The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบข้อตกลงในการพัฒนางานครูอรพรรณ-สารบันเอาจริง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by or05.oraphan, 2021-11-08 00:48:35

แบบข้อตกลงในการพัฒนางานครูอรพรรณ-สารบันเอาจริง

แบบข้อตกลงในการพัฒนางานครูอรพรรณ-สารบันเอาจริง

PA 1/ส 1

แบบขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA)
สาหรบั ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู วทิ ยฐานะครชู านาญการ

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ระหวา่ งวนั ที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถงึ วนั ท่ี 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2565

ผู้จัดทาข้อตกลง
ช่ือ นางสาวอรพรรณ นามสกลุ สารบัน ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะครูชานาญการ
สถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทา่ ข้าม สงั กัด สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
รับเงินเดอื นในอนั ดบั คศ. 2 อัตราเงินเดือน 33,780 บาท
ประเภทหอ้ งเรียนท่ีจดั การเรียนรู้ (สามารถระบไุ ด้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรยี น ตามสภาพการจดั การเรยี นรจู้ รงิ )

ห้องเรียนวชิ าสามัญหรือวิชาพ้นื ฐาน
 หอ้ งเรียนปฐมวัย
 หอ้ งเรยี นการศึกษาพิเศษ
 หอ้ งเรยี นสายวิชาชพี
 ห้องเรยี นการศึกษานอกระบบ / ตามอธั ยาศัย

ขา้ พเจ้าขอแสดงเจตจานงในการจดั ทาข้อตกลงในการพฒั นางานตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการ
ซึง่ เป็นตาแหน่งและวทิ ยฐานะทดี่ ารงอยู่ในปัจจุบันกบั ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ไว้ดงั ต่อไปน้ี

สว่ นท่ี 1 ข้อตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตาแหน่ง

1. ภาระงาน จะมภี าระงานเป็นไปตามทกี่ .ค.ศ. กาหนด

1.1 ช่วั โมงสอนตามตารางสอน รวมจานวน 24 ชัว่ โมง/สัปดาหด์ ังนี้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

รายวิชา ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 จานวน 4 ชัว่ โมง/สัปดาห์

รายวชิ า ภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 จานวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์

รายวชิ า ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 จานวน 4 ชว่ั โมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

รายวิชา คณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 จานวน 4 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

รายวชิ า วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 จานวน 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

รายวชิ าสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5 จานวน 2 ชั่วโมง/ สัปดาห์

กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

รายวิชาการปอ้ งกันการทุจริต ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 จานวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

2

กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น

กิจกรรมแนะแนว ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5 จานวน 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์

กิจกรรมลกู เสือ-เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จานวน 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห์

กิจกรรมชมุ นมุ /สาธารณประโยชน์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5

จานวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

1.2 งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนการจดั การเรยี นรู้ จานวน 6 ชว่ั โมง/สัปดาห์

1.2.1 การมีส่วนรว่ มชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ PLC จานวน 2 ช่ัวโมง/สัปดาห์

1.2.2 การจัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้ จานวน 2 ช่วั โมง/สัปดาห์

1.2.3 การสร้างและพัฒนาส่อื การจดั การเรียนรู้ จานวน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์

1.3 งานพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จานวน 3 ชวั่ โมง/สัปดาห์

1.3.1 หัวหนา้ บริหารงานบคุ คล จานวน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์

1.3.2 งานวชิ าการ จานวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

-หัวหน้ากล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย

-หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี

-หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ

-กิจกรรมโครงการตามแผนปฏบิ ตั กิ าร

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน้ จานวน 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์

1.4.1 กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้ จานวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

1.4.2 โครงการสง่ เสริมผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 จานวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

3

2. งานทจ่ี ะปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานตาแหน่งครู (ใหร้ ะบุรายละเอียดของงานทจี่ ะปฏบิ ตั ิในแตล่ ะด้านว่าจะดาเนนิ การ

อยา่ งไร โดยอาจระบรุ ะยะเวลาท่ีใชใ้ นการดาเนินการดว้ ยก็ได)้

ตวั ช้วี ัด (Indicators)

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ทจ่ี ะเกิดข้ึนกับผู้เรียน

ลักษณะงานท่ีปฏิบตั ิ ที่จะดาเนินการพฒั นา ของงานตามข้อตกลง ทแ่ี สดงให้เหน็ ถึงการ
ตามมาตรฐานตาแหน่ง ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทค่ี าดหวังให้เกิดข้ึน เปลยี่ นแปลงไปในทาง
การประเมนิ กบั ผูเ้ รียน ท่ดี ีข้นึ หรือมีการพฒั นา

(โปรดระบ)ุ (โปรดระบ)ุ มากข้นึ หรือผลสมั ฤทธิ์

สูงขึ้น(โปรดระบ)ุ

1. ดา้ นการจดั การเรียนรู้ การพัฒนาการเขยี นเรยี งความโดย

ลักษณะงานทเ่ี สนอให้ ใชช้ ดุ แบบฝกึ ทกั ษะการเขียนเชงิ

ครอบคลุมถึง การสรา้ งและหรือ สรา้ งสรรค์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้

พฒั นาหลกั สูตรการออกแบบ ภาษาไทย สาหรบั ผ้เู รียนชั้น

การจัดการเรียนรู้การจดั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5

กิจกรรมการเรียนรู้ การสรา้ ง โรงเรียนบา้ นท่าข้าม

และหรอื พฒั นาสือ่ นวัตกรรม มกี ระบวนการในการดาเนินการดังน้ี

เทคโนโลยี และแหลง่ เรยี นรู้ 1.1 การสร้างและพัฒนาหลักสูตร

การวดั และประเมนิ ผลการ - วิเคราะหห์ ลักสตู ร มาตรฐานการ 1. ผู้เรียนสามารถ 1. ผู้เรียนรอ้ ยละ 80

จดั การเรยี นรู้ การศึกษา เรียนรแู้ ละตัวชี้วัด นาไปจดั ทา พฒั นาการเขยี น ได้เรยี นรู้เกี่ยวกับการ

วิเคราะห์ สงั เคราะห์เพ่ือ แผนการจดั การเรยี นรู้ เร่ืองการเขียน เรยี งความโดยใช้ชุดแบบ เขยี นเชิงสรา้ งสรรค์ โดย

แกป้ ญั หาหรือพฒั นาการเรียนรู้ เชิงสร้างสรรค์ ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5 ฝึกทกั ษะ เรื่อง การ พิจารณาจากผลการ

การจดั บรรยากาศท่ีส่งเสริมและ ให้สอดคล้องกบั หลักสูตรแกนกลาง เขยี นเชิงสร้างสรรค์ เรียนรู้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ

พฒั นา ผ้เู รยี นและการอบรม การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 70 ของแบบฝึกทักษะ

และพฒั นาคณุ ลักษณะทดี่ ีของ 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง 2560) และ เรอ่ื ง การเขียนเชิง

ผเู้ รียน หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียน สร้างสรรค์

บ้านทา่ ขา้ ม

1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้

- จัดทาหน่วยการเรียนรใู้ ห้สอดคลอ้ ง 2. ผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้ 2. ผู้เรียนร้อยละ 80
มคี วามรตู้ ามหลักสูตร
กบั หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ ตามหน่วยการเรยี นรู้ ทต่ี อ้ งรู้ตามตวั ชว้ี ดั

พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั เร่อื ง การเขยี นเชงิ

ปรับปรุง 2560) และหลักสตู ร สร้างสรรค์ ท่มี ี

สถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นทา่ ข้าม โดย ประสทิ ธิภาพ

4

ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ช้วี ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตาแหนง่ ท่จี ะดาเนินการพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ทีจ่ ะเกิดขึน้ กับผู้เรยี น
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทค่ี าดหวังใหเ้ กดิ ขึ้น ทแี่ สดงใหเ้ ห็นถึงการ
การประเมิน กบั ผู้เรยี น เปลีย่ นแปลงไปในทาง
(โปรดระบ)ุ (โปรดระบ)ุ ทด่ี ีขึ้นหรอื มีการพฒั นา
มากขึน้ หรือผลสมั ฤทธ์ิ
สงู ข้นึ (โปรดระบ)ุ

จดั เปน็ แบบฝกึ ทักษะการเขียนเชิง
สรา้ งสรรค์ ท่เี ปน็ แบบอยา่ งใหค้ รใู น
กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย

1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

- การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ที่เนน้ การ 3. ผู้เรียนได้เรยี นรู้ตาม 3. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 80
ได้เรียนร้อู ยา่ งมคี วามสุข
พัฒนาการเขยี นเรยี งความโดยใชช้ ุด แผนการจัดการเรียนรู้ และมีความรตู้ ามตัวช้วี ดั
ตามหลกั สตู รสมรรถนะ/
แบบฝึกทักษะการเขียนเชิง เรอื่ งการเขยี นเชิง หลักสตู รตอ้ งรู้และส่งผล
ให้มีความเขา้ ใจในเนื้อหา
สร้างสรรค์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สร้างสรรค์ ท่ีมคี ณุ ภาพ ท่ีครูได้ทาการสอน

ภาษาไทย สาหรับผู้เรยี นชน้ั และบนั ทึกผลหลงั การ

ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 สอนทสี่ ะท้อนผลในการ

โรงเรยี นบา้ นท่าขา้ ม ของผเู้ รียนเปน็ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

สาคัญผา่ นกจิ กรรมที่เน้นให้ผู้เรยี น

ปฏิบัติ โดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะทคี่ รู

สรา้ งและพฒั นาขนึ้ ร่วมกับกิจกรรม

การเรยี นร้แู บบรว่ มมือ จัดกจิ กรรม

เป็นแบบอยา่ งให้กบั คุณครูท่มี านิเทศ

การสอน

1.4 สร้างและหรือพัฒนาส่อื
นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหลง่
เรียนรู้
- พัฒนา สอื่ นวัตกรรม ชุดการเรยี น

5

ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวช้ีวัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตาแหนง่ ท่จี ะดาเนนิ การพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดข้นึ กับผู้เรยี น
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ที่คาดหวงั ให้เกดิ ขึ้น ทีแ่ สดงให้เห็นถึงการ
การประเมนิ กบั ผ้เู รยี น เปลยี่ นแปลงไปในทาง
(โปรดระบ)ุ (โปรดระบุ) ทด่ี ขี นึ้ หรือมกี ารพัฒนา
มากขน้ึ หรือผลสมั ฤทธิ์
ภาษาไทย เรื่องการเขยี นเชิง 4. ผู้เรียนได้รบั การ สูงขนึ้ (โปรดระบุ)
4. ผู้เรียนร้อยละ 80 เกดิ
สร้างสรรค์ โดยเน้นกจิ กรรมให้ พฒั นาการเขียน ทกั ษะการเรียนรู้ทักษะ
การคิด ทักษะการทางาน
ผู้เรียนได้เรยี นรู้ร่วมกัน ด้วยการใช้ชุด เรยี งความ โดยใช้ชุด ทักษะการแก้ปญั หา
ทักษะการเชื่อมโยง และ
แบบฝกึ ทกั ษะ แบบฝกึ ทกั ษะการเขยี น ทกั ษะการส่ือสาร ตาม
เกณฑ์ที่กาหนดไว้ส่งผลให้
- เผยแพร่เอกสารชดุ การเรยี น เชิงสร้างสรรค์ ผู้เรียนมคี วามเขา้ ใจมาก
ยิ่งข้นึ
ภาษาไทยน้ีในการรว่ มชมุ ชนการ ที่มีประสทิ ธภิ าพ
5. ผู้เรียนรอ้ ยละ 80
เรยี นรู้ทางวิชาชีพของกล่มุ สาระการ มีผลสัมฤทธ์ิผ่านตาม
เกณฑ์ท่สี ถานศึกษา
เรยี นรู้ภาษาไทย กาหนดไว้ทุกตัวชวี้ ดั

1.5 วัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

- พฒั นารูปแบบการวดั และ 5. ผู้เรียนได้รบั การวดั

ประเมนิ ผลตามสภาพจริง โดย ประเมนิ ผลโดยใช้

พจิ ารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมใน เครือ่ งมือและแบบ

ช้ันเรียน ประเมินตามตวั ชว้ี ัด

- พจิ ารณาจากการเขียนเชิง (หลักสูตรตอ้ งรู้) ท่ีมี

สรา้ งสรรค์ เมือ่ ผู้เรียนเรียนรู้จบในแต่ ประสิทธิภาพและ

ละหัวขอ้ และแก้ไขปรบั ปรุงผู้เรียนทม่ี ี นา่ เชื่อถือ จัดเกบ็ ข้อมลู

ผลการเรียนรู้ยงั ไม่ผ่านเกณฑ์ท่ี เปน็ ระบบ

กาหนด

- เผยแพร่ เครอื่ งวดั และประเมนิ ผล

ให้กบั เพ่ือนครูในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้

ภาษาไทย

6

ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตวั ชว้ี ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตาแหน่ง ที่จะดาเนนิ การพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ทจ่ี ะเกิดขนึ้ กับผู้เรยี น
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ท่คี าดหวังให้เกดิ ข้ึน ที่แสดงให้เหน็ ถึงการ
การประเมนิ กับผู้เรยี น เปลย่ี นแปลงไปในทาง
(โปรดระบ)ุ (โปรดระบ)ุ ที่ดีข้นึ หรอื มีการพัฒนา
มากข้ึนหรือผลสัมฤทธ์ิ
1.6 ศึกษา วเิ คราะห์ และสังเคราะห์ 6. มีกระบวนการผลวจิ ัย สงู ขน้ึ (โปรดระบุ)
เพื่อแก้ปญั หา หรือพัฒนาการเรียนรู้ และมีการส่งเสรมิ ให้
ทสี่ ง่ ผลต่อคณุ ภาพผเู้ รียน ผู้เรียนท่ีมีผลการเรยี นรู้ 6. ผู้เรยี นร้อยละ 80
- ศกึ ษางานวิจยั เกี่ยวกับการเขยี น ไมผ่ า่ นเกณฑ์ ไดร้ บั การ มีทกั ษะการแก้ปัญหา
เรียงความ เรอื่ ง การเขยี นเชิง ซ่อมเสริม แกไ้ ข ผ่านเกณฑ์ตามท่ีกาหนด
สร้างสรรค์ เขียนคาในวชิ าภาษาไทย ปรับปรุงและพฒั นาจนมี ไว้
โดยใชช้ ดุ แบบฝึกทกั ษะ และนา ผลการเรยี นรผู้ ่านเกณฑ์
ความรูท้ ไี่ ด้มาวางแผนในการจดั ทา ทีก่ าหนด 7. ผู้เรยี นร้อยละ 80
วิจัยในช้นั เรียน เพอ่ื แก้ปัญหาผู้เรียน มคี วามสนใจ และ
และผลการเรยี นรูไ้ ม่ผ่านเกณฑ์ที่ 7. ผู้เรยี นมสี ่วนรว่ มใน กระตือรอื ร้นในการรว่ ม
กาหนด โดยมกี ารบันทึกรายละเอียด การจัดบรรยากาศในช้นั ทากจิ กรรมส่งผลให้ผู้เรียน
ไว้ในหลงั แผนการจดั การเรียนรู้ และ เรยี นมีความพึงพอใจ มีความสุขในการเรียนรู้
เผยแพรต่ วั อยา่ งในกลุ่มชุมชนการ และเรา้ ความสนใจของ สง่ ผลตอ่ การพัฒนา
เรียนรู้ทางวิชาชพี กลมุ่ สาระการ ผู้เรียนให้เขา้ เรยี น
เรียนรภู้ าษาไทย กิจกรรมการเรยี นรู้
1.7 จดั บรรยากาศที่สง่ เสรมิ และ
พัฒนาผเู้ รียน
- มีการพฒั นาการจัดบรรยากาศใน
ช้นั เรยี นใหเ้ หมาะสมกับกจิ กรรมการ
เรยี นรู้ตามวัยของผู้เรียน เช่น มกี าร
จดั บรรยากาศการเรา้ ความสนใจ
(เกมแบบตา่ ง ๆ สอดแทรก) และ
กระตุ้นใหผ้ ู้เรยี นมีสว่ นรว่ มกบั

7

ลกั ษณะงานที่ปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ช้ีวัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตาแหน่ง ท่ีจะดาเนนิ การพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ทีจ่ ะเกิดข้ึนกับผู้เรียน
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ท่ีคาดหวงั ให้เกดิ ข้ึน ทแ่ี สดงใหเ้ ห็นถึงการ
การประเมนิ กบั ผู้เรียน เปล่ียนแปลงไปในทาง
(โปรดระบ)ุ (โปรดระบ)ุ ท่ดี ขี ึ้นหรอื มีการพัฒนา
มากขนึ้ หรือผลสมั ฤทธิ์
กิจกรรม ส่งเสริมผู้เรียนทุกคนให้ สงู ขึน้ (โปรดระบ)ุ
โอกาสนาเสนอความคิดเห็น เปน็ ผลสมั ฤทธ์ิ
ประจา สรา้ งแรงบันดาลใจในการ
เรียนและเชื่อมโยงภาษาไทย เพ่อื ให้ ของผู้เรียนให้สงู ข้นึ
ผู้เรียนเห็นคณุ คา่ ในการเรียน
ภาษาไทย และประโยชน์ทเี่ กิดข้ึน
จากการเรยี นรู้ รวมท้ังใชส้ อ่ื
เทคโนโลยเี ขา้ มาช่วยลดระยะเวลาใน
การเรียนรูข้ องผู้เรยี น สามารถทา
ความเขา้ ใจไดง้ ่ายข้นึ

1.8 อบรมและพัฒนาคุณลกั ษณะท่ี

ดขี องผูเ้ รียน

- สง่ เสริมคุณลักษณะท่ดี ีของผเู้ รียน 8. ผู้เรียนมีคุณลกั ษณะที่ 8. ผู้เรียนรอ้ ยละ 100

คอื ความรับผดิ ชอบในการส่งงาน ดที ้งั ตอ่ ตนเอง ผู้อื่น มีคณุ ลักษณะที่พงึ

และมคี วามซอ่ื สตั ย์ต่อตนเอง ในการ โรงเรยี น และสงั คม ประสงค์ตามทสี่ ถานศึกษา

ทางานในรายวชิ าภาษาไทย และ กาหนดไว้

ทดสอบความรู้ด้วยตนเองไมล่ อกของ

ผอู้ ื่น

2. ดา้ นการส่งเสรมิ และ 2.1 การจัดทาข้อมูลสารสนเทศของ
สนับสนุน
การจัดการเรียนรู้ ผเู้ รยี นและรายวิชา

ลกั ษณะงานท่ีเสนอให้ - มกี ารจัดทาข้อมลู ในระบบ 1. ผู้เรยี นมรี ะบบข้อมลู 1. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 100 มี

สารสนเทศ ของผู้เรียนช้ัน สารสนเทศ สะดวกต่อ ระบบข้อมลู สารสนเทศ

8

ตวั ชวี้ ัด (Indicators)

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ทจ่ี ะเกิดขึน้ กับผู้เรยี น

ลักษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิ ทจ่ี ะดาเนนิ การพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลง ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถึงการ
ตามมาตรฐานตาแหน่ง ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทีค่ าดหวังให้เกิดข้ึน เปล่ยี นแปลงไปในทาง
การประเมิน กับผู้เรยี น ทด่ี ีข้ึนหรือมกี ารพฒั นา

(โปรดระบ)ุ (โปรดระบ)ุ มากข้ึนหรือผลสมั ฤทธ์ิ

สูงข้ึน(โปรดระบุ)

ครอบคลุมถึงการจัดทาข้อมลู ประถมศกึ ษาปีที่ 5และในรายวิชาที่ การใช้งาน มี ครบถว้ นในทุกด้านเปน็

สารสนเทศของผเู้ รยี นและ ทาการสอน เอกสารงานประจาชนั้ ประสทิ ธิภาพ และ ระบบและเปน็ รายบุคคล

รายวชิ า การดาเนนิ การตาม และแบบ ปพ. ต่างๆ โดยมีข้อมลู เปน็ สามารถนาข้อมูลมาใช้ได้

ระบบ ดูแลช่วยเหลอื ผ้เู รียน ปัจจบุ ัน เพ่อื ใชใ้ นการส่งเสรมิ ทันที

การปฏบิ ัตงิ านวิชาการและงาน สนบั สนุนการเรยี นรู้ แก้ไขปัญหาและ

อน่ื ๆ ของสถานศึกษา และการ พัฒนาคุณภาพผเู้ รียน

ประสานความร่วมมือกับ

ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และ

หรือสถานประกอบการ

2.2 มีการดาเนนิ การตามระบบดูแล

ช่วยเหลือผเู้ รียน

- ออกเยี่ยมบ้านนักเรียน อยา่ งน้อย 2. ผู้เรียนมขี อ้ มูลพ้นื ฐาน 2. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 100

ภาคเรยี นละ 1 คร้งั ท้งั แบบเย่ยี ม เปน็ รายบุคคล และ ไดร้ บั การดูแลเอาใจใส่ตรง

ตามสภาพจริงและ Online ช่วยเหลือในเรอื่ งต่าง ๆ ตามความต้องการ

-มกี ารประเมินคัดกรองผู้เรียน จากข้อมลู การเยย่ี มบ้าน รายบคุ คลและมี

รายบคุ คลและประสานความรว่ มมือ จัดหาทุน การศึกษา ความสัมพันธ์อันดีระหว่าง

กบั ผู้มสี ่วนเก่ียวขอ้ งเพื่อพัฒนาและ นักเรียนยากจน ครแู ละผเู้ รยี น

แกไ้ ขปัญหาของผูเ้ รียน

2.3 การปฏบิ ัตงิ านวิชาการ และ

งานอ่นื ๆ ของสถานศึกษา

- ปฏบิ ตั งิ านวชิ าการ โดยปฏบิ ตั ิ 3. ผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้ 3. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 100

หน้าทห่ี วั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ในกิจกรรมทหี่ ลากหลาย ไดร้ บั การพัฒนา มสี ่วน

ภาษาไทย หัวหนา้ กลุม่ สาระการงาน ตามโครงการและ รว่ มในกจิ กรรมทาง

อาชีพและหัวหนา้ กลุ่มสาระศิลปะ กจิ กรรมท่ีทางโรงเรียน วิชาการทโี่ รงเรยี นจดั ขน้ึ

โดยร่วมกบั ครใู นกล่มุ สาระการเรียนรู้ ได้กาหนดข้ึนตลอดปี เกิดประโยชนอ์ ย่างมี

จัดกิจกรรมต่าง ๆ ทส่ี ง่ เสริมผู้เรยี นให้ การศกึ ษา ระบบ ตรวจสอบได้

9

ลกั ษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวชีว้ ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตาแหนง่ ทีจ่ ะดาเนนิ การพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลง ที่จะเกิดข้นึ กับผู้เรียน
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ท่ีคาดหวังใหเ้ กิดข้ึน ทีแ่ สดงให้เห็นถึงการ
การประเมนิ กับผเู้ รียน เปลยี่ นแปลงไปในทาง
(โปรดระบุ) (โปรดระบุ) ท่ีดีขน้ึ หรือมีการพฒั นา
มากขนึ้ หรือผลสมั ฤทธิ์
เหมาะสมกับการเรยี นรู้ของ สูงขึน้ (โปรดระบุ)

ผู้เรียน 4. ผู้เรยี นร้อยละ 100
ได้รับการดูแลจัดสรรหา
- ปฏบิ ตั ิงานฝ่ายบุคคล โดยปฏิบัติ ทนุ การศึกษาทาใหผ้ ู้เรยี น
มคี ุณภาพชวี ิตท่ีข้นึ และ
หนา้ ทง่ี านพฒั นาบุคลากร งาน การเรียนของผู้เรยี นมี
ผลสัมฤทธท์ิ สี่ งู ขึ้น
เอกสารตา่ งๆทีเ่ กย่ี วกบั การพัฒนา

งานบคุ คล

-ปฏบิ ัตงิ านในโครงการตา่ งๆทไ่ี ดร้ ับ

มอบหมายตามท่ีโรงเรยี นแตง่ ตง้ั ให้

รบั ผดิ ชอบ

2.4 ประสานความรว่ มมือผู้ปกครอง

ภาคีเครอื ข่าย และหรอื สถาน

ประกอบการ

- ประสานงานความร่วมมือกับ 4. ผู้เรียนไดร้ ับความ

ผู้ปกครองผู้เรยี นชั้นประถมศึกษา ชว่ ยเหลือจากผ้ปู กครอง

ปีที่ 5 เพ่ือรว่ มกนั แก้ไขปญั หาและ หนว่ ยงานอน่ื ทเี่ ก่ยี วข้อง

พัฒนาผู้เรยี น และมขี ้อมลู ในระบบ

สารสนเทศของโรงเรยี น

3. ดา้ นการพฒั นาตนเองและ 3.1 พัฒนาตนเองอยา่ งเป็นระบบ

วชิ าชพี และต่อเนอื่ ง

ลักษณะงานทีเ่ สนอให้ - พัฒนาตนเองโดยการเขา้ อบรม/ 1. ผู้เรียนไดร้ ับการจัด 1. ผู้เรียนรอ้ ยละ 100
กิจกรรมการเรียนการ ได้รับการจดั กิจกรรมการ
ครอบคลุมถึง การพฒั นาตนเอง ประชุม/สมั มนาตลอดปีงบประมาณ สอนท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ เรยี นการสอนดว้ ยวิธีการ

อย่างเป็นระบบ และต่อเน่ือง 2565 ในสาขาและวชิ าเหมาะสมกบั

10

ตวั ชีว้ ดั (Indicators)

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ท่ีจะเกิดขนึ้ กบั ผู้เรียน

ลักษณะงานที่ปฏบิ ัติ ที่จะดาเนนิ การพฒั นา ของงานตามข้อตกลง ทแ่ี สดงให้เหน็ ถึงการ
ตามมาตรฐานตาแหนง่ ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ท่ีคาดหวังให้เกิดขึ้น เปล่ยี นแปลงไปในทาง
การประเมิน กบั ผูเ้ รียน ท่ดี ีข้ึนหรอื มีการพฒั นา

(โปรดระบุ) (โปรดระบุ) มากข้ึนหรือผลสัมฤทธ์ิ

สูงขึ้น(โปรดระบ)ุ

การมีส่วนรว่ มในการลกเปลี่ยน ระดับของตนเองเพอ่ื นามาพัฒนาสือ่ สาคัญ มีกจิ กรรมที่ ท่ีหลากหลายและ

เรียนร้ทู างวิชาชพี เพอ่ื และการจดั กิจกรรมการด้านการเรียน หลากหลายเหมาะสม เหมาะสมกบั เนื้อหาส่งผล

พฒั นาการจดั การเรียนรู้ และ การสอนทัง้ รปู แบบการอบรมแบบ ตามความแตกต่าง ใหม้ ผี ลสัมฤทธ์ิทางการ

การนาความรู้ความสามารถ ปกติ และ Online ระหว่างบคุ คล ทาให้ เรยี นสงู ขน้ึ

ทกั ษะท่ีไดจ้ ากการพัฒนาตนเอง ผู้เรยี นมผี ลสมั ฤทธิ์ท่ี

และวิชาชีพมาใช้ในการ สงู ขนึ้

พัฒนาการจัดการเรยี นรู้ การ 3.2 การมีส่วนร่วมในการ

พฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น และการ แลกเปล่ยี นเรยี นร้ทู างวิชาชีพเพอื่

พฒั นานวัตกรรม การจดั การ พัฒนาการจดั การเรียนรู้

เรยี นรู้ -เข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ เพื่อพฒั นางาน 2. ผู้เรียนท่มี ปี ญั หาด้าน 2.ผู้เรยี นร้อยละ 100 ของ

ด้านวชิ าชพี (PLC) นาความรู้ทไี่ ด้มา การเขยี นเรียงความ กลมุ่ ผู้เรยี นท่ีมีปัญหาใน

สร้างสอื่ และนวัตกรรมเพื่อพัฒนา ได้รับการแกไ้ ขด้วยชุด การเรยี นรู้ มีผลการเรียนรู้

ผู้เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 แบบฝกึ เสรมิ ทักษะเขียน ผา่ นเกณฑ์ท่ีกาหนด

- มีสว่ นในการเปน็ ผ้นู าชมุ ชนการ เชงิ สรา้ งสรรค์ จาก

เรียนรูท้ างวชิ าชพี กล่มุ สาระการ นวัตกรรมท่ีไดจ้ ากการ

เรียนร้ภู าษาไทยในฐานะตาแหนง่ เข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้

หัวหน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้ ทางวชิ าชพี หรือ PLC

ภาษาไทย ในการส่งเสรมิ การจดั

กจิ กรรม การเขียนเชิงสรา้ งสรรค์

ให้กบั ผู้เรยี น และสร้างกล่มุ ในการ

แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ผา่ น

กิจกรรมนเิ ทศการจัดการเรยี นรู้

11

ลกั ษณะงานท่ีปฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวชวี้ ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตาแหน่ง ที่จะดาเนินการพฒั นา ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดข้ึนกับผู้เรียน
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ท่คี าดหวงั ให้เกดิ ข้ึน ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถึงการ
การประเมิน กับผเู้ รยี น เปลีย่ นแปลงไปในทาง
(โปรดระบุ) (โปรดระบ)ุ ทดี่ ขี ึ้นหรอื มกี ารพัฒนา
มากขนึ้ หรือผลสัมฤทธ์ิ
3.3 การนาความร้คู วามสามารถ 3. ผู้เรียนชน้ั สูงขน้ึ (โปรดระบ)ุ
ทักษะท่ีได้จากการพัฒนาตนเองและ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5ไดร้ ับ
วิชาชีพมาใชใ้ นการพัฒนาการ การพฒั นาส่ือการเรยี น 3. ผเู้ รียนรอ้ ยละ 100
จดั การเรยี นรู้ การพฒั นาคณุ ภาพ การสอนที่ครูได้พฒั นา ได้รบั การพัฒนาจากสื่อ
ผู้เรียน และการพฒั นานวตั กรรม และนามาใชจ้ ัดกิจกรรม การเรียนการสอนท่คี รูได้
การจดั การเรยี นรู้ การเรียนรูภ้ าษาไทยชน้ั พฒั นาข้ึนและนามาใช้จดั
- นาผลการพัฒนาตนเองในการศึกษา ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 กจิ กรรมการเรียนรู้
ค้นคว้าองคค์ วามรู้ มาสร้างสือ่ รายวิชาภาษาไทยชั้น
นวตั กรรมและจากการประชุม PLC ประถมศึกษาปีที่ 5
ไปสร้างเป็นสอ่ื นวัตกรรม เพื่อ
นาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน
หรือแก้ไขผู้เรียนท่ีมผี ลการเรียนรไู้ ม่
ผา่ นเกณฑ์ท่ีกาหนด

หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการ

เรยี นร้ขู องแตล่ ะสถานศกึ ษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหวา่ งผอู้ านวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผู้จัดทา
ข้อตกลง

2. งาน (Tasks) ทีเ่ สนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางานต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ที่ส่งผล
โดยตรงตอ่ ผลลัพธก์ ารเรียนรขู้ องผู้เรียน และให้นาเสนอรายวิชาหลักท่ีทาการสอน ของรายวิชาหลักที่ทาการสอน
ทุกระดับช้ัน ในกรณีท่ีสอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงการ
ปฏบิ ัติงานตามมาตรฐานตาแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน ตามข้อตกลงสามารถประเมินได้
ตามแบบการประเมนิ PA 2

3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสาคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผู้เรียน
(Outcomes) และตัวชวี้ ัด (Indicators) ทเี่ ปน็ รูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนา

12

งานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดาเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการจัดการ
เรียนรใู้ นบริบทของแตล่ ะสถานศึกษา และผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ของผเู้ รียนที่เกิดจากการพัฒนางาน ตามข้อตกลงเป็น
สาคัญ โดยไม่เน้นการประเมนิ จากเอกสาร

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานท่ีเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนของผู้จัดทาข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดารง

ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติท่ีคาดหวังของวิทยฐานะครูชานาญการ
คือ การแก้ไขปัญหา การจัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปล่ียนแปลงไป
ในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากข้ึน (ทั้งน้ี ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติท่ีคาดหวังใน
วิทยฐานะทีส่ งู กวา่ ได้)

ประเด็นท้าทาย เรอ่ื ง การพฒั นาการเขียนเรียงความ โดยใชช้ ุดแบบฝึกทกั ษะการเขยี นเชิงสร้างสรรค์
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย สาหรบั ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นบา้ นทา่ ขา้ ม

1. สภาพปัญหาการจดั การเรียนรู้และคณุ ภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
ตามหลักสูตรแกนกลางของการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย

ในสาระท่ี 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนสื่อสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ
การเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอย่างมี
ประสิทธิภาพ

ในดา้ นคณุ ภาพผู้เรียนเมื่อจบชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5 ต้องมีทกั ษะในการคดั ลายมือตัวบรรจง
เตม็ บรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนสะกดคา แตง่ ประโยคและเขียนข้อความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใชถ้ ้อยคา
ชดั เจนเหมาะสม ใชแ้ ผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพความคดิ เพื่อพัฒนางานเขียน เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ
จดหมายสว่ นตัว กรอกแบบรายการตา่ งๆ เขยี นแสดงความรสู้ ึกและความคดิ เห็น เขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการและ
สรา้ งสรรค์ และมมี ารยาทในการเขยี น
จากสภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนรายวิชาภาษาไทย พบว่า ผู้เรียน
ระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5 ขาดทักษะในการเขียน ได้แก่ ทักษะการเขยี นสื่อสารโดยใช้คาได้ถกู ต้อง ส่งผลต่อ
การเรียนรู้ในรายวิชาภาษาไทย ซึ่งการเรียนการสอนที่ใช้กิจกรรมการเขียนประสบปัญหามากทา ให้
ผู้เรียนขาดความสามารถในการเขียนไม่สามารถเขียนเรียงความได้ และยังขาดความคดิ สรา้ งสรรค์ในการ
เขียนเรยี งความ ดังน้นั เพื่อเป็นการแกป้ ัญหาให้ผเู้ รยี นมีทักษะการเขยี นเรยี งความอย่างสร้างสรรค์ เพอื่ ส่ือ
ความหมายใหผ้ ู้อืน่ เข้าใจเร่ืองราวและสามารถเขียนเรียงความได้ดียิ่งข้ึน จึงได้พัฒนาชุดแบบฝึก

13

ทักษะการเขยี นเชิงสรา้ งสรรค์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ทส่ี ่งเสริมกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ
และสามารถเขียนเรียงความได้ดียิ่งข้ึน ในขณะเดียวกันเป็นการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ในสาระวิชา
ภาษาไทยให้สูงข้ึน

2. วิธีการดาเนนิ การใหบ้ รรลุผล
2.1 วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางของการศึกษาขั้นพื้นฐาน และหลักสูตรผู้เรียนต้องรู้ กลุ่มสาระ

การเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5 เพ่อื ออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ตามตวั ชี้วัด
2.2 จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ เรอื่ ง การเขยี นเชงิ สร้างสรรค์ แบบฝึกทกั ษะการเขยี น

เชงิ สร้างสรรค์ แบบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนดา้ นการเขียนเรียงความ
2.3 ใช้กระบวนการรวมกลุ่มทางวิชาชีพ (PLC) เข้ามาช่วยในการแก้ไขปัญหา พัฒนาส่ือและ

นวตั กรรมทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ
2.4 ครูผู้สอนนาชุดแบบฝึกมาปรับปรุง แก้ไขตามคาแนะนาของคณะครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้

ภาษาไทยโรงเรียนบา้ นทา่ ขา้ ม
2.5 นาชุดแบบฝกึ การเรียนภาษาไทย เรื่อง การเขยี นเชิงสร้างสรรค์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้

ภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นบ้านทา่ ขา้ ม ไปจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ กับผู้เรยี น
2.6 บันทึกผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และสะท้อนผลการ

เรยี นรู้ใหผ้ ู้เรยี นทราบเปน็ ระยะ และพัฒนาจนกวา่ นักเรียนจะผ่านเกณฑ์
3. ผลลพั ธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
3.1 เชงิ ปริมาณ
ผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าข้าม ได้รับการพัฒนาการเขียนเรียงความจาก

การใชช้ ุดแบบฝกึ ทกั ษะการเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์ โดยมคี ะแนนทดสอบผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 75 ของผู้เรียนทั้งหมด
3.2 เชิงคณุ ภาพ
ผู้เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 มีความสามารถและทักษะในเขียนเรียงความ เร่อื ง การเขยี น

เชงิ สร้างสรรค์ โดยใช้ชดุ แบบฝึกทักษะการเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ลงช่อื ................................................
(นางสาวอรพรรณ สารบนั )

ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะครูชานาญการ
ผจู้ ดั ทาข้อตกลงในการพัฒนางาน
................/.............../...................

14

ความเห็นของผอู้ านวยการสถานศกึ ษา
( ) เหน็ ชอบให้เปน็ ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน
( ) ไม่เหน็ ชอบให้เปน็ ข้อตกลงในการพฒั นางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพ่ือนาไปแก้ไข และ

เสนอเพื่อพจิ ารณาอกี ครั้ง ดังนี้
.......................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื .................................................
(นางสาวกิตติมา ม่งุ วัฒนา)

ตาแหนง่ ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นท่าขา้ ม
................/.............../...................


Click to View FlipBook Version