The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nat SSRU, 2020-10-27 19:27:56

งานกลุ่มนิทาน

งานกลุ่มนิทาน

ชดุ ส่งเสรมิ สขุ นสิ ยั

นิทานคาคลอ้ งจอง ชุด

แกว้ ไมส่ บาย

แกว้ ไม่สบาย



เย!้ ฝนตกแลว้ แกว้ เล่นนาฝน ๓
เล่นสนกุ จน ไม่สนสงิ่ ใด



เช้ามาร้ตู ัว ๕
ปวดหัวเปน็ ไข้
ตัวร้อนจามไอ
หมอใหพ้ กั ผอ่ น



กินนมกินผัก กินอาหารออ่ น ๗
กินยาเสยี กอ่ น นอนพกั ทนั ที



บรรยากาศห้อง ๙
ห้องนอนควรมี
อากาศพอดี
พกั ผ่อนอุ่นใจ



ดื่มนา ถ่ายเบา บรรเทาไขไ้ ว ๑๑
ร่างกายขับไส เหงือ่ ไหลออกมา

๑๐

เชด็ ตัวให้ สดช่ืนกายา ๑๓
คดั สรรเสือผา้ ผ้าหม่ ดดี ี

๑๒

ยามไมส่ บาย ใส่ใจเตม็ ที่ ๑๕
นอนอมิ่ กนิ ดี มีกาลงั ใจ

๑๔

จนไข้ห่างหาย ร่างกายปลอดภัย ๑๗
หน้าตาผอ่ งใส จิตใจเบกิ บาน

๑๖

แมย่ าทกุ กาล ลา้ งมอื บ่อยไว้ พรอ้ มออกผจญ เจอคนพลุกพล่าน

๑๘ ๑๙

เพอ่ื ปอ้ งกันไข้ ไอจามโรคภยั ๒๑
ลูกต้องสวมใส่ หนา้ กากอนามยั

๒๐

รวมทงั งดใช้ สิง่ ใดร่วมกัน ๒๓
ทกุ สงิ่ อยา่ งนนั ทงั วนั ควรทา

๒๒

เกร็ดความรู้ เกรด็ ความรู้

ไมส่ บายและอยากหายเร็วๆ ๔. นอนหลับพักผ่อนให้เต็มที่ ควรนอนในห้องท่ีอากาศถ่ายเทสะดวก ไม่อับ ไม่ร้อน ไม่มีลมแรง
ไม่ควรเปิดเครื่องปรับอากาศ หรือเปิดจนหนาวอาจจะเปิดพัดลมก็ได้ แต่ควรเปิดเบาท่ีสุดโดยให้พัดลม
ทุกคนลว้ นเคยไม่สบายกันทังนันไม่ว่าจะเด็กหรือผู้ใหญ่ อาการท่ัวๆไปที่พบเห็นสว่ นมากคือ ตัวร้อน สา่ ยไปมา เพื่อไม่ให้ลมถูกตัวอยู่ตลอดเวลา เพราะอาจจะทาให้หนาวส่ันได้ และไม่ควรนอนคลุมโปงหรือ
เป็นไข้ ไอจาม เจ็บคอ เมื่อยตัว ปวดหัว อ่อนเพลีย บางครังถ้าไม่สบายมากอาจจะอาเจียน ถ่ายเหลว คมุ หัวมิดชดิ เพราะทาใหห้ ายใจไมส่ ะดวก
ท้องเสีย หรือมีอาการชักร่วมด้วย สาเหตุของการไม่สบายส่วนมากเกิดจากการท่ีมีเชือ หรือเชือโรคเข้าสู่
ร่างกาย เกิดจากความไม่สมดุลภายในเกิดความผิดปกติบางแห่ง ซ่ึงส่งผลให้การทางานของระบบหรือ ๕. พยายามกินอาหารให้ได้ กินให้พอ เพ่ือให้อาหารเขา้ ไปช่วยเติมพลังให้ร่างกายของเรามีแรงสู้กับ
อวัยวะสว่ นนันขดั ข้อง เมอื่ ไมส่ บายเราสามารถเป็นกองหนนุ เพ่อื ชว่ ยให้ร่างกายเราแขง็ แรงไดเ้ ร็วขึน ดงั นี เชือโรคหรือส่ิงแปลกปลอม การกินอาหารที่เคียวง่าย ย่อยง่าย มีประโยชน์จะช่วยให้เราหายจากอาการ
ไม่สบายไดเ้ รว็ ขนึ
๑. ด่ืมนาบ่อย ๆ จิบบ่อย ๆ จะดื่มนาเปล่านาอุ่น นาแกงจืด หรือนาผลไม้ก็ได้ ทังนีเพื่อป้องกัน
หรือลดการสูญเสียนาที่ทาให้รู้สึกอ่อนเพลีย หายใจลาบากนามูกมีความข้นเหนียวมากขึน นาจะช่วยให้ ๖. กาลังใจท่ีดี ให้กาลังใจตัวเองไม่ว่าไม่สบาย เด๋ียวก็หาย การท่ีไม่สบายถือเป็นเรื่องปกติ
รู้สึกดีขึน สดชื่นขึน อยากอาหารมากขึน ด่ืมนาและกลัวคอช่วยทาความสะอาดปากและฟัน ช่วยให้เยื่อบุ ถ้าเราดูแลตัวเองดีๆ ให้ความร่วมมือและปฏิบัติตัวตามท่ีหมอแนะนา ไม่นานเราก็จะหายเป็นปกติ ลุกขึน
ในปากชุมช่ืน ช่วยระงับกินปากและนาลายบูด ช่วยป้องกันแผลและการติดเชือในปาก เวลาตัวร้อน มีไข้ ไปไหนตอ่ ไหน และทากิจกรรมต่างๆไดเ้ หมอื นในยามทีม่ สี ุขภาพดีแข็งแรง
ไม่สบาย ฉี่ที่ออกมาจะร้อน มีสีเข้ม และปริมาณฉ่ีน้อยกว่าปกติเพราะร่างกายขาดนา ถ้าดื่มนาให้มาก
พอจะช่วยให้ฉี่บ่อยขึน ซ่ึงเป็นการช่วยขับความร้อนออกจากร่างกายได้อีกทาง เม่ืออาการดีขึน ๗. เมื่อหายดีแล้ว ก็ควรดูแลตัวเองให้มีสุขภาพและสุขภาพวะท่ีดี ด้วยการดื่มนาสะอาดให้พอ
ฉ่ีจะมากขนึ ใสขึน และจางลง กินอาหารดี มีประโยชน์ สะอาด กินครบทุกหมวดหมู่ ล้างมือก่อนและหลังเข้าห้องนาทุกครัง ขับถ่าย
ให้เป็นปกติ แปรงฟันอยา่ งน้อยวนั ละ ๒ ครัง เล่นและออกกาลังกายกลางแจ้งเปน็ ประจา ใสเ่ สอื ผา้ ท่ี
๒. ถ้ามีไข้ ควรยอมให้เช็ดตัว เพ่ือลดไข้ และระบายความร้อนออกจากร่างกายและกินยาลดไข้ สะอาดไม่อับชืน และเหมาะสมกับสภาพดินฟ้าอากาศ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ควรหลีกเลี่ยงท่ี
ใสเ่ สอื ผ้าท่ีสบาย ไม่ควรใสเ่ สือผา้ ๆ หรอื ห่มผา้ หนา ๆ เพราะทาใหอ้ บั และไม่ช่วยระบายความร้อน จะอยู่ในที่ที่ไม่เหมาะสม เช่นสถานท่ีเป็นแหล่งเพาะเชือโรคที่มีฝุ่นมีควันมาก ท่ีสกปรก ไม่อยู่ใกล้เคียง
หรอื คลุกคลี กบั ผู้ป่วยโดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ผูท้ ่ีตดิ โรคตดิ ตอ่ รวมทงั คนหรอื สัตว์ท่ีอาจเป็นพาหะนาโรค
๓. งดการออกกาลังกาย การเล่นกระโดดโลดเต้นที่ต้องใช้แรงเยอะๆหรือกิจกรรมที่ต้องใช้
๒๕ในทุก ๆ วนั เราควรเลือกทากิจกรรมทส่ี ง่ เสรมิ ใหเ้ รามีสุขภาพดที งั ทางรา่ งกายและจิตใจ
๒๔พลังงานมากเพือ่ ชว่ ยลดการเผาผลาญอาหารในร่างกายซึ่งจะช่วยลดความร้อน ลดไขล้ งไปด้วย

เกรด็ ความรู้

ใส่ใจลูกเมอื่ ป่วย

เมอื่ ลูกไม่สบาย พอ่ แม่ต้องดูแลตัวเองให้ดีและตังสติดีๆ เพอื่ ที่จะมีแรงดูแลและรับมือกับความเจ็บปว่ ยบวก ใหเ้ ด็กๆ ทาเครอื่ งหมายหน้าขอ้ ความท่คี วรปฏิบตั ิตน เมอ่ื ไม่สบาย
กับความโยเยของลูกที่ไม่สบายได้ เราไม่ควรหงุดหงิดหรือเกรียวกราดใส่ลูก ไม่นิ่งนอนใจหรือ ต่ืน  นอนหลบั พักผ่อนใหเ้ ต็มที่
ตระหนกกบั อาการของลูกจนเกนิ ไป ควรดูแลลูกตังแต่เน่ินๆ อย่าละเลยปล่อยทิงไว้หลายวนั เพราะอาจทาให้  ดมื่ นาเยอะ ๆ
ลูกอาการแย่ลงและเป็นหนักยิ่งขึน เม่ือลูกเป็นไข้หรือไม่สบายเล็กน้อย พ่อแม่สามารถดูแลลูกเองได้ อาจจะ  กินอาหารหมักดองและอาหารรสจดั
ยังไม่ต้องรีบพาไปหาหมอ (เราควรตระหนักด้วยว่าโรงพยาบาลเต็มไปด้วยผู้ป่วย เป็นศูนย์รวมของเชือและเชือ
โรคมากมายซ่ึงแพร่กระจายมาสูเ่ ดก็ ไดง้ า่ ย) พ่อแมส่ ามารถดแู ลลกู ในเบอื งตน้ ไดโ้ ดย สนกุ คดิ เรอ่ื งนา่ รูเ้ ก่ียวกบั วธิ ีการปฏิบตั ิ เม่ือไมส่ บาย

๑. เช็ดตัวลดใครให้ลูก เพื่อระบายความร้อนออกจากร่างกาย ถ้าไข้ไม่ลดก็เช็ดตัวซาบ่อย ๆ ดูแลให้ลูก  ลา้ งมอื บอ่ ย ๆ
นอนหลบั พักผ่อนให้พอ ควรปิดทวี ี ปดิ ไฟ และตดั สงิ่ รบกวนการนอนของลูกออก  ออกไปเล่นกระโดดหรือทากิจกรรมทีต่ ้องใช้แรงเยอะ ๆ
 ยอมใหเ้ ช็ดตวั
๒. ถ้าลูกมีไข้สูงกว่า ๓๘ องศา ให้ลูกกินยาลดไข้ที่เหมาะสมกับลูก โดยให้ตามปริมาณท่ีเหมาะกับวัย
และนาหนกั เปน็ ยาท่ลี กู ไม่แพ้ ควรให้ลกู กนิ ยาเทา่ ทจ่ี าเปน็ เทา่ นัน ๒๗

๓. ดูแลให้ลูกด่ืมนามาก ๆ กินอาหารดี มีประโยชน์ เม่ือลูกขออยากกินอะไร ถ้าทาได้ก็ควรให้ลูกกิน
และอาจวางกระดิ่ง กร่ิงอันเล็กๆหรือแตรรถจักรยานไว้ใกล้มือลูก เพ่ือไว้ให้ลูกเรียกขอกินนาและ
ขอความช่วยเหลอื เพราะลูกอยใู่ นชว่ งท่อี อ่ นแอและอาจเจบ็ คอไม่มแี รงร้องเรียกเหมอื นในยามทีแ่ ข็งแรง

๔. ถ้าลูกไม่สบาย ไม่ควรไปโรงเรียนและหลีกเล่ียงท่ีมีคนพลุกพล่าน ถ้าลูกได้พักผ่อนจะช่วยให้
หายเรว็ และเป็นการไมก่ ระจายเชอื โรคใหผ้ ้อู ่นื ด้วย

๕. ถ้าผ่านไป ๒-๓ วันแล้วไข้ยังไม่ลด ลูกยังไม่ดีขึน และมีอาการอื่นๆที่ไม่น่าไว้วางใจ เช่นซึม หอบ

๒๖อาเจยี น ชกั ถา่ ยไมห่ ยุด ไอมากหรอื ไอถ่ี ๆ หายใจเร็วหรือหมดสติ อยา่ นิง่ นอนใจควรพาไปหาหมอทันที

นางสาวชนกิ านต์ จัดทาโดย
นางสาวพลอยไพลิน
นางสาวชลาธาร อิวโิ ส รหัสนกั ศกึ ษา ๖๑๑๓๑๑๐๙๐๔๓
นางสาวจุฬาลักษณ์ เลก็ ช่ืน รหสั นักศกึ ษา ๖๑๑๓๑๑๐๙๐๔๗
นางสาวขนษิ ฐา ทองอยู่ รหัสนกั ศึกษา ๖๑๑๓๑๑๐๙๐๔๘
นางสาวณัฐลดา ชเู วช รหัสนกั ศึกษา ๖๑๑๓๑๑๐๙๐๖๐
อ่อนฉ่า รหัสนักศกึ ษา ๖๑๑๓๑๑๐๙๐๖๑
สมจิตต์ รหสั นกั ศกึ ษา ๖๑๑๓๑๑๐๙๐๗๕

หนงั สือเลม่ นเี ปน็ ส่วนหนง่ึ ของรายวชิ า
THP๓๔๐๕ การพัฒนาหนังสอื เรียนภาษาไทย
คณะครศุ าสตร์ สาขาวชิ าภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา

ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓


Click to View FlipBook Version