The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาวะโลกร้อน สื่อสิ่งพิมพ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นางสาวมฤทัย ยวนใจ, 2020-02-20 22:55:13

ภาวะโลกร้อน สื่อสิ่งพิมพ์

ภาวะโลกร้อน สื่อสิ่งพิมพ์

ภาวะโลกร้อน

ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หมายถงึ การทอ่ี ณุ หภมู ิเฉลยี่ ของอากาศบนโลกสูงข้นึ ไม่วา่ จะเป็นอากาศ
บริเวณใกลผ้ ิวโลกและน้าในมหาสมทุ ร ในช่วง 100 ปี ท่ผี า่ นมาอณุ หภมู เิ ฉล่ียของโลกสูงข้ึนถงึ 0.74-0.18 องศาเซลเซียส และ
จากแบบจาลองการคาดคะเนภูมอิ ากาศพบวา่ ในปี พ.ศ. 2544 – 2643 อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะเพม่ิ ข้ึนถงึ 1.1 ถึง 6.4 องศา
เซลเซียส

สาเหตทุ ท่ี าใหเ้ กิดภาวะโลกรอ้ น กเ็ พราะว่าก๊าซเรือนกระจกทเี่ พิม่ ข้นึ จากการทากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ไม่วา่ จะเป็นการ
เผาผลาญถ่านหินและเช้ือเพลิง รวมไปถงึ สารเคมที มี่ ีส่วนผสมของก๊าซเรือนกระจกทม่ี นุษยใ์ ช้ และอ่ืนๆอกี มากมาย จึงทาให้
ก๊าซเรือนกระจกเหลา่ น้ีลอยข้ึนไปรวมตวั กนั อยบู่ นช้นั บรรยากาศของโลก ทาให้รงั สีของดวงอาทิตยท์ ค่ี วรจะสะทอ้ นกลบั
ออกไปในปริมาณท่ีเหมาะสม กลบั ถกู กา๊ ซเรือนกระจกเหล่าน้ีกกั เกบ็ ไว้ ทาใหอ้ ณุ หภมู ขิ องโลกคอ่ ยๆ สูงข้ึนจากเดิม

ผลกระทบของภาวะโลกรอ้ นน้นั กม็ ใี หเ้ ราเห็นกนั อยบู่ อ่ ย ๆ สภาพลมฟ้าอากาศทผี่ ดิ แปลกไปจากเดิม ภยั ธรรมชาตทิ ี่
รุนแรงมากข้นึ น้าทว่ ม แผ่นดินไหว พายทุ ี่รุนแรง อากาศท่ีร้อนผดิ ปกตจิ นมคี นเสียชีวิต รวมไปถึงโรคระบาดชนิดใหม่ๆ
หรือโรคระบาดทเี่ คยหายไปจากโลกน้ีแลว้ กก็ ลบั มาให้เราไดเ้ ห็นใหม่ และพาหะนาโรคท่ีเพิ่มจานวนมากข้นึ

ในอนาคตคาดว่าผลกระทบของภาวะโลกร้อนจะรุนแรงมากข้ึนเรื่อย ๆ เราสามารถช่วยกนั ลดภาวะโลกรอ้ นไดห้ ลายวิธี
หลกั ๆก็เหน็ จะเป็นการใชพ้ ลงั งานอยา่ งคุม้ ค่าและประหยดั เพราะว่าพลงั งานทพ่ี วกเราใชก้ นั อยทู่ กุ วนั น้ีกวา่ จะมาถงึ ใหเ้ ราได้
ใชน้ ้นั ตอ้ งผา่ นกระบวนการข้นั ตอนในการผลติ มากมาย และแต่ละข้นั ตอนก็จะทาใหเ้ กิดกา๊ ซเรือนกระจกข้ึนมา
เพราะฉะน้นั การลดใชพ้ ลงั งานกเ็ ป็นอีกวิธีหน่ึงทีจ่ ะช่วยลดภาวะโลกรอ้ นได้ เช่น การปิ ดไฟเมอ่ื ไมไ่ ดใ้ ช้ การใชน้ ้าอยา่ ง
ประหยดั การใชจ้ กั รยานแทนรถยนตใ์ นการเดินทางใกลๆ้ และอื่นๆอกี มากมาย

การปลกู ตน้ ไมก้ ็เป็นวธิ ีหน่ึงทจ่ี ะช่วยลดภาวะโลกร้อนได้ อยา่ งทเี่ รารูก้ นั ดีว่าในเวลากลางวนั ตน้ ไมน้ ้นั จะช่วยหายใจเอา
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เขา้ ไป และหายใจออกมาเป็นก๊าซออกซิเจน เปรียบเสมอื นเครื่องฟอกอากาศให้กบั โลกของเราโดย
แท้ แต่ทวา่ ปัจจุบนั ป่ าไมถ้ ูกทาลายและมีจานวนลดลงไปอยา่ งมาก ฉะน้นั ถา้ เราทุกคนช่วยกนั ปลูกตน้ ไม้ กเ็ หมอื นกบั ช่วย
เพ่ิมเครื่องฟอกอากาศให้กบั โลกของเรา ปรากฏการณ์ท้งั หลายเกิดจากภาวะโลกรอ้ นข้ึนทมี่ มี ลู เหตุมาจากการปลอ่ ยก๊าซพิษ
ต่าง ๆจากโรงงานอตุ สาหกรรมทาให้แสงอาทิตยส์ ่องทะลุผา่ นช้นั บรรยากาศมาสู่พ้ืนโลกไดม้ ากข้นึ ซ่ึงนนั่ เป็นท่รี ู้จกั กนั โดย
เรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ มีปริมาณเพมิ่ ข้นึ เน่ืองจากการเผาไหมใ้ นรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเผาไหมเ้ ช้ือเพลงิ โรงงาน
อตุ สาหกรรม การเผาป่ าเพือ่ ใชพ้ ้นื ท่ีสาหรับอยอู่ าศยั และการทาปศสุ ตั ว์ เป็นตน้ โดยการเผาป่ าเป็นการปล่อยกา๊ ซ
คาร์บอนไดออกไซดข์ ้นึ สู่ช้นั บรรยากาศไดโ้ ดยเร็วทส่ี ุด

ก๊าซมีเทน(CH4) เกิดข้นึ จากการยอ่ ยสลายของซากสิ่งมีชีวติ แมว้ า่ มกี า๊ ซมีเทนอยใู่ นอากาศเพยี ง 1.7 ppm แต่กา๊ ซมีเทนมี
คุณสมบตั ขิ องกา๊ ซเรือนกระจกสูงกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กล่าวคอื ดว้ ยปริมาตรทีเ่ ท่ากนั กา๊ ซมีเทนสามารถดดู กลืนรังสี
อนิ ฟราเรดไดด้ ีกวา่ กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์

ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) ปกตกิ า๊ ซชนิดน้ีในธรรมชาติเกิดจากการยอ่ ยสลายซากสิ่งมีชีวิตโดยแบคทเี รีย แต่ทม่ี เี พม่ิ
สูงข้ึนในปัจจบุ นั เนื่องมาจากอตุ สาหกรรมทีใ่ ชก้ รดไนตริกในกระบวนการผลติ เช่น อตุ สาหกรรมผลิตเส้นใยไนลอน
อตุ สาหกรรมเคมแี ละพลาสติกบางชนิด เป็นตน้ กา๊ ซไนตรสั ออกไซดท์ เ่ี พม่ิ ข้ึนส่งผลกระทบโดยตรงตอ่ การเพ่ิมพลงั งาน
ความร้อนสะสมบนพ้ืนผวิ โลกประมาณ 0.14 วตั ต/์ ตารางเมตร นอกจากน้นั เม่ือกา๊ ซไนตรัสออกไซดล์ อยข้ึนสู่บรรยากาศช้นั
สตราโตสเฟี ยร์ มนั จะทาปฏิกริ ิยากบั กา๊ ซโอโซน ทาให้เกราะป้องกนั รงั สีอลั ตราไวโอเล็ตของโลกลดนอ้ ยลง

ก๊าซโอโซน (O3) เป็นกา๊ ซท่ีประกอบดว้ ยธาตุออกซิเจนจานวน 3 โมเลกลุ มีอยเู่ พียง 0.0008% ในบรรยากาศ โอโซน
ไม่ใช่กา๊ ซทม่ี ีเสถียรภาพสูง มนั มอี ายอุ ยใู่ นอากาศไดเ้ พียง 20 - 30 สปั ดาห์ แลว้ สลายตวั โอโซนเกิดจากกา๊ ซออกซิเจน (O2)
ดูดกลืนรงั สีอลั ตราไวโอเล็ตแลว้ แตกตวั เป็นออกซิเจนอะตอมเดี่ยว (O) จากน้นั ออกซิเจนอะตอมเด่ียวรวมตวั กบั ก๊าซ
ออกซิเจนและโมเลกลุ ชนิดอ่ืน (M)ท่ีทาหนา้ ทเี่ ป็นตวั กลาง แลว้ ใหผ้ ลผลิตเป็นก๊าซโอโซนออกมา

ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน

ผลกระทบจากสภาวะโลก การเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศโลกอนั เน่ืองมาจากกิจกรรมของมนุษย์ กอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบใน
ระดบั โลกและระดบั ภูมิภาคท้งั ทางกายภาและชีวภาพ ดงั น้ีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกอนั เนื่องมาจากกิจกรรมของ
มนุษย์ กอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบในระดบั โลกและระดบั ภมู ิภาคท้งั ทางกายภาพและชีวภาพ ดงั น้ี

ระดบั น้าทะเลขึ้นสูง

หากอุณหภมู เิ ฉล่ียของโลกเพ่มิ สูงข้นึ อกี 1.4-5.8 องศาเซลเซียสจะส่งผลใหน้ ้าแข็งท่ขี ้วั โลกละลาย และระดบั น้าทะเล
เฉลย่ี สูงข้ึนอกี 14 - 90 เซนตเิ มตร ซ่ึงจะส่งผลกระทบ ไดแ้ ก่ การสูญเสียท่ดี ินการกดั เซาะและการพงั ทลายของชายฝ่ัง ใน
ส่วนของพ้นื ทีท่ จ่ี ะไดร้ บั ความเสียหายมากทส่ี ุด คอื หม่เู กาะเลก็ ๆ เช่น หมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดีย และทะเลแคริเบยี น
รวมถงึ สามเหลีย่ มปากแมน่ ้าในพ้นื ท่ีราบลมุ่ เช่น สามเหลย่ี มปากแมน่ ้าไนลใ์ นประเทศอยี ปิ ต์ หากระดบั น้าทะเลเพิม่ ข้นึ 50
ซม.จะมผี ลกระทบต่อประชากรโลกประมาณ 92 ลา้ นคน ตวั อยา่ งเช่น ระดบั น้าทะเลท่ีสูงข้นึ 1 เมตรจะทาให้ประเทศอียิปต์
เสียพ้นื ท่ดี ินเพิม่ ข้ึน 1 เปอร์เซน็ ต์ เนเธอร์แลนด์ 6 เปอร์เซ็นต์ บงั คลาเทศ 17.5 เปอร์เซน็ ต์ และ หม่เู กาะมาฮโู รในเกาะ
มาร์แชล 80 เปอร์เซ็นต์

สภาพอากาศรุนแรง

เมื่ออณุ หภูมิเฉล่ียของโลกเพม่ิ สูงข้นึ ภยั ธรรมชาติต่าง ๆมีแนวโนม้ ว่าจะเกิดบ่อยคร้งั และรุนแรงมากยง่ิ ข้ึน เช่น ภยั แลง้
ไฟป่ า พายไุ ตฝ้ ุ่นโซนร้อน น้าทว่ ม และการพงั ทลายของช้นั ดินเป็นตน้ ตวั อยา่ งทเ่ี ห็นไดช้ ดั ของปรากฎการณ์เหล่าน้ี ไดแ้ ก่
พายไุ ซโคลนทีเ่ ขา้ ถล่มรฐั โอริสสา ในประเทศอินเดยี และคร่าชีวติ ผคู้ นนบั หม่ืนในเดือนพฤศจกิ ายน พ.ศ.2542 สภาวะคลืน่
ความรอ้ น (Heat Wave) ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2542 ทที่ าลายพชื ผลการเกษตรในแถบตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศ
สหรฐั อเมริกา และทาให้มผี ูเ้ สียชีวติ 140 คน รวมท้งั ปรากฎการณน์ ้าท่วมใหญ่ในจนี ความแห้งแลง้ รุนแรงในซูดาน และ
เอธิโอเปี ย ตลอดช่วงปี พ.ศ. 2542-43 เป็นตน้

ปะการังฟอกสี

สีสันท่สี วยงามของปะการังน้นั มาจากสาหร่ายเซลลเ์ ดียวขนาดเลก็ ท่พี ่ึงพาอาศยั อยใู่ นเน้ือเยอื่ ช้นั ในของปะการัง หาก
อณุ หภมู ิของน้าทะเลเพิ่มสูงข้นึ อนั เน่ืองมาจากภาวะโลกรอ้ น เพียง 2-3 องศาเซลเซียส สาหร่ายน้นั จะตายไป เมอ่ื ปะการงั ไม่
มอี าหาร ปะการังกจ็ ะตายและกลายเป็ นสีขาว

ปรากฎการณน์ ้ีเรียกวา่ ปะการงั ฟอกสี หรือการเปลี่ยนสีของปะการงั การศกึ ษาวิจยั ทสี่ ถาบนั สมทุ รศาสตร์แห่งฟลอริดา้
(Florida Institute of Oceanography) ระบวุ า่ เกิดการฟอกสีของปะการงั สูงสุดในช่วงหลายสิบปีท่ผี ่านมาในออสเตรเลีย จีน
ญ่ปี ่ ุน ปานามา ไทย มาเลเซีย ฟิ ลปิ ปิ นส์ อนิ เดีย อนิ โดนีเซีย เคนยา ประเทศในบริเวณทะเลแดง เปอโตริโก จาไมก้า
โดยเฉพาะ แนวปะการงั Great Barrier Reef นอกชายฝั่งออสเตรเลยี ซ่ึงเป็นแหล่งอาศยั ของปะการงั พนั ธุห์ ายากทีใ่ กลส้ ูญ
พนั ธุ์

ผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ ภยั ธรรมชาติที่เกิดข้ึนอยา่ งรุนแรง เช่น ภาวะน้าท่วม และคล่ืนร้อนลว้ นส่งผลกระทบ
ต่อสุขภาพของมนุษยท์ ้งั ทางตรงและทางออ้ ม เช่น อุณหภูมทิ ่สี ูงข้ึนจะทาให้ยงุ ลายซ่ึงเป็นพาหะนาไขม้ าลาเรียและ
ไขเ้ ลอื ดออกขยายตวั เพ่ิมข้ึน ส่งผลให้มีผปู้ ่ วยดว้ ยโรคมาลาเรียเพม่ิ ข้ึนประมาณ 50-80 ลา้ นคนตอ่ ปี โดยเฉพาะในเขตศนู ย์
สูตรและเขตรอ้ น เช่นเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้

โครงการส่ิงแวดลอ้ มของสหประชาชาติ ระบวุ า่ การเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศจะกระทบกระบวนการผลติ อาหาร
สุขอนามยั และก่อให้เกิดปัญหาดา้ นสังคมและเศรษฐกิจตามมาสิ่งเหลา่ น้ีก็จะย่งิ กอ่ ใหเ้ กิดปัญหาดา้ นสุขภาพทเี่ กิดข้นึ ใน
ประเทศเขตรอ้ นช้ืน เช่น โรคทอ้ งร่วง โรคขาดอาหาร โรคหอบหืดและโรคภมู ิแพอ้ นื่ ๆ ยงิ่ ไปกว่าน้นั อุณหภมู ทิ ี่สูงข้นึ จะลด
ปริมาณน้าสารอง และเพ่ิมปริมาณจุลชีพเลก็ ๆ ในอาหารและน้า กอ่ ใหเ้ กิดโรค เช่น โรคอาหารเป็นพิษผลกระทบของภาวะ
โลกรอ้ นดงั กลา่ ว กอ่ ให้เกิดความเสียหายทรี่ ุนแรง โดยจะเกิดกบั กลมุ่ ประเทศกาลงั พฒั นาท่ยี ากจนรุนแรงมากทสี่ ุด เน่ืองจาก
ประเทศกาลงั พฒั นาโดยเฉพาะเป็นประเทศเกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตรท่ลี ดลงจากสภาพอากาศแปรปรวน และจะ
ส่งผลกระทบทีร่ ุนแรงตอ่ ปริมาณอาหารสารอง และเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศท่ีตอ้ งพ่งึ พาการส่งออกสินคา้ ทางการ
เกษตรเป็นหลกั ประเทศไทยเองก็เป็นหน่ึงในประเทศกาลงั พฒั นาทีจ่ ะไดร้ บั ผลกระทบทรี่ ุนแรงจากการเปลยี่ นแปลงสภาพ
ภมู อิ ากาศโลกเช่นเดียวกนั

วทิ ยาศาสตร์ของภาวะโลกร้อน

ภาวะโลกร้อนเป็นสิ่งทีเ่ กิดข้นึ จริง ในปัจจบุ นั โลกของเราร้อนกว่าทเี่ คยเป็นมาใน 2 พนั ปี ทผี่ ่านมา หากสภาพน้ียงั เกิดข้ึน
ต่อไป เม่อื ทศวรรษน้ีสิ้นสุดลง อณุ หภูมขิ องโลกมีแนวโนม้ ทจ่ี ะพ่งุ สูงกว่าทเ่ี คยเป็นมาใน 2 ลา้ นปี ท่ีผ่านมา ถึงแมว้ ่าเมอ่ื
ศตวรรษท่ี 20 สิ้นสุดลง สภาพอากาศอาจจะไมร่ ้อนทีส่ ุดในประวตั ศิ าสตร์ของโลก แตส่ ิ่งทไี่ ม่เคยเกิดข้นึ กค็ อื ความรอ้ นน้นั
เกิดข้ึนทวั่ โลก และไมส่ ามารถอธิบายไดด้ ว้ ยกลไกทางธรรมชาติท่ีใชอ้ ธิบายความร้อนในช่วงเวลาท่ผี ่านมา ขอ้ มลู ทาง
วทิ ยาศาสตร์ในวงกวา้ งเหน็ ร่วมกนั วา่ มนุษยชาตมิ สี ่วนอยา่ งมากในการทาให้เกิดความเปลย่ี นแปลงน้ี และทางเลอื กทีเ่ ราเลอื ก
กระทาในวนั น้ีจะเป็นตวั กาหนดสภาพภมู อิ ากาศในอนาคต

เราทาให้สภาพอากาศเปล่ียนแปลงอย่างไร

เป็นเวลามากกวา่ 1 ทศวรรษแลว้ ทผี่ คู้ นพ่งึ พาเช้ือเพลงิ ฟอสซิล เช่น น้ามนั ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติ เพอ่ื ตอบสนอง
ความตอ้ งการพลงั งาน การเผาไหมเ้ ช้ือเพลงิ ปลอ่ ยกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซดซ์ ่ึงกอ่ ให้เกิดภาวะโลกรอ้ นออกสู่บรรยากาศ กา๊ ซ
เรือนกระจกอ่ืนๆ ที่สรา้ งผลกระทบมากกว่า ก็เป็นสาเหตุเช่นกนั รวมถึงการทาลายป่ าอยา่ งมหาศาล

"ปัจจุบนั ความเขา้ ใจขอ้ มูลทางวทิ ยาศาสตร์ของภาวะโลกร้อนน้นั แจม่ ชดั เพียงพอแลว้ ท่จี ะเป็นเหตผุ ลสาหรบั ประเทศ
ตา่ ง ๆ ให้ลงมอื ปฏบิ ตั ิทนั ที"

ความจริงทเี่ รารู้

แมว้ ่าจะยงั มคี วามไม่แน่นอนต่าง ๆ โดยเฉพาะเร่ืองความแตกต่างเรื่องเวลา ขอบเขต และ ภมู ิภาค ของภาวะโลกร้อน
แต่มกี ารยอมรบั ร่วมกนั เรื่องขอ้ เทจ็ จริงทางวิทยาศาสตร์ท่สี าคญั ๆ ดงั ต่อไปน้ี

• กา๊ ซต่าง ๆ เช่น คาร์บอนไดออกไซดใ์ นบรรยากาศน้นั ก่อใหเ้ กิด "ปรากฏการณเ์ รือนกระจก" ซ่ึงกกั เกบ็ ความร้อน
เอาไวแ้ ละรกั ษาโลกใหอ้ บอุ่นพอทจ่ี ะหลอ่ เล้ยี งส่ิงมชี ีวิต ดงั ทีเราทราบกนั ดี

• การเผาไหมเ้ ช้ือเพลิงฟอสซิล (ถ่านหิน น้ามนั ฯลฯ) ปลอ่ ยคาร์บอนไดออกไซดอ์ อกสู่บรรยากาศเพ่ิมข้นึ อีก แมว้ า่
คาร์บอนออกไซดจ์ ะไม่ใช่ตวั การสรา้ งผลกระทบมากทส่ี ุด แต่ก็เป็นกา๊ ซมนุษย์เป็นผกู้ ่อให้เกิดมากท่สี ุด เนื่องถกู ปลอ่ ย
ออกมาปริมาณมาก

• ปัจจุบนั ความเขม้ ขน้ ของคาร์บอนไดออกไซดใ์ นบรรยากาศอยใู่ นระดบั สูงที่สุดใน 150,000 ปี

• คาดว่าทศวรรษ 1990 เป็นทศวรรษทร่ี อ้ นทสี่ ุดในประวตั ศิ าสตร์ และ ค.ศ. 1998 (พ.ศ. 2541) เป็นปี ทีร่ ้อนที่สุด

นอกจากนย้ี งั ได้ยอมรับร่วมกนั อย่างกว้างขวางในสิ่งต่อไปน้ี

• ความรอ้ นทเ่ี พม่ิ ข้นึ ในระดบั หน่ึง นน่ั คือ ราว 1.3 องศาเซลเซียส (2.3 องศาฟาเรนไฮท)์ เมื่อเทียบกบั ระดบั กอ่ นยคุ
อตุ สาหกรรม อาจเป็นส่ิงทห่ี ลีกเล่ยี งไมไ่ ดเ้ มือ่ พจิ ารณาการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกจนถงึ ปัจจุบนั การจากดั ความร้อนใหอ้ ยตู่ า่
กวา่ 2 องศาเซลเซียส (3.6 ฟาเรนไฮท)์ น้นั เป็นสิ่งจาเป็นเพ่ือป้องกนั ไมใ่ หเ้ กิดผลกระทบจากภาวะโลกรอ้ น

• ถา้ ไม่สามารถควบคมุ การปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกได้ ภาวะโลกรอ้ นใน 100 ปี ขา้ งหนา้ จะเกิดข้ึนอยา่ งรวดเร็วกว่าที่เคย
เป็นมาต้งั แตก่ าเนิดอารยธรรมมนุษย์

• เป็นไปไดส้ ูงมากท่ีกลไกการตอบโตข้ องสภาพภูมิอากาศจะนาไปสู่การเปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศแบบทนั ทีและ
ไม่สามารถกลบั คนื เหมือนเดิม ไม่มใี ครรู้วา่ ภาวะโลกร้อนจะตอ้ งรุนแรงมากข้ึนเพียงใดจงึ จะจุดชนวนใหเ้ กิด "สถานการณ์
วนั ส้ินโลก"

วิธลี ดภาวะโลกร้อน

1. ถอดปลกั๊ ไฟฟ้าทกุ ครงั้ ที่เลกิ ใช้งานเครื่องใช้ไฟฟา้ รู้ไหมคะวา่ การใช้ไฟฟา้ ในบ้านมีสว่ นทาให้เกดิ ก๊าซเรือนกระจกถงึ 16%
2. หนั มาใช้พลงั งานแสงอาทิตย์ในการตากผ้าแทนการ อบผ้าในเคร่ืองซกั ผ้า
3. การรีดผ้า ควรรีดครงั้ ละมาก ๆ แทนการดั ทีละตวั เพอ่ื ประหยดั การใช้ไฟฟา้
4. ปิดแอร์บ้าง แล้วหนั มาใช้พดั ลมหรือว่าเปิดหน้าต่างให้อากาศถ่ายเทมากขนึ ้
5. เวลาไปท่หี ้างสรรพสนิ ค้าอยา่ เปิดประตทู งิ ้ ไว้ เพราะแอร์จะทางานหนกั มากวา่ ปกติ
6. ใช้บนั ไดแทนการใช้ลฟิ ท์ นอกจากจะเป็นการได้ออกกาลงั กายแล้วยงั ประหยดั ได้เยอะขนึ ้ รู้มยั้ คะว่าการกดลิฟตห์ นง่ึ ครงั้
จะเป็นการเสยี ค่าไฟถึงครงั้ ละ 7 บาท
7. ปิดไฟดวงทไ่ี มจ่ าเป็น โดยเปิดเฉพาะด้วยท่เี ราจาเป็นต้องใช้จริง ๆ
8. ลดๆ การเล่นเกมลงบ้าง เพราะนอกจากสายตาจะเสยี แล้ว ยงั เปลืองไฟมาก ๆ อีกด้วย
9. ต้เู ยน็ สมยั คณุ แมย่ งั สาว ขายทงิ ้ ไปได้แล้ว เพราะกินไฟมากกว่าต้เู ยน็ ใหมถ่ งึ 2 เทา่

10. บอกคณุ พ่อคณุ แม่ให้เปล่ียนไปใช้ไฟแบบหลอด LED จะได้ไฟทส่ี ว่างกวา่ และประหยดั กวา่ หลอดปกติ 40%
11. ยืดอายตุ ้เู ย็นด้วยการไม่นาอาหารร้อนเข้าต้เู ยน็ และหลกั เลีย่ งการนาถงุ พลาสติกใสข่ องในต้เู ย็น เพราะจะทาให้ต้เู ย็น
จา่ ยความเย็นได้ไม่ทวั่ ถึงอาหาร
12. ละลายนา้ แข็งทีเ่ กาะในต้เู ย็นเป็นประจา เพราะต้เู ย็นจะกนิ ไฟมากขนึ ้ เมือ่ มนี า้ แขง็ เกาะ
13. ใช้รถเมล์ รถไฟฟ้าแทนการใช้รถส่วนตวั
14. ถ้าไมไ่ ด้ไปไหนไกล ๆ ให้ใช้จกั รยาน หรือเดินไปกด็ ีนะคะ ได้ออกกาลงั กายไปในตวั ด้วย
15. ใช้กระดาษแตล่ ะแผ่นอย่างประหยดั กระดาษรียทู หนงั สือพมิ พ์ เพราะกระดาษเหล่านนั้ มาจากการตดั ต้นไม้
16. เสอื ้ ผ้าท่ไี มใ่ ช้แล้ว เอาไปบริจาคบ้างกไ็ ด้ เพราะในบางบริษทั มกี ารรบั บริจาคเสอื ้ ท่ใี ช้แล้ว จะนาไปหลอมมาทาเป็นเส้น
ใยใหม่อกี ครงั้ ซง่ึ จะชว่ ยลดก๊าซเรือนกระจกได้ถงึ 71%
17. ลดใช้พลาสติก โดยใช้ของท่ีสามารถนามารีไซเคิลได้ เช่น กระเป๋ าผ้า หรือกระตกิ นา้
18. พยายามทานอาหารให้หมด เพราะเศษอาหารเหลา่ นนั้ กอ่ ให้เกดิ ก๊าซมเี ทน ซ่ึงก่อให้เกิดความร้อนตอ่ โลกเพ่ิมขนึ ้

19. ร่วมกนั ประหยดั นา้ มนั แบบ Car Pool เพ่ือชว่ ยประหยดั นา้ มนั และยงั เป็นการลดจานวนรถตดิ บนถนนได้อกี ทาง
ด้วยค่ะ

20. พยายามลดเนอื ้ สตั ว์ทีเ่ คยี ้ วเออื ้ งอยา่ ง ววั เพราะมลู ของสตั ว์เหล่านนั้ จะปลอ่ ยก๊าซมีเทน
21 กินผกั ผลไม้เยอะๆ เพราะอตุ สาหกรรมการเกษตรไม่ปล่อยก๊าซมเี ทนที่เป็นตวั เพม่ิ ความร้อนให้อากาศ

22. กระดาษหนงั สือพิมพ์ไม่ใช้แล้ว อย่าทงิ ้ สามารถนามาเชด็ กระจกให้ใสแจ๋วได้
23. ใช้เศษผ้าเช็ดสิ่งสกปรกแทนกระดาษชาระ

24. มองหาผลติ ภณั ฑท์ ี่มีสญั ลกั ษณ์ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม เชน่ ปา้ ยฉลากเขียว ประหยดั ไฟเบอร์ 5 มาตรฐาน
25. ไปตลาดสดแทนซเู ปอร์มาร์เก็ตบ้าง ซอื ้ ผกั ผลไม้ หมู ไก่ ปลา เพราะสนิ ค้าท่ีห่อด้วยพลาสติกและโฟมนนั้ จะทาให้เกดิ
ขยะจานวนมากมายมหาศาล
26. ใช้นา้ ประปาอยา่ งประหยดั เพราะระบบการผลติ นา้ ประปาของเทศบาล ตา่ ง ๆ ต้องใช้พลงั งานจานวนมากในการทาให้
นา้ สะอาด

27. ลดปริมาณการทงิ ้ ขยะลงบ้าง
28. ป้องกนั การปล่อยก๊าซมเี ทนส่บู รรยากาศด้วยการแยกขยะอนิ ทรีย์ เช่น พวกเศษผกั และเศษอาหารออกจากขยะอน่ื ๆ ที่
สามารถนาไปรีไซเคลิ ได้มาใช้ให้เกิดประโยชน์
29. บอกคณุ พ่อคณุ แมใ่ ห้ขบั รถความเร็วไมเ่ กิน 80 กม./ชม.
30. ทาหลงั คาบ้านด้วยสอี อ่ น เพ่อื ช่วยลดการดดู ซบั ความร้อน
31. ปลกู ต้นไม้เพิ่มขนึ ้ เพ่ือเพมิ่ ออกซเิ จนให้อากาศ ปลกู ไผ่แทนรวั้ ต้นไผเ่ ติบโตเร็วเป็นรวั้ ธรรมชาติที่สวยงาม และยงั ดดู ซบั
คาร์บอนไดออกไซด์ได้ดี อาจจะลาบากไปหนอ่ ยแต่กเ็ กไ๋ มน่ ้อยนะคะ
32. เปล่ยี นมาใช้ของมอื สอง เสอื ้ ผ้าหรือเคร่ืองประดบั บางชนิ ้ ไม่จาเป็นต้องซอื ้ ใหมเ่ สมอ
33. เลอื กใช้ผลิตภณั ฑท์ ซ่ี อื ้ เติมใหมไ่ ด้ เพือ่ เป็นการลดขยะจากห่อของบรรจุภณั ฑ์
34. ลดปริมาณขยะโดยใช้หลกั 3R คือ Reuse, Recycle, Reduce
35. ไม่ใช้ป๋ ยุ เคมใี นสวนไม้ประดบั ท่ีบ้าน แต่ขอให้เลือกใช้ป๋ ยุ หมกั จากธรรมชาตแิ ทน

36. ทานสเต็กและแฮมเบอร์เกอร์ในร้านใหญ่ ๆ ให้น้อยลงบ้างเพราะอตุ สาหกรรมเนอื ้ ระดบั นานาชาตผิ ลติ ก๊าซเรือนกระจก
ถึง 18 % สาเหตหุ ลกั ก็คือไนตรสั ออกไซดแ์ ละมีเทนจากมลู ววั
37. มีส่วนร่วมกจิ กรรมรณรงคส์ งิ่ แวดล้อมเพือ่ ช่วยเผยแพร่ และการลดปัญหาโลกร้อน
38. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง ไมฟ่ ุ้งเฟอ้ ฟ่มุ เฟือย ตามพระราชดารสั ของในหลวงนะคะ
39. ประหยดั พลงั งานเทา่ ที่จะทาได้ทงั้ นา้ ไฟ นา้ มนั เพือ่ ให้ลกู หลานของเรามีส่ิงเหลา่ นใี ้ ช้กนั ต่อไปในอนาคต
40. อยา่ ลมื นาวิธีดี ๆ เหลา่ นไี ้ ปบอกตอ่ เพอ่ื น ๆ ด้วยนะคะ

ผลกระทบของภาวะโลกร้อนในด้านต่าง ๆ

ไมม่ ใี ครรู้ว่าโลกร้อนมากเพยี งใดที่จะ “ปลอดภยั ” แตท่ เี่ รารู้กค็ ือ ภาวะโลกร้อนกาลงั ก่อให้เกิดอนั ตรายตอ่ ผ้คู นและ
ระบบนเิ วศ ความจริงท่ีเราเหน็ ได้กค็ อื ธารนา้ แข็งทก่ี าลงั ละลาย นา้ แขง็ ขวั้ โลกสลาย ชนั้ ดินเยือกแข็ง (Permafrost) ที่
อ่นุ ขนึ ้ ปะการงั ทีก่ าลงั ตาย ระดบั นา้ ทะเลทก่ี าลงั เพิ่มสงู ขนึ ้ ระบบนิเวศท่ีกาลงั เปล่ียนแปลง และคลนื่ ความร้อนที่ทาให้ถงึ
แกค่ วามตายได้

ไมใ่ ช่นกั วิทยาศาสตร์เทา่ นนั้ ท่กี าลงั เป็นประจกั ษ์พยานของความเปล่ยี นแปลงเหล่านี ้ตงั ้ แตช่ นเผ่าอนิ ทู ์ในทวีป
อาร์กตกิ ทางตอนเหนือสดุ จนถงึ ชาวเกาะใกล้เส้นศูนยส์ ตู ร ผ้คู นกาลังดนิ ้ รนเพราะผลกระทบจากภาวะโลกร้อน

ผลกระทบทางธรรมชาติ ซงึ่ ได้แก่ ธารนา้ แขง็ ปะการงั ป่าชายเลน ระบบนเิ วศของทวปี อาร์กติก ระบบนิเวศของเทอื กเขา
สงู ป่าสนแถบหนาว ป่าเขตร้อน เขตลมุ่ นา้ ในท่งุ หญ้า และ เขตท่งุ หญ้าในท้องถนิ่ จะถกู คกุ คามอยา่ งรุนแรง

ผลกระทบด้านสุขภาพ

อณุ หภมู เิ ฉล่ยี ของโลกทเ่ี พิ่มสงู ขนึ ้ และเหตกุ ารณ์ตามธรรมชาตทิ รี่ ุนแรงและเกดิ บอ่ ยครงั้ สง่ ผลกระทบโดยตรงต่อสขุ ภาพ
และอนามยั ของคนไทย โรคระบาดท่ีสมั พนั ธ์กบั การบริโภคอาหารและนา้ ดื่ม มแี นวโน้มว่าจะเพม่ิ สงู มากขนึ ้ โดยภยั
ธรรมชาติ เชน่ ภาวะนา้ ท่วมทาให้เกิดการปนเปือ้ นของเชือ้ โรคในแหลง่ นา้ ไม่วา่ จะเป็น โรคบิด ท้องร่วง และอหวิ าตกโรค
เป็นต้นโรคติดตอ่ ในเขตร้อนก็มแี นวโน้มว่าจะเพมิ่ ขนึ ้ และจะคร่าชวี ิตผ้คู นเป็นจานวนมากเช่นเดียวกนั โดยเฉพาะ ไข้
มาลาเรีย ซง่ึ มียงุ ลายเป็นพาหะ เน่ืองจากการขยายพนั ธ์ขุ องยงุ จะมากขนึ ้ ในสภาวะแวดล้อมท่รี ้อนขนึ ้ และฤดกู าลทีไ่ ม่
แน่นอน แนวโน้มของผลผลติ ทางการเกษตรท่ลี ดลงจากภยั ธรรมชาติ อาจนาไปส่ภู าวะขาดแคลนอาหารและความอดอยาก
ทาให้เกิดภาวะขาดสารอาหาร และภมู ติ ้านทานร่างกายต่า โดยเฉพาะในเดก็ และคนชรา

ผลกระทบทางสังและเศรษฐกจิ

การยบุ ตวั ของพนื ้ ท่ีชายฝ่ัง ภมู อิ ากาศแปรปรวนโรคระบาดรุนแรง และผลกระทบอืน่ ๆ ส่งผลให้มีประชากรบาดเจ็บล้มตาย
ทงิ ้ ทที่ ากนิ และไร้ท่อี ยอู่ าศยั เป็นจานวนมาก นอกจากนปี ้ ระชาชนยงั จะได้รบั ความเดอื ดร้อนจากการขาดแคลนอาหารและ
นา้ ดื่มท่ีถกู สขุ ลกั ษณะระหว่างภาวะนา้ ท่วม และความเสยี หายทเี่ กิดกบั ระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆซ่งึ โดยมาก ผ้ทู ่จี ะได้รับ
ผลกระทบรุนแรงทส่ี ดุ จะเป็นประชาชนที่มคี วามยากจน และไม่มที นุ ทรพั ย์พอทจี่ ะปอ้ งกนั ผลกระทบของภาวะโลกร้อนได้
ยกตวั อย่างเช่น การปอ้ งกนั การรุกลา้ ของนา้ เค็มในพนื ้ ที่ทากิน อาจทาได้โดยการสร้างเข่ือน และประตนู า้ ปอ้ งกนั นา้ เค็ม แต่
วธิ ีการนตี ้ ้องลงทนุ สงู ดังนนั้ เม่ือราคาของการป้องกนั สงู เกินกว่าทช่ี าวนาจะสามารถรับได้ การทงิ ้ พนื ้ ทท่ี ากนิ ในบริเวณท่ี
ให้ผลผลติ ตา่ จงึ เป็นทางออกท่ีคาดวา่ จะเกิดขนึ ้ นอกจากนี ้ความเสียหายตา่ ง ๆท่ีเกิดขึน้ ไมว่ า่ จะเป็น การสญู เสยี พนื ้ ที่
เกษตรกรรมทีส่ าคญั ตามแนวชายฝั่งท่ยี บุ ตวั ภยั ธรรมชาติ และความเสียหายทีเ่ กิดจากเหตกุ ารณ์ธรรมชาตทิ ีร่ ุนแรง ล้วน
ส่งผลให้ผลิตผลทางการเกษตร ซึง่ เป็นสนิ ค้าออกหลกั ของประเทศมปี ริมาณลดลง พนื ้ ท่ที ค่ี ้มุ ค่าแก่การป้องกนั ในเชงิ
เศรษฐกิจ และพนื ้ ทีท่ ี่มีการพฒั นาสงู อาจได้รับการปอ้ งกนั ล่วงหน้า เชน่ นคิ มอตุ สาหกรรมมาบตาพดุ จาต้องมโี ครงสร้าง
ป้องกนั กระแสคลน่ื ซงึ่ จะรุนแรงขนึ ้ เมือ่ นา้ ทะเลสงู ขึน้ หรือการสร้างกาแพงกนั้ นา้ ทะเลหรือเขือ่ น เพอ่ื ปอ้ งกนั การเพาะเลยี ้ ง
สตั วน์ า้ ทางการเกษตรและการทานาเกลอื เป็นต้นการปอ้ งกนั ดงั กลา่ วนนั้ จะต้องใช้งบประมาณจานวนมหาศาล ดงั นนั้ ใน

พนื ้ ท่ีท่ไี มค่ ้มุ ค่าทจ่ี ะป้องกนั ในเชิงเศรษฐกิจจะถกู ละทงิ ้ ไป ซ่ึงในส่วนนจี ้ ะเป็นสว่ นท่ีเกิดปัญหาเศรษฐกิจและสงั คมมากท่สี ดุ
เชน่ การช่วยเหลอื ชาวนา ซง่ึ จาเป็นทีจ่ ะต้องย้ายไปอยทู่ ีท่ ่ีสงู ขนึ ้ เน่อื งจากนา้ ทะเลรุก เป็นต้น

ผลกระทบต่อการเกษตรและแหล่งนา้

การศึกษาของสถาบนั สิง่ แวดล้อมไทย ระบวุ ่า ในประเทศไทยมีแนวโน้มวา่ การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศจะทา
ให้ปริมาณนา้ ลดลง (ประมาณ 5 – 10 เปอร์เซ็นต์) ซ่ึงจะมีผลต่อผลผลิตด้านการเกษตร โดยเฉพาะข้าว ซึ่งเป็นพชื เศรษฐกจิ
ทีส่ าคญั และต้องอาศยั ปริมาณนา้ ฝนและแสงแดดที่แนน่ อน รวมถึงความชนื ้ ของดนิ และอณุ หภมู เิ ฉลี่ยทีพ่ อเหมาะด้วย

สาหรบั ประเทศไทย ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศท่ีมีต่อภาคการเกษตรจะไมร่ ุนแรงมาก
เพราะพนื ้ ทชี่ ลประทานจะได้รับการป้องกนั แต่ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสงั คมอาจจะรุนแรงในบริเวณทขี่ าดนา้ อย่แู ล้ว

นอกจากนี ้ผลกระทบยงั อาจเกดิ ขนึ ้ กบั การทาประมง เน่อื งจาก แหลง่ นา้ ทเี่ คยอดุ มสมบรู ณ์ตลอดทงั้ ปี อาจแห้ง
ขอดลงในบางฤดกู าล ซงึ่ จะส่งผลกระทบตอ่ การขยายพนั ธ์แุ ละการเจริญเตบิ โตของสตั ว์นา้ ซงึ่ จะทาให้จานวนและความ
หลากหลายของชนดิ ของสตั วน์ า้ ลดจานวนลงอยา่ งมาก ตวั อย่างเช่นความหลากหลายทางชวี ภาพ และความอดุ มสมบูรณ์

ในแหล่งนา้ แถบลมุ่ แมน่ า้ โขงในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือจะลดลงอย่างต่อเนื่องหากการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศยงั คง
ดาเนินต่อไป

เราคงทราบแล้ววา่ สภาวะโลกร้อนเกดิ จากการท่ีมแี ก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศมากเกนิ ไป แก๊สเรือนกระจกตวั
หน่งึ ทีส่ าคญั ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ ซ่งึ เกดิ จากการเผาไหม้เชือ้ เพลิงเพอ่ื ใช้งาน มนษุ ย์เองเป็นผ้ปู ล่อยแก๊สนอี ้ อกมา
เป็นจานวนมากเพ่ือนาพลงั งานมาใช้ ยง่ิ เราใช้พลงั งานมากเท่าใด ก็ยง่ิ ได้แก๊สเรือนกระจกออกมามากขนึ ้ เป็นเงาตาม
ตวั หากเราพิจารณาอตั ราการใช้พลงั งานในช่วงครึ่งศรวรรษทผี่ ่านมาจะพบวา่ สอดคล้องกบั การเพิ่มปริมาณแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซดใ์ นอากาศเป็นอยา่ งดี และไมม่ แี นวโน้มวา่ จะลดลงในระยะเวลาอนั ใกล้นี ้

ปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขนึ ้ ต่อเนอ่ื งกนั นี ้ทจ่ี ริงแล้วเป็นกระบวนการรกั ษาตวั เองของโลก หากเป็นสภาวะท่ีเกิดขนึ ้ ตาม
ธรรมชาติ โลกจะกลบั มาสสู่ ภาวะสมดลุ ได้ในเวลาไม่นานนกั แต่เน่ืองจากมนษุ ยเ์ ราเร่งผลิตแก๊สเรือนกระจกออกมามาก
เกนิ ขดี ความสามารถ ของโลกทจ่ี ะเยียวยาตนเองได้ทนั การเกดิ สภาวะโลกร้อนอย่างรวดเร็วและรุนแรงจึงเกิดขนึ ้ กลา่ ว
โดยสรุปกค็ อื สาเหตทุ ี่ทาให้เกิดสภาวะโลกร้อนในครงั้ นี ้ก็คือ มนษุ ย์

กจิ กรรมของมนุษย์ในชีวติ ประจาวันท่สี ่งผลก่อให้เกดิ ภาวะโลกร้อน

เม่ือประชากรบนโลกเพิ่มขนึ ้ การบุกรุกทาลายพนื ้ ทีท่ างธรรมชาติเกดิ ขนึ ้ อย่างกว้างขวาง การพฒั นาด้านตา่ ง ๆ ก็
เป็นไปอยา่ งรวดเร็ว การใช้พลงั งานเชอื ้ เพลิงมากขนึ ้ หลายเท่า โดยเฉพาะด้านอตุ สาหกรรม และการคมนาคมขนสง่
กจิ กรรมต่าง ๆ ทม่ี นษุ ยก์ ระทาเหลา่ นเี ้ป็นสาเหตุของการเพม่ิ ปริมาณก๊าซเรือนกระจกจนเป็นการเกิดภาวะโลกร้อน

การเผาไหม้เชอื้ เพลิงจากถ่านหนิ นา้ มันและก๊าซธรรมชาติ จากโรงงานอตุ สาหกรรมตา่ ง ๆ ทาให้เพิม่ ก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน ก๊าซไนตรสั ออกไซดจ์ ากการเผาขยะ

การตัดไม้ทาลายป่ าการเผาป่ า

การถางป่าเพ่อื การเพาะปลกู เป็นตวั การสาคญั ท่ีสุดในการปลดปลอ่ ยก๊าซคาร์บอนไดออกไซดข์ นึ ้ ส่ชู นั้ บรรยากาศ เน่ืองจาก
ต้นไม้และป่าไม้ทาหน้าท่ีเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นก๊าซออกซิเจนในกระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสง
(Photosynthesis) กอ่ นท่กี ๊าซจะขนึ ้ ส่ชู นั้ บรรยากาศดงั นนั้ เมือ่ พนื ้ ท่ปี ่าลดน้อยลงปริมาณ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
จงึ ขนึ ้ ไปสะสมอย่ใู นชนั้ บรรยากาศได้มากขนึ ้

การทาการเกษตรและการปศุสัตว์

การทาการเกษตรและการปศสุ ตั ว์จะเพ่มิ ปริมาณก๊าซเรือนกระจก เชน่ ก๊าซมเี ทนจากการทานาข้าว จากการย่อยสลายซาก
สิ่งมีชวี ิต จากมลู สตั ว์เลยี ้ ง

กระบวนการแปรรูปอุตสาหกรรม เชน่ เครื่องทาความเย็นในต้เู ยน็ เครื่องปรับอากาศ โฟม กระป๋ องสเปรย์ สาร

ดบั เพลิง ปล่อย ก๊าซท่มี สี ารประกอบคลอโรฟลโู อโรคาร์บอน(Chlorofluorocarbon-CFCs) และอตุ สาหกรรมที่ใช้
กรดไนตริกในขบวนการผลิต

การใช้ยานพาหนะ รถจักรยานยนต์ รถยนต์ จะปลอ่ ยควนั จากท่อไอเสียปลอ่ ยก๊าซโอโซน ก๊าซ

คาร์บอนไดออกไซดอ์ อกมา

ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ ( co2) มาจากประเทศไหนมากท่สี ดุ

จากตวั เลขทไ่ี ด้สารวจลา่ สดุ นนั้ เรียงตามลาดบั ประเทศท่ีปลอ่ ยควนั พษิ ของโลกมปี ริมาณสะสมมาตงั ้ แตป่ ี 1950
ดงั นี ้

- สหรฐั อเมริกา 186,100 ล้านตนั
- สหภาพยโุ รป 127,800 ล้านตนั
- รัสเซีย 68,400 ล้านตนั
- จนี 57,600 ล้านตนั
- ญ่ีป่นุ 31,200 ล้านตนั
- ยเู ครน 21,700 ล้านตนั
- อินเดีย 15,500 ล้านตนั
- แคนาดา 14,900 ล้านตนั

- โปแลนด์ 14,400 ล้านตนั
- คาซคั สถาน 10,100 ล้านตนั
- แอฟริกาใต้ 8,500 ล้านตนั
- เมก็ ซโิ ก 7,800 ล้านตนั
- ออสเตรเลยี 7,600 ล้านตนั

กลไกของสภาวะโลกร้ อน

ในสภาวะปกติ โลกเราจะได้รับพลงั งานประมาณ 99.95 % จากดวงอาทิตย์ ในรูปแบบของการแผ่รงั สี พลงั งานท่ี
เหลือมาจากความร้อนใต้ภพซึ่งหลงเหลอื จากการกอ่ ตวั ของโลกจากฝ่นุ ธุลีในอวกาศ และการสลายตวั ของธาตกุ มั มนั ตรงั สี
ทม่ี ีอย่ใู นโลก

ตงั ้ แตด่ ึกดาบรรพม์ าโลกเราสามารถรกั ษาสมดลุ ย์ของพลงั งานท่ีได้รบั อยา่ งดีเยยี่ ม โดยมกี ารสะท้อนความร้อนและการแผ่
รังสจี ากโลกจนพลงั งานสทุ ธิทไี่ ด้รับในแต่ละวนั เท่ากบั ศนู ย์ ทาให้โลกมีสภาพอากาศเหมาะสมตอ่ สิง่ มีชีวิตหลากหลาย

กลไกหนงึ่ ท่ีทาให้โลกเรารกั ษาพลงั งานความร้อนไว้ได้ คอื "ปรากฏการณ์เรือนกระจก" (greenhouse
effect) โดยโลกจะมีชนั้ บาง ๆ ของแก๊สกล่มุ หน่ึงเรียกวา่ "แก๊สเรือนกระจก" (greenhouse gas) ทีท่ าหน้าทีด่ กั
และสะท้อนความร้อนท่โี ลกแผก่ ลับออกไปในอวกาศให้กลบั เข้าไปในโลกอกี หากไม่มแี ก๊สกลมุ่ นี ้โลกจะไมส่ ามารถเกบ็
พลงั งานไว้ได้ และจะมีอณุ หภมู แิ ปรปรวนในแตล่ ะวนั แก๊สกล่มุ นจี ้ งึ ทาหน้าที่เสมอื นผ้าห่มบาง ๆ ท่คี ลมุ โลกท่ีหนาวเยน็

การณ์กลบั กลายเป็นวา่ ในช่วงระยะเวลาหลายสิบปีท่ีผ่านมา โลกเราได้มีการสะสมแก๊สเรือนกระจกในชนั้
บรรยากาศมากขนึ ้ เนือ่ งจากการเผาไหม้เชอื ้ เพลงิ ตา่ ง ๆ ท่ใี ช้ในกิจกรรมประจาวนั โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงการเผาไหม้นา้ มนั
เชือ้ เพลงิ ทีข่ ดุ ขนึ ้ มาจากใต้ดนิ การเพ่ิมขนึ ้ ของแก๊สเรือนกระจกทาให้โลกไม่สามารถแผ่ความร้อนออกไปได้อย่างทเี่ คย
ส่งผลให้อณุ หภมู ขิ องโลกเพ่มิ มากขนึ ้ อยา่ งต่อเนือ่ ง เสมือนกบั โลกเรามผี ้าห่มที่หนาขนึ ้ นน่ั เอง

ปรากฏการณ์เรือนกระจกคืออะไร?

"ปรากฏการณ์เรือนกระจก" (greenhouse effect) คอื ปรากฏการณ์ท่โี ลกมอี ณุ หภมู สิ งู ขนึ ้ เนื่องจาก
พลงั งานแสงอาทิตยใ์ นช่วงความยาวคลืน่ อนิ ฟราเรทที่สะท้อนกลบั ถกู ดดู กลนื โดยโมเลกลุ ของไอนา้ คาร์บอนไดออกไซด์
(CO2) มเี ทน (CH4) และ CFCsไนตรสั ออกไซด์ (N2O)ในบรรยากาศทาให้โมเลกลุ เหลา่ นมี ้ พี ลงั งานสงู ขนึ ้ มกี าร
ถา่ ยเทพลงั งานซึ่งกนั และกนั ทาให้อณุ หภมู ิในชนั้ บรรยากาศสงู ขนึ ้ การถา่ ยเทพลงั งานและความยาวคล่ืนของโมเลกลุ เหลา่ นี ้
ตอ่ ๆ กนั ไป ในบรรยากาศทาให้โมเลกลุ เกดิ การสน่ั การเคล่ือนไหว ตลอดเวลาและมาชนถกู ผวิ หนงั ของเรา ทาให้เรารู้สกึ
ร้ อน

ในประเทศในเขตหนาวมกี ารเพาะปลกู พืชโดยอาศยั การควบคมุ อณุ หภมู ิความร้อนโดยใช้หลกั การทพ่ี ลงั งานความ
ร้อนจากแสงอาทติ ยส์ อ่ งผา่ นกระจก แต่ความร้อนทอ่ี ย่ภู ายในเรือนกระจกไม่สามารถสะท้อนกลบั ออกมาทาให้อณุ หภูมิ
ภายในสงู ขนึ ้ เหมาะแกก่ ารเพาะปลกู ของพชื จงึ มกี ารเปรียบเทยี บปรากฏการณ์ทีอ่ ณุ หภมู ขิ องโลกสงู ขนึ ้ นวี ้ ่าภาวะ เรือน
กระจก(greenhouse effect)

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นก๊าซทสี่ ะสมพลงั งานความร้อนในบรรยากาศโลกไว้มากทส่ี ดุ และมีผลทาให้
อณุ หภมู ขิ องโลกสงู ขนึ ้ มากทสี่ ดุ ในบรรดาก๊าซเรือนกระจกชนดิ อน่ื ๆ CO2ส่วนมากเกดิ จากการกระทาของมนษุ ย์ เชน่

- การเผาไหม้เชอื้ เพลงิ

- การผลิตซเี มนต์

- การเผาไม้ทาลายป่ า

ก๊าซท่กี ่อให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก

• คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เกิดจากการเผาไหม้ตา่ ง ๆ
• มีเทน ซง่ึ สว่ นใหญเ่ กิดจากการสลายตวั ของอินทรียว์ ตั ถุ เชน่ ขยะมลู ฝอยทย่ี ่อยสลายได้ ของเสีย อจุ จาระ

• CFC เป็นสารประกอบสาหรบั ทาความเยน็ พบในเคร่ืองทาความเย็นต่างๆ เป็นส่ิงทีอ่ ยรู่ ่วมกบั ฟรีออน และยงั พบ
ได้ในสเปรยต์ า่ ง ๆ อีกด้วย

• Nitrous Oxide (N2O) เป็นก๊าซมีพิษที่เกดิ จากเคร่ืองยนต์ การเผาถา่ นหิน และใช้ประกอบในรถยนต์เพอื่
เพ่มิ กาลงั เครื่อง

การลดปริมาณแก๊สเรือนกระจกจากบรรยากาศและแนวโน้มของโลกร้อน

แนวโน้มของแก๊สเรือนกระจกตวั หลัก

นอกจากไอน้าซ่ึงมีอายเุ ป็นวนั แกส๊ เรือนกระจกเกือบท้งั หมดตอ้ งใชเ้ วลานานหลายปี จึงจะหนีออกจากบรรยากาศไป
ได้ แมจ้ ะยงั ไมอ่ าจทราบไดแ้ น่นอนว่าจะใชเ้ วลากป่ี ี แตก่ ็มกี ารคาดคะเนสาหรบั แก๊สเรือนกระจกตวั หลกั ไวแ้ ลว้ ดงั น้ี

การแยกแก๊สเรือนกระจกอาจทาได้หลายกระบวนการ

จากผลของการเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ (การกลนั่ ตวั และการตกลงมาเป็นหยาดน้าฟ้าเป็นการขจดั น้าออกจาก
บรรยากาศ)

จากผลของปฏกิ ริ ิยาทางเคมภี ายในบรรยากาศ ในกรณีน้ีคอื มีเทน โดยการออกซิไดซด์ ว้ ยปฏกิ ิริยาท่เี กิดข้ึนตาม
ธรรมชาตกิ บั อนุมลู อิสระ (free radical) ของไฮดรอกซีล (hydroxyl) OH และสลายตวั เป็น CO2และไอน้าเมอ่ื ทาปฏิกิริยา
เสร็จ (การมสี ่วนของ CO2ของมีเทนทีร่ วมกบั ออกซิเจนน้ีไมน่ บั เป็นมีเทนท่ีมศี กั ยภาพทาใหโ้ ลกร้อน) ปฏกิ ิริยาน้ีรวมน้ายา
และของแขง็ ทางเคมเี กิดข้นึ ในละอองลอยของบรรยากาศ

จากผลของการแลกเปลยี่ นทางกายภาพท่ผี วิ หนา้ ของบรรยากาศกบั ผวิ หนา้ สิ่งอน่ื ในโลก เช่น การละลายของช้นั แก๊ส
ในบรรยากาศทผี่ ิวมหาสมทุ ร

จากผลการเปลี่ยนแปลงทางเคมีทผี่ ิวหนา้ ของบรรยากาศกบั ผวิ หนา้ ของส่ิงอื่นในโลก ในกรณีน้ีคอื CO2ซ่ึงลดลงโดย
การสงั เคราะห์แสงของพชื และหลงั จากละลายในมหาสมุทรแลว้ ทาปฏิกิริยากลายเป็นประจุกรดคาร์บอนิก และ ไบ
คาร์บอเนต และ คาร์บอเนต (ดู “การเป็นกรดของมหาสมุทร - ocean acidification)

จากผลของการเปลี่ยนทางโฟโตเคมี (Photochemical change) ฮาโลคาร์บอน (Halocarbon) จะแตกตวั โดยแสงอุลตรา
ไวโอเลตและปลดปล่อย Cl• and F• ในฐานะอนุมลู อสิ ระที่มอี นั ตรายต่อโอโซน (ปกติฮาโลคาร์บอนมคี วามสเถียรมากเกินท่ี
จะเกิดปฏกิ ิริยาในบรรยากาศ)

จากผลของการแตกเป็นไอออนจากพลงั งานระดบั สูงของรงั สีคอสมกิ หรือฟ้าผ่า ซ่ึงการยดึ ตวั ของโมเลกุลจะแตกออก
เช่นฟ้าผ่ากอ่ ตวั แอนไอออน (anions) ของไนโตรเจนจาก N2 ซ่ึงจะทาปฏิกิริยากบั O2 to form NO2.

เวลาช่ัวชีวติ ในบรรยากาศ

ตวั แปรเสริมของระยะชวั่ ชีวิตบรรยากาศ (atmospheric lifetime) หมายถงึ ระยะเวลาท่ีจะใชใ้ นการฟ้ื นฟใู หค้ ืนสภาวะสมดุล
หลงั การเพิม่ การสะสมของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศ โมเลกุลของแก๊สอาจเกิดการแลกเปลี่ยนแบบเกบ็ กกั (sinks) เช่น
กบั ดิน มหาสมทุ ร พชื และระบบชีวะอ่นื ๆ ทาใหก้ ารสะสมทม่ี ากเกินลดลงอยา่ งเดิม รวมท้งั เวลาทต่ี อ้ งใชส้ าหรับ ”ระยะชว่ั
ชีวติ เฉลีย่ ” (mean lifetime) น้ี มกั มีการกลา่ วถงึ ระยะเวลาชว่ั ชีวิตในบรรยากาศของ CO2ทไ่ี ม่ถูกตอ้ งว่าเป็นเวลาไม่ก่ีปี เพราะ
คิดเพียงเวลาทโี่ มเลกลุ ของ CO2ในบรรยากาศถกู ขจดั ออกโดยการผะสมหรือละลายในมหาสมุทร หรือถกู ใชไ้ ปในการ
สังเคราะหแ์ สง หรือดว้ ยกระบวนการอื่น อยา่ งไรก็ดี ความคิดน้ีลืมฟลกั ซก์ ารสมดุลของ CO2ทกี่ ลบั ออกจาก “แอ่งเกบ็ กกั อ่ืน

ดงั น้นั ตวั กาหนดทแ่ี ทจ้ ริงจงึ อยทู่ กี่ ารเปลย่ี นแปลงสุทธิของแกส๊ เรือนกระจกใน “ทกุ แหล่งและทุกแอง่ เกบ็ กกั ” มิใช่คิดเฉพาะ
เวลาของกระบวนการขจดั เทา่ น้นั

CO2 มเี วลาชว่ั ชีวิตในบรรยากาศที่ผนั แปรทไ่ี ม่สามารถบง่ บอกไดอ้ ยา่ งแน่นอนและชดั เจน ผลงานวจิ ยั เมื่อเร็วๆ น้ี
บ่งช้ีวา่ การฟ้ื นสภาพจากการเพ่ิมของ CO2ทเ่ี ขา้ สู่บรรยากาศโดยการเผาผลาญเช้ือเพลิงซากดึกดาบรรพน์ ้นั มีผลทาใหร้ ะยะ
สาหรบั “เวลาชว่ั ชีวติ ในบรรยากาศ” ตอ้ งใชเ้ วลามากนบั หมน่ื ปี คาร์บอนไดออกไซด์ไดร้ ับการกาหนดใหม้ ี GWP เท่ากบั 1
(เพอื่ เป็นฐานเปรียบเทียบ)

มีเทน มีเวลาชวั่ ชีวติ ในบรรยากาศเท่ากบั 12 ± 3 ปี และมี GWP เทา่ กบั 62 ในเวลา 20 ปี , 23 ในเวลา 100 ปี ,และ 7 ใน
เวลา 500 ปี การลดค่า GWP ท่ีสัมพนั ธ์กบั เวลาท่ีนานกวา่ ที่สัมพนั ธก์ บั ขอ้ เทจ็ จริงทวี่ ่ามีเทนเสื่อมเม่อื ทาปฏิกิริยากบั น้าและ
CO2 ในบรรยากาศ

ไนตรสั ออกไซด์ มีเวลาชว่ั ชีวติ ในบรรยากาศ 120 ปี และมี GWP ท่ี 269 ในเวลา 100 ปี

CFC-12 มเี วลาชว่ั ชีวติ ในบรรยากาศ 100 ปี และมี GWP ที่ 10,600 ในเวลา 100 ปี

HCFC-22 มีเวลาชวั่ ชีวติ ในบรรยากาศ 12.1 ปี และมี GWP ท1่ี ,700 ในเวลา 100 ปี

ฟลูออโรมเี ทน (Tetrafluoromethane) มีเวลาชวั่ ชีวิตในบรรยากาศ 50,000 ปี และมี GWP ท่ี 5,700 ในเวลา 100 ปี

ซลั เฟอร์เฮกซะฟลอู อไรด์ (Sulfur hexafluoride มีเวลาชว่ั ชีวติ ในบรรยากาศ 3,200 ปี และมี GWP ที่ 22,000 ในเวลา 100
ปี

การลดลงของโอโซน

นกั วิทยาศาสตร์ได้ตรวจวา่ ชนั้ โอโซนเหนอื ทวีปแอนตาร์คติกบริเวณขวั้ โลกใต้เบาบางลงมาก เนอ่ื งจากกระแส
ลมพดั คลอรีนเข้ามาสะสมในก้อนเมฆในชนั้ สตราโตสเฟียร์ ในชว่ งฤดหู นาวเดือนพฤษภาคม – กนั ยายน พอถงึ เดือน
ตลุ าคมขวั้ โลกใต้กลายเป็นฤดรู ้อน แสงอาทิตยก์ ระทบเข้ากบั ก้อนเมฆ ทาให้คลอรีนอะตอมอสิ ระแยกตวั ออกมาทา
ปฏิกริ ิยากบั โอโซน ทาให้เกดิ รูโหว่ขนาดใหญข่ องชนั้ โอโซน ซึ่งเรียกว่า “รูโอโซน” (Ozone hole) ดงั จะเห็นในรูปถ่าย
จากดาวเทียมในภาพท่ี 3 ว่าชนั้ โอโซนในปี พ.ศ.2541 มีความบางกว่าในปี พ.ศ.2522

(หมายเหต:ุ ขวั้ โลกเหนอื ไม่เกดิ ปรากฎการณ์รูโอโซน เนื่องจากอณุ หภมู ไิ ม่ต่าพอที่จะทาให้เกิดการควบแน่นของไอนา้ ใน
อากาศ จึงไมม่ ีเมฆในชนั้ สตราโตสเฟียร์ )

การเกิดปรากฏการณ์รูโอโซนเป็นอนั ตรายมากตอ่ สง่ิ มีชวี ิตท่ีอยเู่ บอื ้ งลา่ ง โดยเฉพาะอย่างย่ิงหากเกดิ ขนึ ้ เหนอื เมอื ง
ใหญ่ท่ีมีประชากรอาศยั อย่หู นาแน่น นานาชาติจึงทาความร่วมมอื ภายใต้ “ข้อตกลงมอลทรีออล” (Montreal
Protocol) ณ เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา ในปลายศตวรรษทแี่ ล้วเพ่ือท่ีจะยกเลิกการใช้สาร CFC ใน
อตุ สาหกรรม โดยยินยอมใช้สารชนดิ อืน่ ท่รี าคาแพงกว่าแตไ่ มท่ าลายโอโซน แตอ่ ย่างไรกต็ ามสาร CFC ก็ยงั คงลอย
ตกค้างอยใู่ นบรรยากาศอีกหลายทศวรรษกวา่ จะสลายตวั ไป

เราจะมีส่ วนช่ วยคลายภาวะโลกร้ อนได้ อย่ างไร?
1.ลดการใช้ถุงพลาสตกิ

ผลกระทบท่ีเกดิ จากภาวะโลกร้อนการเลอื กใช้ถงุ พลาสตกิ ส่งผลทาให้เกดิ ภาวะโลกร้อนการเลอื กใช้ถงุ กระดาษสามารถช่วย
ลดภาวะโลกร้ อนได้แนวทางท่ีดี

ภาวะโลกร้อนหรือภาวะภมู อิ ากาศเปลีย่ นแปลง เป็นอกี หน่งึ ปัญหาใหญ่ทีโ่ ลกของเราก็กาลังประสบภยั กนั อยู่ เรา
สามารถทจ่ี ะสงั เกตได้จากอณุ หภมู ิของโลกทมี่ คี วามเปลีย่ นแปลงไปท่ีสงู เป็นอยา่ งมาก

ความเกี่ยวโยงระหว่างการใช้ถงุ พลาสติกกับโลกร้อนคอื ยง่ิ มีการใช้ถงุ พลาสติกมากเทา่ ไหร่ ปริมาณก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ทถ่ี กู ปลอ่ ยสชู่ นั้ บรรยากาศโลก จากการเผาไหม้ในกจิ กรรมการผลิต และเผาทาลายถงุ พลาสติกกจ็ ะยง่ิ
สงู มากขนึ ้ ตามมาด้วยปัญหามากมายจากมลพษิ

ถงุ พลาสตกิ มผี ลทาให้เกิดภาวะโลกร้อน ต้องใช้เวลายอ่ ยสลายถงึ 450 ปี หากนาไปเผาก็จะทาให้เกดิ สารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอน ซง่ึ ทาให้เกิดมลภาวะทาให้โลกร้อน และการใช้ถงุ ผ้าจะช่วยลดการปนเปือ้ นของสารก่อมะเร็ง และหากทกุ
คนหนั มาใช้ถงุ ผ้าเพียงสปั ดาห์ละ 1 วนั จะช่วยลดการใช้ถุงพลาสติกได้มากกว่า 100 ล้านถงุ /ปี

ผลกระทบต่อระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ

ทงั้ นี ้ปัจจุบนั (กนั ยายน 2550) กทม.ต้องเก็บขยะมากถึง 85,00 ตนั /วนั เป็นถงุ พลาสตกิ ถงึ ร้อยละ 21 หรือ 1,800
ตนั /วนั ดงั นนั้ หากเปล่ียนมาใช้ถงุ ผ้าแทน จะชว่ ยลดค่าใช้จ่ายการเกบ็ ขยะได้วนั ละ 1.78 ล้านบาท/วนั หรือคิดเป็น 650
ล้านบาท/ปี

ถึงเวลานี ้คงไมม่ ใี ครปฏเิ สธแล้วว่า ไมร่ ้จู กั ปรากฏการณ์สาคญั ของโลกทีเ่ รียกวา่ ภาวะโลกร้อน (Global
warming) ปีท่ีผา่ นมา ภาคเหนอื และภาคอีสานของประเทศไทยต้องเผชิญกบั อากาศหนาวจดั กว่าหลายปีที่ผ่านมา
ขณะทภ่ี าคกลางประสบกบั ปัญหานา้ ท่วมหนกั อยา่ งท่ีไม่เคยเจอมากอ่ น สว่ นภาคใต้ก็เจอกบั พายทุ ่รี ุนแรงขนึ ้

เมื่อเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2550 คณะกรรมการนานาชาตวิ ่าด้วยการเปล่ยี นแปลงของภมู อิ ากาศ (IPCC) ซงึ่
ประกอบด้วยนกั วทิ ยาศาสตร์กว่า 2,500 คน จาก 130 ประเทศ ได้พบข้อสรุปอย่างชดั เจนแล้วว่า สาเหตขุ องปัญหาโลกร้อน
นนั้ ร้อยละ 90 มาจากการที่ มนษุ ย์เผาผลาญเชือ้ เพลงิ ฟอสซิล ซ่งึ ส่งผลให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ขนึ ้ สชู่ นั้ บรรยากาศมาก
เกินไป จนความร้อนจากพนื ้ โลกไมส่ ามารถสะท้อนออกนอกโลกได้ กอ่ ให้เกิดการเปล่ียนแปลงสภาวะอากาศอยา่ งรุนแรงไป
ทว่ั โลก

ดงั นนั้ ภารกิจทเี่ หลา่ มนษุ ยชาตติ ้องรบั ผดิ ชอบร่วมกนั กค็ อื ลดการเผาผลาญเชือ้ เพลงิ และปลอ่ ยก๊าซคารบอร์ได
ออกไซดล์ งให้มากท่ีสดุ เพือ่ ตอ่ เวลาให้กบั โลกใบนใี ้ ห้ยาวย่ิงขนึ ้ ถงุ พลาสตกิ ทีเ่ ราใช้ ผลติ จากเม็ดพลาสติก จาก
อตุ สาหกรรมปิโตรเคมีทใี่ ช้เพลิงฟอสซิลเป็นวตั ถดุ ิบ การผลติ ถงุ พลาสตกิ สามารถทาได้อยา่ งรวดเร็วในปริมาณมาก และ
ด้วยต้นทนุ ทต่ี า่ เมอื่ นามาใช้จะมอี ายกุ ารใช้งานสนั ้ และส่วนใหญเ่ ป็นการใช้เพยี งครงั้ เดยี ว โดยเฉพาะถงุ ขนาดเล็ก บางถุง

ทผ่ี า่ นการใช้งานแล้วกจ็ ะถกู นาไปทงิ ้ จนเป็นภาระในการเกบ็ ขน และจดั การเป็นอยา่ งมาก เน่ืองจากคุณลกั ษณะที่เบาบาง
และมปี ริมาณมากปะปนกบั มลู ฝอยประเภทอน่ื ๆ ซงึ่ ทาให้การยอ่ ยสลายมลู ฝอย เป็นไปได้ยากมากย่ิงขนึ ้ ด้วย

ถ้าถามวา่ “ลดใช้ถงุ พลาสตกิ เก่ียวอะไรกบั โลกร้อน” และเราคนเดยี ว ลด หรือ ไม่ใช้ ถงุ พลาสตกิ จะเปล่ยี นแปลง
อะไรได้? คาตอบคอื ได้

ข้อดขี องการใช้ถุงผ้า

ลดการใช้ถงุ พลาสตกิ ลดโลกร้อน ?
ถ้าคนเราใช้ถงุ ผ้าสปั ดาห์ละ 1 วนั จะชว่ ยลดการใช้ถงุ พลาสติกได้มากกวา่ 100 ล้านถุงตอ่ ปี ข้อดขี องการใช้ถงุ ผ้ามดี งั นี ้
• ช่วยลดปัญหาโลกร้อน
• ซกั ทาความสะอาดได้งา่ ย
• น่มุ สบายมอื น่าใช้ และไมก่ อ่ ให้เกิดการกดทบั อย่างรุนแรงตอ่ ฝ่ามือเท่าถงุ พลาสติก

• ใช้ง่ายขาดยาก ตกแตง่ ได้ตามสไตล์ทชี่ อบ
• ย่อยสลายได้ ไมต่ กค้างจนเป็นปัญหาในส่ิงแวดล้อม
• ทนทานและใช้ซา้ ได้มากกวา่ ถงุ พลาสติกหลายครงั้
• ชว่ ยลดปริมาณมลู ฝอย ไม่ทาให้เกิดก๊าซเรือนกระจก
• บง่ บอกภาวะรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมและสงิ่ แวดล้อมของผ้ใู ช้
• ใช้ถงุ ผ้าไปได้ทกุ ที่ทกุ เวลา ใสส่ งิ่ ของได้หลายอย่าง
• พกพาตดิ ตวั ได้ง่าย และตดิ รถ พร้อมใช้งานในทกุ โอกาส
• ใช้เป็นส่ือเสริมสร้างความเข้าใจ และความตระหนกั ในสง่ิ แวดล้อมได้อย่างกว้างขวาง
• ถงุ ผ้าดบิ จะช่วยลดการเกิดและการปนเปือ้ นของสารประกอบไดอ๊อกซนิ ท่เี ป็นสารกอ่ มะเร็งท่มี ีอนั ตรายต่อชีวิต
• ส่งเสริมการท่องเท่ียวท่ีเป็นมิตรต่อสง่ิ แวดล้อม เร่ิมใช้ถงุ ผ้าตงั ้ แตว่ นั นี ้และแบ่งปันถงุ ผ้าทีม่ ีอยแู่ กผ่ ้อู ื่น เพ่ือขยายวงกว้าง
ของความพยายามลดก๊ าซเรือนกระจกและภาวะโลกร้ อน

2.ปลูกต้นไม้

ปลกู ต้นไม้ในห้องชว่ ยลดมลพิษ ปลกู ต้นไม้ในห้อง โดยปลกู ไม้กระถางผสมถ่านกบั ดิน ถา่ นจะเป็นตัวชว่ ยดดู ซบั สาร
มลพษิ และจลุ นิ ทรียภ์ ายในห้องได้ ลดการใช้ถงุ พลาสตกิ ช่วยลดภาวะโลกร้อน หนั มาใช้ถงุ ผ้า ลดการใช้ถงุ พลาสติก
เพราะการเผากาจดั ถงุ พลาสตกิ ในเตาเผาขยะอยา่ งถกู วธิ ี ต้องใช้พลงั งานจานวนมาก ซึ่งทาให้มกี ๊าซเรือนกระจกเพมิ่ ใน
บรรยากาศ แยกขยะอนิ ทรีย์ การแยกขยะอินทรีย์ ออกจากขยะอ่นื ๆ เชน่ เศษผกั เศษอาหาร เพอ่ื ลดปริมาณการปล่อยก๊าซ

มเี ทนสบู่ รรยากาศ สร้างนโยบาย 3Rs- Reduce, Reuse, Recycle ทงั้ ในบ้านและอาคารสานกั งาน

เพ่อื ให้เกิดการใช้ประโยชนท์ รัพยากรอยา่ งเต็มที่ เป็นการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในกระบวนการกาจดั ขบั รถ
ด้วยความเร็วไม่เกนิ 90 กิโลเมตร/ชวั่ โมง ชว่ ยลดการใช้นา้ มนั ลงได้ 20% หรือคดิ เป็นปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ทล่ี ดได้ 1
ตนั ต่อรถยนต์ 1 คนั ใช้บริการรถสาธาณะ การขบั รถยนต์น้อยลง นอกจากช่วยประหยดั นา้ มนั แล้ว ยงั ลดการปล่อย
คาร์บอนไดออกไซด์ ร่มรื่นในบ้าน การปลกู ต้นไม้ทส่ี ามารถให้ร่มเงาได้ ไว้ทางทศิ ตะวนั ตกและทศิ ตะวันออกของบ้าน ร่มเงา
ของต้นไม้ก็จะช่วยบงั แสงอาทิตย์ ทส่ี ่งมาสร้างความร้อนให้กบั ตวั บ้านได้ทงั้ วนั จงึ สามารถลดการใช้เครื่องปรับอากาศใน
บ้านลง ผลทีต่ ามมาคือคา่ ไฟท่ลี ดลงถึง 20% ตอ่ ปี กระดาษคอื ต้นไม้ กระดาษ 1 ตนั แปรรูปมาจากต้นไม้อยา่ งต่าถงึ 17
ต้น เราจงึ ต้องใช้กระดาษอยา่ งค้มุ คา่ ท่ีสดุ โดยการใช้ให้ครบทงั้ 2 หน้า ปลกู ต้นไม้ใหญ่ 1 ต้น ให้ความเย็นเท่ากบั
เคร่ืองปรับอากาศ 1 ตนั ปลกู ต้นไม้ใหญ่ 1 ต้น ให้ความเย็นเทา่ กบั เคร่ืองปรับอากาศ 1 ตนั ทใ่ี ห้ความเยน็ ประมาณ
12,000 บีทยี ู แคป่ ลกู ต้นไม้ 1 ต้น กถ็ อื ว่าเราได้ช่วยกนั รักษ์โลก รักษ์ชีวิต แล้วครบั /คะ่ คนรุ่นใหม่อย่างพวกเรานา
เทคโนโลยมี าชว่ ยในการรักษ์โลก รกั ษ์ชีวิตได้ คนรุ่นใหม่อยา่ งพวกเรานาเทคโนโลยีมาช่วยในการรกั ษ์โลก รักษ์ชวี ติ ได้

ประโยชน์จากต้นไม้

๑. ต้นไม้จะชว่ ยคายออกซเิ จน ในเวลากลางวนั ทาให้เราได้อากาศบริสทุ ธ์ิ
๒. ชว่ ยดดู ซบั ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ซึง่ เป็นตวั การทาให้เกดิ ภาวะเรือนกระจก เป็น

เหตใุ ห้เกิดภาวะโลกร้อน
๓. เป็นร่มเงา บงั แดดให้เกิดความร่มร่ืน
๔. เป็นท่ีอยอุ่ าศยั ของสตั ว์ป่า
๕. พชื ผกั ผลไม้ สามารถนามารับประทานเป็นอาหาร หรือยารกั ษาโรคได้
๖. เป็นแหล่งต้นนา้ ลาธาร เนอื่ งจากที่บริเวณราก ท่ดี ดู ซบั นา้ และแร่ธาตุ

เป็นการกกั เกบ็ นา้ ไว้บริเวณผวิ ดิน

๗. บริเวณรากของต้นไม้ ทย่ี ึดผิวดิน ทาให้เกดิ ความแข็งแรงของบริเวณผวิ
ดิน ซง่ึ สามารถปอ้ งกนั การพงั ทลายจากดินถล่ม เพราะมีรากเป็นส่วนยดึ
ผวิ ดนิ อยู่ ตวั อย่างทเี่ ห็นชดั คือ การสาธิต การนาหญ้าแฝกมาประยกุ ต์
ปอ้ งกนั การพงั ทลายของหน้าดนิ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั ฯ
ซงึ่ เป็นพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริยไ์ ทย อย่างยอดยง่ิ

๘. เป็นแนวปอ้ งกนั การเกิดนา้ ทว่ ม เน่อื งจากเม่อื เกิดสภาพทนี่ า้ เกินสมดลุ ทว่ มลงมา
จากยอดเขา จะมีแนวป่าต้นไม้ ช่วยชะลอความแรงจากนา้ ทว่ ม

๙. ลาต้น สามารถนามาแปรรูปทาประโยชนไ์ ด้มากมาย เชน่ บ้านเรือน ทพี่ กั
อาศยั สะพาน เฟอร์นเิ จอร์ เรือ เป็นต้น

๑๐. การปลกู ต้นไม้ เป็นการผอ่ นคลายความเครียดได้วิธีหนง่ึ

๑๑. เม่อื เจริญเติมโตแล้ว นาไปขายได้ราคา โดยไมเ่ สยี ค่าใช้จ่ายมาก
๑๒. ต้นไม้ เป็นแหล่งอาหารที่สาคญั และเป็นส่วนหนึ่งในระบบนิเวศน์


Click to View FlipBook Version