The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลยุทธ์การสอน เก่ง เล่มเต็ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by keng.160719788, 2022-06-13 05:33:09

กลยุทธ์การสอน เก่ง เล่มเต็ม

กลยุทธ์การสอน เก่ง เล่มเต็ม

คำนำ
กลยุทธการจดั การเรียนรู้ให้กับนักเรยี น ผจู้ ดั ทำ ได้ศึกษาทฤษฎกี ารเรียนการสอน และรูปแบบการ
สอนตา่ งๆ มาสังเคราะห์เปน็ รูปแบบการสอนของตนเอง เพือ่ นำมาใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ ผจู้ ดั ทำหวงั เป็น
อย่างยง่ิ ว่าจะเป็นประโยชน์กับผู้ที่สนใจมากกน็ ้อย

ผ้จู ัดทำ
นิธินันท์ อุปโคตร

สารบัญ 1
2
1.กลยทุ ธการเรยี นการสอน 5
2. ความตอ้ งการทฤษฎีการเรียนการสอน 6
3. ธรรมชาตขิ องทฤษฎกี ารเรียนการสอน 9
4.ทฤษฎีการเรียนการสอน 12
5.พิจารณาคุณลักษณะของผู้เรียน 20
6.การวจิ ัยการเรียนรู้ 22
7. ความเขา้ ใจของผู้เรียนและการเรยี นรู้ 23
8. การเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รียนเป็นศนู ยก์ ลาง 24
9.รูปแบบการเรยี นรแู้ ละวธิ กี ารจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ ศนู ย์กลาง 26
10. การจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning 33
11. การจดั การเรียนรแู้ บบใช้โครงงานเป็นฐาน (PROJECT-BASED LEARNING) 38
12. เครอื่ งมือการสอนคิด 39
13. รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E 42
14. การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลบั ดา้ น Flipped Classroom 49
15. การกำหนดกลยุทธ์การสอนและกลยุทธ์การประเมินผลการเรยี นรู้
แหล่งอา้ งอิง



กลยทุ ธ์การเรยี นการสอน

ในการออกแบบการเรียนการสอน ไม่ว่าจะออกแบบตามโมเดลของนักการศกึ ษาคนใดสิ่งหน่ึงที่
จะต้องพจิ ารณาก็คือ กลยุทธ์การเรียนการสอน (instructional strategies) คำวา่ “กลยทุ ธ์” เป็นการรวม
วิธกี าร (method) วธิ ีปฏิบัติ (procedures) และเทคนคิ อย่างกวา้ งๆซง่ึ ครใู ช้ในการนำเสนอเน้ือหาวิชาให้กับ
ผูเ้ รยี นและนำไปสู่ผลท่ีได้รบั ที่มปี ระสทิ ธิภาพ โดยปกติแล้วกลยุทธร์ วมถงึ วธิ ปี ฏิบตั หิ รือเทคนิคหลายๆอยา่ ง

กลยทุ ธก์ ารเรียนการสอนทัว่ ไป คือ การบรรยาย การอภิปรายกลุ่มยอ่ ย การศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง
การค้นควา้ มนห้องสมุด การเรยี นการสอนท่ใี ช่ส่ือ (mediated instruction) การฝึกหดั ซ้ำ ๆ การทำงานใน
หอ้ งปฏิบัตกิ าร การฝกึ หดั (coaching) การตวิ (tutoring) วิธอี ุปนัยและนริ นยั การใช้บทเรยี นสำเร็จรปู การ
แกป้ ัญหา และการตง้ั คำถาม อาจเป็นการเพยี งพอทจี่ ะกล่าวว่า ครเู ปน็ ผู้มกี ลยุทธ์การสอนของตนเอง

ครตู กลงใจอย่างไรในการเลอื กกลยทุ ธก์ ารเรยี นการสอน ครูอาจจะพบได้ในค่มู ือหลกั สตู ร ซงึ่ ไม่
เพยี งแตจ่ ะให้กลยุทธท์ ีจ่ ะใช้เท่าน้ัน แต่มีจดุ ประสงคด์ ว้ ย และเปน็ ท่นี ่าเสยี ดายว่า ในคู่มือหลักสตู รไม่ได้มหี ัวข้อ
เรื่องท่ีครูตอ้ งการเนน้ ปรากฏอย่ดู ้วย และบ่อยครง้ั แมว้ า่ จะมอี ยู่และหาได้ แตก่ ็ แต่ก็ไมเ่ หมาะกับความมุ่งหมาย
ของครแู ละนักเรียน ผลก็คือ ครูต้องอาศยั ดลุ ยพินิจทางวชิ าชีพและเลือกกลยุทธท์ ่ีจะใชเ้ อง การเลือกกลยทุ ธ์
การสอนจะมีปญั หาน้อย เม่ือครูจำได้วา่ กลยทุ ธ์การสอนมาจากแหล่งสำคัญ 5แห่งคือ จุดประสงค์ เนื้อหาวิชา
นกั เรยี น ชมุ ชน และครตู ัวเอง

เนอ้ื หาในบทน้ปี ระกอบด้วยหัวสำคญั คือ สภาวการณก์ ารเรียนการสอนพื้นฐานของการเรยี นการ
สอนปกติ ความต้องการทฤษฎกี ารเรยี นการสอน ธรรมชาติของทฤษฎีการเรยี นการสอน ทฤษฎกี ารเรยี นการ
สอน หลักการเรยี นรู้ การวิจัยการเรยี นรู้ ความเข้าใจผู้เรยี นและการเรียนรู้

1.สภาวการณก์ ารเรยี นการสอนพื้นฐานของการเรียนการสอนปกติ

เมอ่ื มกี ารเขียน การจัดลำดับจุดประสงค์ และการสรา้ งแบบทดสอบแล้ว ผู้ออกแบบการเรียนการสอนก็
พร้อมทจ่ี ะพัฒนากลยทุ ธเ์ พ่ือการออกแบบสภาวการณ์ของการเรียนรตู้ ่าง ๆ ท่ีจะทำให้ประสบความสำเรจ็ ตาม
จดุ ประสงค์ ไมว่ ่าการเรยี นการสอนจะเปน็ รูปแบบใด กจ็ ะมีชุดของสภาวการณ์โดยท่ัวๆ ไปทจ่ี ะใช้กับทุก
เหตุการณ์การเรียนรู้ ไดอาแกรมของซีลส์และคลาสโกว์ (Sells and Glasgow,1990:161) ไดแ้ สดงให้เห็นถึง
สภาวการณ์การเรยี นการสอน พืน้ ฐานของการเรยี นการสอนปกติ สภาวการณ์เดยี วกันน้จี ะรวมอยู่ในการเรยี นการ
สอนทุกชนิดไม่วา่ จะเปน็ การเรียนด้วยตนเองหรือการเรียนเป็นกลุ่ม และไม่วา่ จะใชส้ ่ือหรือวิธีการเรยี นการสอนใด
เชน่ การเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน ภาพยนตร์ สถานการณจ์ ำลองฯลฯ

บทนำ (introduction) จะช่วยนำความตง้ั ใจของผู้เรยี นไปสูภ่ าระงานการเรยี นรู้ (learningtask)
จูงใจผู้เรยี นด้วยการอธบิ ายประโยชน์ของการประสบความสำเร็จตามจดุ ประสงค์ และโยงความสัมพันธ์ของ
การเรยี นรู้ใหม่กับการเรียนร้เู ดมิ ท่มี มี าก่อน

การนำเสนอ (Presentation) เปน็ การนำเสนอสารสารสนเทศ ขอ้ ความจรงิ มโนทัศน์ หลกั การหรอื
วธิ กี ารใหก้ ับผู้เรียน ขอ้ กำหนดของการนำเสนอจะหลากหลายไปตามแบบของการเรียนรู้ท่จี ะทำให้ประสบ
ความสำเร็จ และขน้ึ อยู่กับพฤตกิ รรมแรกเขา้ เรยี นหรือพฤติกรรมทีแ่ สดงว่ามคี วามพรอ้ มถงึ ระดับทีจ่ ะรบั การ
สอน (entry-leve behavior)

การทดสอบตามเกณฑ์ (criterion test) เปน็ การวดั ความสำเร็จของผเู้ รียนตามจดุ ประสงค์ปลายทาง
(terminal objectives) การปฏิบตั ิตามเกณฑ์ (criterion practice) เกิดขึ้นในสถานการณเ์ ชน่ เดียวกบั การ
ทดสอบปลายภาค (การทดสอบหนสุดทา้ ย) โดยมีจุดประสงค์เพ่ือการตัดสนิ ผู้เรียนวา่ มีความพร้อมที่จะสอบ
ปลายภาคหรือมคี วามจำเปน็ ตอ้ งเรยี นซ่อมเสริม

การปฏิบตั ิในระหว่างเรียน (transitional practice) เป็นการออกแบบชว่ ยผู้เรียนให้สร้างสะพานข้าม
ชอ่ งวา่ งระหวา่ งพฤติกรรมทแี่ สดงว่ามคี วามพร้อมถึงระดับที่จะรบั การสอนกบั พฤติกรรมทก่ี ำหนดโดย
จดุ ประสงคป์ ลายทาง สง่ิ สำคัญท่ีควรจดจำเก่ยี วกับการปฏิบตั ใิ นระหว่างเรยี น คือ เปน็ การเตรยี มตัวผ้เู รยี นเพื่อ
การแสดงออกซ่ึงการปฏบิ ัติทเี่ ปน็ ไปตามเกณฑ์

การแนะนำ (guidance) เปน็ การฝึกทีฉ่ ับพลนั ทช่ี ่วยเหลือใหผ้ เู้ รียนแสดงออกอย่างถูกตอ้ งในชว่ งต้น
ของการปฏิบตั พิ บว่า จะมกี ารชว่ ยเหลอื มากและจะค่อยๆลดลง การชว่ ยเหลอื จะอยู่ในช่วงปฏบิ ัตใิ นระหวา่ ง
เรียนเท่าน้ัน ส่วนในช่วงของการปฏบิ ัตติ ามเกณฑ์ไมต่ ้องชว่ ย

การใหข้ ้อมูลป้อนกลับ เป็นส่วนหน่ึงของการบรู ณาการการปฏบิ ัติ เพ่อื ทจ่ี ะบอกกลับผเู้ รยี นวา่ ปฏบิ ัติ
ถูกต้องหรือปฏบิ ัติไม่ถูกต้อง และจะปรับปรุงการปฏิบัตินั้นอยา่ งไร การปฏบิ ัตแิ ตเ่ พียงอยา่ งเดยี วโดยไมม่ ีขอ้ มลู
ป้อนกลบั ไมเ่ ปน็ เพียงสำหรบั การเรยี นรทู้ ีม่ ีประสิทธิภาพ

2.ความต้องการทฤษฎกี ารเรยี นการสอน

ทฤษฎกี ารเรียนการสอน เปน็ สงิ่ จำเป็นทจี่ ะผนวกเข้ากบั ทฤษฎกี ารเรยี นรโู้ ดยไม่มขี ้อโต้แยง้ การ
พฒั นาทฤษฎีการเรียนการสอนขาดความเอาใจใส่ ละเลย และเมอื่ เปรียบเทียบกับทฤษฎีการเรยี นรแู ลว้ ทฤษฎี
การสอนเกือบจะไม่ไดร้ ับการกลา่ วถงึ ในผลงานการเขียนทางทฤษฎีของนักจติ วิทยา เหน็ ได้จากบทคัดย่อทาง
จิตวทิ ยาจะเต็มไปด้วยปฏิบัติการทางการเรียนรู้ และการเรียนร้ภู ายในโรงเรียนเปน็ จำนวนมาก

เหตผุ ลตอ่ การเพิกเฉยตอ่ ทฤษฎีการสอนเป็นเร่ืองที่นา่ สนใจ การตรวจสอบท่ีจะกลา่ วตอ่ ไปนี้ อาจจะ
ช่วยในการตดั สนิ ใจวา่ เป็นไปได้หรือไม่ ที่ทฤษฎกี ารสอนจะมรการก่อตัวขึ้นและเปน็ ไปตามตอ้ งการ

ศิลปะกับวิทยาศาสตร์ บางครง้ั ความพยายามท่ีพัฒนาทฤษฎกี ารสอนดเู หมือนวา่ จะเปน็ นยั การ
พฒั นาวทิ ยาศาสตร์ด้วย แต่ผูเ้ ขียนบางคนปฏเิ สธความคิดในเรือ่ งของวทิ ยาศาสตร์ ไฮเจท (Highet) ได้เขยี น
หนงั สือ “ศลิ ปะการสอน” และกล่าวว่า …เพราะผมเช่ือวา่ การสอนเป็นศิลปะไมใ่ ชว่ ิทยาศาสตร์ มันดู
เหมอื นวา่ เป็นเร่ืองที่น่าอันตรายในการมาก ในการทจี่ ะประยุกตจ์ ุดหมายและวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์กบั แต่ละ
บคุ คล แม้วา่ หลกั การทางสถิติสามารถทจี่ ะใชก้ ารอธิบายพฤติกกรมในกลมุ่ ใหญ่และวินิจฉัยโครงสรา้ งทาง
กายภาพ โดยวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ได้ก็ตาม โดยปกติแลว้ มคี ุณค่ามาก…แนน่ อนท่ีสุด ที่เป็นความจำเป็นของ
ครบู างคนทจ่ี ะเรยี งลำดบั ในการวางแผนงานใหถ้ ูกตอ้ งแม่นยำโดยอาศยั ข้อความจริง แต่สิง่ น้ันไม่ไดท้ ำให้การ
สอนเปน็ “วิทยาศาสตร์” การสอนเกยี่ วข้องกับอารมณ์ ซึ้งไมส่ ามารถจะประเมนิ ได้อย่างเปน็ ระบบและใชง้ าน
ได้ เปน็ คา่ นิยมของมนุษย์ซ่งึ อย่นู อกเหนือการควบคุมของวิทยาศาสตร์ การใชว้ ทิ ยาศาสตร์การสอนหรอื แม้แต่
วิชาท่ีเปน็ วิทยาศาสตรจ์ ะไมเ่ ป็นการเพยี งพอเลย ตราบทที่ ั้งครแู ละนักเรยี นยังคงเป็นมนุษยอ์ ยู่ การสอนไม่
เหมือนกบั การพสิ จู นป์ ฏิกริ ิยาทางเคมี การสอนมากไปกว่าการวาดภาพ หรอื การทำช้ินสว่ นของเครอื่ งดนตรี
หรือการปลูกพืชหรอื การเขยี นจดหมาย (Highet,1995 requoted from Gage,1964:270)

ไฮเจท ไดโ้ ต้แยง้ คัดคา้ น ต่อตา้ นพัฒนาการของวทิ ยาศาสตร์การเรียนรู้ โดยโต้แย้งว่า ในการประยุกตใ์ ช้
ทฤษฎีการสอนไมม่ ีความจำเป็นที่จะต้องพิจารณาวิทยาศาสตร์การสอนโดยเห็นว่า ไม่สมควรจะให้ความเท่าเทียม
กนั ในความพยายามเก่ียวกบั กิจกรรมกับความยายามท่ีจะขจัดปรากฏการณ์เกี่ยวกบั นิสัย และคุณลักษณะทาง
ศลิ ปะ การวาดภาพ การเรยี บเรียง และแม้ตาการเขยี นจดหมาย และการสนทนา เปน็ เรื่องท่ีสืบทอดกันมาและถูก
กฎหมาย และสามารถเปน็ เนื้อหาวชิ าท่ีจะวิเคราะห์ทางทฤษฎไี ด้ จติ รกรแม้จะมีศิลปะอยูใ่ นการทำงานทท่ี ำ
บ่อยคร้ังท่แี สดงให้เห็นจากการแสดงออกของนกั เรียนจะมีเร่ืองทฤษฎขี องสี สดั สว่ นที่เห็นความสมดุลหรือ
นามธรรมรวมอยูด่ ้วย จิตรกรผู้เตม็ ไปด้วยความเป็นจิตรกรอย่างถูกต้องไม่ไดเ้ ป็นโดยอัตโนมัติ ยังคงต้องการ
ขอบเขตที่กวา้ งขวางสำหรบั ความฉลาดและความเป็นสว่ นบุคคล กระบวนการและผลผลิตของจิตรกรไม่
จำเป็นต้องข้ึนอยูก่ ับผ้รู ู้หรือผูค้ งแก่เรียน

การสอนก็เชน่ เดียวกัน แม้ว่าจะต้องการความเป็นศิลปะแต่ก็สามารถทจ่ี ะไดร้ ับการวเิ คราะห์เชิง
วิทยาศาสตร์ไดด้ ้วย พลังในการอธิบาย ทำนาย และควบคุม เป็นผลจากการพนิ ิจวเิ คราะห์ ไม่ใช่ผลจากเคร่อื งจักร
การสอน เชน่ วิศวกรสามารถที่จะคงความเช่ืออย่ภู ายในทฤษฎีทีว่ า่ ดว้ ยความเคลือ่ นไหวเกย่ี วกับความร้อน ครจู ะ
มหี อ้ งสำหรบั ความหลากหลายทางศลิ ปะในทฤษฎีทีศ่ ึกษาวิทยาศาสตรก์ ารสอนที่อาจจะจดั ทำข้นึ และสำหรับงาน

ของผทู้ ฝ่ี ึกหัด จ้าง และนิเทศครูทฤษฎแี ละความรู้ท่ีอาศัยการสังเกตการสอนจะเป็นการจดั เตรียมพ้นื ฐานทาง
วิทยาศาสตร์ได้เป็นอยา่ งดี

ทฤษฎกี ารเรยี นรูเ้ กยี่ วกบั การเรยี นรวู้ ่าผเู้ รยี นทำอะไร แต่การเปลีย่ นแปลงทางการศกึ ษาต้องขน้ึ อยู่
กับว่าส่วนใหญ่แลว้ ครทู ำอะไร นั้นคอื ผู้เรยี นเปลย่ี นแปลงอยา่ งไรในธุรกิจการเรยี นรทู้ ่เี กิดข้ึน ตอบสนองต่อ
พฤติกรรมของครูหรืออ่ืน ๆ ท่ีอยู่ในวงของการศึกษา ครเู ท่าน้นั ท่จี ะเป็นผนู้ ำความรู้ส่วนใหญเ่ ก่ียวกบั การเรยี นรู้
ไปสู่การปฏิบัติ และวิธีการต่าง ๆทคี่ รูจะทำให้ความรูเ้ หล่านีเ้ กิดผลประกอบขึ้น เปน็ ส่วนของวชิ าทฤษฎีการ
สอนในช่วงเวลาทีย่ งั ไม่พฒั นาทฤษฎกี ารเรยี นการสอน ดงั น้ัน ครูจะกระทำตามนัยเหล่าน้ีเพอื่ ท่จี ะปรับปรุงการ
เรียนรู้ ทฤษฎีการสอนและการศึกษาเก่ียวกบั การสอนอาจจะสามารถทำให้เกดิ การใช้ความรูเ้ ก่ยี วกบั การ
เรยี นรูท้ ีด่ กี ว่าได้

ทฤษฎกี ารสอนควรเกี่ยวข้องกบั การอธิบาย การทำนาย และการควบคุมทศิ ทางครูท่ีครูปฏบิ ตั ิที่
ส่งผลตอ่ การเรียนร้ขู องผู้เรียน ภาพทเี่ ปน็ ลักษณะน้ีทำใหม้ ีพื้นท่ี (room) มากพอสำหรับทฤษฎกี ารสอน ดังนั้น
ทฤษฎกี ารสอนก็คงเกี่ยวข้องกบั ขอบเขตทง้ั หมดของปรากฏการณท์ ่ีไมไ่ ด้รบั การเอาใจใส่หรือถูกละเลยจาก
ทฤษฎกี ารเรียนรูด้ ้วย

ความชดั เจนของทฤษฎีการเรยี นการสอนควรจะเปน็ ประโยชนก์ บั การผลิตครู ในการผลิตครบู ่อยคร้ัง
ทด่ี เู หมอื นวา่ จะมกี ารอา้ งทฤษฎีการเรียนรู้ไปสกู่ ารปฏบิ ัตกิ ารสอน สงิ่ ทไ่ี ม่เพยี งพอเหล่าน้จี ะเห็นได้ชัดใน
รายวิชาจติ วทิ ยาการศกึ ษา จากตำรา จากคำถามของผเู้ รียนวา่ “ครจู ะสอนอย่างไร” ในขณะท่คี ำตอบบางส่วน
อาจได้มาจากการพิจารณาว่า ผู้เรยี นเรียนรูอ้ ย่างไร ซงึ่ ผู้เรยี นไมส่ ามารถรับความรู้ท้ังหมดไดด้ ้วยวธิ กี ารนี้อยา่ ง
เดียว ครสู ่วนมากต้องร้เู กีย่ วกับการสอนวา่ ไม่ไดเ้ ป็นไปตามความร้ใู นกระบวนการเรยี นรูโ้ ดยตรง ความรูข้ องครู
ต้องการความชัดเจนมากไปกว่าการลงความคดิ เห็น ชาวนาจำเปน็ ต้องร้มู ากเกนิ ไปกว่าท่ีจะร้แู ตเ่ พยี งวา่
ข้าวโพดโตอยา่ งไร ครูเองก็จำเป็นต้องรมู้ ากไปกวา่ ทีจ่ ะรู้แต่เพยี งว่านักเรยี นเรยี นรู้อยา่ งไรเช่นกนั

ครูตอ้ งร้วู า่ จะจัดการกบั พฤตกิ รรมของตนเอง ซึ่งมผี ลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนอยา่ งไร ความรู้
เกี่ยวกบั กระบวนการเรียนรู้ไม่ไดเ้ กิดขน้ึ อยา่ งอตั โนมัติ ในการอธบิ ายและการควบคุมการปฏบิ ตั ิการสอน
ต้องการวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการสอนท่ถี กู ต้องของตนเอง ผเู้ รียนจิตวทิ ยาการศึกษาแสดงความข้องใจ
วา่ ไดเ้ รียนรู้มากเกยี่ วกบั การเรียนรแู้ ละผเู้ รยี น แตไ่ ม่ไดเ้ รียนรเู้ กยี่ วกบั การสอนและไดต้ ้ังคำถามความสมบูรณ์
ของการสอนแบบสบื สวน ซ่ึงรวมอย่ใู นทฤษฎีการเรียนการสอนด้วย

3.ธรรมชาติของทฤษฎีการเรียนการสอน

ทฤษฎกี ารเรียนการสอน (theory of instruction) เป็นกฎทเี่ กี่ยวข้องกับวิธีการท่ีมปี ระสิทธิภาพทส่ี ดุ
ของการประสบความสำเร็จในความรหู้ รือทักษะ ทฤษฎกี ารเรียนการสอนเกย่ี วข้องกบั ความปรารถนาที่จะสอน
ใหผ้ เู้ รียนเรยี นรไู้ ด้ดที ี่สุดไดอ้ ย่างไรดว้ ยการปรบั ปรุงแทนท่จี ะพรรณนาการเรียนรู้

ทฤษฎกี ารเรยี นรู้และทฤษฎกี ารพัฒนามีความสัมพันธ์กับทฤษฎีการเรยี นการสอน ตามความเปน็ จรงิ
แลว้ ทฤษฎกี ารเรียนการสอนตอ้ งเก่ยี วขอ้ งกับการเรียนร้แู ละพัฒนาการดเี ท่าๆกบั เน้ือหาวชิ าและตอ้ งมีความ
สมเหตุสมผลท่ามกลางทฤษฎีอ่ืน ๆ ที่มีอยูห่ ลากหลาย ทุกทฤษฎีจะมคี วามสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน สำหรบั ทฤษฎี
การเรียนการสอนมีลักษณะสำคัญสป่ี ระการคือ(Brunner,1964:306-308)

ประการแรก ทฤษฎกี ารเรยี นการสอนควรชี้เฉพาะประสบการณ์ซงึ่ ปลูกฝังบ่มเฉพาะบุคคลใหโ้ อน
เอยี งสูก่ ารเรียนรู้ทีม่ ีประสิทธิภาพ หรอื เปน็ การเรียนรู้ทสี่ ดุ หรอื เปน็ การเรยี นรู้ชนิดพิเศษ ตวั อยา่ งเชน่
ความสมั พนั ธ์ชนดิ ใดทมี่ ีโอกาสตอ่ โรงเรยี นและต่อสิ่งตา่ ง ๆ ในส่งิ แวดลอ้ มของโรงเรียนอนบุ าลซงึ่ มีแนว
แนวโนม้ ทจ่ี ะทำให้เด็กตัง้ ใจและสามารถเรียนรเู้ มือ่ เข้าโรงเรียน

ประการท่ีสอง ทฤษฎกี ารเรยี นการสอนตอ้ งชี้เฉพาะวธิ ีการจัดโครงสรา้ งองค์ความรูเ้ พอ่ื ให้เกดิ ความ
พรอ้ มที่สุดสำหรับผู้เรยี นทจ่ี ะตักตวงความรูน้ ้ัน ความดขี องโครงสร้างขน้ึ อยู่กบั พลังในการทำสารสนเทศใหม้ ี
ความงา่ ยในการให้ข้อความใหม่ ท่ตี อ้ งพิสูจนแ์ ละเพ่ือเพิ่มการถา่ ยเทองค์ความรู้ มีอยู่เสมอที่โครงสรา้ งตอ้ ง
สมั พันธก์ ับสถานภาพและพรสวรรค์ของผเู้ รียนดว้ ย

ประการที่สาม ทฤษฎีการเรยี นการสอนควรชี้เฉพาะขนั้ ตอนที่มปี ระสทิ ธิภาพท่ีสุดในการนำเสนอสง่ิ
ที่ผเู้ รียนต้องเรียนรู้ ตวั อย่างเช่น ผสู้ อนคนหนง่ึ ปรารถนาที่จะสอนโครงสรา้ งทฤษฎีฟิสกิ สส์ มยั ใหม่ เขาทำ
อยา่ งไร เขานำเสนอสาระท่เี ป็นรูปธรรมกอ่ นดว้ ยการใชค้ ำถามเพื่อสบื ค้นความจริงเก่ียวกับกฎเกณฑ์ท่ผี เู้ รียน
ต้องนำไปคดิ ซ่ึงทำให้งา่ ยขน้ึ เมอ่ื ต้องเผชญิ กับการนำเสนอกฎน้อี ีกคร้งั ในภายหลงั

ประการสดุ ทา้ ย ทฤษฎกี ารเรียนรู้ควรชี้เฉพาะธรรมชาติและช่วงกา้ วของการให้รางวลั และการ
ลงโทษในกระบวนการเรยี นรู้และการสอน ในขณะที่กระบวนการเรยี นร้มู ีจุดท่ีดีกว่าท่จี ะเปล่ยี นจากรางวัล
ภายนอก (extrinsic rewards) เช่น คำยกยอ่ สรรเสริญจากครู ไปเป็นรางวลั ภายใน (intrinsic rewards) โดย
ธรรมชาติในการแก้ปัญหาท่ซี ับซอ้ นสำหรับตนเอง ดังนนั้ การใหร้ างวัลทนั ทที ันใด ควรแทนทีด่ ้วยรางวัลของ
การปฏิบัตติ ามหรืออนโุ ลมตาม (deferred rewards) อตั ราการเคลื่อนย้ายหรอื การเปล่ียนแปลงจากรางวลั
ภายนอกไปสรู่ างวลั ภายในและจะได้รางวลั ทนั ใดไปสู่รางวัลการอนุโลมตาม เปน็ เรื่องทเี่ ข้าใจยากและมี
ความสำคญั อยา่ งเหน็ ไดช้ ัด ตัวอย่างเช่น ไม่วา่ การเรียนรจู้ ะเกี่ยวข้องกับการบูรณาการของการกระทำท่มี ี
ข้ันตอนยาวหรือไม่การเปลีย่ นแปลงควรจะทำไดเ้ ร็วที่สดุ จากกรให้รางวลั ทันทีทนั ใดเปน็ การอนุโลมตาม และ
จากรางวัลภายนอกเป็นรางวลั ภายใน

4.ทฤษฎีการเรียนการสอน

การเรยี นรู้มีความสัมพันธ์กับการออกแบบการเรียนการสอนซง่ึ ไดม้ าจากผลการวจิ ัยเอกัต บุคคล
เรียนรูอ้ ย่างไร คำอธิบายวา่ จะตีความไดด้ ที ่ีสุดได้อยา่ งไรตามความเหน็ เหล่าน้ี ก่อให้เกิดทฤษฎีการเรยี นการ
สอนจำนวนมาก ซ่งึ เกดิ ขน้ึ เม่ือ 30 ปที ีแ่ ลว้ หรือมากกว่านนั้ จากทฤษฎีพฤติกรรมนิยมไปจนถึงทฤษฎปี ัญญา
นยิ ม เปน็ ความหวังวา่ ทฤษฎเี หล่านี้จะช่วยใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจการเรยี นรู้และการประยุกต์ วธิ กี ารหรอื หลกั การ
ใหมๆ่ ทเี่ ปน็ ประโยชนก์ บั ผู้ออกแบบการเรียนการสอน

คำกล่าวทั่วไปของทฤษฎีเหล่าน้ี พบไดใ้ นทฤษฎีการเรยี นรูข้ องโบเวอรแ์ ละฮิลการด์ (Bower and
Hilgard,1981) ทฤษฎกี ารเรยี นการสอนบางทฤษฎี พยายามทีจ่ ะโยงความสมั พนั ธข์ องเหตุการณ์การเรยี นการ
สอนเฉพาะอยา่ งไปสู่ผลที่ไดร้ ับของการเรยี นรู้ (learning outcomes) โดยกำหนดเงื่อนไขการเรยี นการสอนซง่ึ
ทำใหเ้ กดิ การเรียนรู้ท่ีไดผ้ ลดีทสี่ ุด ทฤษฎกี ารออกแบบการเรยี นการสอนมีความคล้ายคลึงกันกบั ทฤษฎีการ
เรยี นการสอน แตเ่ น้นไปที่กระบวนการพัฒนาการเรยี นการสอนท่กี ว้างกว่า ทัง้ ทฤษฎีการเรียนการสอนและ
ทฤษฎีการออกแบบการเรียนการสอนต่างกจ็ ะท่ีพยายามโยงความสมั พนั ธ์ของเหตกุ ารณ์การเรียนการสอน
เฉพาะอยา่ ง (specific instructional events) ไปสผู่ ลทไี่ ดร้ บั ของการเรียนรู้ (learning outcomes) ทฤษฎี
ระบบการเรยี นการสอน ดังนั้น เนิรค์ และกสู ตัฟสัน ( Knirk and Gustafson, 1986 : 102) จึงสรุปว่าทฤษฎี

การเรียนการสอน (instructional theory) ได้รบั การพจิ ารณาว่าเป็นส่วนยอ่ ยของทฤษฎกี ารออกแบบการ
เรียนการสอน (instructional design theory) ซ่ึงเปน็ สว่ นย่อยของทฤษฎรี ะบบการเรยี นการสอน
(instructional system theory)

มีทฤษฎีการเรียนการสอนที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์มากมาย ซง่ึ ในท่ีนี้จะกลา่ วถงึ เพียงสีท่ ฤษฎซี ง่ึ
มลี กั ษณะตา่ งกัน คือ ทฤษฎกี ารเรยี นการสอนของกาเย่และบรกิ ส์ (Gagne and Briggs) ทฤษฎีการเรยี นการ
สอนของเมอรร์ ลิ และไรเกลุท (Merrill and Reigeluth) ทฤษฎกี ารเรียนการสอนของเคส (Case) และทฤษฎี
การเรียนการสอนของลนั ดา (Landa)

4.1 ทฤษฎกี ารเรยี นการสอนของกาเย่และบริกส์

กาเย่ (Gagne,1985) มีส่วนชว่ ยอย่างสำคัญเก่ยี วกบั การเรยี นรู้ดงั ทีเ่ ขาไดต้ รวจสอบขอ้ เงอ่ื นไข
สำหรบั การเรยี นร้กู าเยแ่ ละบรกิ ส์ ได้ขยายเง่ือนไขน้ีออกไปโดยพฒั นาชดุ ของหลักการสำหรบั การออกแบบการ
เรยี นการสอน ทฤษฎีดงั กล่าวนี้มแี นวแนวโนม้ ท่ีจะเพิกเฉยต่อปัจจยั การเพกิ เฉยการเรียนร้ดู ั้งเดมิ เชน่ การ
เสรมิ แรง (reinforcement) การต่อเน่ือง (contiguity) และการปฏิบตั ิ(exercise) เพราะกาเย่และบริกส์คิดว่า
เป็นเร่ืองธรรมดาเกนิ ไปที่จะใชใ้ นการออกแบบการเรียนการสอนโดยยนื ยันในเร่อื งทีเ่ กยี่ วกับการเรียนรู้
สารสนเทศทางถ้อยคำ (verbalinformation) ทกั ษะเชาว์ปัญญา (intellectual skill) และความสามารถใน
การเรยี นร้ปู ระเภทอ่นื ๆ กาเย่ได้ระบผุ ลท่รี ับจากการเรยี นรแู้ ต่ละประเภทท่ีต้องการ สภาวการณห์ รอื เง่ือนไขท่ี
แตกต่างกันสำหรบั การเรยี นรู้ การคงความทรงจำ และการถ่ายโอนการเรยี นรู้ในขีดสูงสดุ

ทฤษฎีการเรยี นการสอนของกาเย่และบริกส์คาดเดาการเสรมิ แรงของผเู้ รยี นผา่ นทางข้อมลู ปอ้ นกลับ
ของสารสนเทศ(information feedback) ทางสนั ฐานการเลือก (selective perception) ทางการสะสมของ
ขอ้ มลู ในหน่วยความจำระยะสั้น ระยะยาว และ การนำกลับมาใช้เปน็ การนำเสนอทฤษฎีหรอื แบบจำลอง
ประมวลความรอบรู้ท่ีรวมถึง ผลท่ีไดร้ บั ของการเรียนรู้ทุกประเภทของการเรยี นการสอน โดยท่วั ไปไดก้ ลา่ วไว้
แบบจำลองให้คำแนะนำว่า การเรียนการสอนสามารถนยิ ามว่าเปน็ ชดุ (set) ของเหตุการณภ์ ายนอกที่จะ
สนับสนุนกระบวนการภายในของการเรยี นรขู้ องผเู้ รียน เหตุการณภ์ ายนอกเหลา่ นนั้ คือ

1.เพม่ิ ความตั้งใจของผู้เรียน (gain learner attention)
2.แจง้ จุดประสงค์แกผ่ ู้เรยี น (inform the learner of the objective)
3.กระตุ้นให้ระลกึ ถึงความรู้เดิมทต่ี อ้ งมีมากอ่ น (stimulate recall prerequisite)
4.นำเสนอส่อื วสั ดุการเรยี นการสอนทก่ี ระตนุ้ เร่งเร้า (present stimulus materials)
5.จดั เตรยี มคำแนะนำในการเรียนรู้ (provide learning guidance)
6.ให้นกั เรียนปฏบิ ัติทต่ี ้องการ (elicit the desired performance)
7.จัดเตรียมขอ้ มลู ปอ้ นกลับเกี่ยวกับการแก้ไข การปฏิบัติ
8.การประเมินผลการปฏิบตั ิ (assess the performance)
9.สง่ เสริมการคงความรแู้ ละการถา่ ยโอนการเรยี นรู้ (enhance retention and transfer)

4.2 ทฤษฎีการเรยี นการสอนของเมอรร์ ิลและไรเกลทุ

ทฤษฎกี ารเรยี นการสอนของเมอรร์ ลิ และไรเกลทุ (Marril,1984 : Reigeluth,1979 : 8-15)
เกย่ี วขอ้ งกบั กลยุทธม์ หภาพ (mecro-strategies) สำหรับการจัดการเรยี นการสอน เชน่ ความสัมพันธ์ระหว่าง
หวั ข้อของรายวิชา และลำดบั ขั้นตอนการเรยี นการสอนทฤษฎนี ้ีเนน้ มโนทัศน์ หลกั การ ระเบยี บวิธกี าร และ
การระลกึ สารสนเทศข้อความจริงตา่ ง ๆได้โดยทัว่ ไปแล้ว ทฤษฎีน้ีมที ัศนะเกย่ี วกบั การเรียนการสอนวา่ เปน็
กระบวนการนำเสนอรายละเอียดอยา่ งค่อยเปน็ ค่อยไปทลี ะนอ้ ย หรืออย่างประณีตตามทฤษฎขี องเมอรร์ ลิ แลพ
ไรเกลทุ ข้ันตอนของการเรยี นการสอนประกอบดว้ ย

1.เลือกการปฏบิ ตั ิท้ังหมดทจี่ ะสอนโดยการวิเคราะหภ์ าระงาน
2.ตดั สินใจวา่ จะสอนการปฏบิ ัติใดเปน็ ลำดับแรก
3.เรียงลำดับข้ันตอนการปฏิบัตทิ ี่ยังคา้ งอยู่
4.ระบเุ น้อื หาทส่ี นับสนนุ
5.กำหนดเนอ้ื หาทงั้ หมดเป็นบทและจัดลำดับบท
6.เรยี งลำดบั การเรียนการสอนภายในบท
7.ออกแบบการเรยี นการสอนสำหรบั แตล่ ะบท
4.3 ทฤษฎีการเรียนการสอนของเคส

เคส (Case.1978 : 167-228) ได้แนะนำวา่ ข้นั ตอนของพฤติกรรมระหว่างระยะสำคญั ของการ
พัฒนาเชาวป์ ัญญาขึ้นอยกู่ บั การปรากฏใหเ้ ห็นถงึ การเพิ่มความซบั ซอ้ นของกลยุทธป์ ัญญาและการทำงานใน
หนว่ ยความจำอย่างคอ่ ยเป็นค่อยไปดว้ ย

ขนั้ ตอนการออกแบบของเคส เกี่ยวกบั การระบเุ ป้าประสงค์ของภาระงานทป่ี ฏิบตั ิ (เรยี นร้)ู จดั ลำดับ
ข้นั ปฏิบตั ิเพื่อช่วยผ้เู รยี นให้ไปถึงเป้าประสงค์เปรยี บเทยี บการปฏบิ ัติของผู้เรยี นกับเอกตั บคุ คลทมี่ ีทักษะ
ประเมนิ ระดับงานของนักเรียน (โดยตั้งคำถามทางคลินกิ ) การออแบบแบบฝึกหดั เพ่ือสาธิตใหผ้ ้เู รยี นไดศ้ กึ ษา
และอธบิ ายว่าทำไมกลยทุ ธ์ที่ถกู ต้องจงึ ให้ผลดกี ว่าและสุดท้ายนำเสนอตัวอย่างเพิ่มเตมิ โดยใช้กลยุทธ์ใหม่

4.4 ทฤษฎกี ารเรียนการสอนของลนั ดา
ทฤษฎีการเรียนการสอนของลนั ดา (Landa,1974) เปน็ การออกแบบการจำลองการเรยี นการสอน

ทแี่ ยกออกม โดยใช้วิธีการพเิ ศษในการแกป้ ัญหาเฉพาะอย่างของงาน ซีง่ กำหนดให้ผเู้ รียนตดิ ตามระเบียบ
วิธีการท่มี อี ย่ใู นคู่มือการอบรม ในการใชว้ ิธกี ารออกแบบของลันดา เปน็ ความจำเปน็ ทต่ี ้องมีการระบุกิจกรรม
และการปฏิบัติทั้งหมดที่มีอยู่ก่อนหน้านั้น ซง่ึ ผเู้ รยี นต้องแสดงออกมา เพื่อจะไดร้ วมไวใ้ นการแกป้ ัญหา
บางอย่าง ในทางตรงข้าม อาจเรยี กว่าเป็นวธิ ีการทางจติ วิทยาในการวางแผนการเรียนการสอน ผเู้ ช่ยี วชาญ
หลกั สตู รมแี นวโน้มท่จี ะเนน้ ไปท่โี ครงสร้างของเน้ือหาบนพ้ืนฐานของการนำปประยุกตใ์ ช้ บ่อยคร้งั ท่ีมกี าร
จดั การเรียนรูเ้ ป็น

1.เน้อื หาด้านปญั ญา
2.ทกั ษะทางวิชาการ
3.การเรยี นรู้สังคม
4.การเรียนรูต้ ามความต้องการของเอกัตบุคคล

โดยปกตผิ เู้ ชย่ี วชาญทัง้ หลายยดึ ถือทัศนะทีว่ า่ การเรียนการสอนทุกชนิดอาจจะดีทีส่ ุดดว้ ยการใช้
วิธีการที่สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นของผ้เู รยี นแต่ละคน นน่ั คือ เม่ือแต่ละบุคคลรู้สกึ ถงึ ความจำเปน็ ท่ีจะ
ให้มกี ารเรยี นการสอนอาชพี หรือสังคมแล้ว บุคคลเหล่านนั้ จะมแี รงจูงใจมากกวา่ ทจ่ี ะเรยี นเน้ือหาท่ีไม่ตรง
ประเด็น สภาพการณเ์ รียนใดเนน้ ความเปน็ เอกัตบคุ คลก็ต้องใช้การเรียนการสอนเปน็ รายบุคคล กระบวนการ
ออกแบบการเรยี นการสอนและการกำหนดกลยุทธ์การสอนตลอดจนการเลือกสื่อที่จะทำใหง้ ่ายขนึ้

ทฤษฎีการเรยี นการสอนเหล่าน้ีและทฤษฎกี ารเรยี นการสอนอืน่ ๆ ต่างกเ็ ปน็ ความจำเปน็ ส่วนหนึง่
ของกระบวนการวจิ ัยการจดั สารสนเทศเกยี่ วกบั การเรียนรู้ของมนุษย์ อย่างไรกต็ ามยงั เป็นหนทางอีกยาวไกล
กวา่ ท่ีทฤษฎใี ดทฤษฎหี นึ่งเหล่านีจ้ ะกำหนดกระบวนการสำหรับการออกแบบการเรยี นการสอนทม่ี ี
ประสิทธภิ าพ สำหรับเอกตั บุคคลหรอื ของผเู้ รียน ปจั จบุ ันน้ีทฤษฎกี ารเรียนการสอนท้ังหลายจะให้หลักการท่ี
เป็นแนวทางที่มีประโยชน์ หรอื ใหค้ รอบคลมุ สำหรับการออกแบบจึงต้องเนน้ เป็นอยา่ งมากเกย่ี วกับการทดสอบ
ตัวแบบของการเรียนการสอน (prototype of the instruction) กอ่ นทจี่ ะมีการเผยแพรเ่ พ่อื การนำไปใช้
โดยทว่ั ไป

5. พิจารณาคุณลกั ษณะของผเู้ รียน

การวเิ คราะห์ภาระงานและการเรยี นการสอนแล้วนนั้ จะพบวา่ การพิจารณาคณุ ลักษณะของผเู้ รียน
ต้องอาศัยความร้ทู ม่ี ีอยขู่ อผเู้ รียนหรือความรเู้ ดิม ซ่งึ จะมคี วามสมั พนั ธก์ ับการตดั สินใจวางแผนการเริม่ ต้นของ
โปรแกรมการเรียนการสอนใหม่ๆ ในท่ีนี้จะได้กลา่ วถงึ ประมวลสารสนเทศทางทักษะของผ้เู รยี น ซึ่งจะสัมพนั ธ์
กบั การออกแบบส่ิงแวดล้อมของการเรยี นต่อไป

สไตล์การสอน

สไตล์หรือลลี าการสอน (styles of teaching) เปน็ การแสดงคุณค่าของครแู ตล่ ะคน เปน็ ปัจจัยส่วน
บคุ คลที่ทำให้ครูคนหนึ่งตา่ งจากครูคนอนื่ ๆ ประกอบด้วยการแตง่ กาย ภาษา เสยี ง กรยิ าท่าที ระดับพลัง การ
แสดงออกทางสหี น้า แรงจงู ใจ ความสนใจในบุคคลอ่ืน ความสามารถในการเชาว์ปัญญาและความคงแกเ่ รยี น

การม่งุ งาน

ครูจะกำหนดส่ิงทต่ี ้องการเรยี นรู้และบอกถงึ ความต้องการในการปฏิบัติงานของนักเรียน การเรียนที่
จะประสบความสำเร็จอาจจะเฉพาะเจาะจงไปท่ีพน้ื ฐานของนักเรยี นแต่ละคน และมีระบบทใี่ ห้นักเรียนแต่ละ
คนเปน็ ไปตามความคาดหวังอยา่ งชัดเจนม่ันคง

การวางแผนการร่วมมอื กัน

ครรู ว่ มมือกนั วางแผนวิธีการและจุดหมายปลายทางของการเรียนการสอนด้วยความร่วมมือของ
นกั เรียน ครไู ม่เพยี งแต่รบั ความคดิ เห็นเท่านั้น แตค่ รูต้องกระตนุ้ ใหก้ ารสนบั สนนุ การมีส่วนรว่ มของนักเรยี นทกุ
ระดับชั้นด้วย

การให้นักเรียนเป็นจุดศนู ย์กลาง

ครูจดั เตรียมโครงสรา้ งตา่ ง ๆ สำหรบั นกั เรยี นเพ่ือให้ติดตามแสวงหาความร้ตู ามท่ีตอ้ งการหรือตาม
ความสนใจ สไตลแ์ บบนี้ไม่เพียงแต่จะพบว่ามนี ้อย แต่เกือบจะเปน็ ไม่ได้ที่จะจนิ ตนาการใหเ้ ปน็ ไปตามท่ี
คาดหวงั เพราะว่าช้ันเรียนท่ีมีอตั ราสว่ นระหว่างนกั เรยี นกบั ครูและนักเรียนกับสง่ แวดล้อมในความรบั ผดิ ชอบ
จะกระต้นุ สง่ เสรมิ ความสนใจของนักเรยี นบางคนและทำให้นกั เรียนบางคนเกดิ ความทอ้ แท้ใจโดยอตั โนมัติ

การใหเ้ นื้อหาวิชาเป็นศูนย์กลาง

วิธีการน้ีครูจะเน้นไปทีเ่ นื้อหาวิชาที่จดั ไว้ดีแล้ว และคดิ ว่าเน้ือหาวิชาทีจ่ ดั นัน้ ครอบคลมุ รายวิชาครูจะพึงพอใจ
แม้วา่ การเรียนร้จู ะเกิดขึ้นน้อย

การใหก้ ารเรยี นรูเ้ ปน็ ศูนย์กลาง

วิธกี ารน้คี รจู ะใหค้ วามสำคัญเทา่ ๆ กนั ระหว่างนักเรียนและจดุ ประสงคข์ องหลักสูตร ตลอดจนสิง่ ทใ่ี ช้
ในการเรียน ครูจะปฏิเสธการเนน้ อย่างมากเกนิ ไปทั้งในดา้ นการให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางแทนการชว่ ยเหลอื
นักเรยี น โดยคำนงึ ว่านกั เรยี นมีความสามารถหรือไม่มีความสามารถ เพื่อทจี่ ะพัฒนาไปสเู่ ปา้ ประสงค์ทม่ี คี วาม
เปน็ ไปได้ให้ดเี ทา่ ๆกบั อิสรภาพในการเรยี นรู้ของนักเรยี นให้มกี ารตนื่ เตน้ ทางอารมณ์และเป็นแบบอย่าง

วธิ ีการน้คี รูจะแสดงอารมณท์ ่ีเกย่ี วกับการสอนอยา่ งเข้มข้น ครูจะเข้าไปสู่กระบวนการสอนอย่างใจจดใจจ่อ
และโดยปกตแิ ลว้ จะก่อใหเ้ กดิ บรรยากาศของชน้ั เรยี นทต่ี ื่นเต้นและมีอารมณ์รว่ มสงู

สไตลก์ ารเรยี นรู้

สไตลก์ ารสอนของครูมีความสัมพันธ์บางอย่างกับสไตล์การเรียนรขู้ องนักเรียน สไตลก์ ารสอนไม่
สามารถเลือกในลกั ษณะเดยี วกับการเลือกกลยุทธ์การสอนได้ สไตลก์ ารสอนไมใ่ ช่เร่ืองงา่ ยทจี่ ะเปลีย่ นกรม่งุ งาน
ไปเปน็ การม่งุ ใหน้ ักเรียนเปน็ ศนู ยก์ ลาง เรอื่ งน้ีเปน็ เรอื่ งท่คี ่อนขา้ งทำไดย้ าก ครูท่ไี ม่มกี ารตนื่ เต้นทางอารมณ์จะ
เปล่ยี นเปน็ ครทู ่มี ีความต่นื เตน้ ทางอารมณ์ไดห้ รอื ไม่ มีคำถามอยู่สองคำถามเกย่ี วกับสไตล์การสอนวา่ ครู
สามารถเปลยี่ นสไตลก์ ารสอนได้หรือไม่ และ ครูจะเปลีย่ นสไตลก์ ารสอนหรือไม่

แบบจำลองการสอน

แบบจำลองการสอน ในขณะทส่ี ไตล์การสอนเป็นชุดพฤตกิ รรมสว่ นบคุ คลของครู แบบจำลองการสอน
เปน็ ชดุ พฤติกรรมทั่วไปซึ่งเน้นกลยทุ ธห์ รอื ชดุ ของกลยทุ ธ์เฉพาะอย่าง ตัวอย่างเชน่ การบรรยาย เปน็ กลยทุ ธ์
การเรยี นการสอนหรือเปน็ วิธีการท่มี ลี กั ษณะครอบงำ กลยทุ ธ์ในการบรรยายคือการเติมเตม็ แบบจำลองของ
การบรรยาย ขอ้ แตกต่างระหว่างแบบจำลอง (model) กบั สไตล์ (style) สามารถสงั เกตเหน็ ไดโ้ ดยบุคคลท่เี ข้า
ฟังการบรรยายท่ีมีความแตกต่างกนั ทั้งสอง

ทกั ษะการสอน

โอลิวา ได้อธบิ ายเกย่ี วกับสไตล์และแบบจำลองการสอนซงึ่ ทง้ั สองอยา่ งเกี่ยวข้องกับการเลือกกลยทุ ธ์
หรอื วิธีการเฉพาะ ในตอนนี้จะได้ผนวกมติ ิทสี่ ามของการเลือกกลยทุ ธ์การเรยี นการสอน คือ ทักษะการสอนเข้า

ไปด้วยคำที่จำเป็นและมคี วามสำคญั ต่อความสมั พันธร์ ะหวา่ งกันของสไตลโ์ มเดลหรือแบบจำลองและทกั ษะ
การสอน คือวธิ ีการ ถ้าไมไ่ ด้แสดงความหมายของกลยทุ ธแ์ ละโมเดลไว้เรียบร้อยแลว้ เชน่ กลยุทธก์ ารบรรยาย มี
ความหมายเทา่ กับวธิ ีการบรรยาย สำหรับผ้ทู ่ีตอ้ งการคำที่ดีกว่ากอ็ าจจะใชค้ ำท่ีคลุมเครอื วา่ วิธีเริม่ เร่ืองซึง่ ให้
ความสำคัญกับความสัมพนั ธ์ระหว่างคำสามคำคือ สไตล์ โมเดล และทกั ษะ

วธิ เี รม่ิ เร่อื งของครู

ตวั อยา่ งเช่นในการเรียนการสอนแบบโปรแกรมครูซง่ึ แสดงบทบาทเปน็ ผู้จดั ทำโปรแกรม (โมเดล)
เปน็ ศนู ยก์ ลาง มีใจชอบในรายละเอยี ดเชื่อว่านักเรียนเรยี นได้ดที ีส่ ดุ ด้วยสไตล์การสอนและมที ักษะใน
การเลือกเน้อื หา ข้นั ตอน การเขียนโปรแกรมและทักษะในการทดสอบ อาจกล่าวไดว้ ่า โปรกรมเปน็ วธิ กี ารของ
ครู (หรอื เปน็ โมเดล) และการใช้โปรแกรมร่วมกับผเู้ รียนเป็นกลยุทธ์การสอนของครู (หรือเปน็ วธิ กี าร)

5.หลกั การเรียนรู้

การเรียนรู้เป็นพ้ืนฐานของการดำเนนิ ชีวิต มนษุ ยม์ ีการเรียนรตู้ ั้งแต่แรกเกดิ จนถึงก่อนตาย จึงมีคำกล่าว
เสมอว่า "No one too old to learn" หรือ ไม่มีใครแกเ่ กินที่จะเรยี น การเรยี นรจู้ ะช่วยในการพัฒนาคุณภาพ
ชีวติ ได้เป็นอย่างดี ธรรมชาตขิ องการเรียนรู้ มี4 ขั้นตอน คอื

1. ความต้องการของผ้เู รียน (Want) คอื ผเู้ รยี นอยากทราบอะไร เมือ่ ผู้เรียนมคี วามต้องการอยากรู้
อยากเหน็ ในสง่ิ ใดก็ตาม จะเป็นส่งิ ทย่ี ่วั ยุใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรไู้ ด้

2. สงิ่ เรา้ ท่นี า่ สนใจ (Stimulus) ก่อนทจี่ ะเรยี นรูไ้ ด้ จะต้องมีสิ่งเรา้ ท่นี ่าสนใจ และน่าสัมผัสสำหรบั
มนุษย์ ทำให้มนุษยด์ ้นิ รนขวนขวาย และใฝใ่ จที่จะเรยี นรใู้ นสงิ่ ท่นี า่ สนใจน้ัน ๆ

3. การตอบสนอง (Response) เมือ่ มีสง่ิ เร้าทีน่ ่าสนใจและนา่ สมั ผัส มนุษย์จะทำการสมั ผัสโดยใช้
ประสาทสัมผัสตา่ ง ๆ เช่น ตาดู หฟู ัง ล้นิ ชิม จมกู ดม ผวิ หนังสัมผสั และสมั ผัสด้วยใจ เป็นตน้ ทำให้มกี ารแปล
ความหมายจากการสมั ผัสสิ่งเรา้ เปน็ การรับรู้ จำได้ ประสานความรู้เข้าด้วยกนั มีการเปรียบเทียบ และคิด
อยา่ งมีเหตผุ ล

4. การได้รบั รางวลั (Reward) ภายหลังจากการตอบสนอง มนษุ ยอ์ าจเกดิ ความพงึ พอใจ ซึ่งเป็นกำไร
ชีวิตอยา่ งหนึง่ จะไดน้ ำไปพัฒนาคุณภาพชีวิต เชน่ การได้เรียนรู้ ในวชิ าชพี ช้ันสูง จนสามารถออกไปประกอบ
อาชพี ช้นั สงู (Professional) ได้ นอกจากจะไดร้ บั รางวลั ทางเศรษฐกจิ เปน็ เงนิ ตราแลว้ ยังจะไดร้ ับเกยี รติยศ
จากสังคมเป็นศกั ด์ิศรี และความภาคภมู ใิ จทางสังคมได้ประการหนง่ึ ดว้ ย

ลำดับขั้นของการเรียนรู้

ในกระบวนการเรียนรู้ของคนเรานั้น จะประกอบด้วยลำดับข้ันตอนพืน้ ฐานที่สำคัญ 3 ข้นั ตอนดว้ ยกัน
คอื (1)ประสบการณ์ (2) ความเข้าใจ และ (3) ความนึกคิด

1. ประสบการณ์ (experiences) ในบุคคลปกติทกุ คนจะมีประสาทรับรอู้ ยู่ดว้ ยกันทงั้ น้ัน ส่วนใหญ่ท่ี
เปน็ ทเ่ี ขา้ ใจกค็ ือ ประสาทสัมผสั ทั้งห้า ซ่ึงไดแ้ ก่ ตา หู จมูก ล้ิน และผวิ หนัง ประสาทรบั รู้เหลา่ น้จี ะเป็นเสมือน
ช่องประตูทจี่ ะให้บุคคลไดร้ บั รแู้ ละตอบสนองต่อสิง่ เร้าตา่ ง ๆ ถา้ ไม่มีประสาทรับรเู้ หล่านี้แลว้ บุคคลจะไมม่ ี

โอกาสรบั รหู้ รือมีประสบการณ์ใด ๆ เลย ซ่งึ ก็เทา่ กบั เขาไม่สามารถเรียนรู้สิง่ ใด ๆ ไดด้ ้วย ประสบการณ์ต่าง ๆ
ทบี่ ุคคลไดร้ บั น้ันยอ่ มจะแตกต่างกัน บางชนดิ ก็เป็นประสบการณต์ รง บางชนดิ เป็นประสบการณ์แทน บางชนดิ
เป็นประสบการณ์รูปธรรม และบางชนดิ เปน็ ประสบการณ์นามธรรม หรอื เป็นสญั ลักษณ์

2. ความเขา้ ใจ (understanding) หลังจากบุคคลได้รบั ประสบการณแ์ ลว้ ข้ันต่อไปก็คือ ตีความหมาย
หรือสร้างมโนมติ (concept)ในประสบการณน์ ั้น กระบวนการนี้เกิดขึ้นในสมองหรือจิตของบคุ คล เพราะสมอง
จะเกดิ สัญญาณ (percept) และมีความทรงจำ (retain) ข้นึ ซ่งึ เราเรียกกระบวนการนวี้ ่า "ความเขา้ ใจ" ในการ
เรยี นรนู้ ้ัน บคุ คลจะเข้าใจประสบการณ์ที่เขาประสบไดก้ ็ตอ่ เมือ่ เขาสามารถจดั ระเบยี บ (organize) วิเคราะห์
(analyze) และสังเคราะห์ (synthesis) ประสบการณ์ตา่ ง ๆ จนกระท่งั หาความหมายอันแท้จริงของ
ประสบการณน์ น้ั ได้

3. ความนึกคิด (thinking) ความนึกคิดถอื ว่าเป็นขนั้ สดุ ทา้ ยของการเรยี นรู้ ซึ่งเปน็ กระบวนการที่
เกดิ ข้นึ ในสมอง Crow (1948) ได้กล่าวว่า ความนึกคิดที่มปี ระสทิ ธิภาพนน้ั ตอ้ งเป็นความนกึ คิดท่สี ามารถจัด
ระเบียบ (organize) ประสบการณเ์ ดิมกบั ประสบการณ์ใหม่ที่ได้รบั ให้เข้า

6.การวจิ ัยการเรียนรู้

1. ความเปน็ มาของการวจิ ยั เพื่อพัฒนาการเรยี นรู้
การปฏิรูปการเรียนร้ตู ามพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ได้กำหนดไว้ ดังน้ี

หมวด 4 แนวการจัดการศึกษามาตรา24 (5) สง่ เสริมสนับสนุนใหผ้ สู้ อนสามารถจัดบรรยากาศ
สภาพแวดลอ้ ม สือ่ การเรยี น และอำนวยความสะดวกให้ผเู้ รียนเกดิ การเรียนรู้และมีความรอบร้รู วมท้งั สามารถ
ใชก้ ารวจิ ยั เปน็ สว่ นหนง่ึ ของกระบวนการเรียนรู้ ท้งั น้ี ผู้สอนและผู้เรยี นอาจเรียนรู้ไปพร้อมกนั จากสื่อการเรยี น
การสอนและแหลง่ วิทยาการประเภทต่าง ๆ

มาตรา30 ใหส้ ถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มปี ระสิทธภิ าพ รวมทัง้ ส่งเสริมใหผ้ ้สู อน
สามารถวิจยั เพื่อพฒั นาการเรียนรทู้ ่เี หมาะสมกบั ผูเ้ รียนในแต่ละระดับการศึกษา

หมวด 6 มาตรฐานและการประกนั คุณภาพการศึกษา มาตรา 48 กำหนดให้หนว่ ยงานต้นสังกดั
สถานศึกษาจดั ให้มีระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาและให้ถือวา่ การประกันคณุ ภาพภายในเป็นสว่ น
หนึ่งของการบรหิ ารการ

หมวด 9 เทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษามาตรา 67 รฐั ต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลติ และการ
พฒั นาเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา เพื่อใหเ้ กดิ การใชท้ ่ีคุ้มคา่ และเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ของคนไทย

ดังน้ัน จงึ อาจสรุปได้ว่า พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2554 ไดก้ ำหนดใหน้ ำการวจิ ยั มาใช้การวิจยั เพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้ ดงั น้ี

1. การวจิ ัยในกระบวนการเรยี นรู้ มุ่งให้ผเู้ รียนทำวจิ ยั เพ่ือใชก้ ระบวนการวิจยั เป็นส่วนหนงึ่ ของการ
เรียนรู้ ผู้เรียนสามารถวจิ ัยในเรื่องทีส่ นใจหรือตอ้ งการหาความรู้หรอื ต้องการแก้ไขปญั หาการเรียนรู้ ซึ่ง
กระบวนการวจิ ัยจะชว่ ยใหผ้ ู้เรียนไดฝ้ ึกการคดิ ฝกึ การวางแผน ฝึกการดำเนนิ งานและฝกึ หาเหตผุ ลในการตอบ
ปญั หา โดยผสมผสานองคค์ วามรแู้ บบบรู ณาการเพือ่ ให้เกดิ ประสบการณ์การเรียนรจู้ ากสถานการณ์จริง

2. การวิจัยพัฒนาการเรียนรู้ ม่งุ ให้ผสู้ อนสามารถทำวจิ ยั เพ่อื พฒั นาการเรียนรู้ด้วยการศึกษา
วิเคราะห์ปัญหาการเรยี นรู้ วางแผนแก้ไขปัญหาการเรยี นรู้ เกบ็ รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมลู อย่างเป็น
ระบบ ผสู้ อนสามารถทำวิจยั และพัฒนานวัตกรรมการศึกษาทนี่ ำไปสคู่ ุณภาพการเรียนรู้ ด้วยการศกึ ษา
วเิ คราะห์ปญั หาการเรยี นรู้ ออกแบบและพัฒนานวตั กรรมการเรยี นรู้ ทดลองใช้นวตั กรรมการเรยี นรู้ เก็บ
รวบรวมข้อมลู และวิเคราะห์ผลการใชน้ วตั กรรมน้ัน ๆ และผสู้ อนสามารถนำกระบวนการวิจัยมาจดั กจิ กรรม
ให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรียนรู้ ดว้ ยการใช้เทคนิควธิ ีการทช่ี ว่ ยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนจากการวิเคราะห์ปญั หา สร้าง
แนวทางเลอื กในการแก้ไขปัญหา ดำเนินการตามแนวทางที่เลือก และสรุปผลการแก้ไขปัญหาอนั เป็นการฝึก
ทกั ษะ ฝึกกระบวนการคิด ฝกึ การจัดการจากการเผชญิ สภาพการณ์จริง และปรับประยกุ ต์มวลประสบการณ์
มาใช้แก้ไขปญั หา

3. การวจิ ัยพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มุ่งให้ผ้บู รหิ ารทำการวจิ ัยและนำผลการวิจยั
มาประกอบการตัดสินใจ รวมทง้ั จดั ทำนโยบายและวางแผนบริหารจดั การสถานศึกษาใหเ้ ปน็ องค์กรทีน่ ำไป สู่
คณุ ภาพการจดั การศึกษา และเป็นแหลง่ สรา้ งเสริมประสบการณ์เรียนรขู้ องผู้เรยี นอย่างมีคณุ ภาพ

2. กระบวนการวิจยั เพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้
กระบวนการวิจยั เพือ่ พฒั นาการเรยี นรู้ มีขั้นตอนการวจิ ัยเช่นเดียวกบั กระบวนการวิจยั โดยทว่ั ไป ดงั น้ี

แผนภูมิแสดงขนั้ ตอนการวจิ ัยโดยทัว่ ไป

กระบวนการวิจยั เพอื่ การเรียนรู้ ได้มกี ารนำกระบวนการวจิ ยั ทั่วไปมาประยกุ ต์ใชใ้ นการแก้ไข
ปัญหา การเรียนรหู้ รือการพัฒนาการเรยี นรู้เป็นสำคญั ดังนั้นในข้ันการศึกษาและวเิ คราะห์ปญั หา จึงต้องเนน้
ไปทผี่ ลการพัฒนาผู้เรยี น 3 ด้าน คือด้านความร(ู้ Cognitive Domain) ด้านทักษะ(Psychomotor
Domain) และด้านเจตคติ(Affective Domain) และก่อนท่ีผูส้ อนจะใช้การวจิ ัยในกระบวนการเรียนรู้

เพอื่ แกป้ ญั หาหรือเพ่อื พฒั นาผู้เรยี น เชน่ เดียวกันกบั ผู้บรหิ ารจะทำการวจิ ยั เพื่อแกป้ ัญหาหรือพฒั นาคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษา ซ่ึงองค์ประกอบของกระบวนการวจิ ัยเพือ่ การเรยี นรู้ มีการดำเนนิ งานอยา่ งต่อเน่ือง
ดังแผนภูมิ

แผนภมู ิแสดงองคป์ ระกอบการเรยี นรู้ดว้ ยการวจิ ยั
การวจิ ยั เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรยี นรู้ มงุ่ เนน้ ผลการเรยี นรู้ของผูเ้ รียนเปน็ เป้าหมายของการจัดการ
เรยี นรู้ ดว้ ยการใช้การวจิ ัยในกระบวนการเรยี นรู้ การวจิ ัยพัฒนาการเรียนรู้และการวิจยั พฒั นาคณุ ภาพ
การศึกษาของสถานศกึ ษา ซึง่ มีรายละเอยี ด ดงั นี้
1. การวิจัยในกระบวนการเรียนรู้
การวิจยั ในกระบวนการเรียนรู้ คอื การนำระเบียบวธิ วี จิ ัยมามาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนร้ใู หก้ ับ
ผู้เรียน ซงึ่ มาจากความเชื่อว่า “ผู้เรยี นทุกคนมคี วามสามารถเรยี นร้ดู ้วยตนเองและพฒั นาตนเองได้” ดังนน้ั การ
จดั การศกึ ษาจะต้องสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเต็มศกั ยภาพ โดยส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รยี น
เรียนรดู้ ้วยตนเองตามความสนใจ ความถนัด และความต้องการ จากสือ่ และอุปกรณ์ที่มีอย่ตู ามแหลง่ เรียนรู้ต่าง
ๆ ในครอบครวั ในสถานศึกษาและในชุมชนท่ผี ้เู รียนพบในชวี ิตประจำวัน
· แนวคิดเก่ยี วกับการส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รียนรดู้ ว้ ยตนเอง มหี ลายแนวคิด เช่น
1) แนวคิดการเรยี นรแู้ บบมสี ่วนรว่ ม (Participation learning) ซงึ่ เนน้ การสรา้ งความร้จู าก
ประสบการณเ์ ดมิ ของผู้เรียนและการมีปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างผูเ้ รียน
2) แนวคดิ การเรยี นรู้ตามหลกั พุทธศาสนา ซึ่งมี 3 ระดับ คือการรูจ้ ำจากการบอกหรอื สอน การรูจ้ ัก
จากการคิดหาเหตุผล และการร้แู จ้งจากการสรา้ งความเข้าใจอยา่ งแจ่มแจ้งด้วยการคน้ พบดว้ ยตนเอง
3) แนวคดิ การสรา้ งความรู้ (Constructivism) เนน้ การสร้างความร้ดู ้วยตนเองจากวิธีการตา่ ง ๆ กนั
โดยอาศัยประสบการณเ์ ดิมจากโครงสร้างทางปัญญา และแรงจงู ใจ

จากแนวคิดดังกลา่ วท่ีนำมาใชใ้ นการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ให้กบั ผูเ้ รยี นได้ ประสบความสำเร็จในการเรยี นรไู้ ด้
อยา่ งมีประสิทธิภาพ ควรจัดกระบวนการเรียนร้อู ย่างเป็นระบบโดยอาศัยกระบวนการวิจัยเขา้ มาชว่ ยในการ
เรียนรู้ในเร่อื งท่ีมคี วามซับซอ้ นทำให้ผเู้ รียนไดฝ้ ึกคดิ การจัดการ การหาเหตุผลในการแก้ปัญหา การผสมผสาน
ความรู้แบบสหวิทยาการและการเรยี นรู้ปัญหาที่ผเู้ รยี นสนใจ ครจู ะต้องส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นมีอิสระในการทดลอง
ใช้แนวคดิ และวธิ ีการต่าง ๆในการเรยี นรู้ การทดสอบความรทู้ ไี่ ดร้ บั และการสรุปความรู้ เจตคติ และทักษะอัน
เป็นเครื่องมือพัฒนาการเรียนรูต้ ลอดชีวติ มีพฒั นาการทางสตปิ ัญญา ทางอารมณ์ สงั คม และทางรา่ งกาย ซ่ึง
รูปแบบการวจิ ัยในกระบวนการเรยี นรู้ มีดงั นี้

แผนภมู ิ แสดงการวิจัยในกระบวนการเรียนรู้
จากแผนภมู ิ การวิจัยในกระบวนการเรียนรู้ ซ่ึงเปา้ หมายของการจดั การเรยี นรู้ คือผเู้ รียนมคี วามรู้ เจตคติ และ
ทักษะ ซึ่งไดจ้ ากการเรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัยอยา่ งเป็นระบบ มี 5 ข้นั ตอน ดงั นี้

ขั้นตอนท่ี 1 การวิเคราะหค์ วามต้องการการเรียนรู้ ข้ันตอนนผี้ เู้ รียนจะต้องทราบความต้องการการ
เรียนรู้ของตนเอง มีการลำดบั ความสำคัญของความต้องการก่อนหลังที่ต้องการจะเรียนเรียน และนำเรื่องท่มี ี
ความสำคญั ลำดบั แรก มากำหนดเป้าหมายของการเรยี นรู้

ขั้นตอนท่ี 2 การวางแผนการเรียนรู้ ผู้เรียนจะต้องวางแผนการเรยี นรู้ของตนเองว่าจะเรียนเรื่องอะไร ใช้
เวลาเรียนเทา่ ไร เรียนรดู้ ว้ ยวิธใี ด เรียนรู้จากแหลง่ เรยี นรูใ้ ด ตอ้ งใช้ส่อื อะไร และเมือ่ มปี ญั หาในการเรียน
จะตอ้ งปรกึ ษาใคร เม่ือไดร้ ับความรู้แล้วจะนำความรู้ไปใชอ้ ย่างไร ตลอดจนวางแผนการนำความรทู้ ไี่ ด้ไปใชใ้ น
การปรบั ปรงุ และพัฒนางาน

ขน้ั ตอนท่ี 3 การพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ เปน็ ขนั้ ตอนของการปฏิบัตเิ พ่ือแสวงหาความรู้ตามที่ไดว้ างแผนไว้
ซง่ึ อาจใช้วิธีการต่าง ๆ ในการเรยี นรู้ เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การบันทึกข้อความ การสรปุ ความ การเรียนรู้

จากแหล่งเรยี นรู้ เช่น ศูนย์วิทยาการ สอ่ื ส่ิงพิมพ์ ส่ือบคุ คลและสื่อเทคโนโลยี เปน็ ตน้ เม่ือไดค้ วามรูแ้ ล้วควร
ตรวจสอบความถูกต้องของความรทู้ ีไ่ ด้ และนำความรู้ไปใช้ให้เป็นไปตามเปา้ หมายของการเรยี นรู้

ข้ันตอนที่ 4 การสรุปความรู้ เป็นข้ันตอนท่ีผู้เรียนสรุปความรู้และนำเสนอความรทู้ ่ีได้จากการศึกษาค้นคว้า
ในรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ รูปภาพ แผนภาพ แผนภมู ิ ฯลฯ และอาจใช้ เครื่องมือ อปุ กรณ์ หรือเทคโนโลยีต่าง ๆมาชว่ ย
ในการนำเสนอ

ข้ันตอนท่ี 5 การประเมินผลเพอื่ ปรบั ปรุงและนำไปใช้ในการพฒั นา เปน็ ข้นั ตอนทีผ่ ู้เรียนประเมิน
กระบวนการเรยี นรู้ของตนเองในระหว่างการเรยี นรู้ทกุ ขัน้ ตอน เพ่ือนำไปสู่การปรับปรงุ และการนำไปใชพ้ ัฒนา
งานต่อไป

2. การวิจัยพฒั นาการเรยี นรู้
ในการจดั การเรยี นรเู้ พื่อให้ผูเ้ รียนเปน็ มนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญา ความรู้ และ
คุณธรรม มีจรยิ ธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชวี ิต สามารถอย่รู ว่ มกบั ผู้อืน่ ไดอ้ ยา่ งมีความสุขนน้ั ผู้สอน
จะต้องคำนงึ ถงึ มาตรฐานการจัดการศกึ ษา ท่ีกำหนดในการจดั การเรียนรู้ที่มุง่ พฒั นาผู้เรียนเป็นสำคัญ คอื
ผเู้ รยี นจะต้องเกิดกระบวนการเรยี นรตู้ รงตามเป้าหมายการเรยี นรู้ ซงึ่ จะตอ้ งมีการปรับปรงุ และพัฒนาการ
จดั การเรยี นรขู้ องผูส้ อนอย่างตอ่ เนือ่ ง ดังนนั้ การทำวจิ ยั เพ่ือพัฒนาการเรยี นรจู้ ึงมบี ทบาสำคญั ในการ
พฒั นาการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนจำเปน็ จะตอ้ งบรู ณาการภารกจิ ของการวิจัยมาใชเ้ ปน็ เครอื่ งมือในการ
พฒั นาการเรียนรู้ ดังน้ี

1. ในการจดั กระบวนการเรยี นการสอน ควรใชก้ ระบวนการวจิ ยั มาเป็นส่วนหน่ึงของการเรียนรู้
2. ทำวจิ ยั เพ่ือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรยี น
3. นำผลการวิจยั มาใชใ้ นการปรับปรงุ กระบวนการเรียนการสอน

ดงั นนั้ การใชก้ ารวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาการเรียนรู้จงึ เปน็ ภารกิจที่สำคญั และจำเป็นที่ผูส้ อนควรนำมาใช้ในการ
แกป้ ญั หาหรือพฒั นาการเรยี นรู้ การวจิ ยั เพ่อื พฒั นาการเรยี นรู้ มกี ารดำเนนิ งาน ดังน้ี

แผนภูมิ แสดงกระบวนการการวจิ ัยเพ่อื พฒั นาการเรยี นรู้

จากแผนภมู กิ ระบวนการวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาการเรียนรู้ มี 5 ขัน้ ตอน ดังน้ี

ข้ันตอนที่ 1 วิเคราะห์ความต้องการ/พัฒนาการเรียนรู้
ขนั้ ตอนท่ี 2 วางแผนการจดั การเรียนรู้
ขน้ั ตอนท่ี 3 จัดกิจกรรมการเรยี นรู้
ขน้ั ตอนท่ี 4 ประเมนิ ผลการเรียนรู้
ข้นั ตอนที่ 5 ทำรายงานผลการเรียนรู้

กระบวนการทั้ง 5 ขน้ั ตอนผู้สอนจะต้องนำวิธวี ิจยั มาใช้ในการดำเนนิ งาน และในขั้นตอนที่ 3 เม่ือผู้สอนทำการ
ประเมนิ ระหว่างจัดกจิ กรรมการเรยี นร้แู ล้วพบว่ามีปญั หาเกิดขึน้ เล็กนอ้ ย ผู้สอนจะต้องดำเนินการปรบั ปรงุ
แกไ้ ขการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เพือ่ ใหบ้ รรลุผลตามจุดมุ่งหมายทีก่ ำหนดไว้ และเมอื่ ผ้สู อนประเมินผลการ
เรยี นรใู้ นขัน้ ตอนที่ 4 แล้วพบว่าไมม่ ปี ญั หา ผ้เู รยี นมีการพัฒนาการเรยี นรทู้ ี่ตรงกบั จุดมุง่ หมายของการจดั

กิจกรรมการเรียนรู้ ผู้สอนจะตอ้ งจัดทำรายงานผลการเรียนรู้ เพอื่ รายงานแก่ผูเ้ ก่ียวขอ้ งเพอ่ื ทราบและใช้
ประโยชน์ต่อไป

ในกรณผี ู้สอนทำการประเมนิ ผลการเรียนรใู้ นขน้ั ตอนที่ 4 แล้วพบว่ามปี ัญหารุนแรง หรอื พบวา่ มี
บางเรือ่ งที่จำเป็นต้องพฒั นา แตไ่ ม่อาจทำไดท้ นั ที เชน่ ผเู้ รียนวชิ าภาษาไทยขาดทักษะการอา่ น โดยเฉพาะการ
อา่ นจับใจความ ผู้สอนจะต้องทำวจิ ยั เพือ่ แกป้ ญั หาที่เกดิ ขนึ้ โดยดำเนินการดงั นี้

1) จดั กิจกรรมแก้ปัญหา/พฒั นา
2) เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล/วเิ คราะห์ข้อมูล
3) สรปุ ผลการแกป้ ัญหา/พฒั นา

เม่อื ได้ผลการแกป้ ัญหา/พัฒนาแล้ว ผสู้ อนจะต้องกลับไปประเมินผลการเรยี นรแู้ ละรายงานต่อ
ผู้เกยี่ วขอ้ งเพอื่ นำไปใชป้ ระโยชน์และเม่อื ผู้สอนได้ทำวจิ ยั เพิ่มเติมเพ่อื แกป้ ัญหาทีเ่ กิดข้ึนในการจดั การเรยี นรู้ได้
แลว้ ผสู้ อนจะต้องนำผลวจิ ยั ไปใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ตอ่ ไป

3. การวจิ ยั พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา

การจดั การศึกษาของสถานศึกษาทม่ี ปี ระสิทธิภาพน้นั ขนึ้ อยู่กับองคป์ ระกอบภายในของสถานศึกษา
เช่น ผสู้ อน ผูเ้ รียน หลกั สตู ร ส่ือ วสั ดอุ ปุ กรณ์ต่าง ๆ และผู้ท่มี ีบทบาทสำคญั ทีส่ ดุ ในการทำให้กจิ กรรมตา่ ง ๆ
ของสถานศกึ ษาดำเนนิ ไปไดด้ ้วยดี คือผู้บริหารสถานศึกษา ซึง่ จะต้องระดมสรรพกำลังบุคลากรทุกฝ่ายตง้ั แต่
ผูส้ อน ผเู้ รยี น กรรมการสถานศึกษา และชมุ ชน มารว่ มกันวิเคราะหป์ ญั หาและความตอ้ งการ เพ่ือกำหนด
ทิศทางหรือวิสยั ทัศน์ จัดทำแผนพัฒนาการจดั การศึกษา จัดทำแผนปฏิบตั กิ าร การดำเนินงานตามแผน การ
นเิ ทศตดิ ตามผล และการจัดทำรายงานผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา

กระบวนการตา่ ง ๆ ดงั กล่าวถือวา่ ผู้บริหารสถานศกึ ษาไดน้ ำกระบวนการวิจยั มาใช้ในการบริหาร
จัดการของสถานศึกษา ดังนี้

แผนภมู แิ สดงการวจิ ัยพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

จากแผนภมู จิ ะเห็นไดว้ า่ ผู้บริหารได้ใช้กระบวนการวิจยั มาดำเนินการบริหารสถานศึกษา เรม่ิ ต้ังแต่
การวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการเพ่ือกำหนดทิศทาง/วิสยั ทศั น์จดั ทำแผนพฒั นาการจัดการศึกษา/
แผนปฏิบัติการ กำกับ ดูแลการปฏบิ ตั งิ านใหเ้ ป็นไปตามแผน นเิ ทศ ติดตามประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน และ
จดั ทำรายงานผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา

ในกรณที ปี่ ระเมนิ ผลการดำเนนิ งานแลว้ พบวา่ มปี ัญหารุนแรงหรือพบเรอื่ งที่ควรได้รับการพฒั นา
ผบู้ ริหารจะต้องทำวิจัยเพื่อแก้ปญั หาหรือพฒั นางานดังกลา่ วในระหว่างขั้นตอนที่ 4 ของการดำเนินงาน โดยมี
ข้นั ตอนวิจยั 5 ขั้นตอน ดงั นี้

1. การวเิ คราะห์ปัญหา/พฒั นา
2. วางแผนแก้ปัญหา/พัฒนา
3. จดั กิจกรรมแก้ปญั หา/พฒั นา
4. เก็บรวบรวมข้อมลู วเิ คราะหข์ ้อมูล
5. สรปุ ผลการแก้ปัญหา/พัฒนา

เม่ือสรุปผลการแกป้ ัญหา/พัฒนา เสร็จแล้วขั้นต่อไปคือการนำผลการวจิ ัยไปใช้ และประเมนิ ใน
ขนั้ ตอนที่ 4 ของการดำเนินงานบริหารอีกครั้ง ถา้ พบว่าไม่มีปญั หา จึงจัดทำรายงานผลการดำเนนิ งาน
สถานศกึ ษาใหผ้ ูเ้ ก่ยี วข้องทราบหรอื เปน็ ข้อมูลในการพัฒนา ตอ่ ไป

7.ความเขา้ ใจผู้เรยี นและการเรียนรู้

การเรยี นรู้เปน็ การเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมที่ถาวร เนอ่ื งจากการฝกึ ปฏบิ ตั ิหรอื ประสบการณ์การ
เรยี นรขู้ น้ึ อยกู่ บั ปจั จยั 5ประการคือ 1. ความสามารถของผูเ้ รยี น 2. ระดับของแรงจูงใจ 3. ผูเ้ รียนเสาะหา
วธิ กี ารทเ่ี หมาะสมในการแก้ปัญหา 4. ผลของความกา้ วหนา้ จากการเลือกแกป้ ญั หาทล่ี ดความตึงเครยี ด
และ 5. การขจัดพฤติกรรมที่ไมเ่ หมาะสม

ขอบเขตของการเรียนรู้ 4 ประการ
บลูม และเพ่ือนๆเป็นทร่ี จู้ ักกนั ดีในการแบ่งการเรียนรูอ้ อกเป็น 3 ประเภท คอื ด้านปัญญาหรอื พุทธ
พสิ ัย ดา้ นทกั ษะพิสยั พุทธพิสัยรวมถึงการเรยี นร้แู ละการประยุกตใ์ ช้ความรู้ ทกั ษะพิสัยรวมถงึ การพัฒนาเสรี
ทางกายและทักษะทีต่ ้องการใช้กลา้ มเนอ้ื สมั พนั ธก์ ับประสาทจติ พิสัยเกย่ี วข้องกับการไดม้ าซึ่งเจตคติ ความ
ซาบซงึ้ และคา่ นิยม การเรียนรทู้ ั้ง 3 ประการน้ี ควรไดร้ ับการพจิ ารณาในการวางแผนผลท่ีได้รบั จากการเรยี นรู้
ทีไ่ ด้จากการเรียนการสอน ในการทีจ่ ะประสบผลสำเรจ็ ตามเปา้ หมายของการศึกษาขอบเขตการเรียนร้ทู ้ัง 3 น้ี
ตอ้ งได้รบั การบรู ณาการเขา้ ไว้ในทุกลกั ษณะของการเรยี นการสอนและการพฒั นาหลักสตู รซ่งึ จะทำใหผ้ เู้ รยี น
กลายเป็นจุดโฟกัสของกระบวนการเรียนการสอนการเรยี นรู้
อนุกรมภธิ าน เปน็ ระบบของการแยกแยะบางพฤตกิ รรมที่นักเรียนสามารถคาดหวังท่จี ะทำให้ได้
ภายหลังจากท่ไี ดเ้ รียนรู้แล้ว อนุกรมภิธานเปน็ ทร่ี จู้ ักกนั มากทีส่ ุด คือ อนกุ รมภิธานด้านพุทธพิสยั ของบลูมและ
เพ่อื นๆ

พุทธิพสิ ยั รวมถงึ ความรู้ ความเข้าใจการนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในการวิเคราะห์ การสงั เคราะหแ์ ละการ
ประเมนิ ค่า พทุ ธิพสิ ยั แต่ละประเภทในอนุกรมอภธิ าน ประกอบด้วยองค์ประกอบบางประการของประเภท
ความรูท้ ่ีต้องมาก่อนอนกุ รมน้ีมปี ระโยชนส์ ำหรับการออกแบบหลกั สูตรและการสร้างแบบทดสอบ

จิตพสิ ัย การเรยี นรทู้ างเจตคติพาดพิงถึงคุณลักษณะของอารมณ์ของการเรียนรู้ เก่ียวขอ้ งวา่ นักเรยี น
รูส้ ึกอย่างไรเก่ียวกบั ประสบการณ์การเรยี นรู้ รู้สกึ อยา่ งไรกับการเรียนรู้กบั ตนเอง และเป็นการพจิ ารณาความ
สนใจ ความซาบซ้งึ เจตคตคิ ่านยิ มและคุณลกั ษณะของผเู้ รียน

ทกั ษะพิสยั เก่ียวข้องกบั ทางร่างกายหรือทักษะทางประสาทและกล้ามเนื้อสัมพันธก์ ัน ในการเฝ้าดู
การเรยี นรทู้ จี่ ะเดนิ ก็จะความคดิ วา่ มนษุ ยเ์ รยี นรู้ทักษะการเคลือ่ นไหวอย่างไร เม่อื เด็กไดร้ บั ความคิดวา่ ต้องการ
อะไรและมีทักษะทีต่ ้องมมี าก่อนมคี วามแข็งแรง และวฒุ ิภาวะและอน่ื ๆ เด็กจะพยายามมีความหยาบๆ ซ่ึงจะ
ค่อยๆแก้ไขผ่านไปขอ้ มลู กลับยอ้ นมาจากสง่ิ แวดลอ้ ม เชน่ ธรณีประตู

สงั คมพิสยั มีความใกลเ้ คียงและสัมพันธก์ ับจติ พิสยั และเกีย่ วขอ้ งกบั การปรับตวั ของบคุ คลและ
ทกั ษะการปฏสิ มั พนั ธท์ างสงั คม ซิงเกอรแ์ ละดิค ได้สรปุ สิง่ ที่เกีย่ วขอ้ งกับสังคมพสิ ยั ไว้ 4 ประการ ดงั นี้
คือ 1. ความประพฤติ การปฏิบตั ิ 2. ความมนั่ คงทางอารมณ์ 3. ความสัมพันธร์ ะหวา่ งบุคคล และ 4. การรจู้ ัก

เติมเต็มตวั เองให้สมบูรณ์ ท่เี รียกว่า Self – fulfillment ครูต้องมั่นใจในทกั ษะทางสังคมทางบวกมากกว่าทาง
ลบเป็นผลทีป่ รากฏภายหลงั ของการศึกษา

8.การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

การเรียนการสอนทเี่ น้นผู้เรยี นเปน็ ศูนย์กลาง การเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสำคญั เปน็ การ
เรียนรูม้ ่งุ ประโยชน์สูงสุดแกผ่ ู้เรียน สนองความแตกตา่ งระหว่าง บคุ คล ผู้เรียน เกดิ การเรียนรอู้ ยา่ งแท้จริง
เรียนรูอ้ ยา่ งมีความสขุ ได้พัฒนาเดก็ ตามศกั ยภาพรอบด้านสมดลุ

หรืออีกนยั หนง่ึ วา่ การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นศนู ย์กลาง หมายถงึ การสอนท่มี ุ่งจดั กิจกรรม
การเรียนร้ทู ี่สอดคลอ้ งกบั การดำรงชวี ติ เหมาะกับความสามารถและความสนใจของผเู้ รียน โดยใหผ้ เู้ รยี นมีสว่ น
รว่ มและลงมือปฏบิ ตั ิจริงทกุ ขั้นตอน จนเกดิ การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง หรืออาจกลา่ วอกี นยั หนึง่ ได้เชน่ กนั วา่
หมายถงึ ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้อยา่ งแท้จรงิ เรยี นอย่างมคี วามสุข

แนวคดิ

ปจั จุบนั มีการกล่าวขานกันมากถึงการจัดการเรียนรู้ทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง หรือเน้นผู้เรยี นเป็น
สำคัญ ซึ่งนกั การศึกษาเปน็ ผู้คดิ คน้ และใช้คำนี้เปน็ ครงั้ แรก คือ อาร์ โรเจอร์ โดยเชื่อว่าวิธกี ารเรียนการสอนท่ี
เน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ เป็นการส่งเสรมิ ให้ผ้เู รยี นมคี วามรับผิดชอบ โดยสง่ เสริมความคดิ ของผ้เู รียนและอำนวย
ความสะดวกใหผ้ เู้ รียนและอำนวยความสะดวกให้ผเู้ รยี นได้พฒั นาศักยภาพสูงสุดของตนเองโดยมีแนวคิด ดังน้ี
1. ผู้เรียนต้องรับผิดชอบต่อการเรยี นรู้ของตน
2. เนอ้ื หาวิชามีความสำคญั และมีความหมายต่อการเรยี น
3. การเรียนรจู้ ะประสบความสำเรจ็ ถ้าผ้เู รยี นมีสว่ นรว่ ม
4. สมั พนั ธภาพทด่ี รี ะหว่างผเู้ รยี น การมีปฏิสมั พันธ์
5. ครเู ปน็ มากไปกวา่ การสอน ครูเปน็ ทัง้ ทรพั ยากรบคุ คล เปน็ แหล่งการเรียนรู้ เป็นผอู้ ำนวยความสะดวก
6. ผเู้ รียนมโี อกาสเห็นตนเองในแงม่ มุ ทแี่ ตกตา่ งจากเดมิ
7. การศึกษาเปน็ การพัฒนาประสบการณ์การเรยี นรู้ของผเู้ รยี นหลายๆดา้ น
8. ผ้เู รียนไดเ้ รยี นรู้วิธีการทำงานอย่างเปน็ กระบวนการ
9. ผเู้ รียนนำความรู้ท่ีได้ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจำวนั ได้
10. การเนน้ ผเู้ รยี นเป็นศนู ย์กลางก่อให้เกิดความเปน็ ประชาธิปไตย
11. การเนน้ ผเู้ รียนเป็นศูนย์กลางสอนใหผ้ เู้ รยี นรูจ้ ักวิพากษว์ จิ ารณ์
12. การเน้นผู้เรยี นเป็นศนู ย์กลางทำให้เกิดการนำตนเอง
13. การเน้นผูเ้ รยี นเปน็ ศนู ย์กลางก่อให้เกิดความคิดสรา้ งสรรค์
14. การเน้นผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลางก่อใหเ้ กิดการพฒั นามโนทัศน์ของตน
15. การเน้นผ้เู รยี นเปน็ ศนู ย์กลางเป็นการเสาะแสวงหาความสามารถพเิ ศษของผเู้ รียน
16. การเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ ศูนย์กลางเปน็ วธิ ีการที่ดจี ะชว่ ยดึงศกั ยภาพของผเู้ รยี น

9.รปู แบบการเรยี นรู้และวิธีการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นศนู ย์กลาง

ในการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ ศูนย์กลาง มีรูปแบบการเรยี นรู้ วธิ ีการและการจดั การ
เรยี นการสอนท่ีหลากหลายกล่าวคือ

รปู แบบการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เชน่ การเรยี นรู้แบบสบื สวน การเรยี นรกู้ ารใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม
การเรียนรแู้ บบมีส่วนร่วม การเรยี นรูแ้ บบโครงงาน การเรยี นรูแ้ บบกระบวนการทางปัญญา การเรยี นรโู้ ดยใช้
แผนการออกแบบประสบการณ์ วธิ ีการจดั การเรียนการสอน การสอนทห่ี ลากหลาย เช่น เกมการศึกษา
สถานการณ์จำลอง กรณตี วั อย่าง บทบาทสมมติ การแกป้ ัญหา โปรแกรมสำเร็จรูป ศูนย์การเรียนรู้ ชดุ การ
เรยี น คอมพวิ เตอร์

การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน

ในชั้นเรยี นหนงึ่ ๆจะมคี วามแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลอยู่มาก ไม่มีใคร 2 คนท่ีเหมือนกันทุกประการ
แมก้ ระทัง่ ลกู แฝดทเ่ี กิดจากไข่ใบเดียวกนั และผ้เู รยี นแตล่ ะคนกจ็ ะมีสไตลก์ ารเรียนร้ทู ี่เป็นของตวั เอง และมี
ความถนัดในการเรียนรทู้ แี่ ตกต่างกันท้งั 4แบบ (จินตนาการ วเิ คราะห์ สามญั สำนึกเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง : พล
วัติ) เพ่อื ให้ผเู้ รียนเรยี นรู้อย่างมีความสุข สนกุ สนานและมีส่วนร่วมในรูปแบบการเรียนรตู้ ามทีถ่ นัด ท้ังยงั มีการ
พัฒนาความสามารถในด้านอื่น ๆ ทตี่ นไม่ถนดั ดว้ ยวิธกี ารเรยี นรรู้ ปู แบบอนื่ ๆ
จอหส์ ันและจอหส์ ัน (Johnhon and Jonhon, 1991) จดั ให้มยี ทุ ธศาสตร์ 5 ประการที่อนญุ าตให้เรยี นรู้แบบ
ร่วมมอื กันไปใช้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพในเชงิ วิชาการดา้ นใด ๆ คือ
1. ระบุจดุ ประสงคข์ องบทเรยี นให้ชัดเจน
2. ตัดสินใจในการกำหนดให้นักเรยี นอยู่ในกลุ่มการเรยี นรู้ใดก่อนท่จี ะสอน
3. อธิบายภาระงาน โครงสรา้ งของเป้าประสงค์และกิจกรรมการเรยี นรู้อยา่ งชดั เจน
4. เฝ้าระวงั ประสิทธผิ ลของกลมุ่ และคอยให้ความช่วยเหลือ
5. ประเมนิ ผลสมั ฤทธขิ์ องนกั เรยี น
ลักษณะและองค์ประกอบพน้ื ฐาน

1. ความเกย่ี วข้องสมั พนั ธ์กนั หรอื การพงึ่ พาในทางบวก
2. ความสัมพนั ธแ์ บบหนั หนา้ เขา้ หากัน
3. มาตรฐานการตรวจสอบรายบคุ คล
4. การใช้ทักษะระหวา่ งบุคคลและทักษะการทำงานกลุ่มยอ่ ย
5. การใชก้ ระบวนการกลุ่ม

10. การจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning
Active Learning คือกระบวนการจดั การเรียนรูท้ ี่ผูเ้ รียนได้ลงมือกระทำและไดใ้ ช้กระบวนการคิด

เกย่ี วกบั สิง่ ทีเ่ ขาได้กระทำลงไป (Bonwell, 1991) เปน็ การจดั กิจกรรมการเรยี นร้ภู ายใต้สมมตฐิ านพื้นฐาน
2 ประการคือ 1) การเรยี นรเู้ ปน็ ความพยายามโดยธรรมชาตขิ องมนุษย์ และ 2) แต่ละบุคคลมแี นวทางในการ
เรียนรทู้ แ่ี ตกตา่ งกัน (Meyers and Jones, 1993) โดยผ้เู รยี นจะถูกเปลีย่ นบทบาทจากผู้รบั ความรู้(receive)
ไปสู่การมีส่วนรว่ มในการสร้างความรู้(co-creators) ( Fedler and Brent, 1996)

Active Learning เปน็ กระบวนการเรยี นการสอนอยา่ งหน่ึง แปลตามตัวก็คือเปน็ การเรียนรู้ผ่านการปฏิบตั ิ
หรอื การลงมือทำซ่ึง ” ความรู้ “ทีเ่ กิดข้นึ ก็เปน็ ความรู้ทีไ่ ด้จากประสบการณ์ กระบวนการในการจัดกจิ กรรม
การเรยี นรูท้ ีผ่ ูเ้ รียนตอ้ งได้มีโอกาสลงมือกระทำมากกว่าการฟงั เพียงอย่างเดยี ว ตอ้ งจัดกจิ กรรมให้ผ้เู รยี นได้การ
เรยี นรู้โดยการอ่าน, การเขียน, การโตต้ อบ, และการวเิ คราะหป์ ญั หา อีกทัง้ ให้ผู้เรยี นได้ใชก้ ระบวนการคิดข้นั
สงู ไดแ้ ก่ การวิเคราะห์, การสังเคราะห์, และการประเมินคา่ ดงั กล่าวนั่นเองหรอื พดู ให้งา่ ยขน้ึ มาหน่อยก็คือ
หากเปรียบความรเู้ ปน็ ” กับขา้ ว ” อยา่ งหนึ่งแล้ว Active learning กค็ อื ” วธิ ีการปรงุ ” กบั ข้าวชนดิ นัน้
ดงั น้ันเพื่อให้ได้กับข้าวดังกล่าว เราก็ต้องใชว้ ิธกี ารปรุงอันนี้แหละแต่วา่ รสชาตจิ ะออกมาอย่างไรกข็ นึ้ กบั
ประสบการณ์ความชำนาญ ของผปู้ รงุ นั่นเอง ( ส่วนหนึ่งจากผสู้ อนให้ปรงุ ด้วย ) “เปน็ กระบวนการเรียนรทู้ ใี่ ห้
ผู้เรียนได้เรยี นร้อู ย่างมีความหมาย โดยการร่วมมอื ระหว่างผู้เรยี นดว้ ยกนั ในการนี้ ครูต้องลดบทบาทในการ
สอนและการใหข้ ้อความรู้แกผ่ ู้เรียนโดยตรงลง แต่ไปเพ่มิ กระบวนการและกิจกรรมที่จะทำให้ผู้เรียนเกดิ ความ
กระตือรอื รน้ ในการจะทำกิจกรรมตา่ ง ๆ มากขน้ึ และอยา่ งหลากหลาย ไมว่ า่ จะเป็นการแลกเปล่ยี น
ประสบการณ์ โดยการพูด การเขยี น การอภปิ รายกบั เพ่ือนๆ” กระบวนการเรียนรู้ Active Learning ทำให้
ผูเ้ รยี นสามารถรกั ษาผลการเรียนรู้ใหอ้ ยู่คงทนได้มากและนานกวา่ กระบวนการเรยี นรู้ Passive
Learning เพราะกระบวนการเรยี นรู้ Active Learning สอดคลอ้ งกบั การทำงานของสมองทีเ่ ก่ยี วข้องกับ
ความจำ โดยสามารถเก็บและจำสิ่งทผ่ี ู้เรยี นเรยี นร้อู ย่างมีสว่ นรว่ ม มีปฏิสัมพันธ์ กบั เพื่อน ผู้สอน ส่ิงแวดล้อม
การเรียนร้ไู ด้ผา่ นการปฏิบัติจรงิ จะสามารถเก็บจำในระบบความจำระยะยาว (Long Term Memory) ทำ
ใหผ้ ลการเรยี นรู้ ยงั คงอยูไ่ ด้ในปริมาณที่มากกวา่ ระยะยาวกวา่ ซ่ึงอธบิ ายไว้ ดังรปู

จากรปู จะเห็นไดว้ า่ กรวยแหง่ การเรยี นรู้นไ้ี ด้แบ่งเป็น 2 กระบวนการ คือ กระบวนการเรียนรู้ Passive
Learning กระบวนการเรียนรู้โดย การอ่านท่องจำผู้เรียนจะจำได้ในสงิ่ ที่เรียนได้เพียง 10% การเรยี นรู้โดยการ
ฟังบรรยายเพียงอย่างเดียวโดยทผ่ี ้เู รยี นไม่มโี อกาสได้มสี ว่ นร่วมในการเรียนร้ดู ้วยกิจกรรมอ่นื ในขณะทอ่ี าจารย์
สอนเม่ือเวลาผ่านไปผ้เู รียนจะจำไดเ้ พียง 20%หากในการเรียนการสอนผ้เู รียนมโี อกาสไดเ้ ห็นภาพประกอบ
ด้วยก็จะทำใหผ้ ลการเรียนรูค้ งอยไู่ ด้เพมิ่ ขน้ึ เปน็ 30%กระบวนการเรียนรทู้ ผ่ี ู้สอนจัดประสบการณ์ให้กบั ผู้เรยี น
เพิ่มขน้ึ เชน่ การให้ดภู าพยนตร์ การสาธิต จดั นิทรรศการให้ผเู้ รียนไดด้ ู รวมทั้งการนำผ้เู รียนไปทัศน
ศึกษา หรือดงู าน ก็ทำให้ผลการเรียนรเู้ พิ่มขึ้น เป็น 50%

การบวนการเรยี นรู้ Active Learning
การใหผ้ เู้ รียนมบี ทบาทในการแสวงหาความรูแ้ ละเรียนรู้อย่างมีปฏสิ มั พันธจ์ นเกิดความรู้ ความเขา้ ใจ
นำไปประยุกตใ์ ชส้ ามารถวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ ค่าหรือ สรา้ งสรรค์สิง่ ต่าง ๆ และพัฒนาตนเองเต็ม
ความสามารถ รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรใู้ หเ้ ขาไดม้ ีโอกาสร่วมอภิปรายให้มโี อกาสฝึกทักษะการ
สื่อสาร ทำใหผ้ ลการเรียนรู้เพ่ิมข้นึ 70%การนำเสนองานทางวชิ าการ เรียนร้ใู นสถานการณจ์ ำลอง ทั้งมีการฝึก
ปฏบิ ัติ ในสภาพจริง มีการเชื่อมโยงกับสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ซึง่ จะทำใหผ้ ลการเรียนร้เู กิดขึ้นถึง 90%
ลกั ษณะของ Active Learning (อา้ งอิงจาก :ไชยยศ เรืองสุวรรณ)
เป็นการเรยี นการสอนท่ีพัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปญั หา การนําความร้ไู ป
ประยกุ ต์ใช้เป็นการเรียนการสอนที่เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นมสี ่วนรว่ มในการเรียนรู้ผ้เู รียนสรา้ งองค์ความรแู้ ละ
จัดระบบการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองผเู้ รยี นมสี ว่ นร่วมในการเรยี นการสอน มีการสรา้ งองค์ความรู้ การสร้าง
ปฎสิ ัมพนั ธ์รว่ มกนั และรว่ มมือกันมากกวา่ การแขง่ ขนั ผู้เรียนไดเ้ รยี นรคู้ วามรบั ผิดชอบร่วมกนั การมีวนิ ัย
ในการทํางาน และการแบ่งหน้าทคี่ วามรับผิดชอบเป็นกระบวนการสรา้ งสถานการณ์ใหผ้ ู้เรยี นอา่ น พดู ฟัง คดิ
เป็นกิจกรรมการเรยี นการสอนเนน้ ทกั ษะการคิดขน้ั สูงเป็นกจิ กรรมท่เี ปิดโอกาสใหผ้ ้เู รยี นบูรณาการข้อมูล,
ข่าวสาร, สารสนเทศ, และหลกั การส่กู ารสรา้ งความคิดรวบยอดความคดิ รวบยอดผ้สู อนจะเป็นผอู้ ํานวยความ
สะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อใหผ้ เู้ รยี นเป็นผู้ปฏิบัตดิ ว้ ยตนเองความรเู้ กิดจากประสบการณ์ การสรา้ งองค์
ความรู้ และการสรุปทบทวนของผู้เรียน
บทบาทของครู กบั Active Learning ณชั นัน แกว้ ชัยเจริญกิจ (2550) ได้กลา่ วถงึ บทบาทของ
ครผู ู้สอนในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามแนวทางของ Active Learning ดงั นี้ จัดใหผ้ เู้ รยี นเปน็ ศูนยก์ ลางของ
การเรยี นการสอน กิจกรรมต้องสะทอ้ นความต้องการในการพัฒนาผู้เรยี นและเน้นการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวติ
จริงของผ้เู รียนสร้างบรรยากาศของการมสี ่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบที่ส่งเสริมให้ผู้เรยี นมีปฏิสมั พนั ธ์ท่ดี ีกับ
ผู้สอนและเพ่อื นในชั้นเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหเ้ ปน็ พลวัต ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนมีส่วนรว่ มในทกุ
กจิ กรรมรวมทั้งกระตนุ้ ให้ผ้เู รียนประสบความสำเรจ็ ในการเรยี นรู้จัดสภาพการเรยี นรู้แบบรว่ มมือ สง่ เสรมิ ให้
เกดิ การร่วมมือในกล่มุ ผเู้ รียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหท้ ้าทาย และใหโ้ อกาสผูเ้ รยี นไดร้ ับวิธกี ารสอนที่
หลากหลายวางแผนเกยี่ วกับเวลาในจดั การเรียนการสอนอยา่ งชัดเจน ทงั้ ในสว่ นของเนอ้ื หา และกิจกรรม
ครผู สู้ อนตอ้ งใจกวา้ ง ยอมรบั ในความสามารถในการแสดงออก และความคิดเของทผ่ี ูเ้ รยี น

การจัดการเรยี นร้แู บบใช้โครงงานเปน็ ฐาน (PROJECT-BASED LEARNING)

ความหมาย
การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน หมายถงึ การจดั การเรยี นรู้ทม่ี ีครเู ป็นผกู้ ระตนุ้ เพ่อื นำความ
สนใจท่เี กิดจากตัวนกั เรียนมาใชใ้ นการทำกจิ กรรมคน้ ควา้ หาความร้ดู ้วยตัวนักเรยี นเอง นำไปสกู่ ารเพ่ิมความรูท้ ี่
ได้จากการลงมือปฏิบตั ิ การฟังและการสงั เกตุจากผเู้ ชย่ี วชาญ โดยนักเรียนมกี ารเรยี นรู้ผ่านกระบวนการ
ทำงานเปน็ กลุ่ม ที่จะนำมาสูก่ ารสรุปความรใู้ หม่ มีการเขยี นกระบวนการจัดทำโครงงานและไดผ้ ลการจดั
กิจกรรมเปน็ ผลงานแบบรูปธรรม (ดษุ ฎี โยเหลาและคณะ, 2557: 19-20)

ลักษณะเด่น

การเรยี นรแู้ บบโครงงาน เปน็ อีกรูปแบบหน่ึงทมี่ ีผใู้ ห้ความสนใจมากในปัจจบุ นั McDonell (2007) ได้
กลา่ ววา่ การเรียนรู้แบบโครงงานเปน็ รปู แบบหนึ่งของ Child- centered Approach ท่เี ปิดโอกาสให้นกั เรียน
ได้ทำงานตามระดบั ทักษะทีต่ นเองมีอยู่ เป็นเร่ืองที่สนใจและรสู้ ึกสบายใจทจี่ ะทำ นักเรียนได้รับสทิ ธิในการ
เลอื กว่าจะต้ังคำถามอะไร และต้องการผลผลิตอะไรจากการทำงานชิ้นนี้ โดยครทู ำหนา้ ท่ีเปน็ ผ้สู นบั สนนุ
อุปกรณ์และจัดประสบการณใ์ ห้แก่นักเรียน สนับสนนุ การแกไ้ ขปัญหา และสรา้ งแรงจูงใจใหแ้ ก่นกั เรยี น โดย
ลกั ษณะของการเรียนรู้แบบโครงงาน มีดังนี้

1. นกั เรียนกำหนดการเรยี นรู้ของตนเอง
2. เชื่อมโยงกับชวี ติ จริง สิ่งแวดลอ้ มจรงิ
3. มฐี านจากการวจิ ัย หรอื องค์ความร้ทู ่ีเคยมี
4. ใชแ้ หลง่ ข้อมูล หลายแหลง่
5. ฝงั ตรงึ ดว้ ยความรูแ้ ละทักษะบางอย่าง (embedded with knowledge and skills)
6. ใช้เวลามากพอในการสรา้ งผลงาน
7. มีผลผลติ

แนวคิดสำคญั

การเรยี นรแู้ บบโครงงานนั้น มีแนวคิดสอดคล้องกบั John Dewey เรอื่ ง “learning by doing” ซง่ึ
ได้กล่าววา่ “Education is a process of living and not a preparation for future living.” (Dewey
John, 1897: 79 cite in Douladeli Efstratia, 2014) ซง่ึ เป็นการเน้นการจัดการเรยี นรู้ทใี่ ห้นักเรยี นไดร้ ับ
ประสบการณช์ วี ติ ขณะทเ่ี รยี น เพื่อใหน้ ักเรยี นได้พัฒนาทักษะตา่ ง ๆ ซึ่งสอดคล้องกบั หลักพฒั นาการคดิ ของ
Bloom ทัง้ 6 ขน้ั คือ ความรู้ความจำ (Remembering) ความเขา้ ใจ (understanding) การประยุกตใ์ ช้
(Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมนิ คา่ (Evaluating) และ การคดิ สรา้ งสรรค์ (Creating) ซง่ึ
การจดั การเรยี นรแู้ บบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน นนั้ จึงเป็นเปน็ อีกรูปแบบหนง่ึ ที่ถือไดว้ า่ เปน็ การจัดการเรยี นรทู้ ี่
เนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั เนื่องจากผูเ้ รยี นได้ลงมือปฏิบัติเพื่อฝึกทักษะต่าง ๆ ด้วยตนเองทุกข้ันตอน โดยมคี รเู ป็นผู้
จดั ประสบการณ์การเรยี นรู้

การเตรยี มตัวของครูก่อนการจดั การเรียนรู้

ในการจดั การเรยี นรู้แตล่ ะครงั้ ครูจะต้องเป็นผูท้ ม่ี ีความพร้อมและมีความแมน่ ยำในเน้ือหาเพ่อื ใหก้ าร
จัดการเรยี นรเู้ ปน็ ไปอย่างราบรื่น และสามารถอำนวยความสะดวกให้ผ้เู รยี นเกิดการเรียนรูไ้ ดข้ ณะกิจกรรม ซงึ่
การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ดังกล่าว มีแนวทางในการจัดการเรยี นรู้ 2 รูปแบบ คอื การจัดกิจกรรมตามความ
สนใจของผ้เู รยี น และการจัดกิจกรรมตามสาระการเรยี นรู้

การจัดกจิ กรรมตามความสนใจของผ้เู รียน เป็นการจดั กิจกรรมท่ใี ห้ผู้เรียนเลือกศกึ ษาโครงงานจากสิง่
ที่สนใจอยากรทู้ ี่มีอยู่ในชีวิตประจำวัน ส่ิงแวดล้อมในสังคม หรือจากประสบการณ์ต่าง ๆ ท่ียังต้องการคำตอบ
ขอ้ สรปุ ซง่ึ อาจจะอยู่นอกเหนือจากสาระการเรยี นรใู้ นบทเรียนของหลกั สูตร มีขน้ั ตอนดงั น้ี

– ตรวจสอบ วเิ คราะห์ พิจารณา รวบรวม ความสนใจ ของผู้เรยี น
– กำหนดประเดน็ ปญั หา/ หัวข้อเร่ือง
– กำหนดวตั ถปุ ระสงค์
– ต้ังสมมตฐิ าน
– กำหนดวธิ กี ารศึกษาและแหลง่ ความรู้
– กำหนดเคา้ โครงของโครงงาน
– ตรวจสอบสมมติฐาน
– สรปุ ผลการศกึ ษาและการนำไปใช้
– เขยี นรายงานวจิ ยั แบบง่ายๆ
– จดั แสดงผลงาน

การจัดกจิ กรรมตามสาระการเรียนรู้ เป็นการจัดกจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยยดึ เนอ้ื หาสาระตามท่หี ลกั สตู ร
กำหนด ผเู้ รยี นเลอื กทำโครงงานตามที่สาระการเรยี นรู้ จากหนว่ ยเนอ้ื หาทเ่ี รียนในชน้ั เรียน นำมาเป็นหวั ขอ้
โครงงาน มีข้ันตอนทีผ่ ู้สอนดำเนนิ การดงั ต่อไปนี้

– ศกึ ษาเอกสาร หลักสตู ร คมู่ ือครู
– วิเคราะห์หลกั สูตร
– วเิ คราะหค์ ำอิบายรายวชิ า เพอ่ื แยกเน้ือหา จุดประสงค์และจัดกจิ กรรมใหเ้ ดน่ ชดั
– จัดทำกำหนดการสอน
– เขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้
– ผลติ ส่ือ จดั หาแหลง่ เรยี นรู้และภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่
– จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยเร่ิมตั้งแต่ แจง้ วัตถปุ ระสงค์ กรระตนุ้ ความสนใจของผเู้ รียน จดั กลุ่ม
ผูเ้ รียนตามความสนใจ การใชค้ ำถามกระตนุ้ การมสี ว่ นรว่ มของผเู้ รยี น ซง่ึ จะกลา่ วถึงรายละเอยี ดในหวั ขอ้
บทบาทของครใู นฐานะผู้กระตุน้ การเรยี นรู้

– จดั แหล่งเรยี นรเู้ พมิ่ เติม
– บันทกึ ผลการจัดการเรียนรู้

ขัน้ ตอนการจัดการเรียนรู้แบบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน
การจดั การเรยี นรูแ้ บบใชโ้ ครงงานเป็นฐานน้นั มีกระบวนการและขัน้ ตอนแตกตา่ งกนั ไปตามแตล่ ะ
ทฤษฎี ซ่งึ ในคู่มือการจดั การเรียนรแู้ บบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐานฉบับน้ี ขอนำเสนอ 3 แนวคิดท่ีถูกพิจารณาแลว้
เหมาะสมกบั บริบทของเมืองไทย คือ 1. การจัดการเรยี รแู้ บบใช้โครงงาน ของ สำนักงานเลขาธิการสภา
การศึกษาและกระทรวงศึกษาธิการ (2550) 2. ข้นั การจดั การเรียนรู้ ตาม โมเดล จกั รยานแหง่ การเรียนรู้แบบ
PBL ของ วิจารณ์ พาณชิ (2555) และ 3. การจัดการเรียนรแู้ บบใชโ้ ครงงานเป็นฐาน ที่ไดจ้ ากโครงการสร้างชดุ
ความรู้เพื่อสรา้ งเสริมทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ของเด็กและเยาวชน: จากประสบการณค์ วามสำเร็จของ
โรงเรยี นไทย ของ ดษุ ฎี โยเหลาและคณะ (2557) ดงั นี้
แนวคิดที่ 1 ขัน้ ตอนการจดั การเรยี นรูแ้ บบโครงงาน ของ สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาและ
กระทรวงศกึ ษาธิการ ซง่ึ ไดน้ ำเสนอข้ันตอนการจดั การเรียนร้แู บบโครงงาน ไว้ 4 ขน้ั ตอน ดงั นี้

ภาพ 1 ข้ันตอนการจัดการเรียนรูแ้ บบโครงงาน สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาและกระทรวงศึกษาธกิ าร
1. ขนั้ นำเสนอ หมายถึง ขั้นท่ีผสู้ อนให้ผู้เรียนศกึ ษาใบความรู้ กำหนดสถานการณ์ ศกึ ษาสถานการณ์

เล่นเกม ดรู ปู ภาพ หรือผูส้ อนใชเ้ ทคนิคการตง้ั คำถามเกี่ยวกับสาระการเรยี นรูท้ ี่กำหนดในแผนการจัดการ
เรยี นรแู้ ตล่ ะแผน เช่น สาระการเรยี นรู้ตามหลกั สุตรและสาระการเรียนรู้ทเ่ี ป็นขัน้ ตอนของโครงงานเพื่อใช้เป็น
แนวทางในการวางแผนการเรียนรู้

2. ขั้นวางแผน หมายถงึ ข้นั ที่ผู้เรียนร่วมกนั วางแผน โดยการระดมความคดิ อภิปรายหารือข้อสรปุ
ของกลมุ่ เพื่อใช้เปน็ แนวทางในการปฏิบัติ

3. ขนั้ ปฏบิ ตั ิ หมายถงึ ขั้นทผ่ี ู้เรยี นปฏิบัตกิ จิ กรรม เขียนสรุปรายงานผลทเ่ี กดิ ขึ้นจากการวางแผน
ร่วมกัน

4. ข้นั ประเมินผล หมายถึง ข้ันการวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจริง โดยใหบ้ รรลุจดุ ประสงคก์ าร
เรียนรู้ทก่ี ำหนดไวใ้ นแผนการจัดการเรยี นรู้ โดยมผี ูส้ อน ผู้เรยี นและเพ่ือนรว่ มกนั ประเมิน
แนวคดิ ที่ 2 ขั้นการจดั การเรยี นรู้ ตาม โมเดล จกั รยานแห่งการเรียนรูแ้ บบ PBL ของ วิจารณ์ พาณิช
(2555:71-75) ซึง่ แนวคิดน้ี มีความเช่ือวา่ หากต้องการใหก้ ารเรยี นรู้มีพลังและฝงั ในตัวผเู้ รยี นได้ ตอ้ งเปน็ การ
เรียนรู้ท่เี รียนโดยการลงมือทำเปน็ โครงการ (Project) รว่ มมือกนั ทำเปน็ ทีม และทำกบั ปัญหาทม่ี ีอย่ใู นชีวติ จรงิ
ซึง่ ส่วนของ วงลอ้ แตล่ ะช้นิ ได้แก่ Define, Plan, Do, Review และ Presentation

ภาพ 2 โมเดล จักรยานแห่งการเรียนรแู้ บบ PBL

1. Define คือ ขน้ั ตอนการทำให้สมาชิกของทีมงาน ร่วมท้งั ครูด้วยมีความชัดเจนรว่ มกนั ว่า คำถาม
ปัญหา ประเด็น ความท้าทายของโครงการคืออะไร และเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้อะไร

2. Plan คือ การวางแผนการทำงานในโครงการ ครูก็ตอ้ งวางแผน กำหนดทางหนที ไี ล่ในการทำหน้าที่
โค้ช รวมทงั้ เตรยี มเครือ่ งอำนวยความสะดวกในการทำโครงการของนกั เรียน และท่ีสำคัญ เตรียมคำถามไว้ถาม
ทมี งานเพ่อื กระตนุ้ ให้คดิ ถึงประเดน็ สำคญั บางประเด็นที่นกั เรยี นมองข้าม โดยถือหลกั ว่า ครตู ้องไม่เข้าไป
ช่วยเหลอื จนทีมงานขาดโอกาสคิดเองแกป้ ญั หาเอง นักเรยี นท่ีเปน็ ทีมงานก็ต้องวางแผนงานของตน แบง่ หน้าที่
รับผิดชอบ การประชุมพบปะระหวา่ งทมี งาน การแลกเปลยี่ นข้อค้นพบแลกเปลย่ี นคำถาม แลกเปลี่ยนวิธกี าร
ย่ิงทำความเขา้ ใจร่วมกันไว้ชัดเจนเพยี งใด งานในข้ัน Do กจ็ ะสะดวกเลื่อนไหลดีเพียงนัน้

3. Do คอื การลงมอื ทำ มักจะพบปัญหาทไ่ี มค่ าดคดิ เสมอ นกั เรียนจงึ จะได้เรยี นรทู้ ักษะในการ
แก้ปัญหา การประสานงาน การทำงานร่วมกนั เป็นทมี การจดั การความขดั แยง้ ทักษะในการทำงานภายใต้
ทรพั ยากรจำกัด ทักษะในการค้นหาความรู้เพ่มิ เติมทกั ษะในการทำงานในสภาพที่ทีมงานมคี วามแตกต่าง
หลากหลาย ทักษะการทำงานในสภาพกดดนั ทักษะในการบันทกึ ผลงาน ทักษะในการวเิ คราะหผ์ ล และ
แลกเปลี่ยนข้อวเิ คราะห์กับเพ่ือนรว่ มทมี เป็นต้น ในขั้นตอน Do นี้ ครูเพื่อศษิ ย์จะได้มีโอกาสสงั เกตทำความ
รู้จักและเข้าใจศิษย์เป็นรายคน และเรียนรู้หรือฝึกทำหน้าท่ีเป็น “วาทยากร” และโคช้ ด้วย

4. Review คือ การทีท่ ีมนักเรยี นจะทบทวนการเรยี นรู้ ทไี่ มใ่ ช่แคท่ บทวนว่า โครงการได้ผลตามความ
มุง่ หมายหรือไม่ แตจ่ ะต้องเน้นทบทวนวา่ งานหรือกจิ กรรม หรอื พฤติกรรมแต่ละขั้นตอนไดใ้ หบ้ ทเรยี นอะไรบ้าง
เอาทงั้ ข้นั ตอนท่ีเป็นความสำเร็จและความลม้ เหลวมาทำความเข้าใจ และกำหนดวิธที ำงานใหม่ทถี่ ูกต้อง

เหมาะสมรวมทั้งเอาเหตกุ ารณร์ ะทึกใจ หรอื เหตุการณ์ท่ีภาคภมู ใิ จ ประทับใจ มาแลกเปลย่ี นเรียนรู้กนั ขนั้ ตอน
น้เี ป็นการเรียนรูแ้ บบทบทวนไตร่ตรอง (reflection) หรือในภาษา KM เรยี กว่า AAR (After Action Review)

5. Presentation คอื การนำเสนอโครงการต่อชั้นเรียน เป็นข้ันตอนท่ีใหก้ ารเรยี นรู้ทกั ษะอีกชุดหนงึ่
ต่อเน่อื งกบั ข้นั ตอน Review เปน็ ข้นั ตอนทท่ี ำให้เกิดการทบทวนข้ันตอนของงานและการเรียนรู้ทเี่ กดิ ขึ้นอยา่ ง
เขม้ ข้น แลว้ เอามานำเสนอในรปู แบบทีเ่ ร้าใจ ให้อารมณ์และใหค้ วามรู้ (ปัญญา) ทมี งานของนักเรียนอาจสรา้ ง
นวัตกรรมในการนำเสนอก็ได้ โดยอาจเขียนเป็นรายงาน และนำเสนอเป็นการรายงานหน้าชนั้ มี เพาเวอร์
พอยท์ (PowerPoint) ประกอบ หรอื จดั ทำวีดิทศั นน์ ำเสนอ หรอื นำเสนอเปน็ ละคร เป็นต้น
“Project-Based Learning increases long-term retention, improves problem-solving and
collaboration skills, and improves students’ attitudes towards learning.”
(Strobel , 2009)

แนวคิดที่ 3 การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเปน็ ฐาน ท่ปี รับจากการศึกษาการจดั การเรียนร้แู บบ
PBL ท่ีได้จากโครงการสร้างชุดความรู้เพื่อสร้างเสรมิ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ของเดก็ และเยาวชน: จาก
ประสบการณ์ความสำเรจ็ ของโรงเรียนไทย ของ ดษุ ฎี โยเหลาและคณะ (2557) โดยมีท้ังหมด 6 ข้ันตอน ดังน้ี

ภาพ 3 ข้ันตอนการจดั การเรียนรูแ้ บบใช้โครงงานเป็นฐาน
(ปรับปรุงจาก ดษุ ฎี โยเหลาและคณะ, 2557: 20-23)

ในการจัดการเรียนรู้แบบใชโ้ ครงงานเป็นฐานครง้ั น้ี ได้นำแนวคดิ ทปี่ รับปรุงจาก ดุษฎี โยเหลาและคณะ (2557:
20-23) ซงึ่ เป็นแนวทางการจัดการเรียนร้ทู ี่สรา้ งขนึ้ มาจากการศึกษาโรงเรียนในประเทศไทย โดยมีขั้นตอนดงั น้ี

1. ขน้ั ใหค้ วามรูพ้ ้นื ฐาน ครใู ห้ความร้พู ้ืนฐานเก่ยี วกับการทำโครงงานก่อนการเรียนรู้ เน่อื งจากการทำ
โครงงานมีรปู แบบและข้นั ตอนที่ชัดเจนและรดั กลุม ดงั น้ันนกั เรียนจึงมีความจำเปน็ อย่างยง่ิ ทจ่ี ะต้องมีความรู้
เกี่ยวกบั โครงงานไว้เป็นพนื้ ฐาน เพอ่ื ใช้ในการปฏบิ ตั ิขณะทำงานโครงงานจรงิ ในขั้นแสวงหาความรู้

2. ข้ันกระตุ้นความสนใจ ครูเตรยี มกิจกรรมทีจ่ ะกระตนุ้ ความสนใจของนักเรียน โดยตอ้ งคดิ หรือ
เตรยี มกิจกรรมที่ดึงดูดให้นกั เรยี นสนใจ ใคร่รู้ ถงึ ความสนุกสนานในการทำโครงงานหรือกิจกรรมรว่ มกนั โดย
กจิ กรรมนนั้ อาจเปน็ กจิ กรรมทีค่ รูกำหนดข้นึ หรืออาจเป็นกิจกรรมทนี่ ักเรียนมีความสนใจตอ้ งการจะทำอยู่แล้ว
ท้ังนี้ในการกระตุ้นของครจู ะต้องเปิดโอกาสให้นกั เรยี นเสนอจากกิจกรรมทไ่ี ด้เรียนรูผ้ ่านการจัดการเรียนร้ขู อง
ครทู ่ีเกี่ยวข้องกบั ชุมชนท่นี ักเรียนอาศยั อยหู่ รือเป็นเร่ืองใกล้ตัวทส่ี ามารถเรยี นร้ไู ดด้ ้วยตนเอง

3. ขั้นจัดกลุม่ รว่ มมือ ครูให้นักเรยี นแบง่ กลุ่มกันแสวงหาความรู้ ใชก้ ระบวนการกลุม่ ในการวางแผน
ดำเนินกิจกรรม โดยนกั เรียนเปน็ ผู้ร่วมกนั วางแผนกจิ กรรมการเรียนของตนเอง โดยระดมความคดิ และหารือ
แบ่งหน้าทีเ่ พือ่ เปน็ แนวทางปฏบิ ตั ริ ่วมกัน หลังจากท่ีได้ทราบหวั ข้อสง่ิ ที่ตนเองต้องเรียนรู้ในภาคเรยี นนน้ั ๆ
เรียบร้อยแลว้

4. ขั้นแสวงหาความรู้ ในข้นั แสวงหาความรูม้ แี นวทางปฏบิ ตั ิสำหรบั นักเรยี นในการทำกิจกรรม ดังน้ี
นักเรยี นลงมือปฏบิ ตั ิกิจกรรมโครงงาน ตามหัวข้อทก่ี ลุ่มสนใจ
นักเรียนปฏบิ ัตหิ น้าทข่ี องตนตามขอ้ ตกลงของกลุ่ม พร้อมทั้งรว่ มมือกนั ปฏิบัติกจิ กรรม โดยขอคำปรกึ ษาจากครู
เป็นระยะเมื่อมีข้อสงสยั หรือปัญหาเกดิ ข้นึ
นกั เรียนร่วมกนั เขยี นรูปเล่ม สรุปรายงานจากโครงงานทีต่ นปฏิบัติ

5. ขน้ั สรุปสง่ิ ที่เรียนรู้ ครูใหน้ กั เรยี นสรปุ สงิ่ ทเี่ รยี นรู้จากการทำกจิ กรรม โดยครูใช้คำถาม ถาม
นกั เรยี นนำไปสู่การสรปุ สิ่งทเ่ี รยี นรู้

6. ขัน้ นำเสนอผลงาน ครใู ห้นกั เรียนนำเสนอผลการเรยี นรู้ โดยครูออกแบบกจิ กรรมหรือจัดเวลาให้
นกั เรียนได้เสนอสง่ิ ทีต่ นเองได้เรียนรู้ เพื่อให้เพ่อื นร่วมช้นั และนักเรยี นอืน่ ๆในโรงเรยี นได้ชมผลงานและเรียนรู้
กจิ กรรมทนี่ ักเรียนปฏิบตั ิในการทำโครงงาน

12. เครื่องมือการสอนคดิ









13. รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E
ของสถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท., 2546) ประกอบด้วยขั้นตอนท่ีสำคัญดังน้ี

1) ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement) เปน็ การนำเข้าสู่บทเรียนหรือเรื่องท่ีสนใจซง่ึ เกดิ ข้นึ จาก
ความสงสยั หรอื อาจเริ่มจากความสนใจของตวั นักเรยี นเองหรือเกิดจากการอภปิ รายภายในกลุ่ม เร่อื งท่ี
นา่ สนใจอาจมาจากเหตกุ ารณ์ท่ีเกดิ ข้นึ อยู่ในชว่ งเวลาน้นั หรอื เปน็ เร่อื งทเี่ ชื่อมโยงกบั ความรเู้ ดิมทีเ่ พิ่งเรยี นรู้
มาแล้ว เปน็ ตวั กระตนุ้ ใหน้ ักเรยี นสรา้ งคำถาม กำหนดประเดน็ ทีศ่ กึ ษา ในกรณที ่ีไม่มปี ระเดน็ ใดที่น่าสนใจ ครู
อาจให้ศึกษาจากสื่อต่าง ๆ หรือเป็นผ้กู ระตนุ้ ด้วยการเสนอด้วยประเดน็ ข้ึนมาก่อน แตไ่ ม่ควรบงั คับใหน้ ักเรยี น
ยอมรับประเดน็ หรอื คำถามท่ีครูกำลงั สนใจเป็นเร่ืองทจ่ี ะใช้ศึกษา

เมอื่ มีคำถามท่ีนา่ สนใจและนักเรยี นส่วนใหญ่ยอมรับใหเ้ ปน็ ประเดน็ ทต่ี อ้ งการศึกษา จงึ ร่วมกนั กำหนด
ขอบเขตและแจกแจงรายละเอียดของเร่ืองทจี่ ะศึกษาให้มีความชดั เจนมากขน้ึ อาจรวมท้ังการรับรู้
ประสบการณเ์ ดิม หรือความรู้จากแหล่งตา่ ง ๆ ทจ่ี ะช่วยใหน้ ำไปสู่ความเข้าใจเร่ืองหรือประเด็นท่จี ะศึกษามาก
ขึ้น และมีแนวทางท่ีใช้ในการสำรวจตรวจสอบอย่างหลากหลาย

2) ขัน้ สำรวจและคน้ หา (Exploration) เมื่อทำความเขา้ ใจในประเด็นหรอื คำถามทสี่ นใจจะศกึ ษา
อยา่ งถ่องแทแ้ ล้ว กม็ ีการวางแผนกำหนดแนวทางสำหรับการตรวจสอบตั้งสมมตฐิ าน กำหนดทางเลอื กท่เี ปน็ ไป
ได้ ลงมอื ปฏบิ ัติเพื่อเกบ็ รวบรวมข้อมลู ข้อสนเทศ หรอื ปรากฏการณต์ ่าง ๆ วิธกี ารตรวจสอบอาจทำไดห้ ลายวธิ ี
เชน่ ทำการทดลอง ทำกิจกรรมภาคสนาม การใช้คอมพวิ เตอร์เพ่ือช่วยสรา้ งสถานการณ์จำลอง
(Simulation) การศึกษาหาข้อมลู จากเอกสารอ้างองิ หรือจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อใหไ้ ด้มาซึ่งข้อมลู อย่าง
เพยี งพอทีจ่ ะใชใ้ นขนั้ ต่อไป

3) ขนั้ อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) เมื่อได้ขอ้ มลู อย่างเพียงพอจากการสำรวจตรวจสอบแล้ว
จึงนำข้อมลู ขอ้ สนเทศที่ได้มิเคราะห์ แปลผล สรุปผลและนำเสนอผลท่ไี ดใ้ นรปู ต่าง ๆ เช่น บรรยายสรุป สร้าง
แบบจำลองทางคณติ ศาสตร์ หรือรูปวาด สรา้ งตาราง ฯลฯ การค้นพบในขนั้ นี้อาจเป็นไปไดห้ ลายทาง เช่น
สนับสนนุ สมติฐานทตี่ ้ังไว้ โต้แย้งกบั สมมติฐานทต่ี ัง้ ไว้ หรอื ไมเ่ กย่ี วข้องกับประเดน็ ที่ได้กำหนดไว้ แต่ผลท่ไี ดจ้ ะ
อย่ใู นรปู ใดกส็ ามารถสร้างความรแู้ ละช่วยให้เกดิ การเรยี นรู้ได้

4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) เป็นการนำความรู้ทีส่ รา้ งขน้ึ ไปเช่ือมโยงกบั ความรู้เดมิ หรอื
ความคดิ ท่ีไดค้ ้นควา้ เพ่ิมเตมิ หรือนำแบบจำลองหรอื ข้อสรปุ ทไี่ ด้ไปใช้อธบิ ายสถานการณ์หรือเหตุการณอ์ ื่น ๆ
ถ้าใช้อธิบายเร่ืองตา่ ง ๆ ได้มากก็แสดงวา่ ขอ้ จำกัดน้อย ซึ่งจะช่วยให้เชอื่ มโยงกบั เรื่องต่าง ๆ และทำใหเ้ กิด
ความรกู้ วา้ งขวางขึน้

5) ขน้ั ประเมนิ (Evaluation) เปน็ การประเมนิ การเรยี นร้ดู ้วยกระบวนการตา่ ง ๆ ว่านักเรยี นมีความรู้
อะไรบา้ ง อย่างไร และมากน้อยเพยี งใด จากขัน้ นี้จะนำไปสู่การนำความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ในเรอื่ งอน่ื ๆการนำ
ความรหู้ รอื แบบจำลองไปใช้อธิบายหรอื ประยุกต์ใชก้ ับเหตุการณ์หรอื เร่ืองอื่น ๆ จะนำไปสขู่ อ้ โต้แยง้ หรือ
ข้อจำกัดซึ่งจะก่อใหเ้ กิดประเดน็ หรอื คำถาม หรือปัญหาทจ่ี ะตอ้ งสำรวจตรวจสอบต่อไป ทำใหเ้ กดิ เปน็
กระบวนการทีต่ ่อเน่ืองกันไปเร่อื ย ๆ จงึ เรยี กวา่ Inquiry cycle กระบวนการสืบเสาะหาความรจู้ งึ ชว่ ยให้
นักเรยี นเกิดการเรยี นรู้ทงั้ เนื้อหาหลกั และหลักการ ทฤษฎี ตลอดจนลงมือปฏิบัติ เพ่ือให้ไดค้ วามรซู้ ง่ึ จะเปน็
พน้ื ฐานในการเรียนต่อไป

14. การจดั การเรยี นรูแ้ บบห้องเรยี นกลับดา้ น Flipped Classroom

Flipped Classroom เป็นการจดั การเรยี นการสอนท่ีสวนทางกับสิ่งที่เป็นอยู่ปจั จบุ นั โดยให้นักเรียน
ศกึ ษาความรู้ผ่านอนิ เตอร์เนต็ นอกห้องเรียน นอกเวลาเรยี น ส่วนในหอ้ งเรยี นจะเป็นการจัดกจิ กรรม นำ
การบา้ นมาทำในห้องเรยี นแทน วธิ ีนีเ้ ดก็ มีเวลาดกู ารสอนของครูผ่านวีดโี อออนไลน์ ดกู ค่ี รง้ั ก็ได้ เม่ือไรก็
ได้ สามารถปรึกษาพูดคยุ กบั เพ่อื นหรือครู ด้วยโปรแกรมสนทนาออนไลน์กไ็ ด้ ในห้องเรียนครใู หน้ กั เรียน
ทำงานท่ีเกี่ยวขอ้ งกับเนื้อหาท่ีดูผ่านวดี ีโอ เพื่อทำความเข้าใจหลักการความรผู้ า่ นกจิ กรรม โดยครจู ะเป็นผใู้ ห้
คำแนะนำเม่ือเดก็ มีคำถาม หรือตดิ ปัญหาที่แก้ไม่ได้

หลกั การของ Flipped Classroom

ใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา บวกกับการจดั กจิ กรรมในหอ้ งเรียน เนื่องจากเวลาในห้องเรยี นมจี ำกดั
การท่ีจะให้นักเรยี นเข้าใจในหลกั การความร้บู างอย่างอาจมีเวลาไม่พอ ดังนัน้ การศึกษาความรจู้ ากการสอนผ่าน
วดี โี อทีค่ รูไดบ้ นั ทึกไว้แล้ว รวมทัง้ การอา่ นหนังสือเพิ่มเตมิ ปรกึ ษาเพ่อื นหรือครูออนไลน์ สามารถทำได้ลว่ งหนา้
นอกห้องเรยี น สว่ นเวลาในหอ้ งเรยี น ครูกส็ รา้ งสภาวะแวดลอ้ มใหเ้ หมาะกับการจดั กิจกรรมทอี่ อบแบบไว้
เพอ่ื ให้เดก็ ได้ลงมือปฎิบัติ ครูก็เดินสำรวจไปรอบ ๆ ห้อง คอยให้คำแนะนำหลักการที่เขา้ ใจยาก หรือปญั หาที่
เดก็ พบ วิธีน้จี ะทำให้เดก็ เขา้ ใจความรู้ และเชื่อมโยงในหลกั การ มากย่ิงข้นึ ทส่ี ำคัญไม่ง่วงดว้ ย!

ถ้าสอนแบบเดิมตามปกติ

ในมมุ มองของเด็กนกั เรยี น อาจตามไม่ทนั ไมเ่ ขา้ ใจก็ไม่กลา้ ถาม ครูไมม่ ีชอ่ งวา่ งใหถ้ าม เน้ือหาเยอะ
อัดแน่นในเวลาท่ีจำกดั ปรกึ ษาเพือ่ นกโ็ ดนครูดุ เมื่อกลบั มาบ้าน ทำการบ้านกไ็ ม่ได้ เลยต้องลอกเพื่อนตลอด
แลว้ กส็ ะสมความไมเ่ ข้าใจตลอดท้ังเทอม

ในมุมมองของครู ก็สอนเหมอื นปีที่แลว้ อดั อย่างเดียวเวลามีนอ้ ย มองดเู ด็ก ๆ ในห้องเรียน กไ็ ม่มีใครสงสัย
การบ้านทสี่ ง่ มาก็ทำไดเ้ หมือนกนั หมด ตรวจง่ายจัง ใครเก่งไมเ่ ก่ง วัดกันตอนสอบเลย

ถ้าสอนแบบ Flipped Classroom

ส่ิงทน่ี ักเรยี นต้องเตรียม
ในมุมมองของเด็ก มีเวลามากพอท่ีจะดูวดี โี อ สามารถปรกึ ษากับเพ่ือนหรือครูออนไลน์ได้ ไม่มี
การบ้าน ไมเ่ ครียด ไมต่ ้องลอกการบา้ นเพื่อนแตเ่ ช้า ทำการบา้ น (กจิ กรรม) ในห้องเรียนกไ็ มเ่ ครียด มคี รู มี
เพอ่ื น ให้คำปรึกษาตลอดเวลา ไดล้ งมือปฎิบตั ิ ไดโ้ ต้ตอบกับเพอ่ื นกับครู เร่ืองยากก็ดจู ะง่ายข้ึน

บทบาทของครู

ครู คอ่ นขา้ งหนกั ทเี ดยี ว เนื่องจากต้องเตรยี มอัดวีดโี อการสอนลว่ งหนา้ ถา้ มวี ีดีโอเหมือน Khan
Academy ฉบับภาษาไทยกอ็ าจจะสบายหน่อย หรอื ไม่ กต็ ้องหาหน่วยงานกลางทีท่ ำวีดีโอแทน เช่น สสวท.
ตกดึกกค็ อยใหค้ ำปรกึ ษาออนไลนก์ บั เด็ก ๆ ตอ้ งหาเวลาออกแบบและเตรยี มจดั กจิ กรรม สรา้ งสิ่งแวดล้อมให้
สอดคลอ้ งกับเนื้อหาใหม่ ในแต่ละกจิ กรรมทีไ่ ม่เหมือนเดมิ ครูต้องทบทวนความรู้พน้ื ฐาน ความเข้าใจใน
หลกั การ เน้อื หาทั้งหลกั สตู ร เตรียมพร้อมสำหรบั ให้คำแนะนำเดก็ ๆ ขณะทำกิจกรรม ครูต้องมีความพร้อม
ชว่ ยเหลือเดก็ ตลอดเวลา ตอ้ งคอยกระตนุ้ เด็ก ต้องสังเกตความเขา้ ใจของเด็ก เมื่อเด็กมีปัญหา ต้องวเิ คราะห์
ปัญหาและความเขา้ ใจของเด็กตอ่ ปญั หานั้น ซึง่ ปกติเด็กแต่ละคนจะมปี ญั หาไมเ่ หมือนกัน

15. การกำหนดกลยทุ ธ์การสอนแล

ผลการเรยี นรู้ กลยทุ ธการสอนท่ีใช
มีความรู้
สามารถประยุกต์ความรู้ ในการประกอบวิชาชพี -การสอนแบบบรรยาย หรือ
-การสอนแบบจัดกระบวนก
ความรู้ 5E
- การเรยี นแบบโครงงาน
- การสอนคิด Thinking Sc
-การสอบแบบActive Lear
-การลงมือปฏิบตั ิ
-การสอนแบบห้องเรียนกลบั
(google classroom)

ละกลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรู้

ชพ้ ัฒนาการเรียนรู้ กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรู้

อบรรยายกึง่ อภปิ ราย การประเมนิ ความรู้
การเรียนรแู้ บบสบื เสาะหา - ใชแ้ บบทดสอบวัดความรู้
- แบบประเมนิ ผังมโนทัศน์
chool ประเมินดา้ นทกั ษะ
rning -ใช้แบบประเมนิ การสงั เกตรายบุคคล
- แบบประเมินการปฏิบตั ิงาน
บด้าน -แบบประเมนิ ชน้ิ งาน
-แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน
ประเดน็ ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
- แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
- แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ
- แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

ผลการเรยี นรู้ กลยทุ ธ

มคี ณุ ธรรม

การสอนแบบโครงงาน และการสอนแบบห้องเรยี นกลบั ด้าน -จดั การปฐมนิเทศน

(google classroom) ระเบยี บ และข้อกำ

1. มีคณุ ธรรมและจยิ ธรรม -หลักคดิ และแนวปฏิบัติท่ีแสดงถงึ -จดั กิจกรรมที่หลาก

ความรับผิดชอบต่อผ้เู รยี นและสังคม มีศลี ธรรม ซ่อื สัตย์ สุจริต กลบั ดา้ น (google

2. มจี รรบาบรรณ – มีระเบยี บวินยั และเคารพกฎกติกาของ การตรงต่อเวลา จร

สังคมมีการประพฤติปฏิบัตติ นตามจรรบรรณแหง่ วชิ าชีพ และ มอบหมาย ในทุกรา

จรรยาบรรณของครู

คิดเปน็

ใช้การสอนแบบสอนคิด Thanking school รว่ มกบั การสอน - การปฏบิ ตั ติ นเปน็

แบบสบื เสาะหาความรู้ 5E

1. การคิดแบบอย่างมีวิจารณญาณ คือ - การสอนคิด Thin

1.1 มีทักษะการคดิ แบบมวี ิจารณญาณและคิดแบบองค์รวม รู้ นักเรียนมีการเรยี นร

และเขา้ ใจในกหลกั การและทฤษฎี การสอนคิด Thinking นกั เรียนสามารถคดิ

School อยา่ งถ่องแท้

1.2. สามารถประสานความคิดดว้ ยหลกั แห่งเหตผุ ลและความ

ถกู ต้อง - มกี ารกระต้นุ ให้นัก

นักเรียนมคี วามคิดส

2.สามารถคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์ - มีการลงมอื ปฏบิ ัต
การแกป้ ัญหา

ธการสอนทใ่ี ช้พัฒนาการเรียนรู้ กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรยี นรู้

นักเรยี นใหม่ ใหท้ ราบแนวปฏบิ ตั ิ กฎ ประเมนิ จาก
ำหนดต่าง ๆ ในห้องเรียน 1.ความตรงต่อเวลาของนักเรียนในการเข้าช้ันเรยี น
กหลาย โดยนำวธิ กี ารสอนแบบ ห้องเรยี น การสง่ งานตามกำหนดระยะเวลาทม่ี อบหมายและการ
classroom) เพื่อสอดแทรกเรื่องคุณธรรม เขา้ รว่ มกจิ กรรม
ริยธรรมความรับผดิ ชอบในงานทไ่ี ด้รับ 2. ความรบั ผิดชอบต่อหน้าท่ีหรอื งานท่ีไดร้ ับ
ายวิชา มอบหมาย

นแบบอย่างที่ดขี องครู -การประเมนิ ความรู้และการประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ในการ
สอบขอ้ เขียนดว้ ยเครื่องมือชนิดต่าง ๆ
nking School เน้นการเรยี นการสอนเพ่ือให้ - แบบประเมินสงั เกตพฤตกิ รรม
รดู้ ้วยตนเอง มกี ารใช้การสอนคิดเพอ่ื ให้ - แบบประเมนิ การปฏิบตั งิ าน
ดอย่างมีวิจารณาณ - แบบประเมินแบบบันทึกผลการจัดกจิ กรรม

กเรียนโดยใชก้ ิจกรรม Active Learning ให้
สรา้ งสรรค์ในการแกป้ ญั หาทางการเรยี นรู้

ติงานจรงิ เพ่ือส่งเสริมใหน้ กั เรียนเกิดทักษะใน

2.1. ความสามารถคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ในการปฏบิ ัตติ ามหนา้ ท่ี เปน็ การสอนท่ีฝึกกา
และสามารถสร้างสรรคผ์ ลงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การ - นักเรยี นกำหนดกา
แก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ทางการคดิ เปน็ - เชื่อมโยงการเรยี น
3. มที กั ษะในการคดิ แกป้ ัญหา คอื - มฐี านจากงานวจิ ัย
3.1 มที กั ษะการตดั สนิ ใจท่ีเหมาะสมกบั สถานการณ์ - ฝงั ตรึงความรูด้ ้วย
3.2 สามารถประเมนิ ข้อมูลและแนวคิดจากแหล่งข้อมลู ที่ - ใชเ้ วลามากพอใน
หลากหลายเพ่อื แก้ปัญหาได้อย่างสรา้ งสรรค์และเปน็ ระบบ -มผี ลผลิต

ทำเป็น

การสอนแบบโครงงาน
-ใชท้ ักษะเทคโนโลยเี หมาะสมในการสืบคน้ วิเคราะห์ ตดิ ตาม
ความกา้ วหนา้ การทำงาน และการนำเสนอผลงาน

ารลงมอื ปฏบิ ตั เิ ร่มิ จากการต้ังปญั หา -แบบสังเกตการณป์ ฏิบตั งิ านจากสถานการณจ์ ริง
ารเรยี นรู้ของตนเอง - แบบประเมินการทำงานกลุ่ม
นกับชีวติ จริงสิ่งแวดลอ้ มจริง - แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
ยหรอื องค์ความรู้ท่ีเคยมี
ยทักษะบางอย่าง
นการสร้างผลงาน

ผลการเรียนรู้ กลยุทธการ

ใฝร่ แู้ ละรูจ้ กั วิธกี ารเรียนรู้ -การเรยี นรู้ขากกิจกรร
- การปฏิบตั ิตนเปน็ แบ
ใฝ่ร้คู อื แสวงหาความรู้ สามารถประเมนิ ตนเอง คดิ สะทอ้ น -การใชก้ ารประเมินผล
รจู้ ักวิธีการเรยี นรู้ มีทกั ษะดา้ นภาษา ด้านเทคโนโลยี นกั เรียน
สารสนเทศ สามารถสบื คน้ ขอ้ มูลจากแหลง่ ต่าง ๆ และ
นำเสนออยา่ งสร้างสรรค์ สามารถเพมิ่ พูนความรู้ -การมอบหมายงานให
ความสามารถของตนเองและสามารถดแู ลสุขภาวะของ -การเรียนรู้จากกิจกรร
ตนเองสามารถบรหิ ารเวลา ปรับตวั ตอ่ การเปล่ียนแปลง -การปฏบิ ตั ติ นเปน็ แบ

มีภาวะผูน้ ำ

สามารถทำงานร่วมกบั เพอื่ นในชัน้ เรียนทำงานเป็นกล่มุ โดย
สามารถส่อื สาร วางแผนดำเนินการใหบ้ รรลุตามเป้าหมาย
และแกไขขอ้ ขัดแยง้ ในการทำงานร่วมกนั ได้

มจี ิตสาธารณะและสำนกึ สาธารณะ - การรว่ มกจิ กรรมขอ

มจี ติ สำนึกห่วงใยสงั คมส่งิ แวดล้อมและสาธารณสมบตั ิ มจี ิต กำหนดให้นกั เรยี นเข้า
อาสาไมด่ ดู าย มงุ่ ทำประโยชน์ให้สังคม โรงเรียนจัดข้ึน

ดำรงความเป็นไทยในกระแสโลกาภวิ ฒั น์

เป็นผู้มความสำนกึ ในคุณคา่ แหง่ ตน คุณคา่ แหง่ ความเป็น
ไทย ทำงานและอยู่รว่ มกบั ผู้อ่ืนมวี ฒั นธรรมแกตา่ งโดยยงั
ดำรงความเปน็ ตวั ของตัวเองและทะนบุ ำรุงสบื สาร
วฒั นธรรมไทยอยา่ งเปน็ อสิ ระ ยงั่ ยนื และมสี ันตสิ ขุ

รสอนท่ีใช้พัฒนาการเรียนรู้ กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้

รมเสริมหลกั สตู ร -การสงั เกตพฤติกรรมในการปฏบิ ัติงาน

บบอย่างที่ดขี องครู -การประเมนิ ผลงานหรือชิ้นงาน

ลเพ่ือเป็นการสรา้ งพฤตกิ รรมทีด่ ขี อง - การประเมินสมรรถนะในการสบื ค้นข้อมูล

หน้ ักเรียนทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม -แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
รเสรมิ หลกั สูตร - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมกล่มุ
บบอยา่ งทดี่ ขี องครู - แบบประเมนิ ผลงาน/ชน้ิ งาน

องหลักสตู ร/กจิ กรรมอ่ืน ๆในโรงเรยี น ประเมินผลการจัดกจิ กรรมต่าง ๆ

ารว่ มกิจกรรมศิลปวัฒนธรรมที่ทาง ประเมินผลโดยการสงั เกตการณม์ ีสว่ นรว่ มในกจิ กรรม
ทโ่ี รงเรียนจดั ข้นึ

แหล่งอา้ งอิง

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.(2548) ม าตรฐานการศึกษาของชาต.ิ กรุงเทพฯ : สหายบลอ็ กและการพิมพ์
กรมวชิ าการ.(2545) การวิจยั เพ่อื พัฒนาการเรยี นรู้ตามหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน.กรุงเทพฯ :

โรงพมิ พ์คุรุสภาลาดพรา้ ว
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา(องค์การมหาชน)(2547).พระราชบญั ญัติการศึกษา

แห่งชาติ พ.ศ.2552 แก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : พรกิ หวานกราฟฟคิ พจิ ติ รา
ธงพานิช. วชิ าการออกแบบและการจดั การเรียนรู้ในชั้นเรียน. นครปฐม : โรงพิมพม์ หาวิทยาลยั ศิลปากร.


Click to View FlipBook Version