ความรู้เก่ยี วกบั คอมพวิ เตอรแ์ ละอุปกรณโ์ ทรคมนาคม หนา้ 1
คานา
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเล่มนี้ เรียบเรียงขึ้นเพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอน
รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการจัดการอาชีพ รหัสวิชา 30001-2001 โดยเรียบเรียงตรงตาม
จุดประสงค์รายวิชา และคาอธิบายรายวิชา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
เนอื้ หาสาระของเอกสารประกอบการเรียนการสอนเล่มนี้ เป็นเนื้อหาเก่ียวกับเร่ือง คอมพิวเตอร์
และอุปกรณ์โทรคมนาคม ซ่ึงในหน่วยการเรียนมุ่งให้ความสาคัญส่วนที่เป็นความรู้ ทักษะ และ
ประสบการณ์ จึงได้เน้นการฝึกปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ด้วยความรับผิดชอบ ประณีต อดทน และมี
ความคิดสรา้ งสรรค์ เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นสามารถนาความรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นงานอาชีพได้จริง
ผู้เรียบเรียงขอขอบพระคุณผู้ที่เป็นเจ้าของตาราและเน้ือหาจากเอกสารหรือส่ือต่าง ๆ ที่ได้นามา
อ้างอิง และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการเรียนการสอนเล่มน้ี คงเป็นประโยชน์ต่อการ
พฒั นาการเรียนรูข้ องผเู้ รียนและผ้สู นใจ หากมีข้อแนะนาหรอื ข้อเสนอแนะประการใด ผู้เรียบเรียงขอน้อม
รบั คาแนะนาด้วยความยินดี
อาวธุ จุมปา
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยพี ะเยา
ความรู้เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์และอปุ กรณโ์ ทรคมนาคม หนา้ 2
ความร้เู ก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม
ความหมายของคอมพวิ เตอร์
คอมพิวเตอร์ (Computer) ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคานวณ พจนานุกรม ฉบับ
ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ
ท า ห น้ า ที่ เ ห มื อ น ส ม อ ง ก ล ใ ช้ ส า ห รั บ แ ก้ ปั ญ ห า ต่ า ง ๆ ที่ ง่ า ย แ ล ะ ซั บ ซ้ อ น โ ด ย วิ ธี ท า ง
คณิตศาสตร์" คอมพวิ เตอรจ์ ึงเป็นเครื่องจักรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทางานแทนมนุษย์ ในด้าน
การคิดคานวณและสามารถจาข้อมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในคร้ัง
ต่อไป นอกจากนี้ ยงั สามารถจัดการกบั สญั ลักษณไ์ ดด้ ว้ ยความเร็วสงู โดยปฏบิ ัตติ ามข้นั ตอนของโปรแกรม
คอมพิวเตอรย์ ังมีความสามารถในด้านตา่ งๆ อีกมาก อาทเิ ช่น การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่ง
ขอ้ มูล การจัดเกบ็ ขอ้ มลู ในตวั เครอ่ื งและสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ ได้ ทั้งนี้มีความต้องการที่จะ
เรียกรอ้ งคอมพิวเตอร์วา่ “เครื่องสมองกล” แตไ่ มเ่ ปน็ ที่นิยม จึงเรียกทับศพั ทว์ ่า “เคร่อื งคอมพิวเตอร์”
คุณสมบตั ขิ องคอมพิวเตอร์
ปัจจบุ ันนคี้ นสว่ นใหญ่นิยมนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ มากมาย ซ่ึงผู้ใช้ส่วนใหญ่มักจะ
คิดว่าคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่สามารถทางานได้สารพัด แต่ผู้ที่มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์จะทราบว่า
งานทเี่ หมาะกับการนาคอมพิวเตอรม์ าใชอ้ ย่างยง่ิ คอื การสร้าง สารสนเทศ ซ่ึงสารสนเทศเหล่าน้ันสามารถ
นามาพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ ส่งผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือจัดเก็บไว้ใช้ในอนาคตก็ได้ เน่ืองจาก
คอมพิวเตอรจ์ ะมคี ุณสมบัติตา่ ง ๆ คอื
1. ความเร็ว (speed) คอมพวิ เตอร์ในปจั จุบันนสี้ ามารถทางานไดถ้ งึ ร้อยลา้ นคาส่ังในหน่ึงวนิ าที
2. ความเชื่อถือ (reliable) คอมพิวเตอร์ทกุ วนั นจ้ี ะทางานได้ทั้งกลางวันและกลางคืนอย่างไม่มี
ข้อผิดพลาด และไม่รจู้ ักเหนด็ เหนอื่ ย
3. ความถูกต้องแม่นยา (accurate) วงจรคอมพิวเตอร์น้ันจะให้ผลของการคานวณท่ีถูกต้อง
เสมอหากผลของการคานวณผดิ จากทีค่ วรจะเป็น มกั เกิดจากความผิดพลาดของโปรแกรมหรือข้อมูลท่ีเข้า
สู่โปรแกรม
4. เก็บขอ้ มลู จานวนมาก ๆ ได้ (store massive amounts of information)
ไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จะมีที่เก็บข้อมูลสารองท่ีมีความสูงมากกว่าหน่ึงพันล้านตัวอักษร และ
สาหรบั ระบบคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญจ่ ะสามารถเก็บข้อมลู ได้มากกว่าหนง่ึ ล้าน ๆ ตวั อักษร
5. ย้ายข้อมูลจากท่ีหน่ึงไปยังอีกทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (move information) โดยใช้การ
ติดต่อสื่อสารผ่านระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซ่ึงสามารถส่งพจนานุกรมหน่ึงเล่มในรูปของข้อมูล
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ไปยงั เครื่องคอมพวิ เตอรท์ ่ีอยู่ไกลคนซีกโลกไดใ้ นเวลาเพียงไม่ถึงหน่งึ วนิ าที ทาให้มีการเรียก
เครอื ข่ายคอมพวิ เตอรท์ ี่เชื่อมกนั ท่ัวโลกในปจั จุบันวา่ ทางดว่ นสารสนเทศ (Information Superhighway)
ความรู้เกีย่ วกับคอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณ์โทรคมนาคม หนา้ 3
การทางานของคอมพวิ เตอร์
ข้ันตอนการทางานทส่ี าคัญของคอมพิวเตอร์ 4 ขัน้ ตอน
รูปท่ี 1 ขั้นตอนการทางานของคอมพิวเตอร์
ตารางที่ 1 ขัน้ ตอนการทางานของคอมพิวเตอร์
ข้ันตอนท่ี การทางาน ตัวอย่างอุปกรณ์
Mouse, Keyboard, Scanner,
1. การรบั ขอ้ มลู และ คอมพิวเตอร์รบั ขอ้ มลู และคาสงั่ ผ่าน Microphone
คาส่ัง (Input) อปุ กรณ์นาเขา้ ข้อมูล CPU
2. การประมวลผล ข้อมลู ที่คอมพิวเตอรร์ ับเข้ามา จะถกู Monitor, Printer, Speaker
หรือคดิ คานวณ ประมวลผลโดยการทางานของ
(Processing) หน่วยประมวลผลกลาง (CPU : hard disk, floppy disk, CD-
Central Processing Unit) ตาม ROM
คาส่งั ของโปรแกรม หรอื ซอฟต์แวร์
3. การแสดงผลลัพธ์ คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลพั ธ์ของ
(Output) ข้อมูลทปี่ อ้ น หรอื แสดงผลจากการ
ประมวลผล ทางอุปกรณแ์ สดงผล
4. การเกบ็ ขอ้ มลู ผลลพั ธ์จากการประมวลผลสามารถ
(Storage) เกบ็ ไว้ในหน่วยเก็บขอ้ มูล
ความรู้เก่ียวกับคอมพวิ เตอรแ์ ละอปุ กรณโ์ ทรคมนาคม หน้า 4
สว่ นประกอบของคอมพวิ เตอร์ (PC)
คอมพิวเตอร์เป็นเคร่ืองจักรมนุษย์ออกแบบขึ้นเพื่อนามาช่วยใช้ในการคานวณประมวลผลคาส่ัง
จากมนษุ ยใ์ หไ้ ด้ผลลพั ธอ์ ย่างที่ตอ้ งการ ปัจจุบันได้มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในด้านต่างๆ มาทางานแทน
มนษุ ย์เพือ่ ลดกระบวนการงานให้สาเร็จเร็วขึ้นและมีความถูกต้องแม่นยามากยิ่งข้ึน เครื่องคอมพิวเตอร์ท่ี
นยิ มตามสานกั งานและประจาบ้านทว่ั ไปไดแ้ ก่ PC ยอ่ มาจาก Personal Computer
รปู ท่ี 2 สว่ นประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบคอมพวิ เตอร์พน้ื ฐานมดี งั น้ี
1. จอภาพ (Monitor)
รปู ท่ี 3 จอภาพคอมพิวเตอร์
จอภาพ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง นับเป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมากท่ีสุดอันหนึ่ง
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยจะแสดงผลออกมาเป็นภาพทางหน้าจอ โดยการแปลงจากสัญญาณ
อิเล็กทรอนิกส์ท่ีส่งเข้ามา โดยวิธีการนั้นขึ้นอยู่กับชนิดของจอภาพ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็นจอภาพแบบ
หลอดรังสีแคโธด หรือจอซีอาร์ที (cathode ray tube: CRT) และจอภาพแบบผลึกเหลวทรานซิสเตอร์
แผ่นบาง หรอื จอแบบ แอลซีดี
ความรเู้ กี่ยวกับคอมพวิ เตอร์และอปุ กรณโ์ ทรคมนาคม หน้า 5
2. เคส (Case)
รูปท่ี 4 เคสคอมพิวเตอร์
เคสเป็นโครงทีใ่ ช้สาหรับใสอ่ ปุ กรณ์ภายในต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน อุปกรณ์ที่มักจะใส่ไว้ในเคสก็เป็น
พวก เมนบอรด์ (Mainboard) แรม (RAM) การด์ จอ(VGA Card) ฮาร์ดดสิ ก์(Hard Disk Drive) พาวเวอซัพ
พลาย (Power Supply) เปน็ ต้น มหี ลายแบบ หลายสใี หเ้ ลือกใช้ตามความพงึ พอใจของผใู้ ช้
3. พาวเวอรซ์ ัพพลาย (Power Supply)
รูปที่ 5 พาวเวอร์ซัพพลาย
ทาหน้าที่จ่ายกระแสไฟใหก้ บั อุปกรณ์ต่างๆในเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ โดยสามารถเลือกใช้งานได้ตาม
จานวนวัตต์ ถา้ เคร่ืองคอมพิวเตอรม์ ีอุปกรณ์ตอ่ เยอะกค็ วรจะเลือกใช้ที่วัตต์สูงๆ ไม่เช่นนั้นกาลังไฟอาจจะ
ไม่พอทาให้ไมส่ ามารถใชง้ านได้
ความร้เู กี่ยวกับคอมพวิ เตอรแ์ ละอปุ กรณ์โทรคมนาคม หนา้ 6
4. คีย์บอรด์ (Keyboard)
รปู ท่ี 6 แป้นพมิ พ์ (Keyboard)
ทาหน้าที่รับขอ้ มลู จากผู้ใช้ โดยจะประกอบไปดว้ ยแป้นพิมพ์ท่ีมีปุ่มต่างๆมากมาย ทั้งปุ่มตัวอักษร
(Typewriter keys) ตัวเลข (Numeric keypad) ปุ่มพิเศษ (Special-purpose keys) ปุ่มควบคุมอื่นๆ
(Control keys) หรือปุ่มฟังก์ช่ันต่างๆFunction keys) สาหรับการใช้งานคอมพิวเตอร์ท่ีต้องใช้การพิมพ์
เปน็ หลัก
5. เมาส์ (Mouse)
รปู ท่ี 7 เมาส์ (Mouse)
ทาหนา้ ที่รับขอ้ มูลจากผใู้ ช้ โดยจะใชก้ ารเลอ่ื นเมาสเ์ พือ่ บงั คบั ตัวชี้ตาแหน่ง (Pointer) บนหนา้ จอ
แล้วใชก้ ารกดปุ่มบนตวั เมาส์เพ่อื ส่ังให้ทางานอะไรบนหน้าจอทจ่ี ดุ น้นั ๆ ได้
ความรูเ้ ก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม หน้า 7
6. เมนบอร์ด (Main board)
รปู ที่ 8 เมนบอร์ด (Main board)
ทาหน้าท่เี ปน็ ตัวควบคมุ อุปกรณท์ ั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยอุปกรณ์ทุกตัวจะต้องเชื่อมต่อ
กบั เมนบอรด์ นี้ มีลักษณะเป็นแผ่นวงจรขนาดใหญ่ โดยบนแผ่นวงจรน้ันจะมีช่องสาหรับนาอุปกรณ์ต่าง ๆ
มาเสยี บไวท้ เี่ รยี กว่า ซ็อคเก็ต (Socket) ซงึ่ แตล่ ะอุปกรณก์ จ็ ะมี socket เฉพาะของอปุ กรณ์น้นั ๆ
7. ซีพยี ู (CPU)
รปู ที่ 9 ซพี ยี ู (CPU)
ซีพียูคือโปรเซสเซอร์(Processor) หรือเรียกอีกชื่อหน่ึงว่า หน่วยประมวลผลกลาง หรือ ซิพ
(Chip) เป็นอุปกรณ์ที่สาคัญมากที่สุดเพราะมีหน้าท่ีประมวลผลข้อมูลท่ีผู้ใช้ป้อนเข้ามาหรือโปรแกรมท่ี
ผู้ใชง้ านส่งข้อมลู เข้ามาเปน็ ชุดคาสัง่ ซีพยี ู ประกอบด้วยส่วนหลกั 2 สว่ น ดังนี้
ความรู้เกีย่ วกับคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์โทรคมนาคม หนา้ 8
1) หนว่ ยคานวณและตรรกะ (ALU: Arithmetic & Logical Unit) ทาหน้าทเ่ี หมอื นกับเคร่ือง
คานวณอย่ใู นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ โดยทางานเก่ียวกับการคานวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คุณ หาร
และยังทาการเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ โดยจะเปรยี บเทียบเง่ือนไขและกฎเกณฑท์ างคณิตศาสตร์ เพ่ือ
พสิ ูจนว์ ่าคาตอบน้ันเป็นจริงหรอื เทจ็
2) หน่วยควบคุม (Control Unit) ทาหน้าที่ควบคุมข้ันตอนการประมวลผลและทาการ
ประสานงานกับอปุ กรณต์ า่ งๆ ทั้งดา้ น Input และOutput รวมถงึ หนว่ ยความจาตา่ ง ๆ ดว้ ย
8. การ์ดแสดงผล (Display Card)
รปู ท่ี 10 การ์ดแสดงผล (Display Card)
การ์ดแสดงผลจะทางานเม่ือซีพียูประมวลผลจากข้อมูลต่างๆที่โปรแกรมส่งเข้ามา เมื่อซีพียู
ประมวลผลเสรจ็ ก็จะทาการสง่ ขอ้ มูลท่จี ะใช้แสดงผลต่อไปยังการด์ แสดงผล การด์ แสดงผลก็จะส่งต่อข้อมูล
ไปยังจอภาพเพ่อื แสดงผลออกมาตามข้อมูลท่ีไดร้ ับมา โดยการ์ดบางรุ่นจะสามารถประมวลผลได้ในตัวเอง
ทาให้ซีพียูไม่ต้องทางานมากนัก มีผลทาให้การทางานของคอมพิวเตอร์น้ันเร็วข้ึนด้วย บางรุ่นก็จะมี
หน่วยความจาในตัวเอง แต่บางรุ่นที่ไม่มีก็จะต้องดึงหน่วยความจามาจากแรม (RAM) ซึ่งหาก แรมมี
จานวนนอ้ ย อาจสง่ ผลให้คอมพิวเตอรท์ างานได้ช้าลงไปด้วย แต่ในบางรุ่นที่มีหน่วยความจาในตัวเองก็จะ
ทาให้รับขอ้ มูลจากซีพียูได้มากข้ึน ประมวลผลได้เร็วข้ึน ทาให้การแสดงผลบนจอภาพมีคุณภาพที่สูงตาม
ไปดว้ ย
ความรเู้ กยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์และอุปกรณโ์ ทรคมนาคม หน้า 9
9. แรม (RAM)
รูปที่ 11 แรม (RAM)
แรม หรือ RAM (Random-Access Memory) เปน็ หน่วยความจาหลักที่ซีพียูสามารถดึงมาใช้ได้
ทนั ที แต่ไม่ใชห่ น่วยความจาถาวรจาเป็นตอ้ งมไี ฟมาหลอ่ เล้ยี งตลอดเวลาในการทางาน หากไม่มีไฟมาหล่อ
เลี้ยงข้อมูลท่ีบันทึกไว้ก็จะหายไป โดยการทางานของแรมนั้น เม่ือซีพียูได้รับข้อมูลมาจากผู้ใช้งานหรือ
โปรแกรมแล้วก็จะเริ่มทาการประมวลผล เม่ือซีพียูประมวลผลเสร็จแล้ว ก็จะส่งต่อข้อมูลที่ประมวลผล
เสร็จแล้วเกบ็ ไปไว้ทแี่ รมก่อนจะถูกส่งต่อไปยงั อุปกรณ์ต่าง ๆ ต่อไป
10. ฮารด์ ดิสก์ (Hard disk)
รปู ท่ี 12 ฮาร์ดดสิ ก์ (Hard disk)
เปน็ หนว่ ยความจาถาวรประจาเครื่อง โดยจะประกอบไปด้วยแผ่นจานแมเ่ หล็ก(platters) หลายๆ
แผน่ มาเรียงอยูบ่ นแกนเดียวกันท่ีเรียกว่า Spindle ทาให้แผ่นแม่เหลก็ แต่ละแผน่ หมนุ ไปพร้อมๆกัน โดยใช้
มอเตอร์เปน็ ตัวหมนุ โดยจะมีหัวอ่านติดอยู่ประจาแผ่นแต่ละแผ่นซ่ึงหัวอ่านของแต่ละแผ่นจะเช่ือมติดกัน
สามารถเคล่ือนที่เขา้ -ออกแผ่นจานไดอ้ ย่างรวดเร็ว โดยมีแผงวงจรควบคุมอีกต่อหนึ่งอยู่ ซ่ึงข้อมูลท่ีเก็บลง
ฮาร์ดดิสก์จะเกบ็ อยู่บนแผ่นจานแม่เหล็ก โดยแผ่นจานแต่ละแผ่นจะถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนก็คือ แทร็ก
และเซกเตอร์ โดยแทร็กจะเป็นรูปวงกลมทีละช้ันเข้าไปข้างใน และในแต่ละแทร็กก็จะถูกแบ่งออกเป็น
ความร้เู กยี่ วกบั คอมพิวเตอร์และอุปกรณโ์ ทรคมนาคม หน้า 10
เสี้ยวหนึ่งของวงกลมซ่ึงเรียกว่าเซกเตอร์ ซ่ึงเราจะแย่งฮาร์ดดิสก์ออกเป็น 3 ชนิดตามอินเตอร์เฟส
(Interface) ดังนี้
– IDE (Integrated Drive Electronics) จะใช้สายแพรในการต่อเข้ากับเมนบอร์ดโดยจะมีคอน
เน็คเตอร์จานวน 40 ขาทีม่ บี นบอร์ดไวร้ องรบั ซ่งึ โดยปกตแิ ล้ว 1 คอนเน็คเตอรจ์ ะสามารถต่อฮาร์ดดิสก์ได้
สองตวั
– Serial ATA (Advanced Technology Attachment) เป็นอินเตอร์เฟสแบบใหม่ท่ีเข้ามาแทน
แบบ IDE ซึ่งมีความเรว็ ในการเข้าถงึ ขอ้ มูลสงู กว่าแบบ IDE โดยมีความเร็วถึง 150 Mbytes ต่อ วินาที ทา
ใหม้ คี วามรวดเรว็ ในการทางานมากข้นึ
– SCSI (Small Computer System Interface) อินเตอร์เฟสแบบนี้จะมีการ์ดท่ีมีหน่วย
ประมวลผลอยู่ในตัวเป็นตัวควบคุมอีกต่อหน่ึงแยกออกมาจากตัวฮาร์ดดิสก์ต่างหาก เพ่ือเร่งความเร็วใน
การรบั ส่งขอ้ มลู เหมาะสาหรับใช้งานในรปู แบบ Server แตม่ ีราคาคอ่ นขา้ งแพงกว่าสองแบบขา้ งต้นมาก
รปู ท่ี 13 ซพี ยี ู (CPU) ชนิดต่าง ๆ
นอกจากนี้ยงั มีฮาร์ดดสิ กอ์ ีกแบบหน่ึงท่ีไม่ได้ใช้แผ่นจานแม่เหล็กในการเก็บข้อมูล แต่ใช้ชิพวงจร
รวมที่ประกอบรวมกันเป็นหน่วยความจาถาวร ที่เรียกว่า โซลิดสเตตไดรฟ์ (SSD : Solid state drive)
โดยที่ โซลดิ สเตตไดรฟ์ ได้ถูกสร้างขึ้นมาทดแทนฮาร์ดดิสก์แบบแผ่นจานแม่เหล็ก จึงมีข้อดีกว่าแบบแผ่น
จานแม่เหลก็ เยอะมาก โดยที่ โซลิดสเตตไดรฟ์จะประกอบไปด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ จึงไม่ต้องมีชิ้นส่วน
ทางกลใดๆทต่ี อ้ งเคลื่อนทีข่ ณะทางาน ซ่ึงต่างจากฮารด์ ดิสก์ไดรฟท์ ี่ตอ้ งใชม้ อเตอร์ในการหมนุ แผน่ จานแล้ว
มีหัวอ่านท่ีเคลื่อนท่ีตลอดเวลาการทางาน ทาให้โซลิดสเตตไดรฟ์สามารถทนแรงส่ันสะเทือนได้ดีกว่า และ
จากการใช้วงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ทาให้การเข้าถึงข้อมูลรวดเร็วกว่าฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ที่ต้องใช้หัวอ่านเคลื่อนที่
เขา้ ไปยงั จุดท่เี ก็บขอ้ มลู ทาให้ โซลิดสเตตไดรฟ์ มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลสูงกว่าฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์มาก
นอกจากน้ันไมว่ ่าจะเป็นเร่ืองเสียงรบกวนหรืออุณหภูมิในการใช้งาน โซลิดสเตตไดรฟ์ ยังมีประสิทธิภาพ
ดกี ว่าฮารด์ ดิสกไ์ ดรฟม์ ากนกั เพียงแตร่ าคาอาจจะสงู กว่าพอสมควร
ความรู้เก่ียวกับคอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณโ์ ทรคมนาคม หน้า 11
11. CD-ROM / CD-RW /DVD / DVD-RW
รปู ที่ 14 ซดี รี อม
ใช้สาหรบั การอ่านแผ่น CD หรือ DVD โดยหากต้องการท่ีจะเขียนข้อมูลลงไปในแผ่นจะต้องเป็น
ไดรฟ์ ที่มี RW ด้วย โดยการทางานน้นั จะอ่านข้อมลู จาก CD/DVD โดยใช้หวั อา่ นเลเซอรท์ ่ีจะยิงแสงเลเซอร์
ลงบนซีดรี อม ซึง่ บนซีดีรอมนั้นจะแบ่งเป็นแทร็กและเซกเตอร์เช่นเดียวกับฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ แต่จะมีขนาด
เท่ากันทุกเซกเตอร์ เม่ือเริ่มทางานมอเตอร์จะหมุนแผ่นด้วยความเร็วต่าง ๆ กันทาให้แต่ละเซกเตอร์มี
อัตราเร็วในการอ่านคงที่
12. ฟล็อปป้ดี ิสก์ (Floppy Disk)
รปู ที่ 15 ฟลอ็ ปปด้ี ิสก์ (Floppy Disk)
เป็นอุปกรณ์ที่มีมาก่อนคอมพิวเตอร์เสียอีก ฟล็อปปี้ดิสก์ ยุคแรกๆมีขนาดตั้งแต่ 8 น้ิว 5.25 น้ิว
จนปัจจบุ ันอยู่ท่ี 3.5 น้ิว มีความจาอยู่ท่ีไม่กี่ร้อยกิโลไบต์จนถึง 2.88 เมกกะไบต์ ปัจจุบันคอมพิวเตอร์รุ่น
ใหม่นัน้ แทบจะไมม่ ี Floppy Disk Drive อกี แล้ว เนื่องจากแผ่น ฟลอ็ ปปีด้ ิสก์ น้ันจุความจาได้น้อย แถมยัง
พังงา่ ย ปัจจุบนั ถูกทดแทนด้วย Flash Drive เสยี มากกว่า
ความรู้เกยี่ วกับคอมพวิ เตอรแ์ ละอปุ กรณ์โทรคมนาคม หนา้ 12
13. เนต็ เวริ ์คการด์ (Lan card)
รปู ที่ 16 เนต็ เวริ ์คการด์ (Lan card)
เน็ตเวริ ์คการ์ดหรือการ์ดแลน เปน็ ตวั เชอ่ื มต่อระหวา่ งคอมพวิ เตอรแ์ ละเครือข่าย โดยส่วนใหญ่จะ
เรียกว่า NIC (Network Interface Card) โดยจะทาการแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณไฟฟ้าท่ีสามารถส่งไป
ตามสายสัญญาณได้ ซึ่งก็จะมีความเร็วในการส่งข้อมูลหลายระดับต้ังแต่ 10 Mbps, 100Mbps หรือ
1000Mbps ซึ่งการ์ดบางรุ่นก็สามารถเลือกระดับความเร็วในการทางานได้ ปัจจุบันเมนบอร์ดส่วนใหญ่
มักจะมชี ิพทเี่ ปน็ ชอ่ งเนต็ เวริ ์คการด์ ในตัวอยูแ่ ล้ว ทาให้ เนต็ เวริ ์คการด์ นั้นไม่คอ่ ยมเี ห็นใชก้ ันแล้ว
ประเภทของเคร่อื งคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์มีอย่หู ลายประเภทด้วยกนั แต่เมอื่ พจิ ารณาตามขนาดแลว้ จะสามารถจดั แบง่
ประเภทของคอมพวิ เตอรไ์ ด้ 6 ประเภทด้วยกันคือ
1. ซปุ เปอรค์ อมพิวเตอร(์ Supercomputer)
คุณลกั ษณะ เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ท่ีสุดและมีขีดความสามารถสูงที่สุด ภายในประกอบไป
ด้วยหน่วยประมวลผลกลาง หรอื ซพี ียู (CPU: Central Processing Unit) นบั พนั ตัวทสี่ ามารถคานวณด้วย
ความเร็วกว่าหลายล้านล้านคาสั่งต่อวินาที จัดเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีราคาแพงที่สุดและเร็วที่สุดตาม
ความหมายของคาวา่ “ซปุ เปอร์” (Super) น่ันเอง
ประเภทของงาน เหมาะกับงานประมวลผลข้อมูลที่มีปริมาณมหาศาล เช่น การวิจัยทางด้าน
วิทยาศาสตร์ การค้นคว้าด้านอากาศยานและอาวุธยุทโธปกรณ์ การสารวจสามะโนประชากร งาน
พยากรณ์อากาศ การออกแบบอากาศยาน การสรา้ งแบบจาลองระดบั โมเลกุล การวิจัยนิวเคลียร์ และการ
ทาลายรหัสลบั
ความร้เู กี่ยวกบั คอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณ์โทรคมนาคม หนา้ 13
รปู ท่ี 17 ซปุ เปอรค์ อมพวิ เตอร์(Supercomputer)
2. เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ (Mainframe computer)
คุณลักษณะ เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขีดความสามารถรองจากซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ ปัจจุบัน
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่รองมาจากซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถประมวลผลข้อมูลได้ถึง 10
ล้านคาสงั่ ภายใน 1 วนิ าที
ประเภทของงาน คอมพิวเตอร์แบบเมนเฟรมเหมาะสาหรับใช้งานในองค์กรขนาดใหญ่ เช่น
ธนาคาร โรงงานอุตสาหกรรม สายการบิน บริษัทประกันภัย มหาวิทยาลัย และหน่วยงานท่ีมีขนาดใหญ่
คอมพิวเตอร์แบบนี้จะมีพลงั ความสามารถในการประมวลผลธุรกรรมนับล้านรายการโดยใช้ระยะเวลาอัน
สั้นผ้ใู ชท้ ่ีต้องเชื่อมโยงและเข้าถงึ เครื่องเมนเฟรม จะต้องใช้งานผ่านเคร่ืองเทอร์มนิ ลั (Terminal) ซง่ึ มีเพียง
จอภาพและคีย์บอร์ด โดยใช้สาหรับป้อนข้อมูลและแสดงผลลัพธ์ได้เท่าน้ัน เนื่องจากตัวเทอร์มินัลไม่มี
หน่วยประมวลผลในตัวจึงต้องใช้ทรัพยากรทุกอย่างบนเครื่องเมนเฟรมทั้งส้ิน เช่น ซีพียู หน่วยความจา
และหนว่ ยจัดเก็บขอ้ มลู ซ่ึงเรยี กรูปแบบการทางานนีว้ า่ การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized Data
Processing) ท้ังน้ีถ้าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ทางานผ่านเคร่ืองเทอร์มินัล จะสามารถประมวลผลด้วย
ความเร็วกวา่ พนั ล้านคาส่งั ตอ่ วินาที
รปู ที่ 18 เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ (Mainframe computer) หนา้ 14
ความรู้เกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์โทรคมนาคม
3. มนิ ิคอมพวิ เตอร์ (Minicomputer)
คุณลักษณะ เปน็ คอมพิวเตอร์ขนาดกลาง ซ่งึ มขี นาดเลก็ รองลงมาจากเมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ มี
ประสทิ ธิภาพในการทางานจะด้อยกวา่ เคร่ืองเมนเฟรม เน่ืองจากความจขุ องหนว่ ยความจาขนาดนอ้ ยกว่า
และสามารถ ประมวลผลขอ้ มูลไดเ้ พยี ง 1 ล้านคาสั่งภายใน 1 วินาที
ประเภทของงาน เหมาะกบั ธุรกจิ ขนาดกลาง เช่น โรงพยาบาล โรงแรม หา้ งสรรพสินคา้ เป็นตน้
รูปที่ 19 มินิคอมพวิ เตอร์ (Minicomputer)
4. เวิร์กสเตชั่น (Workstation)
คุณลักษณะ คอมพิวเตอร์แบบเวิร์กสเตชั่น หรือเรียกอีกช่ือหน่ึงว่า สถานีงานวิศวกรรม
(Engineering Workstation) ถูกนามาใช้ตั้งแต่ช่วงต้นปี ค.ศ. 1980 เป็นต้นมาเป็นคอมพิวเตอร์ที่มี
รปู แบบภายนอกคลา้ ยกบั เครอื่ งพซี ีท่ัวไป แตม่ รี าคาแพงกว่าและมีขีดความสามารถสูงกว่ามาก
ประเภทของงาน ปกติคอมพิวเตอร์แบบเวิร์กสเตช่ันหรือสถานีงานวิศวกรรม มักถูกใช้งาน
ทางด้านวิทยาศาสตร์ งานด้านการแพทย์ งานคานวณทางคณิตศาสตร์และวิศวกรรมท่ีมีความซับซ้อน
รวมถงึ การนามาใชเ้ ป็นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยงานออกแบบ และคอมพวิ เตอรช์ ่วยในการผลิต
ผู้ใช้งานส่วนใหญ่จะเป็นวิศวกร นักวิทยาศาสตร์ สถาปนิก และนักออกแบบ มีจุดเด่นของงาน
คอื เร่อื งกราฟิก การสร้างรูปภาพและการทาภาพเคลอ่ื นไหว การสร้างกราฟิกแบบแอนิเมช้ันแบบสามมิติ
การเชือ่ มโยงสถานวี ิศวกรรมรวมกนั เครอื ขา่ ย ทาใหส้ ามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและการใช้งานร่วมกันอย่าง
มีประสิทธภิ าพ
ความร้เู กยี่ วกบั คอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณโ์ ทรคมนาคม หน้า 15
รปู ท่ี 20 เวิร์กสเตช่ัน (Workstation)
5. ไมโครคอมพวิ เตอร์ (Microcomputer)
คณุ ลกั ษณะ ไมโครคอมพิวเตอร์มีชื่อเรียกอีกชื่อหน่ึงว่า เครื่องพีซี ( Personal Computers :
PC ) จัดเป็นคอมพิวเตอร์ประเภทหน่ึงท่ีได้รับความนิยมสูงสุดในกลุ่ม เน่ืองจากมีราคาไม่แพง และมี
ประสิทธิภาพสูงเหมาะสาหรับงานเฉพาะบุคคลหรือหน่วยงานขนาดเล็ก สามารถนามาประยุกต์ใช้งานได้
ท้ังในแบบ Stand Alone ใช้งานแบบเดีย่ ว ๆ ไมไ่ ด้เช่อื มต่อกับเครือข่าย หรือนามาใช้เพ่ือเช่ือมต่อเข้ากับ
ระบบเครอื ขา่ ยทอ้ งถ่ิน LAN
ประเภทของงาน เหมาะกับงานธุรกิจขนาดเล็กและนิยมนามาใช้งานท่ีบ้านหรือสานักงาน
เนอ่ื งจากราคาถูกและสามารถใชไ้ ด้เพียง 1 คนต่อ 1 เครื่องเทา่ นนั้
ไมโครคอมพิวเตอร์มหี ลายประเภท ซ่ึงพอทีจ่ ะสรุปไดด้ ังนี้
1.คอมพวิ เตอร์ตั้งโต๊ะ หรือเดสกท์ ็อปพซี ี (Desktop PC)
Desktop หรอื Desktop Computer คือคอมพวิ เตอร์ต้งั โต๊ะ เปน็ คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบมาเพ่ือ
ใช้งานบนโต๊ะ ที่ใช้ตามบ้านหรือสานักงานท่ัวไป มีการแยกชิ้นส่วนประกอบเป็น ซีพียู จอภาพ และ
แป้นพิมพ์ เช่น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ( PC Computer ) เป็นต้น ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ต้ังโต๊ะ มีการ
ผลติ ทเ่ี นน้ ให้มคี วามสวยงาม น่าใชม้ ากยิ่งขนึ้ และไดร้ บั ความนยิ มในการใชง้ านมาก เน่ืองจากราคาไม่แพง
มาก เม่ือเทยี บกบั คอมพิวเตอร์แบบอ่นื ๆ
2. คอมพิวเตอรโ์ นต้ บุ๊กหรือแลป็ ทอ็ ป (Notebook/Laptop)
เปน็ เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ ทถ่ี ูกออกแบบมาใหม้ ขี นาดเล็ก สามารถขนย้ายหรือพกพาได้สะดวก โดย
ปกติจะมีน้าหนักอยทู่ ี่ประมาณ 1-3 กก. การทางานของแล็ปท็อปจะใช้พลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี และ
ในขณะเดยี วกนั ก็ยงั สามารถใช้พลังงานไฟฟา้ ได้โดยตรงจากการเสียบปล๊ักไฟ ประสิทธิภาพของแล็ปท็อป
โดยทั่วไปน้ันเทยี บเท่ากบั คอมพิวเตอร์ต้ังโต๊ะแบบปกติ ในขณะท่ีราคาของแล็ปท็อปจะสูงกว่า โดยส่วนที่
จะแตกต่างกับคอมพิวเตอร์ท่ัวไปคือ จอภาพจะเป็นลักษณะจอแอลซีดี และจะมีทัชแพดท่ีใช้สาหรับ
ควบคุมการทางานของลูกศรบรเิ วณหนา้ จอ
ความรู้เก่ียวกบั คอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณ์โทรคมนาคม หน้า 16
นอกจากนี้แล้ว คอมพิวเตอร์โนต๊ บ๊กุ ยงั มอี กี 2 รูปแบบ ซึ่งปจั จุบันไมค่ อ่ ยมีใช้กนั แลว้ คอื
2.1 อลั ตรา้ บุก๊ (Ultrabook)
การเปิดตัวศัพท์ใหม่แห่งวงการข่าวไอที นั่นก็คือคอมพิวเตอร์พกพา บาง เบา ประสิทธิภาพ
สูง อัลตร้าบุ๊คได้ถูกคิดค้น วิจัย และพัฒนาโดยบริษัท intel เพื่อสร้างมาตรฐานใหม่ให้กับคอมพิวเตอร์
พกพาแห่งอนาคต ตอบสนองต่อความต้องการใช้โน้ตบุ๊คท่ัวโลก นั่นคือ มีน้าหนักเบา พกพา
สะดวก ระยะเวลาการใชง้ านของแบตเตอรรย่ี าวนาน ประสิทธิภาพเครอ่ื งดีเย่ยี ม
2.3 เนต็ บุก๊ (Netbook)
คือช่ือท่ีใช้เรียกเครื่องคอมพิวเตอร์แล็ปท็อปที่มีขนาดเล็กกว่าขนาดปกติของเคร่ืองแล็ปท็อป
ท่ัวไป มีน้าหนักเบา ต้นทุนต่า ใช้พลังงานเท่าท่ีจาเป็น เน็ตบุ๊กโดยท่ัวไปถูกออกแบบมาเพ่ือการใช้งานที่
อาศยั อนิ เทอร์เนต็ เป็นพื้นฐาน เช่นการอา่ นเว็บ หรอื การใช้อเี มลฝา้ ยโง่
3. แท็บแล็ตคอมพวิ เตอร์ (Tablet Computet)
เรียกสั้น ๆ ว่า แท็บเล็ตพีซี หรือ แท็บเล็ต เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีรวมการทางานทุกอย่างไว้ในจอ
สัมผสั โดยใช้ปากกาสไตลสั ปากกาดจิ ติ อล หรือปลายนิ้ว เป็นอุปกรณ์อินพุตพื้นฐาน แทนการใช้คีย์บอร์ด
และเมาส์ แตม่ ีอยหู่ รือไม่มีก็ได้มีอปุ กรณ์ไรส้ ายสาหรบั การเช่ือมตอ่ อนิ เทอรเ์ น็ตและระบบเครือขา่ ยภายใน
แทบ๊ แล็ตคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งได้ 3 รูปแบบ คือ
3.1 Convertible Tablet มีโครงสร้างเดียวกับคอมพิวเตอร์แบบโน้ตบุ๊ก แต่ตัวจอภาพ
สามารถหมนุ แลว้ พบั ซอ้ นบนคียบ์ อร์ดได้ หรอื สามารถท่ีจะแยกส่วนได้
3.2 State Tablet เป็นแท็บแล็ตท่ีมีเพียงแค่หน้าจอคล้ายกับกระดานชนวน จะมีคีย์บอร์ดใน
ตัว แต่บางยี่ห้อสามารถใช้ปากกา (สไตลัส) เป็นอุปกรณ์อินพุต แทนคีย์บอร์ด เช่น Samsung Galaxy
Note
3.3 อุปกรณ์พกพา (Personel Digital Assistant : PDA) เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพา
ขนาดเล็กท่สี ามารถเชอื่ มตอ่ กบั ระบบเครือขา่ ยและอินเตอรเ์ น็ตได้ รวมไปถึงความสามารถของการเพ่ิมเติม
แอพพลิเคชัน (Application) เพื่อใช้งานด้านอ่ืน ๆ ได้ เป็นอุปกรณ์เคลื่อนท่ีสาหรับผู้คนยุคใหม่ กาลัง
ได้รบั ความนิยมและมีผูท้ ีส่ นใจใช้เปน็ จานวนมากขึน้ เรือ่ ย ๆ มีขนาดเล็กกว่าคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กและแท็บ
เลต็ คอมพวิ เตอร์ แตม่ ีขนาดเท่ากบั หรือใกลเ้ คียงกับโทรศัพท์มือถอื เมอ่ื กอ่ นนจี้ ะมีเครอ่ื งปาร์ม (Palm)
แตป่ ัจุบนั ไดเ้ ลกิ ใช้แลว้ แต่มเี ครื่องท่ีทันสมยั มากย่ิงขนึ้ เรียกว่า แฟบเล็ต (Phablet) ท่ีมีลักษณะ
เปน็ มอื ถือกบั แท็บเล็ต และสามารถทจี่ ะใชต้ อ่ อนิ เตอรเ์ นต็ ได้
ความร้เู ก่ยี วกบั คอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณ์โทรคมนาคม หน้า 17
6. ไมโครคอนโทรลเลอร์ (Microcontrollers)
เป็นคอมพิวเตอรแ์ บบฝงั ตวั (Embedded Computers) คือ ไมโครโปรเซสเซอรท์ อ่ี อกแบบมา
เปน็ พเิ ศษ มขี นาดเล็ก ปอ้ นโปรแกรมเพือ่ ให้ทางานใดทางานหน่งึ โดยเฉพาะซ่ึงสามารถสังเกตได้จาก
อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ หรือเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าทัว่ ไปในปจั จุบนั มักจะมชี ิน้ สว่ นหรอื โปรแกรมนแี้ ทบทง้ั ส้ิน เปน็
เชน่ โทรทัศน์สมารท์ ทวี ี เคร่อื งไมโครเวฟ เครอ่ื งซักผ้า เปน็ ตน้
องคป์ ระกอบของระบบคอมพวิ เตอร์
ระบบคอมพวิ เตอรป์ ระกอบดว้ ยองค์ประกอบสาคญั 5 สว่ นดว้ ยกนั คอื
รปู ท่ี 21 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
คือ ลกั ษณะทางกายของเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ ซ่งึ หมายถงึ ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบ
ข้าง (peripheral) ที่เกยี่ วข้อง เช่น ฮารด์ ดิสก์ เครือ่ งพมิ พ์ เป็นต้น ฮารด์ แวรป์ ระกอบด้วย
- หน่วยรบั ขอ้ มูล (Input Unit)
- หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processor Unit) หรอื CPU
- หนว่ ยความจาหลกั
- หนว่ ยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit)
- หนว่ ยเก็บขอ้ มลู สารอง (Secondary Storage Unit)
หน่วยรับข้อมูล จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ จากนั้น หน่วย
ประมวลผลกลาง จะนาไปประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผู้ใช้รับทราบทาง หน่วยแสดง
ผลลพั ธ์
หน่วยความจาหลกั จะทาหน้าท่ีเสมือนเก็บข้อมูลช่ัวคราวท่ีมีขนาดไม่สูงมากนัก การท่ีฮาร์ดแวร์
จะทาหน้าทไ่ี ดม้ ปี ระสิทธิภาพนน้ั ขึ้นอยู่กบั โปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ่ีใช้ ส่วนการทางานได้มากน้อยเพียงใด
จะข้ึนอยู่กับหน่วยความจาหลักของเครื่องนั้น ๆ ข้อเสียของหน่วยความจาหลักคือ หากปิดเครื่อ ง
คอมพิวเตอร์ที่อยู่ในหน่วยความจาหลักจะหายไป ในขณะท่ีข้อมูลอยู่ที่ หน่วยเก็บข้อมูลสารอง จะไม่สูญ
ความรู้เก่ยี วกับคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์โทรคมนาคม หน้า 18
หายตราบเท่าท่ีผู้ใช้ไม่ทาการลบข้อมูลน้ัน รวมทั้งหน่วยเก็บข้อมูลสารองยังมีความจุที่สูงมาก จึงเหมาะ
สาหรับการเก็บข้อมลู ที่มีขนาดใหญ่ หรอื เก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง ข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูลสารองคือ
การเรยี กใชข้ ้อมลู จะช้ากว่าหนว่ ยความจาหลกั มาก
รปู ท่ี 22 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
2. ซอฟต์แวร์ (Software)
คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานใดๆ เนื่องจากต้อง
มี ซอฟต์แวร์ (Software) ซงึ่ เป็นชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางานต่าง ๆ ตามต้องการ โดย
ชุดคาสั่งหรือโปรแกรมนั้นจะเขียนข้ึนมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใด
ภาษาหนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์
เหล่านัน้ เขียนซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ข้ึนมา
ซอฟต์แวร์ สามารถแบง่ ออกเปน็ สองประเภทใหญ่ ๆ คอื
- ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
- ซอฟต์แวรป์ ระยกุ ต์ (Application Software)
ซอฟต์แวร์ระบบ โดยส่วนมากแล้วจะติดต้ังมากับเครื่องคอมพิวเตอร์เน่ืองจากซอฟต์แวร์ระบบ
เปน็ ส่วนควบคุมทางานต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเริ่มต้นการทางานอ่ืน ๆ ที่ผู้ใช้ต้องการได้
ตอ่ ไป ส่วน ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะเปน็ ซอฟต์แวร์ท่ีเน้นในการชว่ ยการทางานต่าง ๆ ใหก้ ับผูใ้ ช้ ซ่ึงแตกต่าง
กนั ไปตามความต้องการของผูใ้ ช้แต่ละคน
ความรูเ้ กย่ี วกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม หนา้ 19
รปู ท่ี 23 ซอฟตแ์ วรใ์ นระบบไมโครคอมพิวเตอร์
3. บคุ ลากร (Peopleware)
เครื่องคอมพวิ เตอรโ์ ดยมากตอ้ งใช้บุคลากรส่ังให้เครื่องทางาน เรียกบุคลากรเหล่านี้ว่า ผู้ใช้ หรือ
ยเู ซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดทีส่ ามารถทางานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุม อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็
ยงั คงต้องถูกออกแบบหรือดแู ลรักษาโดยมนุษยเ์ สมอ
ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็นหลายระดับ เพราะผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางส่วนก็
ทางานพื้นฐานของคอมพวิ เตอร์เท่านน้ั แต่บางสว่ นกพ็ ยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในข้ันที่สูงข้ึน ทาให้
มีความชานาญในการใช้โปรแกรมประยุกตต์ า่ ง ๆ นยิ มเรียกกล่มุ น้วี า่ เพาเวอรย์ สู เซอร์ (power user)
ผู้เช่ียวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผู้ท่ีได้ศึกษาวิชาการ
ทางด้านคอมพิวเตอร์ ท้ังในระดับกลางและระดับสูง ผู้เช่ียวชาญทางด้านน้ีจะนาความรู้ที่ได้ศึกษามา
ประยุกต์และพัฒนาใช้งาน และประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ให้ทางานในข้ันสูงข้ึนไปได้
อีก นักเขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือว่าเป็นผู้เชียวชาญทางคอมพิวเตอร์เช่นกัน เพราะสามารถ
สร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้ และเป็นเส้นทางหน่งึ ท่จี ะนาไปสกู่ ารเปน็ ผเู้ ชยี่ วชาญทางคอมพวิ เตอรต์ ่อไป
บุคลากรก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะมีความเก่ียวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์
ต้ังแต่การพัฒนาเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึงการนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ ซึ่งสามารถสรุป
ลักษณะงานได้ดังน้ี
- การดาเนนิ งานและเครื่องอุปกรณ์ตา่ ง ๆ เชน่ การบันทึกข้อมูลลงสื่อ หรือส่งข้อมูลเข้าประมวล
หรอื ควบคมุ การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น เจ้าหน้าท่ีบันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) เป็น
ตน้
- การพัฒนาและบารุงรักษาโปรแกรม เช่น เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Application
Programmer) เจ้าหนา้ ทีพ่ ฒั นาโปรแกรม (System Programmer) เปน็ ต้น
ความร้เู กย่ี วกับคอมพวิ เตอร์และอปุ กรณ์โทรคมนาคม หน้า 20
- การวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบงานท่ใี ช้คอมพิวเตอรป์ ระมวลผล เช่น เจ้าหน้าท่ีวิเคราะห์และ
ออกแบบระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer)
เจา้ หน้าท่จี ัดการฐานข้อมูล (Database Administrator) เปน็ ตน้
- การพัฒนาและบารุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์ เช่น เจ้าหน้าที่ควบคุมการทางานระบบ
คอมพิวเตอร์ (Computer Operator) เป็นต้น
- การบริหารในหน่วยประมวลผลข้อมูล เช่น ผู้บริหารศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
(EDP Manager) เปน็ ต้น
4. ขอ้ มูลและสารสนเทศ (Data / Information)
ในการทางานตา่ ง ๆ จะตอ้ งมขี ้อมลู เกิดข้ึนตลอดเวลา ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวม
มาประมวลผล เพ่อื ใหไ้ ดส้ ารสนเทศทเ่ี ป็นประโยชน์ต่อผ้ใู ช้ ซง้ึ ในปัจจบุ นั มกี ารนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มา
เป็นขอ้ มูลในการดัดแปลงข้อมลู ให้ไดป้ ระสทิ ธิภาพโดยแตกตา่ งๆระหว่างข้อมลู และ สารสนเทศ คือ
ข้อมูล คือ ได้จากการสารวจจริง แต่ สารสนเทศ คือ ได้จากข้อมูลไม่ผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน
สารสนเทศเปน็ สิง่ ทผ่ี ้บู รหิ ารนาไปใช้ช่วยในการตัดสินใจ โดยท่ีสารสนเทศท่ีมีประโยชน์นั้นจะมีคุณสมบัติ
ดังตาราง
ตารางท่ี 2 ประโยชนข์ องสารสนเทศ สามารถนามาประยุกต์ใชไ้ ด้อย่างเหมาะสมกบั สถานการณ์
มีความสมั พันธ์กนั (relevant) ปัจจุบนั
มีความทนั สมัย (timely) ตอ้ งมคี วามทันสมยั และพรอ้ มทจ่ี ะใชง้ านได้ทันทีเมอ่ื
ต้องการ
มคี วามถกู ต้องแม่นยา
(accurate) เม่อื ปอ้ นข้อมูลเข้าสคู่ อมพวิ เตอรแ์ ละผลลพั ธท์ ่ีไดจ้ ะตอ้ ง
มีความกระชับรดั กมุ (concise) ถกู ตอ้ งในทกุ ส่วน
มคี วามสมบูรณ์ในตวั เอง
(complete) ขอ้ มลู จะต้องถูกยน่ ให้มคี วามยาวทพ่ี อเหมาะ
ตอ้ งรวบรวมขอ้ มลู ทสี่ าคัญไว้อย่างครบถ้วน
ความรูเ้ ก่ยี วกับคอมพวิ เตอร์และอปุ กรณโ์ ทรคมนาคม หน้า 21
5. กระบวนการทางาน (Procedure)
กระบวนการทางานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ข้ันตอนที่ผู้ใช้จะต้องทาตาม เพ่ือให้ได้งานเฉพาะ
อย่างจากคอมพิวเตอร์ซ่ึงผู้ใชค้ อมพิวเตอร์ทกุ คนตอ้ งรูก้ ารทางานพืน้ ฐานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เพ่ือท่ีจะ
สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง ฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ ถ้าต้องการถอนเงิน
จะต้องผ่านกระบวนการตา่ ง ๆ ดังนี้
1. จอภาพแสดงข้อความเตรยี มพร้อมท่ีจะทางาน
2. สอดบตั ร และพมิ พ์รหัสผู้ใช้
3. เลอื กรายการ
4. ใสจ่ านวนเงนิ ที่ต้องการ
5. รบั เงนิ
6. รับใบบันทึกรายการ และบัตร
การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานในส่วนต่าง ๆ น้ันมักจะมีข้ันตอนที่สลับซับซ้อน และเก่ียวข้องกับ
ช่วงเวลาต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานด้วย จึงต้องมีคู่มือการปฏิบัติงานท่ีชัดเจน เช่น คู่มือสาหรับผู้ควบคุม
เครื่อง (Operation Manual) คมู่ ือสาหรบั ผูใ้ ช้ (User Manual) เปน็ ตน้
อปุ กรณ์โทรคมนาคม
อปุ กรณ์โทรคมนาคม (Telecommunications) เปน็ เคร่อื งมือในการส่งสารสนเทศในรูปแบบของ
ตัวอักษรภาพและเสียง โดยใช้คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าหรือการติดต่อส่ือสานจากท่ีหนึ่งไปยังอีกท่ีหน่ึงโดยใช้
พลงั งานไฟฟ้าใหไ้ หลไปตามสายเคเบลิ ทองแดง เคเบลิ เส้นใยแสง หรือโดยอาศัยคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่ง
สญั ญาณไปในบรรยากาศ เชน่ การส่งวิทยุ โทรทศั น์ การสง่ คล่ืนไมโครเวฟ และการส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม
โดยจุดท่สี ่งข่าวสารกบั จุดรบั จะอยู่ห่างไกลกนั และข่าวสารท่ีส่งจะเฉพาะเจาะจงผู้รับคนใดคนหน่ึงหรือส่งให้
ผูร้ ับทว่ั ไปกไ็ ด้
อปุ กรณค์ มนาคมเปน็ การใช้สื่ออุปกรณ์รับไฟฟ้าต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์
โทรสาร และโทรพิมพ์ เพ่ือการสื่อสารในระยะทางไก โดยอุปกรณ์เหล่านี้จะแปลงข้อมูลรูปแบบต่าง ๆ เช่น
เสียงและภาพไปเป็นสัญญาณไฟ สัญญาณเหล่านี้จะถูกส่งไปโดยสื่อ เช่น สายโทรศัพท์ หรือคล่ืนวิทยุเมือมี
สัญญาณไปถึงจุดปลายทาง อุปกรณ์ด้านผู้รับจะรับและแปลงกลับสัญญาณไฟฟ้าเหล่านี้ให้เป็นข้อมูลท่ี
สามารถเข้าใจได้ เช่น เป็นเสียงทางโทรศัพท์ หรือภาพบนจอโทรทัศน์ หรือข้อความและภาพบน
จอคอมพิวเตอร์ โทรคมนาคมจะช่วยให้บคุ คลสามารถตดิ ตอ่ ส่อื สารกนั ได้ ไมว่ ่าจะอยู่ที่ใด ๆ ในโลกในรูปแบบ
ของขา่ วสาร ความรูแ้ ละความบันเทิง
ความรูเ้ ก่ยี วกบั คอมพวิ เตอรแ์ ละอปุ กรณ์โทรคมนาคม หน้า 22
องค์ประกอบของระบบโทรคมนาคม
ระบบโทรคมนาคม (Telecommunications Systems) คือระบบที่ด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์
จานวนหน่งึ ทส่ี ามารถทางานรว่ มกันและถกู จดั ไว้สาหรบั การสื่อสารข้อมลู นอกสถานท่ีแห่งหน่ึงไปยังสถานที่
อีกแห่งหน่ึงซึ่งสามารถถ่ายทอดข้อความ ภาพกราฟิก เสียงสนทนา และวีดิทัศน์ได้ มีรายละเอียดของ
โครงสรา้ งสว่ นประกอบ ดังน้ี
1. เครื่องมือคอมพิวเตอร์หรือเคร่ืองมือเปลี่ยนปริมาณใดให้เป็นไฟฟ้า (Transducer) เช่น โทรศัพท์
หรอื ไมโครโฟน
2. เครื่องเทอรม์ นิ ลั สาหรบั การรับขอ้ มลู หรอื แสดงผลข้อมลู เชน่ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์หรอื โทรศัพท์
3. อุปกรณ์ประมวลผลการสื่อสาร (Transmitter) ทาหน้าที่แปรรูปสัญญาณไฟฟ้าให้เหมาะสมกับ
ชอ่ งสญั ญาณ เชน่ โมเดม็ (Modem) มัลติเพล็กเซอร์ (Multiplexer) แอมพลิไฟเออร์ (Amplifier)
ดาเนินการไดท้ ง้ั รบั ข้อมูลและสง่ ขอ้ มลู
4. ช่องทางส่ือสาร(Transmission Channel) หมายถึง การเช่ือมต่อรูปแบบใด ๆ เช่น สายโทรศัพท์
ใยแกว้ นาแสง สายโคแอกเซยี ล หรอื แมก้ ระทัง่ ส่อื สารแบบไร้สาย
5. ซอฟต์แวร์การส่ือสาร ซ่งึ ทาหน้าทีค่ วบคมุ กิจกรรมการรับส่งข้อมูลและอานวยความสะดวกในการ
สอ่ื สาร
หน้าทีข่ องระบบโทรคมนาคม
ทาหน้าท่ีในการส่งและรบั ข้อมูลระหว่างจุดสองจุด ได้แก่ ผู้ส่งข่าวสาร (Sender) และ ผู้รับข่าวสาร
(Receiver) จะดาเนินการจัดการลาเลียงข้อมูลผ่านเส้นทางท่ีมีประสิทธิภาพท่ีสุด จัดการตรวจสอบความ
ถูกต้องของข้อมูลที่จะส่งและรับเข้ามา สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบข้อมูลให้ทั้งสองฝ่ายสามารถเข้าใจได้
ตรงกัน ซงึ่ ที่กลา่ วมานี้สว่ นใหญใ่ ช้คอมพิวเตอรเ์ ป็นตวั จัดการ ในระบบโทรคมนาคมส่วนใหญ่ใช้อุปกรณ์ใน
การรบั ส่งข้อมลู ขา่ วสารตา่ งชนดิ ต่างยห่ี อ้ กัน แตส่ ามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้เพราะใช้ชุดคาสั่ง
มาตรฐานชุดเดียวกัน อย่างเดียวกัน จึงจะสามารถส่ือสารถึงกันและกันได้ หน้าท่ีพื้นฐานของโปรโตคอล
คือ การทาความรู้จักกับอุปกรณ์ตัวอ่ืนท่ีอยู่กฎเกณฑ์มาตรฐานในการส่ือสารน้ีเราเรียกว่า “โปรโตคอล
(Protocol)” อุปกรณแ์ ตล่ ะชนดิ ในเครอื ข่ายเดียวกันต้องใชโ้ ปรโตคอลในเส้นทางการถ่ายทอดข้อมูล การ
ตกลงเงื่อนไขในการรับส่งข้อมูล การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล การแก้ไขปัญหาข้อมูลท่ีเกิดการ
ผิดพลาดในขณะที่ส่งออกไปและการแก้ปัญหาการสื่อสารขัดข้องที่อาจเกิดข้ึนโปรโตคอลท่ีรู้จักกันมาก
ไดแ้ ก่ โปรโตคอลในระบบเครอื ข่ายอินเตอรเ์ น็ต เช่น Internet Protocal ; TCP/IP , IP Address ท่ีเราใช้
กันอย่ทู กุ วนั นี้
ความร้เู กีย่ วกับคอมพวิ เตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม หนา้ 23
ประเภทของสัญญาณระบบโทรคมนาคม
เป็นสญั ญาณแบบตอ่ เนอ่ื ง มีลักษณะเปน็ คล่ืนไซน์ (sine wave) โดยที่แต่ละคลื่นจะมีความถ่ีและ
ความเขม้ ของสัญญาณที่ตา่ งกัน เมื่อนาสัญญาณขอ้ มลู เหลา่ น้ผี า่ นอปุ กรณร์ บั สญั ญาณและแปลงสัญญาณก็
จะได้ขอ้ มลู ท่ีต้องการ ตวั อยา่ งของการส่งขอ้ มลู ที่มสี ญั ญาณแบบแอนะลอ็ ก คือ การสง่ ผา่ นระบบโทรศพั ท์
สัญญาณแอนะล็อกเป็นสัญญาณที่มักเกิดข้ึนในธรรมชาติเป็นสัญญาณท่ีมีความต่อเน่ือง ไม่ได้มี
การเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเร็ว สญั ญาณแบบน้ี เชน่ เสียงพดู เสียงดนตรี เป็นต้น
รูปที่ 24 สญั ญาณแอนะล็อก
สัญญาณดิจิทัล หรอื (อังกฤษ: Digital Signal)
เป็นสัญญาณทางกายภาพที่เป็นตัวแทนของลาดับของค่าท่ีแยกจากกัน(สัญญาณท่ีมีปริมาณไม่
ต่อเน่ืองในแกนเวลา) เช่น กระแสบิตท่ีไม่มีหลักเกณฑ์หรือสัญญาณอนาล็อกท่ีถูกทาเป็นบิทสตรีม
(อังกฤษ: digitized)(ถูกสุ่มเลือกและแปลงจากอนาล็อกให้เป็นดิจิตอล ) สัญญาณดิจิตอลสามารถอ้างถึง
อย่างใดอยา่ งหนึ่งต่อไปนี้
1. รปู คลน่ื สญั ญาณตามแกนเวลาทีต่ อ่ เนอื่ งใดๆที่ใชใ้ นการสื่อสารแบบดจิ ิตอลโดยเป็นตัวแทนของ
กระแสบิตหรือลาดับอ่ืนๆของค่าไม่ต่อเนือ่ ง
2. ขบวนสัญญาณกระตุกที่สลับไปมาระหว่างจานวนไม่ต่อเน่ืองของระดับแรงดันไฟฟ้า หรือ
ระดับของความเข้มของแสง ท่ีรู้กันว่าเป็นสัญญาณที่เข้ารหัส(อังกฤษ: line coded signal)หรือการส่ง
สัญญาณเบสแบนด์ ตัวอย่างเช่น สัญญาณท่ีพบในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ดิจิตอลหรือในการสื่อสารแบบ
อนุกรม หรอื pulse code modulation(PCM)ท่ีเป็นตวั แทนของสัญญาณแอนะล็อกทีถ่ ูก digitized
3. สัญญาณที่ถูกสร้างขึ้นโดยวิธีการกล้าสัญญาณ(อังกฤษ: modulation)แบบดิจิตอลแบบหนึ่ง
(การสง่ ผ่านแบบ passband ดิจติ อล) ท่ีจะถกู โอนยา้ ยระหวา่ งโมเด็มจะอย่ใู นกรณแี รกและจะถือไดว้ า่ เป็น
สัญญาณดจิ ิตอล สว่ นในกรณที ่สี องเป็นการแปลงสญั ญาณจากแอนะล็อกใหเ้ ป็นดจิ ติ อล
รปู ที่ 25 สัญญาณดจิ ิทลั หน้า 24
ความรู้เกยี่ วกบั คอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณโ์ ทรคมนาคม
บรรณานกุ รม
ธีรวฒั น์ ประกอบผล และชิษณุพงษ์ ธญั ญลักษณ.์ เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การจัดการอาชีพ.
กรุงเทพฯ : บริษทั ซคั เซสมีเดีย จากัด, 2558.
บุญสืบ โพธศ์ิ รี และรพพี รรณ ชาวไร่ออ้ ย. เทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การจัดการอาชพี . กรงุ เทพฯ :
สานกั พิมพ์ศนู ย์ส่งเสริมอาชีวะ, 2558.
ศริ ิวรรณ คาภักดี. เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การจัดการอาชพี . กรุงเทพฯ : แม็คเอด็ ดูเคชัน่ , 2559.
สุธดิ า ทะนันท์. เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การจัดการอาชพี . กรุงเทพฯ : ศนู ยห์ นังสือเมอื งไทย, 2558.
ความรเู้ ก่ยี วกับคอมพิวเตอร์และอปุ กรณโ์ ทรคมนาคม หนา้ 25
ความรู้เก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์และอปุ กรณโ์ ทรคมนาคม หนา้ 26