปลูกเพื่อไปปลูกถั่วเหลือง เกษตรกรที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวตองการเลิกปลูกเพื่อไปปลูก มันสําปะหลัง ออยโรงงาน เกษตรกรที่ปลูกมันสําปะหลังตองการเลิกปลูกเพื่อไปปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว และเกษตรกรที่ปลูกออยโรงงานตองการเลิกปลูกเพื่อไปปลูกมันสําปะหลัง ซึ่งเกษตรกรสวนใหญ ที่ตองการเลิกปลูกพืชชนิดเดิมมีเหตุผล คือ ตองการปลูกพืชหมุนเวียนในพื้นที่เดิม สําหรับแนวคิดในการเพิ่มผลผลิตเกษตรกรเพื่อหมุนเวียน 3 อันดับแรก ไดแก แนวคิดการเพิ่มปริมาณปุยเคมีหรือรอยละ 59.14 ของเกษตรกรทั้งหมด รองลงมา คือ เพิ่มฮอรโมน และปรับปรุงบํารุงดิน รอยละ 17.74 เทากัน เพิ่มปุยอินทรียและปองกันวัชพืช โรคพืช และศัตรูพืช รอยละ 15.05 เทากัน แนวคิดการวางแผนไปประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตร เกษตรกรสวนใหญไมมี แนวคิดวางแผนเปลี่ยนไปประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตร โดยเหตุผลสวนใหญ คือ เปนอาชีพหลัก


4-2 ของครอบครัว สวนเกษตรกรที่มีแนวคิดวางแผนเปลี่ยนไปประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตร สนใจ ประกอบอาชีพคาขาย เนื่องจากมีรายไดอยูสม่ําเสมอ 4.1.2 ภาวะการผลิต 1) ตามกลุมชุดดิน 1.1) กลุมชุดดินที่ 1 (ขาวนาปและขาวนาป-นาปรัง) จากการพิจารณาตนทุน และผลตอบแทนการผลิตขาวนาปมีปริมาณผลผลิต 768.66 บาทกิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 7,617.42 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 4,290.66 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 3,326.76 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 5.58 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.78 สําหรับขาวนาป- ขาวนาปรัง มีปริมาณผลผลิต 1,515.62 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 13,982.09 บาทตอไร มีตนทุน ทั้งหมด 9,213.82 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 4,768.27 บาทตอไร และอัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด 1.52 เมื่อนํามาเปรียบเทียบพบวาในกลุมชุดดินเดียวกันขาวนาปตามดวยขาวนาปรัง ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมดมากกวาขาวนาป 1.2) กลุมชุดดินที่ 7 (ขาวนาป) จากการพิจารณาตนทุนและผลตอบแทน การผลิตขาวนาปมีปริมาณผลผลิต 689.68 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 6,834.73 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,311.95 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 1,522.78 บาทตอไร มีตนทุน ตอกิโลกรัม 7.70 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.29 1.3) กลุมชุดดินที่ 18 (ขาวนาป) จากการพิจารณาตนทุนและผลตอบแทน การผลิตขาวนาปมีปริมาณผลผลิต 599.66 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 5,942.63 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,142.45 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 800.18 บาทตอไร มีตนทุน ตอกิโลกรัม 8.58 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.16 1.4) กลุมชุดดินที่ 28 (ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสําปะหลัง และออยโรงงาน) จากการพิจารณาตนทุนและผลตอบแทนการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวมีปริมาณผลผลิต 1,257.60 กิโลกรัม ตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 9,972.77 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,830.74 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือ ตนทุนทั้งหมด 4,142.03 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 4.64 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.71 สําหรับมันสําปะหลัง มีปริมาณผลผลิต 4.85 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 13,531.50 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 8,264.19 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 5,267.31 บาทตอไร มีตนทุน ตอกิโลกรัม 1.70 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,703.96 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.64 สําหรับออยโรงงาน มีปริมาณผลผลิต 12.89 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 12,890.00 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 9,420.84 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 3,469.16 บาทตอไร มีตนทุน ตอกิโลกรัม 0.73 บาท หรือตนทุนตอตัน 730.86 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.37 เมื่อนํามาเปรียบเทียบพบวาในกลุมชุดดินเดียวกันมันสําปะหลังไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมดมากกวามากกวาออยโรงงาน 1.5) กลุมชุดดินที่ 52 (ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสําปะหลัง และออยโรงงาน) จากการพิจารณาตนทุนและผลตอบแทนการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวมีปริมาณผลผลิต 1,360.80 กิโลกรัม ตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 10,791.14 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,637.14 บาทตอไร ผลตอบแทน


4-3 เหนือตนทุนทั้งหมด 5,154.00 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 4.14 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.92 สําหรับมันสําปะหลัง มีปริมาณผลผลิต 4.36 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 12,164.40 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 7,621.54 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 4,542.86 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 1.75 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,748.06 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.60 สําหรับออยโรงงาน มีปริมาณผลผลิต 11.25 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 11,250.00 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 8,748.91 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 2,501.09 บาทตอไร มีตนทุน ตอกิโลกรัม 0.78 บาท หรือตนทุนตอตัน 777.68 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.29 เมื่อนํามาเปรียบเทียบพบวาในกลุมชุดดินเดียวกันขาวโพดเลี้ยงสัตวไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุน ทั้งหมด และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมดมากกวามันสําปะหลัง และออยโรงงาน 1.6) กลุมชุดดินที่ 54 (ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสําปะหลัง และออยโรงงาน) จากการพิจารณาตนทุนและผลตอบแทนการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวมีปริมาณผลผลิต 1,355.84 กิโลกรัม ตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 10,751.81 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,700.51 บาทตอไร ผลตอบแทน เหนือตนทุนทั้งหมด 5,051.30 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 4.20 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.89 สําหรับมันสําปะหลัง มีปริมาณผลผลิต 5.01 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 13,977.90 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 8,813.67 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 5,164.23 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 1.76 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,759.22 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.59 สําหรับออยโรงงาน มีปริมาณผลผลิต 10.86 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 10,860.00 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 6,681.35 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 4,178.65 บาทตอไร มีตนทุน ตอกิโลกรัม 0.62 บาท หรือตนทุนตอตัน 615.23 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.63 เมื่อนํามาเปรียบเทียบพบวาในกลุมชุดดินเดียวกันมันสําปะหลังไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมดนอยกวาขาวโพดเลี้ยงสัตว และออยโรงงาน 1.7) กลุมชุดดินที่ 55 (มันสําปะหลัง และออยโรงงาน) จากการพิจารณาตนทุน และผลตอบแทนการผลิตมันสําปะหลัง มีปริมาณผลผลิต 3.45 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 9,625.50 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 6,102.76 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 3,522.74 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 1.77 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,768.92 บาท และอัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด 1.58 สําหรับออยโรงงาน มีปริมาณผลผลิต 7.80 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 7,800.00 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,188.96 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 2,611.04 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 0.67 บาท หรือตนทุนตอตัน 665.25 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.50 เมื่อนํามาเปรียบเทียบพบวาในกลุมชุดดินเดียวกันมันสําปะหลังไดรับผลตอบแทน เหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมดมากกวาออยโรงงาน


4-4 2) ตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน 2.1) ขาวนาป(กลุมชุดดินที่ 1 7 และ 18) จากการพิจารณาตนทุน และผลตอบแทนการผลิตขาวนาป พบวากลุมชุดดินที่ 1 มีปริมาณผลผลิต 768.66 บาทกิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 7,617.42 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 4,290.66 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุน ทั้งหมด 3,326.76 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 5.58 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.78 สําหรับกลุมชุดดินที่ 7 มีปริมาณผลผลิต 689.68 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 6,834.73 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,311.95 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 1,522.78 บาทตอไร มีตนทุน ตอกิโลกรัม 7.70 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.29 และกลุมชุดดินที่ 18 มีปริมาณ ผลผลิต 599.66 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 5,942.63 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,142.45 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 800.18 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 8.58 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.16 เมื่อนํามาเปรียบเทียบพบวาขาวนาปในกลุมชุดดินที่ 1 ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมดมากกวาในกลุมชุดดินที่ 7 และ 18 เนื่องจากกลุมชุดดินที่ 1 มีตนทุนตอกิโลกรัมนอยกวากลุมชุดดินที่ 7 และ 18 2.2) ขาวนาป – ขาวนาปรัง (กลุมชุดดินที่ 1) จากการพิจารณาตนทุน และผลตอบแทนการผลิตขาวนาปตามดวยขาวนาปรัง พบวากลุมชุดดินที่ 1 มีปริมาณผลผลิต 1,515.62 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 13,982.09 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 9,213.82 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 4,768.27 บาทตอไร และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.52 2.3) ขาวโพดเลี้ยงสัตว(กลุมชุดดินที่ 28 52 และ 54) จากการพิจารณาตนทุน และผลตอบแทนการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว พบวากลุมชุดดินที่ 28 มีปริมาณผลผลิต 1,257.60 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 9,972.77 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,830.74 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุน ทั้งหมด 4,142.03 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 4.64 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.71 สําหรับกลุมชุดดินที่ 52 มีปริมาณผลผลิต 1,360.80 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 10,791.14 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,637.14 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 5,154.00 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 4.14 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.92 และกลุมชุดดินที่ 54 มีปริมาณผลผลิต 1,355.84 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 10,751.81 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,700.51 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 5,051.30 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 4.20 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.89 เมื่อนํามาเปรียบเทียบพบวาขาวโพดเลี้ยงสัตวในกลุมชุดดิน ที่ 52 ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมดมากกวาในกลุมชุดดิน ที่ 28 และ 54 เนื่องจากกลุมชุดดินที่ 28 มีตนทุนตอกิโลกรัมนอยกวากลุมชุดดินที่ 28 และ 54 2.4) มันสําปะหลัง (กลุมชุดดินที่ 28 52 54 และ 55) จากการพิจารณาตนทุน และผลตอบแทนการผลิตมันสําปะหลัง พบวากลุมชุดดินที่ 28 มีปริมาณผลผลิต 4.85 ตันตอไร คิดเปน มูลคาผลผลิต 13,531.50 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 8,264.19 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุน ทั้งหมด 5,267.31 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 1.70 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,703.96 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.64 สําหรับกลุมชุดดิน 52 มีปริมาณผลผลิต 4.36 ตันตอไร


4-5 คิดเปนมูลคาผลผลิต 12,164.40 บาทตอไรมีตนทุนทั้งหมด 7,621.54 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือ ตนทุนทั้งหมด 4,542.86 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 1.75 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,748.06 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.60 กลุมชุดดินที่ 54 มีปริมาณผลผลิต 5.01 ตันตอไร คิดเปน มูลคาผลผลิต 13,977.90 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 8,813.67 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุน ทั้งหมด 5,164.23 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 1.76 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,759.22 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.59 และกลุมชุดดินที่ 55 มีปริมาณผลผลิต 3.45 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 9,625.50 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 6,102.76 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือ ตนทุนทั้งหมด 3,522.74 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 1.77 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,768.92 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.58 เมื่อนํามาเปรียบเทียบพบวามันสําปะหลังในกลุมชุดดินที่ 28 ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมดมากกวาในกลุมชุดดินที่ 52 54 และ 55 เนื่องจากกลุมชุดดินที่ 28 มีตนทุนตอกิโลกรัมนอยกวากลุมชุดดินที่ 52 54 และ 55 2.5) ออยโรงงาน (กลุมชุดดินที่ 28 52 54 และ 55) จากการพิจารณาตนทุน และผลตอบแทนการผลิตออยโรงงาน พบวากลุมชุดดินที่ 28 มีปริมาณผลผลิต 12.89 ตันตอไร คิดเปน มูลคาผลผลิต 12,890.00 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 9,420.84 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุน ทั้งหมด 3,469.16 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 0.73 บาท หรือตนทุนตอตัน 730.86 บาท และอัตราสวน รายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.37 กลุมชุดดินที่ 52 ปริมาณผลผลิต 11.25 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 11,250.00 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 8,748.91 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 2,501.09 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 0.78 บาท หรือตนทุนตอตัน 777.68 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.29 กลุมชุดดินที่ 54 มีปริมาณผลผลิต 10.86 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 10,860.00 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 6,681.35 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 4,178.65 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 0.62 บาท หรือตนทุนตอตัน 615.23 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.63 และกลุมชุดดินที่ 55 มีปริมาณผลผลิต 7.80 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 7,800.00 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,188.96 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 2,611.04 บาทตอไร มีตนทุนตอ กิโลกรัม 0.67 บาท หรือตนทุนตอตัน 665.25 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.50 เมื่อนํามาเปรียบเทียบพบวาออยโรงงานในกลุมชุดดินที่ 54 ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมดมากกวาในกลุมชุดดินที่ 28 52 และ 55 เนื่องจากกลุมชุดดินที่ 54 มีตนทุนตอกิโลกรัมนอยกวากลุมชุดดินที่ 28 52 และ 55 4.2 ขอเสนอแนะ จากการสํารวจขอมูล และวิเคราะหสภาพเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรที่ปลูกพืช เศรษฐกิจขาวนาปขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสําปะหลัง และออยโรงงาน ในพื้นที่จังหวัดลพบุรีมีขอเสนอแนะ ดังนี้ 4.2.1 จากการศึกษามีเกษตรกรรอยละ 73.66 ของเกษตรทั้งหมดที่จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษา ซึ่งอาจสะทอนถึงการเขาถึงแหลงเรียนรูหรือโอกาสทางการศึกษา รัฐจึงควรสงเสริม องคความรูดานการเกษตร ถายทอดเทคโนโลยีใหม ๆ ที่เหมาะสมไปสูเกษตรกร เพื่อพัฒนาและให เกษตรกรไดตอยอดประสบการณในการผลิตพืชเศรษฐกิจ และเปนประโยชนตออนาคตของเกษตร รุนใหมตอไป


4-6 4.2.2 ปญหาที่เกษตรกรพบมากที่สุด คือ ปจจัยการผลิตมีราคาสูง โดยปจจัยที่มีราคาสูง สงผลใหตนทุนการสูงและรายไดที่เกษตรกรไดรับลดลง คือ ปุยเคมี จึงควรมีหนวยงานที่เกี่ยวของเขามา สนับสนุนปจจัยการผลิตที่สามารถชวยลดตนทุนได เชน กรมพัฒนาที่ดิน ที่สามารถสงเสริมปจจัย การผลิตดานปุยหมักใหเกษตรกรนําไปใชในแปลงเกษตรเพื่อลดตนทุนปุยเคมี 4.2.3 รัฐบาลและหนวยงานที่เกี่ยวของควรมีการสงเสริม สนับสนุน เพิ่มศักยภาพ ของงานวิจัยและพัฒนาดานการเกษตรใหมากขึ้น เนื่องจากมีเกษตรกรสวนใหญที่ไมมีแนวคิด เปลี่ยนแปลงการผลิตพืชชนิดเดิม ซึ่งสงผลใหผลผลิตของพืชตกต่ํา เกิดโรคระบาด และคุณภาพดินที่ไมมี ประสิทธิภาพเทาที่ควร นอกจากนี้การพัฒนางานวิจัยยังเปนการเพิ่มทางเลือกในการตัดสินใจปลูกพืช ชนิดอื่น ๆ และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันทางการตลาดไดมากยิ่งขึ้น


เอกสารอางอิง กัลยาณี บูรณากาล. 2554. ภาวะเศรษฐกิจและสังคมเพื่อการวางแผนการใชที่ดินลุมน้ําวังและแผนการ ผลิตพืชที่เหมาะสมในเขตเกษตรน้ําฝน. สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ, กรุงเทพฯ กฤช เอี่ยมฐานนท. 2557. โครงการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ: การวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทน ทางเศรษฐศาสตร. สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ, กรุงเทพฯ. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร. 2563. อัตราคาธรรมเนียม. อัตราดอกเบี้ยเงินกู. แหลงที่มา: http://www.baac.or.th/th/contentrate.php?content_group=9&content _group_sub=2&inside=. 4 มิถุนายน 2566. ศูนยสารสนเทศการเกษตร. 2565. คํานิยามขอมูลสถิติการเกษตร. สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ, กรุงเทพฯ. สํานักสํารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 2534. กลุมชุดดิน 62 กลุม. แหลงที่มา: http://oss101.ldd.go.th/web_thaisoils/62_soilgroup/main_62 soilgroup.htm. 24 พฤษภาคม 2566.


ภาคผนวก


ผ-2 ภาคผนวก ก จํานวนตัวอยางและพื้นที่สํารวจพืชเศรษฐกิจ จํานวนตัวอยางที่สํารวจพืชเศรษฐกิจ ชนิดพืช กลุมชุดดิน รวม 1 7 18 28 52 54 55 1. ขาวนาป 10 12 12 - - - - 34 2. ขาวนาป - ขาวนาปรัง 6 2 - - - - - 8 3. ขาวโพดเลี้ยงสัตว - - - 15 15 18 - 48 4. มันสําปะหลัง - - - 14 13 13 7 48 5. ออยโรงงาน - - - 13 14 13 9 48 รวม 16 14 12 42 42 44 16 186 ที่มา: จากการการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


Click to View FlipBook Version