2
เรอื่ ง คูม่ อื การปฏบิ ตั ิงานของเลขานุการ
เสนอ
ครปู รยี า ปนั ธยิ ะ
จดั ทำโดย
นางสาวกลุ สตรี ปันติ เลขท่ี 22
ช้นั สบล.63.1 แผนกวชิ าการเลขานกุ าร
คู่มอื การปฏบิ ตั งิ านของเลขานกุ าร
เลม่ น้เี ปน็ สว่ นหน่งึ ของวิชา 30203-2004 การจดั การเอกสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564
วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาลำปาง
ก
คำนำ
คู่มือการปฏิบัติงานเลขานุการฉบับนี้ เป็นเพียงส่วนหนึ่งของภารกิจหลักของงานเลขานุการ
ซง่ึ ข้าพเจ้านางสาวกุลสตรี ปนั ติ นกั ศกึ ษา สบล.63.1 สาขาวิชาการเลขานกุ าร วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาลำปาง
ได้จัดทำเพื่อจัดเก็บข้อมลู ความรู้ เก่ยี วกับหลักการ แนวทาง เทคนิค ขน้ั ตอน วิธกี ารปฏิบตั งิ านเพื่อถ่ายทอดให้
ผู้ปฏิบัติหน้าที่ เลขานุการ ได้นำไปประยุกต์ใช้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพมาก
ยงิ่ ขึน้
ข้าพเจ้า ตระหนักดีว่า การปฏิบัติหน้าที่ “เลขานุการ” เป็นภารกิจที่ต้องมีความเข้าใจในบทบาท
หน้าที่ ความรอบรู้ และความรับผิดชอบ ดังนั้นจึงหวังว่าคู่มือปฏบิ ัติงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผูป้ ฏิบัติงาน
เลขานกุ าร เพอ่ื ส่งผลให้การปฏบิ ัตงิ านเลขานกุ ารสำเรจ็ ลลุ ว่ งด้วยดีและมปี ระสทิ ธิภาพ
ขอขอบคุณ บิดา มารดา ครู อาจารย์ และคุณครปู รียา ปันธยิ ะ ครูผู้สอน มา ณ ทนี่ ้ดี ้วย
ผิดพลาดประการใด ข้าพเจ้าขอรับไว้แต่เพียงผู้เดยี ว
กลุ สตรี ปันติ
สาขาวชิ าการเลขานุการ
สารบัญ ข
คำนำ หน้า
สารบัญ ก
คมู่ ือการปฏบิ ัติงานเลขานุการ ข
การนัดหมาย 1
การใช้ E-mail 3
การจดวาระการประชมุ 7
การตดิ ต่อประสานงาน 10
อา้ งองิ 18
1
คู่มือการปฏิบัตงิ านเลขานกุ าร
การนดั หมาย
การนัดหมาย (Appointment) เลขานุการจะต้องรับผิดชอบในการจัดการนัดหมาย ตลอดจน
การบันทึกนัดหมายนั้นไว้ เพราะเป็นสิ่งที่จําเป็น และต้องกระทำอย่างรอบคอบไม่ควรใช้วิธีจดจํา เพราะอาจ
เกิดขอ้ ผิดพลาดได้ ซ่งึ มีขอ้ ควรปฏิบัตดิ งั นี้
1. วธิ กี ารนดั หมาย
2.1 การนดั หมายดว้ ยตนเอง คอื ผู้ท่ีประสงคจ์ ะขอพบผูบ้ ริหารมาติดต่อด้วยตัวเอง
2.2 การนดั หมายทางโทรศัพท์ คือ ผู้ท่ปี ระสงคจ์ ะขอพบผู้บริหารมิไดม้ าด้วยตนเอง
2.3 การนัดหมายทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) คือ ผู้ที่ประสงค์จะขอพบผู้บริหาร
ใช้เทคโนโลยีด้านการสื่อสารเข้ามาช่วยในการนัดหมาย แต่การนัดหมายในลักษณะนี้ หากผู้บังคับบัญชา
หรอื เลขานุการ ไมไ่ ดเ้ ปิดจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ (E-mail) กอ็ าจจะทำให้พลาดการตดิ ตอ่ ได้
2. รปู แบบการลงตารางนัดหมาย
เมื่อเลขานุการได้นําเรียนให้ผู้บริหารทราบเกี่ยวกับการนัดหมาย และผู้บริหารประสงค์ให้บุคคล
เข้าพบ ดังนั้น เลขานุการจำเป็นต้องลงการนัดหมายในการตารางนัดหมาย ซึ่งระบบที่เลขานุการผู้บริหาร
มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ดำเนินการ มี 2 รปู แบบ ดังน้ี
2.1 การลงตารางนัดหมายในสมุดนดั หมาย
2.2 การลงตารางนัดหมายในระบบ Online ที่ http://www.google.com/calendar/render
ดังภาพตัวอย่าง
ภาพท่ี 1.1 ตารางนดั หมายในระบบ Online
2
3. หลกั เกณฑ์การขอเข้าพบ
3.1 การนัดหมายจากบุคคลภายนอก ต้องขอทราบรายละเอียด ชื่อ นามสกุล เรื่องที่ต้องการนัด
หมาย วัน เวลาที่ขอนัดหมาย รวมถึงสถานที่ติดต่อกลบั และหมายเลขโทรศัพท์ด้วย ทั้งนี้ เพื่อสอบถามและนัด
หมายวนั เวลา และเพื่อให้ตรงกับความประสงคข์ องผู้บรหิ ารในการรบั ทราบนัดหมายด้วย
3.2 การขอนัดหมายให้ผู้บริหารพบบุคคล ซึ่งสวนใหญ่จะเป็นบุคคลที่มีระดับสูงกว่าผู้บริหาร
ดงั นนั้ ผทู้ าํ หนา้ ทเ่ี ลขานกุ ารจะต้องขอคำปรกึ ษาจากผู้บริหารและเพอ่ื จัดกำหนดวัน เวลาทีส่ ะดวกในการขอนัด
หมายอย่างน้อย เวลาซึ่งอาจจะระบุเวลาที่แน่นอนหรือช่วงเวลา เพื่อให้เขาเลือกได้สะดวกขึ้นเช่น “วันจันทร์
ที่ 10 เวลา 11.00 น. หรอื วนั อังคารท่ี 11 เวลา 11.00 น.” หรือ “วนั จนั ทรท์ ่ี 10 ชว่ งเช้าหรอื บ่ายก็ได”้
3.3 กรณที ่ีมีบคุ คลมาตดิ ต่อโดยมิได้นดั หมาย ผูท้ ําหน้าท่ีเลขานุการจะต้องสอบถามก่อนว่าบุคคล
ทม่ี าตดิ ตอ่ ไดม้ กี ารนัดหมายไว้ล่วงหน้าหรือไม่
3.4 กรณีที่มิได้มีการนัดหมายไว้ และผู้บริหารอยูในสำนักงาน ผู้ทําหน้าที่เลขานุการจะต้อง
เป็นผู้ตัดสนิ ใจเบื้องต้นว่าสมควรให้พบผู้บริหารหรือไม่ โดยการตัดสินใจน้ันไม่ควรดูจากการแต่งกายของบุคคล
นั้น หากพิจารณาแล้วว่า บุคคลนั้นไม่สมควรให้เข้าพบ ผู้ทําหน้าที่เลขานุการจะต้องอธิบายหรือใช้คําพูดให้
เข้าใจว่า ผู้บริหารติดภารกิจอย่างอื่นอยู่ก่อนแล้ว ยังไม่สามารถให้เข้าพบได้ ดังน้ัน อาจให้ฝากข้อความ
หรือเอกสารไว้ เพื่อให้ผู้บริหารพิจารณาและกำหนดวันนัดหมายในภายหลัง โดยจะแจ้งให้ทราบอีกครั้งหน่ึง
เป็นต้น ส่วนในกรณีที่พิจารณาแล้วว่าสมควรจะนําเรียนผู้บริหารเพื่อพิจารณาอนุญาตให้เข้าพบหรือไม่
ผู้ทําหน้าที่เลขานุการควรจะขอทราบชื่อของผู้มาติดต่อรวมถึงเรื่องที่ขอเข้าพบด้วย เพื่อนําเรียนผู้บริหาร
พิจารณา
3.5 กรณีที่ไม่ได้มีการนัดหมายไว้ และผู้บริหารไม่อยู่ในสำนักงานควรขอทราบชื่อและธุระ
ของผ้มู าติดต่อ และบนั ทกึ นาํ เรยี นใหผ้ ู้บริหารทราบในภายหลัง
3.6 กรณีที่ได้มีการนัดหมายไว้ล่วงหน้า ผู้ทําหน้าที่เลขานุการต้องทำหน้าที่นําเข้าพบตามเวลา
หรือก่อนเวลาหากผู้บริหารสะดวกและไม่มีภารกิจอื่น และผู้ทําหน้าที่เลขานุการควรทักทาย โดยการเอ่ยนาม
ของผู้ที่มาติดต่อ จะทำให้เขารู้สึกว่าได้รับความสนใจและเอาใจใส่ ทำให้เกิดการประทับใจต่ อการต้อนรับ
ของเรา เช่น สวัสดีค่ะ คุณ......ที่นัดไว้ใช่ไหมคะ เชิญนั่งรอสักครู่ค่ะ ดิฉันจะนําเรียนให้ท่านทราบว่าคุณ.....
มาถงึ แลว้ เปน็ ต้น
3.7 การเรียนให้ผู้บริหารทราบถึงกำหนดนัดหมาย หากผู้บริหารอยูตามลำพัง อาจเรียนโดยตรง
ด้วยวาจา แต่หากทานกําลังมีแขกหรือมีประชุม ให้ใช้วิธีเขียนบันทึกสั้น ๆ นําเรียน โดยอาจแนบนามบัตร
ของผ้เู ข้าพบไปให้ผบู้ รหิ ารทราบดว้ ยกไ็ ด้
3.8 กรณีที่ผู้นัดหมายไว้หรือผู้ที่ได้รับอนุญาตให้เข้าพบ ใช้เวลาเกินที่นัดหมาย หรือเวลาท่ี
สมควรมาก และผู้บรหิ ารมภี ารกจิ อน่ื ทต่ี ้องทำต่อ ควรโทรศัพทห์ รือเขยี นบันทึกส้นั ๆ เรียนใหผ้ ้บู ริหารทราบ
3.9 ผู้ทําหน้าที่เลขานุการ จะต้องสามารถจดจําชื่อ และจำบุคคลได้อย่างแม่นยํา
เพอื่ เปน็ ประโยชน์ต่อการต้อนรับทีเ่ หมาะสม และดีย่งิ ขน้ึ ในโอกาสต่อไป
3
4. การเลอื่ นนดั หมายและการยกเลิกนัดหมาย
4.1 กรณีที่ผู้บริหารมีความประสงค์เลื่อนนัดหมาย ผู้ทําหน้าที่เลขานุการจะต้องรีบประสาน
กบั หน่วยงานหรอื บุคคลให้ทราบโดยด่วน เพอื่ จดั เวลานดั หมายใหม่
4.2 กรณีที่ผู้เข้าพบมีความประสงค์เลื่อนนัดหมาย ผู้ทําหน้าที่เลขานุการจะต้องขอทราบ
รายละเอียดและเหตุผลในการขอเลื่อนนัดหมาย รวมถึงวัน เวลา ที่ประสงค์จะเข้าพบใหม่ เพื่อนําเรียน
ให้ผู้บริหารทราบ และพจิ ารณาต่อไป
4.3 กรณีมีการยกเลิกการนัดหมายไม่ว่าจะเป็นความประสงค์ของผู้บริหารหรือผู้ขอเข้าพบ
ผู้ทําหนา้ ท่ีเลขานุการจะต้องรีบประสานและรายงานให้ผูบ้ ริหารและผู้ขอเขา้ พบทราบโดยด่วน โดยแจ้งเหตผุ ล
ในการยกเลิกนดั หมายใหท้ ราบ
หมายเหตุ : ข้อผดิ พลาดในการนัดหมายอาจเกดิ ขึ้นไดจ้ ากสาเหตุ ดังนี้
- ผ้บู ริหารหรอื ผู้ขอเขา้ พบได้ติดตอ่ นดั หมายกันโดยตรง และอาจไม่ได้แจ้งใหเ้ ลขานุการทราบ
- เล่อื นวนั นัดหมายโดยไม่ไดแ้ จง้ เลขานุการ (ทง้ั นี้อาจถือวา่ ผู้บรหิ ารทราบแล้ว)
- แจ้งเล่อื นนดั หมายกะทันหัน
- ไมไ่ ดย้ นื ยนั การนดั หมายอีกครัง้ กอ่ นถงึ วันนดั หมาย
- ไม่ไดล้ งเวลานัดหมายในตารางนดั หมายให้เป็นปัจจบุ ัน
การใช้ E-mail
ภาพที่ 2.1 การใช้ E-mail
E-mail ถอื เปน็ สิ่งพื้นฐานท่ีใช้ในการสื่อสาร ทงั้ แบบเป็นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ อีกทัง้ ยงั เปน็ การ
ส่ือสารไรพ้ รมแดนท่ีไม่เคยจางหายไปกับโลกเทคโนโลยีสมยั ใหม่อีกด้วย เพราะไม่ว่าจะผ่านมากี่ยุคสมัย E-mail
ก็ยังคงเปน็ สิง่ จำเปน็ ท่ตี ้องใช้ในการตดิ ต่อสือ่ สารอยู่ดี
E-mail คอื อะไร?
Electronic-Mail หรือที่หลายคนรู้จักกันในเชื่อ E-Mail คือ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้
ในการรบั -สง่ ส่อื สารกนั ระหว่างบคุ คล ซง่ึ จะทำการรับ-ส่งผ่านเครือข่ายกลาง นน่ั กค็ ือ อนิ เตอร์เนต็ (Internet)
4
โดยการใช้งานเหมือนกับการส่งจดหมายผ่านไปรษณีย์ปกติ คือต้องทำการเขียนข้อความภายใน โดยมีชื่อ
ของผู้ส่ง ชื่อของผู้รับ จากนั้นคลิกคำสั่งเพื่อส่งข้อความออกไปหาผู้รับ โดยทั้งชื่อผู้ส่ง และชื่อผู้รับจะต้องผ่าน
การลงทะเบียน ที่เรียกกันว่า E-mail Address หากกรณีเป็นข้อความที่ผู้รับไม่ได้อนุญาต ข้อความน้ัน
จะถูกเรยี กว่า Spam
รูปแบบของอีเมล
เม่อื คลิกไปท่ตี ัวเลือกเพ่ือเขยี นอเี มลจะพบว่ามีส่วนประกอบ 2 ส่วนแยกกนั ไว้อย่างชดั เจน คือ
1. ส่วนหัว หรือ Header มีลักษณะเป็นช่องว่าง ให้กรอกรายละเอียดลงไป โดยข้อมูลที่ต้องกรอก
คลา้ ยกบั การจ่าหน้าซองจดหมาย จะประกอบไปดว้ ย
- ทอ่ี ย่อู ีเมลของผสู้ ง่ ซ่ึงในปจั จบุ นั อาจไม่ปรากฏใหเ้ หน็
- ท่ีอยู่อีเมลผู้รบั
- หวั ขอ้ เนอ้ื หาภายใน เพือ่ ให้ผู้รับสามารถเขา้ ใจคร่าว ๆ ถงึ หัวข้อเรอื่ งของการส่ือสารคร้งั นี้
2. ส่วนเนื้อความ หรือ Body เป็นส่วนของเนื้อหาที่สามารถพิมพ์ข้อความลงไปได้ เหมือนการพิมพ์
ใน Word อกี ทง้ั ยงั สามารถแนบไฟลเ์ อกสาร รปู ภาพ วีดโี อ หรอื ลิงค์ข้อมลู ต่าง ๆ ไปกบั อีเมลเพ่อื ส่งถึงผรู้ บั ได้
รปู แบบการใชง้ านอีเมล
1. การใช้งานแบบปิด หรือ Offline ซึ่งเป็นการใช้งานโดยที่ไม่ต้องทำผ่านเครือข่ายกลาง
(อินเตอร์เน็ต) ซึ่งสามารถทำได้ โดยการดาวน์โหลดดึงข้อมูลในอีเมลมาเก็บไว้ในโปรแกรม หรือภายใน
คอมพิวเตอร์ก่อน เมื่อมีข้อความเข้ามาในอีเมล ทำให้สามารถเปิดดูข้อมูลอีเมลบนเครื่องได้ตลอดเวลา
ถึงแม้จะไม่มีการเชื่อมต่อกับเครือข่ายกลางก็ตาม แต่อย่างไรก็ตามการใช้งานแบบปิดก็ยังมีข้อเสียอยู่ นั่นก็คือ
เม่อื ไม่มีการเชื่อมตอ่ กบั เครือข่ายกลาง หากมีข้อความหรอื อีเมลใหมเ่ ขา้ มาก็จะไมม่ ีทางทราบขอ้ มลู ได้
2. การใช้งานแบบเปิด หรือ Online เป็นการใช้งานแบบปกติที่ใช้กัน นั่นคือทั้งผู้รับและผู้ส่ง
มีการเชื่อมต่อกับเครือข่ายกลางไว้อยู่ ทำให้สามารถรับหรือส่งอีเมลได้เลยทันที ส่วนข้อเสียของการใช้งาน
แบบนี้ ขึ้นอยู่กับการเชื่อมต่อกับเครือข่ายกลาง หากการเชื่อมต่อเกิดปัญหา ก็จะทำให้การรับและส่งอีเมล
มีปญั หาตามไปดว้ ย
3. การใช้งานแบบ ยกเลิกการเชื่อมต่อ หรือ Disconnected เป็นการผสมกันระหว่างการใช้งาน
แบบปิดและแบบเปิด โดยจะอาศัยการเก็บข้อมูลหรืออีเมลเข้ามาในโปรแกรมก่อน ให้ผู้รับสามารถใช้งาน
แบบปิดเพื่อลดภาระของการเชื่อมต่อ และการทำงานของคอมพิวเตอร์ จากนั้นเมื่อผู้รับต้องการท่ี
จะแก้ไขข้อความ หรือส่งอีเมลเพื่อตอบกลับผู้ส่ง ก็จะมีการสลับการใช้งานเป็นแบบเปิดให้มีการเชื่อมต่อ
กบั เครอื ขา่ ยกลาง เพือ่ สามารถส่งอีเมลตอบกลับหาผู้สง่ ได้
5
ภาพที่ 2.2 รปู แบบการใชง้ านอีเมล
รูปแบบชือ่ Email Address
ในการสมัคร Email Address จะมีการกรอกข้อมูลส่วนตัว ทั้งชื่อ-สกุล วันเดือนปีเกิด และ ที่อยู่
เพอ่ื เปน็ การยนื ยันตวั ตนของผู้ใช้งาน ในส่วนของชอื่ จะเป็นตามรูปแบบเดยี วกนั
ส่วนแรก yourname คือ ข้อความหรือชื่อที่สามารถตั้งขึ้นได้ จะสอดคล้องกับชื่อตนเองหรือ ไม่ก็ได้
แต่ชื่อที่ตั้งขึ้นต้องไม่ซ้ำกับชื่อที่มีอยู่ก่อนแล้ว เครื่องหมาย @ สำหรับกั้นระหว่างชื่อกับชื่อเว็บไซต์
domain.com คือ ชื่อเว็บไซต์ที่ใช้ในการสมัครเพื่อให้ได้ Email Address มา ยกตัวอย่างเช่น gmail.com
outlook.com, yahoo.com และ hotmail.com เป็นต้น
ภาพท่ี 2.3 รปู แบบช่ือ Email
คำยอ่ ทีพ่ บไดบ้ ่อย ๆ ใน E-mail
ส่วนมากคำย่อที่ปรากฏภายในอีเมล จะเป็นคำปกติที่ใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน คำย่อเหล่าน้ี
สว่ นมากเปน็ ภาษาอังกฤษ บางคำตอ้ งมีการเรียนรเู้ พื่อใหส้ ามารถนำไปใช้อย่างถกู ต้อง
- TBA ย่อมาจาก To be announced หมายถึง จะประกาศใหท้ ราบภายหลงั
- TBD ย่อมาจาก To be determined หมายถึง จะกำหนดทหี ลัง
- TBC ยอ่ มาจาก To be confirmed หมายถงึ จะยืนยนั กลับมาภายหลงั
- BTW ย่อมาจากBy the way หมายถึง อยา่ งไรก็ตาม หรือ อีกอย่างหน่ึง
- FYI ย่อมาจาก For you information หมายถงึ เรียนให้ทราบ แจ้งใหท้ ราบ หรือเปน็ ข้อมูล
6
- CC ย่อมาจากCarbon copy หมายถึง ส่งสำเนาถงึ เป็นการส่งโดยให้รับทราบไม่จำเป็นต้องตอบกลบั
- FW ย่อมาจาก Forwarded message หมายถงึ การสง่ อีเมลทีไ่ ด้รบั มาแลว้ ใหค้ นท่ีเกย่ี วข้อง
- RE ยอ่ มาจาก Reply หมายถึง การตอบก ลบั อีเมล
ภาพท่ี 2.4 คำย่อของ E-mail
ประโยชน์ของ E-Mail
ประโยชน์ของการใช้ E-mail คือมีความรวดเร็วและสามารถส่งข้อความไปหาบุคคลใดก็ได้ทั่วโลก
สามารถรบั และส่งไดท้ งั้ ข้อความ ไฟลเ์ อกสาร ไฟลร์ ปู ไฟล์วดี โี อ หรือลิงคข์ อ้ มลู ต่าง ๆ ทำให้ประหยดั คา่ ใช้จ่าย
ลดการใช้กระดาษและวัสดุสิ้นเปลืองได้เป็นอย่างดี ทั้งยังสามารถสมัครใช้ Email Address ในการทำธุรกรรม
ต่าง ๆ บนเครือข่ายกลางได้ เช่น Internet Banking, Social Network เป็นต้น เพื่อเป็นการยืนยันตัวตน
ของบคุ คลได้อีกดว้ ย ทสี่ ำคัญผู้สง่ สามารถสง่ เอกสารได้ไม่จำกัด ประหยดั เวลาในการส่งเพราะส่งต่ออีเมลกันได้
และสามารถสง่ ถึงผู้รบั ได้หลายคนพรอ้ มกนั
E-Mail นั้นเป็นเทคโนโลยีที่มีการนำมาใช้กันอย่างแพร่หลาย เพราะมีทั้งความสะดวก
ประหยัดทรัพยากรและยังสามารถใช้ยืนยันตัวตนของผู้ใช้งานได้อีกด้วย จึงถูกนำไปเป็นส่วนหนึ่งในการทำ
ธรุ กรรมต่าง ๆ บนโลกเครอื ขา่ ยอินเตอร์เนต็ และเป็นเทคโนโลยที ่ยี งั คงอยู่ตลอดกาลอกี ดว้ ย
ภาพท่ี 2.5 ประโยชน์ของ E-mail
7
การจดวาระการประชุม
รายงานการประชุม คือ การบันทึกความคิดเห็นของผู้มาประชุม ผู้เข้าร่วมประชุมและมติ
ของทป่ี ระชมุ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน ดงั นั้น เมือ่ มกี ารประชมุ จึงเปน็ หน้าทขี่ องฝ่ายเลขานกุ ารที่จะตอ้ งรับผิดชอบจัดทำ
รายงานการประชมุ ปญั หาของการเขียนรายงานการประชมุ ท่ีพบบ่อยคือ ไม่รวู้ ิธีการดำเนนิ การประชมุ ท่ถี ูกต้อง
ไม่รู้จะจดอย่างไร ไม่เข้าใจประเด็นของเรื่อง ผู้จดบันทึกการประชุมจะต้องรู้วิธีคิดก่อนเขียน รู้ลำดับความคิด
รู้โครงสรา้ งความคิด รู้องคป์ ระกอบเนอื้ หา จะทำให้เขียนไดเ้ ข้าใจง่าย ไม่สบั สนวกวน
รปู แบบ ใหจ้ ดั รปู แบบดังตอ่ ไปนี้
แบบรายงานการประชุม
รายงานการประชุม……………………………………………………
คร้งั ท…่ี ………………..
เม่อื …………………………….
ณ……………………………………………………………………………….
————————————-
ผมู้ าประชุม…………………………………………………………………………………………………
ผู้ไมม่ าประชมุ (ถ้าม)ี
ผูเ้ ข้าร่วมประชมุ (ถ้ามี) ………………………………………………………………………………….
เร่ิมประชมุ เวลา…………………………………………………………………………………………….
(ข้อความ) ………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
เลกิ ประชุมเวลา……………………………………………………………………………………………
ผู้จดรายงานการประชมุ
รายงานการประชุม : ให้ลงชื่อคณะที่ประชุม หรือชื่อการประชุมนั้น เช่น “รายงานการประชุม
คณะกรรมการ……………..”
คร้งั ที่ : การลงคร้ังท่ที ป่ี ระชมุ มี 2 วธิ ี ท่ีสามารถเลอื กปฏบิ ัตไิ ด้ คือ
1. ลงคร้ังทท่ี ปี่ ระชุมเป็นรายปี โดยเร่มิ ครั้งแรกจากเลข 1 เรยี งเป็นลำดับไปจนส้ินปีปฏิทิน ทับเลขปี
พุทธศักราชท่ีประชุมเมือ่ ข้นึ ปีปฏิทินใหมใ่ ห้ เรม่ิ คร้งั ที่ 1 ใหม่ เรยี งไปตามลำดบั เช่น ครง้ั ที่ 1/2544
2. ลงจำนวนครั้งที่ประชุมทั้งหมดของคณะที่ประชุม หรือการประชุมนั้นประกอบกับครั้งที่ที่ประชุม
เป็นรายปี เช่น ครง้ั ท่ี 36-1/2544
เมื่อ : ให้ลงวนั เดือน ปี ทีป่ ระชมุ โดยลงวันท่ี พรอ้ มตวั เลขของวันที่ ช่ือเตม็ ของเดอื นและตัวเลขของ
ปพี ทุ ธศักราช เชน่ เม่อื วนั ที่ 1 พฤศจกิ ายน 2544
ณ : ให้ลงชอื่ สถานที่ ทีใ่ ชเ้ ปน็ ท่ปี ระชุม
8
ผู้มาประชุม : ให้ลงชื่อและ/หรือตำแหน่งของผู้ได้รับแต่งตั้งเป็นคณะที่ประชุมซึ่งมาประชุม ในกรณี
ที่เป็นผู้ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้แทนหน่วยงาน ให้ระบุว่าเป็นผู้แทนของหน่วยงานใด พร้อมตำแหน่งในคณะ
ที่ประชุม ในกรณีที่เป็นผู้มาประชุมแทนให้ลงชื่อผู้มาประชุมแทนและลงด้วยว่ามาประชุมแทนผู้ใด
หรอื ตำแหนง่ ใด หรอื แทนผ้แู ทนหน่วยงานใด
ผู้ไม่มาประชุม : ให้ลงชื่อหรือตำแหน่งของผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะที่ประชุม ซึ่งมิได้มาประชุม
โดยระบุใหท้ ราบว่าเป็นผู้แทนจากหน่วยงานใด พรอ้ มท้ังเหตผุ ลทไี่ ม่สามารถมาประชุม ถ้าหากทราบด้วยกไ็ ด้
ผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ : ใหล้ งชือ่ หรือตำแหน่งของผ้ทู ่ีมไิ ด้รบั การแต่งต้ังเปน็ คณะทีป่ ระชมุ ซึง่ ได้เข้ามาร่วม
ประชมุ และหน่วยงานทีส่ ังกดั (ถ้าม)ี
เร่มิ ประชมุ : ให้ลงเวลาทเี่ รมิ่ ประชมุ
ข้อความ : ให้บันทึกข้อความที่ประชุม โดยปกติดให้เริ่มด้วยประธานกล่าวเปิดประชุมและเรื่อง
ที่ประชุมกบั มตหิ รือขอ้ สรปุ ของทป่ี ระชมุ ในแต่ละเรื่อง ประกอบดว้ ยหวั ข้อ ดังนี้
วาระท่ี 1 เรอ่ื งทปี่ ระธานแจ้งใหท้ ่ปี ระชมุ ทราบฃ
วาระท่ี 2 เรื่องรับรองรายงานการประชมุ (กรณีเปน็ การประชมุ ท่ีไม่ใชก่ ารประชุมคร้งั แรก)
วาระท่ี 3 เรอ่ื งที่เสนอให้ทป่ี ระชมุ ทราบ
วาระที่ 4 เรื่องทีเ่ สนอให้ท่ปี ระชมุ พจิ ารณา
วาระท่ี 5 เรอ่ื งอ่ืน ๆ (ถ้าม)ี
เลกิ ประชมุ เวลา : ใหล้ งเวลาท่ีเลกิ ประชมุ
ผู้จดรายงานการประชมุ : ให้เลขานุการหรอื ผู้ซ่ึงไดร้ บั มอบหมายให้จดรายงานการประชุมลงลายมือ
ช่ือ พรอ้ มทั้งพมิ พช์ ื่อเตม็ และนามสกลุ ไวใ้ ต้ลายมือช่อื ในรายงานการประชุมครัง้ นั้นด้วย
สว่ นประกอบของขอ้ ความในแต่ละเรือ่ ง ควรประกอบดว้ ยเนื้อหา 3 สว่ น คือ
ส่วนท่ี 1 ความเปน็ มา หรอื สาเหตุท่ที ำให้ต้องมีการประชมุ พจิ ารณาเรื่องน้นั ๆ
ส่วนท่ี 2 ความคิดเห็นหรือข้ออภปิ รายตา่ ง ๆ ซึง่ คณะทีป่ ระชุมไดแ้ สดงความคดิ เหน็ หรือได้อภปิ ราย
ในเร่อื งดังกล่าว
สว่ นที่ 3 มตทิ ปี่ ระชมุ ซ่งึ ถอื เป็นส่วนสำคัญ ท่ีจำเป็นตอ้ งระบุใหช้ ัดเจน เพ่ือจะได้ใชเ้ ป็นหลักฐาน
หรอื ใช้เปน็ แนวทางในการปฏิบัติตอ่ เร่ืองต่าง ๆ ที่ไดป้ ระชมุ
การจดรายงานการประชมุ อาจทำได้ 3 วิธี คือ
วธิ ที ่ี 1 จดรายละเอียดทุกคำพดู ของกรรมการ หรือผ้เู ขา้ ร่วมประชุมทุกคน พร้อมดว้ ยมติ
วิธที ่ี 2 จดย่อคำพูดท่ีเปน็ ประเดน็ สำคัญของกรรมการหรือผ้เู ขา้ รว่ มประชุม อันเป็นเหตุผลนำไปสู่มติ
ของทป่ี ระชุม พรอ้ มดว้ ยมติ
วิธีท่ี 3 จดแต่เหตผุ ลกับมติของท่ปี ระชมุ การจดรายงานการประชุมโดยวธิ ีใดนน้ั ให้ทีป่ ระชมุ นน้ั เอง
เป็นผู้กำหนด หรือให้ประธานและเลขานุการของทปี่ ระชมุ ปรึกษาหารือกันและกำหนด
การรับรองรายงานการประชุม อาจทำได้ 3 วิธี คือ
วธิ ที ี่ 1 รับรองในการประชมุ ครั้งนั้น ใชส้ ำหรบั กรณีเรื่องเร่งดว่ นใหป้ ระธานหรอื เลขานุการของที่
ประชุม อ่านสรปุ มติท่ีประชุมพิจารณารบั รอง
9
วิธีท่ี 2 รบั รองในการประชมุ ครั้งตอ่ ไป ให้ประธานหรอื เลขานกุ าร เสนอรายงาน การประชมุ ครง้ั ท่ี
แลว้ มาให้ทีป่ ระชุมพจิ ารณารับรอง
วธิ ที ่ี 3 รับรองโดยการแจ้งเวียนรายงานการประชุม ใชใ้ นกรณที ี่ไมม่ ีการประชมุ ครง้ั ต่อไป หรอื มแี ต่
ยังกำหนดเวลาประชุมคร้ังตอ่ ไปไม่ได้ หรอื มีระยะเวลาหา่ งจากการประชุมครั้งน้นั มาก ให้เลขานกุ ารส่งรายงาน
การประชุมไปใหบ้ ุคคล ในคณะที่ประชุมพิจารณารับรองภายในระยะเวลาที่กำหนด
ภาพท่ี 3.1 การจดวาระการประชมุ
10
การติดต่อประสานงาน
ภาพที่ 4.1 การติดต่อประสานงาน
การตดิ ตอ่ ส่อื สารให้เกิดการร่วมมือในการปฏิบัติงาน มีความสอดคล้องกนั สรา้ งระเบยี บในการทำงาน
ให้เปน็ ไปในทิศทางเดียวกัน การดําเนนิ งานราบรื่น ไม่เกดิ การทำงานซำ้ ซ้อน ขดั แยง้ หรือเหลื่อมล้ำกัน เพื่อให้
การ ปฏิบตั งิ านบรรลุวัตถุประสงคอ์ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
ภาพที่ 4.2 วัตถุประสงค์ของการประสานงาน
วัตถปุ ระสงค์ของการประสานงาน
การประสานงานเกิดจากความต้องการให้งานเกิดผลสำเร็จมีคุณภาพตามมาตรฐานเป็นไปตาม
ขอ้ กาํ หนด ประหยดั เวลา ทรพั ยากรในการปฏิบัติงาน มคี วาม สะดวกราบรนื่ และไม่เกิดปญั หาข้อขัดแย้งซึ่งใน
การประสานงานแต่ละครั้งมีวตั ถุประสงคเ์ ฉพาะ ดังนี้
1. แจ้งผเู้ กี่ยวขอ้ งทราบ หรือขอความช่วยเหลือ และเพื่อรักษาไว้ซง่ึ ความสัมพนั ธอ์ นั ดี
2. ขอคํายนิ ยอมหรือความเห็นชอบ
3. เพือ่ ให้เกดิ ความเข้าใจตรงกนั
4. ขจัดข้อขดั แยง้ ในการปฏบิ ัตงิ านและเพิม่ ประสทิ ธภิ าพประสิทธิผลในการดาํ เนนิ งานขององค์กร
5. ช่วยใหก้ ารดําเนินงานเป็นตามแผน และทำให้เกิดการดําเนินงานอย่าง รอบคอบมากยิง่ ข้ึน
6. ใชต้ รวจสอบอปุ สรรคและซักถามปญั หาข้อสงสัยท่ีเกิดขึ้นระหวา่ งการ ดาํ เนินงาน
7. เพ่ือให้งานบรรลุเปา้ หมายทตี่ ั้งไว้
11
ภาพท่ี 4.3 ประโยชน์ของการประสานงาน
ประโยชน์ของการประสานงาน
1. ชว่ ยใหก้ ารทำงานบรรลุเปา้ หมายได้อย่างราบรื่นรวดเร็ว
2. ช่วยประหยดั เวลาในการทำงาน
3. ชว่ ยประหยดั งบประมาณ วัสดุอปุ กรณ์ในการดาํ เนนิ งาน
4. ชว่ ยให้ทุกฝ่ายเข้าใจถึงนโยบายและวัตถปุ ระสงค์ขององค์กร
5. ช่วยสร้างความสามัคคีและความเขา้ ใจในหมู่คณะ
6. เสรมิ สร้างขวัญกําลงั ใจของผูป้ ฏิบตั งิ าน
7. ช่วยลดข้อขดั แย้งในการทำงาน
8. ส่งเสริมผู้ปฏิบัตงิ านให้รูจ้ กั การทำงานเปน็ ทมี และเพ่ิมผลสำเรจ็ ของงาน
9. เกดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และมีการปรบั ปรุงอย่เู สมอ
10. ปอ้ งกนั การทำงานซำ้ ซ้อน
11. ชว่ ยใหก้ ารดาํ เนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ภาพท่ี 4.4 องค์ประกอบของการประสานงาน
12
องค์ประกอบของการประสาน
การประสานงานอาจพจิ ารณาองค์ประกอบที่สำคัญ ได้ดังน้ี
1. ความรว่ มมือจะตอ้ งสร้างสัมพนั ธภาพในการทำงานโดยอาศยั ความเข้าใจ หรือการตกลงร่วมกัน
ในการรวบรวมกาํ ลังความคดิ วธิ ีการ เทคนคิ และระดมทรัพยากรเพ่ือสนับสนนุ การดําเนินงาน
2. จังหวะเวลาจะต้องปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละคนตาม
กาํ หนดเวลาทต่ี กลงกันให้ตรงเวลา
3. ความสอดคล้อง พิจารณาความพอเหมาะพอดี ไม่ทำงานซ้ำซอ้ นกนั
4. ระบบการสือ่ สาร จะตอ้ งมีการส่อื สารท่เี ข้าใจตรงกนั อยา่ งรวดเรว็ และ ราบร่ืน
5. ผู้ประสานงานจะต้องสามารถดึงทุกฝ่ายเข้าร่วมทำงานเพื่อตรงไปสู่จุดหมายเดียวกันตามท่ี
กำหนด
ภาพที่ 4.5 วัตถุประสงคข์ องงาน
วตั ถุประสงคข์ องงาน
ปจั จัยทม่ี ผี ลต่อประสิทธภิ าพในการประสานงาน
1. ตอ้ งมีการกำหนดหนา้ ที่การงานของแต่ละสว่ นงานให้ชดั เจน
2. มรี ะบบการติดตอ่ ส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ เทคโนโลยกี ารส่ือสาร ทท่ี ันสมยั เปน็ ปัจจัยท่ีมี
ผลโดยตรงตอ่ ประสทิ ธภิ าพในการประสานงาน
3. การร่วมมือกันของผ้ปู ฏิบตั ิงานในการทำงานร่วมกนั ช่วยให้เกิดแรงจงู ใจ และขวญั กาํ ลังใจของ
ผ้ปู ฏิบตั ิงาน
4. มีการประชมุ ทีมงาน เพือ่ กำหนดแนวทางการทำงานในการประสานงาน ร่วมกนั ควบคู่กับการ
ฝึกอบรมพฒั นาทีมงานเพอ่ื ให้ทีมงานมีความเข้าใจไปในทิศทาง เดยี วกนั
5. การมอบอำนาจการตัดสนิ ใจในบางระดบั ให้กับผู้ทาํ หน้าท่ีประสานงาน เป็นการเพิ่มคุณคา่ ของ
ผทู้ ําหน้าท่ใี ห้เกิดความม่ันใจและมีความคิดริเรม่ิ
6. การสนบั สนุนการทำงานโดยการมอบเงินรางวลั หรือของขวัญ เป็นการ กระตุ้นให้เกิดความ
กระตือรอื รน้ และสรา้ งขวัญกําลังใจให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน
13
ภาพท่ี 4.6 ปัจจัยที่ช่วยใหเ้ กิดการประสานงานทด่ี ี
ปจั จยั ที่ชว่ ยให้เกิดการประสานงานท่ดี ี
1. ต้องมีระบบการตดิ ตอ่ สื่อสารที่ดี
2. ความรว่ มมอื ของผปู้ ฏบิ ตั งิ าน (เป็นไปตามอตั โนมตั ิ)
3. ขวัญกําลงั ใจของคนในองค์การ
4. ผู้บงั คบั บญั ชาหรอื ผู้บริหารตอ้ งเปน็ ผทู้ ี่มีความสามารถ
5. การวางแผนงานทดี่ ี
ภาพท่ี 4.7 ขอ้ แนะนำในการทำงาน
ขอ้ แนะนำในการทำงานร่วมกบั หน่วยงานอนื่ เพือ่ การประสานงาน
1. พยายามผกู มิตรในโอกาสแรก
2. หลกี เลี่ยงการนนิ ทาวา่ ร้ายหัวหนา้ คนงาน
3. ไม่โยนความผิดไปใหผ้ อู้ น่ื
4. สรรเสรญิ หัวหน้าคนงานอ่นื เม่อื เขาทำความดี
5. ชว่ ยเหลือเมื่อมีเหตุฉุกเฉนิ
6. เม่อื มงี านเกี่ยวข้องกบั หนว่ ยงานอนื่ ควรแจ้งให้เขาทราบ
7. รบั ฟังคำแนะนาํ
8. ความเห็นของคนอน่ื แม้เราจะไม่เห็นดว้ ยกค็ วรฟัง
14
ภาพที่ 4.8 ขอแนะนำในการทำงานรว่ มกับหน่วยงานอน่ื
ขอแนะนำในการทำงานร่วมกบั หน่วยงานอืน่ เพื่อการประสานงานรวมมือระหวา่ งหน่วยงาน
1. ศึกษาเรยี นรู้ขนั้ ตอนและวิธีการปฏบิ ัตงิ านของหน่วยงานท่ีเกี่ยวเนอ่ื งกนั
2. รับทราบปญหาอุปสรรคจดุ แข็งจุดอ่อนของหน่วยงานที่ตองประสานงาน
3. สร้างความค้นุ เคยกบั หวั หนาหน่วยงานอื่นมีการรวมประชุมหารือหา ขอกำหนดท่ีเป็นท่ียอมรับ
ระหว่างกนั อาจจัดให้มีการประชมุ สังสรรค์และ สนั ทนาการรวมกนั
4. เม่อื เกิดเหตุการณเขาใจผิด หรือมีขอผิดพลาด ใหรีบคนหาสาเหตแุ ละรวม กนั ช่วยกันแกไข
5. มกี ารวางระบบการตดิ ตามผลการปฏิบัตงิ านระหวางกนั เพ่ือสร้างความรับรู้ รว่ มกัน
ภาพที่ 4.9 การประสานงานด้วยหนังสอื
15
การประสานงานดว้ ยหนังสือ
ใช้ในกรณีท่เี ปน็ งานประจำท่ีทง้ั สองหนว่ ยงาน ทราบระเบียบปฏบิ ัติอยู่แล้ว มแี นวทางปฏบิ ตั ิ ดังนี้
1. หากเป็นเร่อื งใหม่ ควรประสานทางโทรศัพทก์ อ่ น
2. ตัวอย่างของเรื่องที่อาจต้องมีหนังสือตามไปหลังประสานงานทางโทรศัพท์ แล้ว เช่น ขอทราบ
ขอ้ มูล ขอหารอื ขอทราบความต้องการ ขอรับการสนบั สนนุ ขอความ อนเุ คราะห์ ฯลฯ
3. หนงั สือทจี่ ะส่งควรตรวจสอบให้ถูกต้องตามระเบยี บงานสารบรรณ
4. การร่างหนังสือขอรับการสนับสนุน ขอความอนุเคราะห์ หรือขอความ ร่วมมือ ควร
ประกอบด้วย
- เหตุท่มี หี นงั สือมา
- ใช้ประโยคที่สื่อถึงการให้ความสำคัญกับหน่วยงานที่ขอรับการ สนับสนุน/ความอนุเคราะห์
หรอื แจ้งความจาํ เป็นและเร่อื งรางท่ีตอ้ งการขอความรว่ มมอื
- ต้งั ความหวงั ทีจ่ ะไดร้ ับการสนบั สนนุ /ความอนเุ คราะห์หรือไดร้ บั ความ รว่ มมอื
- แสดงความขอบคุณอยา่ งจรงิ ใจ
5. เมื่อได้รับการสนับสนุน การอนุเคราะห์ แล้ว ควรมีหนังสือไปขอบคุณ หน่วยงานน้ัน ๆ
เพือ่ รกั ษาความสมั พนั ธ์อันดีไว้สำหรบั โอกาสต่อไป
ภาพที่ 4.10 การติดตอ่ ด้วยตนเอง
การติดตอ่ ดว้ ยตนเอง
เป็นการประสานงานที่ดี เพราะได้พบหน้า ได้เห็น บุคลิกลักษณะ สีหน้า ท่าทาง ของผู้ติดต่อ
และมีเวลาในการทำความเข้าใจกันได้อย่าง พอเพยี ง การติดตอ่ ดว้ ยตนเอง มขี ้อเสียคือ ใชเ้ วลามาก การติดต่อ
ด้วยตนเองส่วนใหญ่ จะเป็นกรณีที่สำคัญ เช่น เรื่องการกำหนดนโยบาย หรือมีรายละเอียดมาก
เป็นการให้เกียรติ สร้างความรู้สึกที่ดี และเป็นการให้ความสำคัญแก่อีกฝ่ายหนึ่งในการมาติดต่อ ประสานงาน
ด้วยตนเอง ซ่ึงมีแนวทางการปฏิบตั ิ ดังนี้
1. เตรยี มข้อมูล หรือหวั ข้อหารือให้พร้อม ข้อมลู ดังกล่าวอาจมีการบันทึกสั้น ๆ หรอื พิมพ์
รายละเอียด ส่ง E-mail ไปลว่ งหนา้ เพอ่ื ให้อีกฝา่ ยไดเ้ ตรียมข้อมูลในเบื้องต้นได้
2. หากสรุปขอ้ หารือได้แลว้ ควรจัดส่งเอกสารเพื่อยืนยันอีกคร้ัง
16
ภาพท่ี 4.11 ข้อจำกัดทเี่ ป็นอุปสรรค
ข้อจำกดั ทเ่ี ป็นอุปสรรคของการประสานงาน
1. กำหนดอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานและบุคคลไม่ชัดเจน ส่งผลทำใหเกิดการ
ก้าวกา่ ยอำนาจหน้าที่การงานระหว่างกนั
2. ความแตกต่างด้านต่าง ๆ ของบุคคลการขาดมนุษย์สัมพันธ์อาจทำให้ขาดความเข้าใจอันดี
ต่อกันระหว่างผู้ปฏิบัตงิ าน
3. การขาดระบบการตดิ ต่อส่อื สารทีด่ เี ทคโนโลยกี ารสอื่ สารไม่ทันสมัยหรือแตกตา่ งกนั มาก
4. ความแตกต่างกันในเทคนิคและวิธีปฏิบัติงานในแต่ละหน่วยงานต่างกันรวมท้ังสภาพ
และสง่ิ แวดล้อม
5. การดำเนินนโยบายและประสทิ ธภิ าพของหน่วยงานต่างกนั
ภาพท่ี 4.12 อุปสรรคในการประสานงาน
17
อปุ สรรคของการประสานงาน
1. ขาดความเขา้ ใจอันดีตอ่ กนั ระหวา่ งผปู้ ฏบิ ตั ิงาน
2. การขาดผู้บังคบั บัญชาท่ีมีความสามารถ
3. การปฏิบตั งิ านไม่มแี ผน
4. การก้าวกา่ ยหนา้ ทง่ี านกนั
5. การขาดการตดิ ตอ่ ส่ือสารที่ดี
6. การขาดการนเิ ทศงานท่ดี ี
7. ความแตกตา่ งกันในสภาพและสิง่ แวดลอ้ ม
8. การดำเนนิ นโยบายตา่ งกนั
9. ประสทิ ธภิ าพของหน่วยงานต่างกนั
10. กำหนดอำนาจหน้าที่ความรบั ผิดชอบและอำนาจไม่ชัดเจน
11. ระยะทางตดิ ต่อหา่ งไกลกัน
12. เทคนคิ และวธิ ีปฏบิ ัติงานในแต่ละหนว่ ยงานตา่ งกัน
18
อา้ งอิง
www.general.psu.ac.th การนัดหมาย [ระบบออนไลน์] แหลง่ ที่มา :
http://www.general.psu.ac.th/pdf/ManualSecretary.pdf (3 กนั ยายน 2564 )
www.1belief.com การใช้ E-mail [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา :
https://www.1belief.com/article/what-is-email/?fbclid=IwAR1GozQJeVaaEJmVX-
enO8zctC-6w3XeghAa6haWzvgzjTUomeGQiyAVet8 (3 กันยายน 2564 )
th.jobsdb.com การจดวาระการประชุม [ระบบออนไลน]์ แหลง่ ที่มา : https://th.jobsdb.com/th-
th/articles (3 กนั ยายน 2564 )
https://ddc.moph.go.th การตดิ ตอ่ ประสานงาน [ระบบออนไลน]์ แหลง่ ที่มา :
https://ddc.moph.go.th/uploads/ckeditor2//%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%
E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%84 (3 กนั ยายน 2564 )
19