The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

HI414 สัมมนาประเด็นทางประวัติศาสตร ์ : พัฒน์พงศ์ จากป่ากล้วย สู่แดนราตรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by puobodee.hin, 2021-03-28 04:36:19

HI414 สัมมนาประเด็นทางประวัติศาสตร ์ : พัฒน์พงศ์

HI414 สัมมนาประเด็นทางประวัติศาสตร ์ : พัฒน์พงศ์ จากป่ากล้วย สู่แดนราตรี

Keywords: SWU,HIS,Thailand,Histroy

HI 414 สัมมนาประเดน็ ทางประวัตศิ าสตร์

พัฒน์พงศ์

จากปากลว้ ย สู่แดนราตรี

" เสนห่ แ์ หง่ แดนราตรี
กับมุมมองใหมท่ ีคณุ อาจ

จะยงั ไมร่ ขู้ อง
พฒั นพ์ งศ์ "

จากปากลว้ ย ส่แู ดนราตรี

พัฒนพ์ งศ์

จากปากลว้ ย สูแ่ ดนราตรี

HI 414 สัมมนาประเดน็ ทางประวตั ศิ าสตร

พฒั นพงศ ยา นบนั เทิงยามราตรีในมิติทางประวัตศิ าสตร
พ.ศ. 2493 - 2544

พิมพค ร้งั แรก : 2564

ขอมลู บรรณานกุ รม
จัดทําโดย

1. นายยศพล ใจภกั ดี
2. นายพิชณเวศย แกววเิ ชยี ร
3. นายอโนชา อว มภักดี
4. นางสาวดวงแกว วิสาลานนท
5. นางสาวยุวดี บรุ ี
6. นางสาวณชิ าพร จําเนยี ร
7. นายอนาวิล แสงดี

ทีป่ รกึ ษา

รศ.ดร. ศริ ิพร ดาบเพชร
ผศ.ดร ณัฐพร ไทยจงรกั ษ
ผศ.ดร ชาติชาย มุกสง
อ. สัญญา ชีวะประเสริฐ

สถานที่ผลติ

ภาควิชาประวตั ิศาสตร คณะสังคมศาสตร
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
114 สุขุมวทิ 23 เขตวฒั นา กรุงเทพฯ 10100
โทรศพั ท/โทรสาร 02 649 5160

สารจาก เพราะ
ผูจัดทาํ ความ
ต อ ง ก า ร นาํ
เอกสารช้ินน้ีเปนสวนหน่ึงของรายวิชา H402 สัมมนาประเด็น เสนอที่
สาํ คัญทางประวัติศาสตร โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือตองการแสดงใหเห็น แปลกใหม
ถึงการเปล่ียนแปลงเชิงพื้นท่ีท้ังดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม

คณะผูจัดทําจึงเลือกนาํ เสนอพื้นที่พัฒนพงศ เพื่อตองการ
แสดงใหเห็นถึงมุมมองใหม ๆ จากองคฺความรูเดิมของผูคนท่ีมีตอ
พัฒนพงศวา "เปนยานแหงการคาประเวณี ยานราตรีขามเพศ" โดย
แสดงใหเห็นถึงความเปนมาของพัฒนพงศและจุดเปลี่ยนที่สําคัญ ๆ
ออกเปน 3 ยุคสมัย คือ สมัยของหลวงพัฒนพงศวานิช สมัยพัฒน
พงศเร่ิมกลายเปนพื้นที่ทางเศรษฐกิจ และสมัยพัฒนพงศหลัง
สงครามเย็น

สู ค ว า ม ผูจัดทําหวังเปนอยางย่ิงวาเอกสารเลมน้ีจะกลายเปนองคความรูใหมให
เ ช่ื อ ใ จ กับวงการการศึกษาไทย ท้ังแงประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร และ

ให สังคมศาสตร รวมไปถึงเปนประโยชนสาํ หรับผูที่ตองการจะศึกษาเรื่อง
จั ด ทาํ ราวของพัฒนพงศ

ทายท่ีสุดน้ีคณะผูจัดทําขอขอบพระคุณคณาจารย
ภาควิชาประวัติศาสตร คณะสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เปนอยางย่ิงที่มอบโอกาสใหคณะผูจัด
ทําไดศึกษาประเด็นทางประวัติศาสตรเชิงพ้ืนท่ีของพื้นท่ีสีเทาซ่ึงยาก

ตอการหาหลักฐาน แตทานอาจารย
ณัฐพร ไทยจงรักษ ก็ไวใจและเชื่อใจพวกเราในการศึกษาประเด็นน้ี

มาโดยตลอดเพราะหมุดหมายเดียวกันวา
"ตองการนาํ เสนอประเด็นใหมของพ้ืนที่สีเทา สูสาธารณชน"

II lliokveeพเมฒั อื นงพ์ไทงยศ์ THGIN TSAL OG UOY EREHW MOT MOT

อมตะวงดนตรเี พอื ชวี ติ ชอื ดงั ยกเอาพฒั นพ์ งศ์มาเปน
สว่ นหนงึ ของบทเพลง

ภาพถ่ายถนนพัฒน์พงศ์ในอดีต

สารบญั

1 3 6 10 24

ภมู หิ ลังของ อุดม พฒั นพ์ งศ์ พฒั นพ์ งศ์กับ พฒั นพ์ งศ์ใน บทสรปุ
พฒั นพ์ งศ์ พานชิ : ผยู้ ก ความเปลียนแปลง มุมมองทีแตก
ระดบั พฒั นพ์ งศ์ ชว่ งสงครามเยน็ ต่างจากการเปน
ใหก้ ลายเปนพนื ที (พ.ศ.2508- ถนนแหง่ โลกีย์
เศรษฐกิจ 2518) ใจกลางกรงุ

ภูมิหลังของพัฒนพงศ

เร่ืองโดย : ยุวดี บุรี
ตรวจทานและเรียบเรียง : อนาวิล แสงดี

ภาพปากลวยบริเวณพ้ืนท่ีพัฒนพงศในอดีต ภูมิหลังเชิงพืนทีของ
พัฒน์พงศ์
เคยคิดหรอื ไมว่ า่
พฒั นพ์ งศ์ ในอดีตความเจริญของกรุงเทพมหานครเกิดข้ึนบริเวณริมฝงแมน้าํ เจาพระยา
เปนสวนใหญ ดวยการคมนาคมทางนา้ํ ถือเปนเสนทางหลักในการเดินทาง
จะเคยเปนปากล้วย และการขนสงสินคา ชวงเวลาระหวาง พ.ศ. 2410 – 2460 พื้นท่ีซึ่งเปนเขต
เมืองของกรุงเทพมหานครขยายตัวอยางตอเน่ือง ไมไดกระจุกตัวอยูแค
ภายในเขตคูเมืองหรือรอบนอกคูเมืองเพียงเทาน้ัน แตขยายไปถึงพื้นที่ใกล
เคียงที่มีถนนสายสําคัญอยางถนนเจริญกรุง ถนนพระรามท่ี 4 ถนนสีลมและ
ถนนสาทรตัดผาน กิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นท่ีเหลาน้ันจึงเร่ิมขยายตัวตาม
โดยเฉพาะธุรกิจโกดังสินคา โรงสี โรงงานปนฝาย ทาเทียบเรือขนสงสินคา
ซ่ึงท่ีกลาวมานี้ ถนนสีลมและถนนพระรามท่ี 4 ถือวามีความสําคัญอยางมาก
เพราะเปนสะพานเช่ือมจุดศูนยกลางธุรกิจเกา (เจริญกรุง) ไปยังศูนยกลาง
เศรษฐกิจใหม (ราชประสงค) ที่กําลังจะเกิดข้ึนตอไป[1]

1

ถนนพัฒนพงศ หรือ ซอยพัฒนพงศ เปนถนนสายเล็ก ๆ ท่ีเชื่อมระหวางถนนสีลม ภาพถายหลวงพัฒนพงศพานิช
และถนนสุรวงศ การตั้งชื่อถนนสายน้ีวา “พัฒนพงศ” เปนการใหเกียรติแก
ตระกูลพัฒนพงศพานิช ผูบุกเบิกพื้นที่ดังกลาว ซึ่งตั้งอยูไมหางไกลจากถนนสาย 2
หลักที่มีความสาํ คัญทางเศรษฐกิจในยุคแรกเริ่มของกรุงเทพฯ เดิมพ้ืนที่บริเวณน้ี
เปนเพียงสวนกลวยรกรางพรอมบานไมสักหลังเกาที่เคยเปนสาํ นักงานของนาย
ทหารญ่ีปุนในชวงสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ซึ่งหลวงพัฒนพงศพานิชไดซ้ือมาเปน
เจาของในราคา 3000 เหรียญดอลลารสหรัฐเมื่อ พ.ศ. 2489 น่ีจึงเปนจุดเร่ิมตน
ของการพัฒนาพ้ืนที่บริเวณพัฒนพงศใหเปนพ้ืนท่ีสาํ คัญทางเศรษฐกิจและการทอง
เที่ยวของประเทศไทยในเวลาตอมา[2]

ภาพแผนที่กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2431 แสดงใหเห็นถึงการตั้งถ่ินฐานของ
ประชากรสวน ใหญนิยมต้ังถิ่นฐานบริเวณริมแมน้าํ เจาพระยา ตามแนวถนน

เจริญกรุง กอนจะเกิดการขยายตัวของเมืองออกไปดานนอก
"ถนนพัฒนพงศ" จึงถือกาํ เนิดข้ึน

หลวงพัฒน์พงศ์พานิช

หลวงพัฒนพงศพานิช เดิมช่ือตุน แซผู เกิดเม่ือวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ.
2424 เมื่ออายุได 12 ป ไดเดินทางอพยพมาจากเกาะไหหลํา ประเทศจีน เขามา
ในประเทศไทย และไดอาศัยอยูกับนางแสง แซผู ซ่ึงทาํ การคาขาวเปลือก โกดังยุง
ฉางเก็บสินคาตามทางรถไฟ และสงขาวเปลือกใหโรงสีของชาวยุโรปในกรุงเทพ
โดยมีนายตุนเปนผูจัดการและไดรับความไววางใจจากนางแสงเปนอยางดี[3] ดวย
อุปนิสัยของนายตุนที่มีความซื่อสัตย หลังจากที่นางแสงถึงแกกรรมกิจการทั้งหมด
ของนางแสงจึงตกเปนของนายตุน เขาเปนคนถอมตน มีความพากเพียรในเร่ือง
การงาน พัฒนากิจการคาขายขาวใหเจริญข้ึนตามลาํ ดับ จนเปล่ียนฐานะจาก
พอคาเปนเจาของโรงน้าํ แข็ง โรงเล่ือยจักร จึงกลาวไดวา นายตุนมีความสามารถ
ในการทําธุรกิจไดเปนอยางดี จนสามารถเปนเจาของตลาดบานใหม จ.สระบุรี
นายตุน สมรสกับนางสาวเพ้ียน ซิ้นประยูร ใน พ.ศ. 2443 มีลูกดวยกันทั้งหมด 7
คนซึ่งในเวลาน้ันไดเปลี่ยนชื่อเปนนายตุน ผูพัฒน

ตอมาพ.ศ. 2566 นายตุนยังเปนผูรับสัมปทานบริษัทปูนซีเมนตไทย ซึ่งเปน
บริษัทปูนแหงแรกของประเทศ และยังมีโอกาสไดรับราชการในสมัยรัชกาลท่ี 6–7
จนมีความดีความชอบ จึงไดรับบรรดาศักดิ์เปน ขุนพัฒนพงศพานิช เมื่อ พ.ศ.
2470[4] และเลื่อนเปน “หลวงพัฒนพงศพานิช” พ.ศ. 2474 ตอมาหลังจาก
หลวงพัฒนพงศพานิชถึงแกกรรมเม่ือ พ.ศ. 2493 ทายาทลาํ ดับท่ี 4 ของตระกูล
คือ อุดม พัฒนพงศพานิช จึงเขามามีบทบาทในการควบคุมกิจการเดิมของตระกูล
เขาเคยไดรับการฝกจากหนวย OSS และไดรับการศึกษาจากประเทศศรีลังกาเมื่อ
พ.ศ. 2489 ซ่ึงอุดม พัฒนพงศพานิช เปนคนท่ีมีบทบาทสาํ คัญอยางยิ่งในการยก
ระดับพัฒนพงศจากพื้นที่วางเปลาใหกลายเปนจุดศูนยรวมทางเศรษฐกิจในเวลา
ตอมา[5]

อุดม พัฒนพงศพานิช
ผูยกระดับพัฒนพงศใหกลายเปนพ้ืนที่เศรษฐกิจ

เรื่องโดย : พิชณเวศย แกววิเชียร
ตรวจทานและเรียบเรียง : อนาวิล แสงดี

หลังจากพ้ืนท่ีพัฒนพงศกลายเปนทรัพยสินของตระกูลพัฒนพงศพานิช
ตั้งแต พ.ศ. 2489 บุคคลที่มีบทบาทสําคัญในการเปล่ียนโฉมใหพัฒนพงศเกิด
กิจกรรมทางเศรษฐกิจข้ึนมาได คือ “อุดม พัฒนพงศพานิช” หลังจากที่เขาจบ
การศึกษา จึงกลับมาพัฒนามรดกที่ดินของตระกูล ดวยการสรางอาคารพาณิชย
เพื่อปลอยใหผูเชาลงทุนทําธุรกิจ ซ่ึงผูเชาอาคารพาณิชยเหลานั้น สวนใหญเปน
เพ่ือนชาวตางชาติของอุดม พัฒนพงศพานิช มีท้ังนักธุรกิจ นายทหาร สงผลให
ต้ังแต พ.ศ. 2493 พัฒนพงศกลายเปนท่ีตั้งของบริษัทขามชาติหลายๆบริษัท
เชน IBM, Carltex, Shell, Pan American, Air France, Vietnam Airlines
และ Japan Airlines รวมไปถึงสํานักงาน Civil air transport ซ่ึงเปนของ
หนวยสืบราชการลับของ CIA มีรานอาหารญี่ปุนรานแรกๆ คือ ภัตตาคารมิสุ ซ่ึง
มีเจาของเปนทหารญี่ปุนที่ปลดประจําการ อีกทั้ง Foreign Correspondents’
Club หรือสมาคมผูส่ือขาวตางประเทศ ก็มีสาํ นักงานตั้งอยูที่พัฒนพงศ ในชวง
เวลาน้ัน หลาย ๆ ธุรกิจที่มีเจาของเปนชาวตางชาติ ลวนเคยมีสาขาแรกต้ังอยูท่ี
ถนนพัฒนพงศ เชน รานฟาสตฟูด Kentucky Fried Chicken (KFC) โรงแรม
พลาซา ซึ่งเปนโรงแรมแหงแรกในกรุงเทพฯ ที่มีบริการ น้าํ รอน เคร่ืองปรับ
อากาศ และโทรศัพททางไกลตางประเทศในทุกหอง[6] ซ่ึงท้ังหมดสามารถบง
บอกถึงความเจริญในพื้นที่น้ีไดเปนอยางดี

ภาพคุณอุดม พัฒนพงศพานิชในนิตยสารฉบับหนึ่ง
ท่ีพิพิธภัณฑพัฒนพงศนํามาแสดง

3

ภาพโลโกบริษัทที่เขามาทาํ ธุรกิจยานพัฒนพงศ

ในชวงเวลานั้น พัฒนพงศและพ้ืนที่โดย เมื่อกลับมาพิจารณาท่ีพัฒนพงศ แมวาจะไมมี ขณะเดียวกันรัฐบาลของไทยขณะน้ันมีความ
รอบอยางถนนสีลมและถนนพระรามท่ี 4 ก็มีการ หลักฐานปรากฎชัดถึงการประกอบอาชีพของ สัมพันธทางการทูตที่ดีตอสหรัฐอเมริกา จึงสง
พัฒนาไปมากแลว เริ่มมีการสรางอาคารพาณิชย คนในพื้นท่ีนี้อยางเฉพาะเจาะจง แตจากที่ ผลให สหรัฐอเมริกาเขามามีบทบาทตอ
ขนาด 3 – 5 ชั้นขึ้นริมถนนสีลม บริษัทหาง กลาวไปแลวในยอหนาที่ผานมา ก็พอจะคาด เศรษฐกิจไทยคอนขางมาก ระบบเศรษฐกิจ
รานตาง ๆ ท้ังท่ีเปนเจาของโดยคนไทยและชาว การณในภาพรวมไดวา พัฒนพงศ นาจะเปน แบบทุนนิยมจึงเริ่มวางรากฐานในประเทศไทย
ตางชาติทยอยเขามาใชอาคารพาณิชยเหลานั้น ศูนยรวมของการจางงานแบบมีทักษะ หรือ นับแตนั้นเปนตนมา[8] และเมื่อสงคราม
เปนสถานประกอบการ รูปแบบของตึกแถว อาจมีชาวตางชาติเขามาทาํ งานกันมากพอ เวียดนามเปดฉากขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2508
อาคารพาณิชย 3 – 5 ช้ันน้ี เปนที่นิยมอยางมาก สมควร เพราะบริษัทตาง ๆ ท่ีต้ังอยูในพื้นน้ี สหรัฐอเมริกาไดใชประเทศไทยเปนฐานทัพใน
ในชวง พ.ศ. 2490 – 2500 และแพรขยายไปยัง ลวนเปนบริษัทใหญจากตางชาติ การโจมตีเวียดนามเหนือ ถนนพัฒนพงศจึงเริ่ม
พ้ืนที่อื่น อยางยานสาทร ยานเจริญกรุง หรือ มีไนตคลับและสถานบันเทิงมาเปดใหบริการ
ถนนเพชรบุรี ความเปนเมืองในพ้ืนท่ีดังกลาวเริ่ม การท่ีพัฒนพงศเปนท่ีต้ังของบริษัท โดยมีสหรัฐอเมริกาเปนตัวขับเคลื่อนในการ
ขยายตัว ในขณะท่ีแรงงานหรือลูกจางที่เขา ตางชาติ สวนหนึ่งเปนเพราะวาหลังจากการ พัฒนาพื้นท่ีน้ี เพ่ือรองรับทหารท่ีรวมรบใน
มาทํางานในบริเวณน้ี หลัก ๆ จะมีอยูสองกลุม สิ้นสุดสงครามโลกครั้งท่ี 2 ประเทศไทยตอง สงครามเวียดนาม พัฒนพงศจึงเริ่มมีช่ือเสียง
คือกลุมงานท่ีไมจําเปนตองใชทักษะสูง อยางเชน ประสบกับสภาวะเงินเฟอ เมื่อจอมพลป. พิบูล เพ่ิมมากขึ้นในเวลาตอมา[9]
งานแบกหาม กอสราง ท่ีมีอยูมาก เพราะในตอน สงคราม ขึ้นสูอาํ นาจเมื่อพ.ศ. 2490
น้ันอาคารสูงกวา 10 ชั้นเร่ิมกอสรางแลว เชน สถานการณโลกเขาสูชวงภาวะสงครามเย็น 4
โรงแรมนารายณ และโรงแรมดุสิตธานี มีทั้ง สหรัฐอเมริกาเองกลัววาลัทธิคอมมิวนิสตจะ
แรงงานไทยและจีนปะปนกัน กลุมตอมาคืองานที่ ขยายเขาสูประเทศไทยและประเทศแถบ
จาํ เปนตองใชทักษะจําพวกเสมียน งานบัญชี เอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะลัทธิ
พนักงานตอนรับในโรงแรม คนท่ีทํางานลักษณะ คอมมิวนิสตจากประเทศจีน ซ่ึงเปนภัยตอ
นี้ก็จะเปนชาวไทยที่มีการศึกษา พูดภาษาตาง ความมั่นคงของโลกเสรีท่ีสหรัฐอเมริกาเปน
ประเทศได หรืออาจเปนพนักงานชาวตางชาติไป ผูนํา
เลยก็มี[7]

ถนนพัฒนพงศ
ป 2503

ภาพพัฒนพงศ ป 2503 เต็มไปดวยอาคารพาณิชยที่นักลงทุนใชเปนสาํ นักงาน

5

พัฒนพงศกบั ความเปล่ียนแปลง
ขว งสงครามเยน็ (พ.ศ.2508-2518)

เ รื่ อ ง โ ด ย : ณิ ช า พ ร จาํ เ นี ย ร เ ก ร็ ด ค ว า ม รู
ต ร ว จ ท า น แ ล ะ เ รี ย บ เ รี ย ง : อ น า วิ ล แ ส ง ดี
สงครามเวียดนามเปนสงครามที่เกิดขึ้นภาย
หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง สถานการณโลกกาํ ลังอยูในภาวะ หลังจากที่เวียดนามไดเอกราชจากฝรั่งเศส
ตึงเครียดจากความขัดแยงในเรื่องอุดมการณทางการเมืองของสองมหาอาํ นาจ ไดแก ตามสนธิสัญญาเจนีวา พ.ศ. 2497 เวียดนาม
ผูนาํ ฝายโลกเสรีประชาธิปไตย (สหรัฐอเมริกา) และฝายคอมมิวนิสต (สหภาพ ถูกแบงออกเปนสองสวน คือ เวียดนามเหนือ
โซเวียต) นาํ ไปสู สภาวะการณท่ีเรียกวา "สงครามเย็น (Cold War)" การสูรบระหวาง มีจีนและสหภาพโซเวียตใหการสนับสนุน กับ
สองฝายนี้ไมไดเกิดขึ้นในประเทศทั้งสอง แตเกิดข้ึนในดินแดนท่ีอยูภายใตอิทธิพลของ เวียดนามใต มีสหรัฐอเมริกาใหการสนับสนุน
มหาอาํ นาจท้ังสอง ดังนั้นสงครามนี้จึงมีลักษณะเปน “สงครามตัวแทน (Proxy War)" แตดวยยุทธวิถีการรบแบบกองโจร (อันเปนที่
ซ่ึงประเทศที่อยูภายใตอิทธิพลของท้ังอเมริกาและโซเวียตตางก็มีอยูท่ัวโลกต้ังแตยุโรป คุนชินของคนเอเชียตะวันออกเฉียงใต) สง
แอฟริกา เอเชียรวมถึงภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตดวย ผลใหเวียดนามเหนือเอาชนะเวียดนามใต
หลังสหรัฐอเมริกาถอนกําลังทหารออกจาก
เอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนภูมิภาคหน่ึงที่มีการขยายตัวของโลกคอมมิวนิสต เวียดนามใต
ในชวง พ.ศ. 2493 – 2503 เน่ืองดวยขบวนการชาตินิยมในหลาย ๆ ประเทศในแถบ
นี้ไดรับอิทธิพลจากคอมมิวนิสตมาใชในการเคล่ือนไหวตอตานลัทธิอาณานิคม บวก
กับสงครามภายในที่เกิดจากความขัดแยงในเรื่องอุดมการณทางการเมือง เชน
เวียดนาม ดังน้ันสหรัฐอเมริกาจึงตองการท่ีจะเขามาสกัดกั้นการขยายตัวของ
คอมมิวนิสต โดยใชประเทศไทยเปนฐานที่มั่นหลักเพ่ือต้ังฐานทัพในชวงสงคราม
เวียดนาม เน่ืองดวยไทยเปนจุดยุทธศาสตรที่ตั้งอยูก่ึงกลางของภูมิภาค อยางไรก็ตาม
การเขามาของสหรัฐอเมริกาเกิดขึ้นมาตั้งแตชวง พ.ศ. 2492 ในรูปแบบของผูใหการ
อุปถัมภทางเศรษฐกิจ โดยอางเหตุผลในการเขามาพัฒนาประเทศไทยในดานตาง ๆ
โดยเฉพาะการพัฒนาทางเศรษฐกิจ โครงสรางพ้ืนฐานอยางถนนและทางรถไฟ
อุตสาหกรรม รวมไปถึงการสงเสริมระบบทุนนิยมเสรี ซ่ึงมีนัยสําคัญในการตอตาน
คอมมิวนิสต.[11]

ตึกสีแดงถูกใชเปนฐานทัพของ CIA ชวงสงครามเวียดนาม 6

การเขามาของสหรัฐอเมริกา สงผลให
พัฒนพงศท่ีแตเดิมเปนท่ีตั้งของบริษัท หางราน
รานอาหาร และโรงแรม เร่ิมมีธุรกิจใหมเขามาใน
พ้ืนท่ี คือ ธุรกิจบันเทิง ไนตคลับและผับบาร พัฒน
พงศกลายเปนสถานที่ R&R (rest and
relaxation) เพื่อรองรับทหารและเจาหนาท่ี
อเมริกันที่เขามาพักผอนหยอยใจ ทําใหถูกเรียก
เขียนจากผูมาเยือนวาเปนThe Horny Road หรือ
Red Light District นอกจากน้ี พัฒนพงศยังเปน
เซฟเฮาสของเจาหนาท่ีหนวยขาวกรองสหรัฐฯ
(CIA) เพื่อใชในการประชุมวางแผนงานดวย

ภาพเหลาทหารอเมริกันพักผอนยานพัฒนพงศ

บารแหงแรกท่ีเกิดข้ึนยานพัฒนพงศ การบริการภายในรานสวนใหญจะมีรูปแบบมาจากสถานบันเทิงในอเมริกา
ชื่อวา "ศาลากระจอก" เม่ือพ.ศ. 2506 หลัง เชน Fucking Shows ท่ีมีความแปลกและพิสดารไปตาง ๆ นานา เชน ปงปองโชว บา
จากนั้นก็มีสถานบันเทิงอีกหลายแหงทยอย นานาโชว โชวเปดขวดเบียร โดยหญิงสาวจะใชอวัยวะเพศของตนเปนเคร่ืองมือในการ
เปดอยางตอเน่ือง สถานบันเทิงในยานพัฒน แสดง หรือการเตนอะโกโก โชวในลักษณะนี้จะเปดบริการใน “บารโชว” ที่ชั้นสองของ
พงศท่ีมีชื่อเสียง ไดแก The Mississippi รานเทานั้น เพ่ือมิใหเปนการเอิกเกริกจนเกินไป เพลงท่ีเปดในบารสวนใหญก็จะเปน
Queen, Grand pix Bar, Madrid, The เพลงจากศิลปนอเมริกัน เชน Santana Bad Company และ Jimi Hendrix ในขณะ
Horny Road รวมไปถึง Superstar ที่ถือเปน ที่บางรานก็จะเปนเพียงรานไวใหแขกไดด่ืมและพูดคุยสังสรรคตามปกติ อีกสิ่งหน่ึงท่ี
ดิสโกเทคท่ีมีช่ือเสียงที่สุดแหงหน่ึงของ เกิดขึ้นควบคูกันสถานบันเทิงเหลานี้ คือการการคาบริการทางเพศโดยหญิงสาว ซ่ึงโดย
ประเทศไทยในเวลาน้ัน ปกติจะคาขายกันภายในสถานบันเทิง ที่ในรานจะมีการแบงพ้ืนที่สวนหนารานเพ่ือเปด
ใหบริการตามปกติ และพื้นที่ซ่ึงแบงเปนหองสาํ หรับผูที่ซ้ือขายบริการทางเพศ[12]

ภาพแดนเซอรในราน Mississippi Queen

ภาพบริเวณหนาราน Mississippi Queen

7

ภาพโชวแดนเซอรท่ีราน Grand pix bar ภาพพนักงานที่ราน Memphis Queen

ธุรกิจสถานบันเทิงและการคาบริการ เมื่อมองกลับมายังพัฒนพงศ ดวยพ้ืนที่นี้เปนสังคม The Mississippi
มิไดปรากฏใหเห็นแตในพัฒนพงศเทานั้น แตยัง เมืองมาแตเดิมอยูแลว ความเปล่ียนแปลงในเชิง Queen
เกิดข้ึนในพื้นท่ีโดยรอบฐานทัพของ โครงสรางอาจไมปรากฎใหเห็นภาพชัดเจนนัก แตถือ Grand pix Bar
สหรัฐอเมริกาในจังหวัดอ่ืน ๆ เชน อุดรธานี เปนการเพิ่มกิจกรรมทางเศรษฐกิจรูปแบบใหม และยก Madrid
นครราชสีมา ชลบุรี และนครสวรรค รูปแบบ ระดับใหพัฒนพงศมีความสําคัญในเร่ืองของการทองเที่ยว The Horny Road
ของธุรกิจก็ไมไดมีความแตกตางจากพัฒนพงศ ชวงเวลาระหวาง พ.ศ. 2506 – 2514 รายไดที่เกิดขึ้นใน Superstar
มากนัก มีสถานบันเทิง รานอาหาร รานขาย พัฒนพงศประมาณ 18 – 34% ไดมาจากการทองเท่ียว
สินคาอุปโภคบริโภคอ่ืน ๆ พ้ืนท่ีโดยรอบฐานทัพ [13] ในขณะเดียวกัน สีสันและความบันเทิงท่ีเกิดขึ้นใน
เหลานั้นเปลี่ยนแปลงเปนสังคมเมืองขนาดยอม พัฒนพงศ รวมไปถึงพื้นท่ีอื่นในตางจังหวัด ทาํ ใหเกิดการ
อยางรวดเร็ว ซ่ึงแตกตางจากพัฒนพงศที่อยูใน อยูรวมกันของวัฒนธรรมอเมริกันและไทย รวมไปถึงการ
เขตเมืองอยูแลวเปนอยางมาก ส่ิงที่เกิดขึ้นตาม เปล่ียนแปลงวิถีชีวิตของคนในพ้ืนที่น้ัน ๆ เชน การทาํ งาน
มา คือแหลงของอาชีพใหกับชาวชนบท ที่ละท้ิง ตอนกลางคืน ดนตรีแบบอเมริกัน การใหทิปกับพนักงาน
อาชีพดั้งเดิมเขามาหาอาชีพใหมเปนจํานวนไม หรือสาวบริการ ซึ่งขอมูลจากรายการ “ก(ล)าง
นอย ยกตัวอยางเชนพื้นที่โดยรอบคายรามสูร เมือง”เร่ือง “ชางภาพคนสุดทายแหงพัฒนพงศ” ท่ีได
จังหวัดอุดรธานี ที่มีทหารอเมริกันประจาํ การอยู ทําการสัมภาษณคุณบุญชู กิจประเทือง ผูทาํ อาชีพรับจาง
ไมนอยกวา 8,000 คน มีคนไทยหมุนเวียนเขา ถายภาพโพลารอยดใหกับนักทองเที่ยวในพัฒนพงศ เกี่ยว
มาทาํ งานใกล ๆ ราว 5,000 คนเปนอยางนอย กับมุมมองของเขาที่มีตอพัฒนพงศชวงสงครามเวียดนาม
หรือในฐานทัพตาคลี จังหวัดนครสวรรค ที่มี วา ชวงเวลาระหวาง พ.ศ. 2508 – 2518 พัฒนพงศซ่ึง
ทหารอเมริกันประจาํ การอยูราว 4,000 คน ก็มี เปนจุดศูนยรวมความบันเทิง และเปนฐานท่ีม่ันของเจา
คนไทยเขามาทํางานในพ้ืนท่ีน้ีไมตํ่ากวา 2,000 หนาที่หนวยขาวกรองสหรัฐฯ (CIA) พ้ืนที่ตรงน้ีจึงมีราย
คน ในชวงระหวาง พ.ศ. 2508 – 2515 จึง ไดสะพัดมาก นอกเหนือจากการทาํ งานในรานอาหาร ผับ
กลาวไดวา การเขามาของสหรัฐอเมริกา สงผล บาร และโรงแรม ยังมีคนที่เลือกจะเขามาทําอาชีพอื่น ๆ
ตอความเปลี่ยนแปลงอยางชัดเจนในแงของ ในพื้นท่ีน้ีดวย เชน การขายดอกไม ชางภาพ รับจางขัด
สังคมเมืองที่ขยายตัว และการประกอบอาชีพ รองเทา[14] เหลานี้สะทอนใหเห็นวา อิทธิพลของ
ของชาวไทยในพื้นท่ีชนบท สหรัฐอเมริกาในพัฒนพงศ เปนการสรางโอกาสทาง
เศรษฐกิจใหกับคนไทยในพ้ืนที่ในทางออมดวยเชน
เดียวกัน

8

นอ งพี่นองจนู กบั จอย
กบั ประสบการณก ารทาํ งาน
ในพฒั นพงศ

นอกจากนี้ จากบทบันทึกของคุณปเตอร คู เคน ขาวออสเตรเลียถึงจูนและ ภาพปายหนาราน Mississippi Queen1
จอย พี่นองฝาแฝด ที่ทํางานบริการที่ราน Mississippi Qureen แสดงใหเห็นถึงวิถีชีวิต
ของคนภายในพ้ืนท่ีพัฒนพงศในชวงสงครามไดเปนอยางดีวา "สาํ หรับกิจวัตรประจาํ วัน
ของพวกเธอ ในเวลากลางวันพวกเธอจะใชเวลากับการนอน และอาจจะมีออกไปซื้อ
ของหรือแตงหนาทาํ ผม กอนจะกลับเขามาพักผอนอีกคร้ังในชวงบาย สาํ หรับการเปน
นักเตนในบาร Mississippi Queen พวกเธอตองเขางาน 5 โมงเย็น เวลาทํางานพวก
เธอก็ตองใสชุดบิกิน่ีหรือไมก็ชุดวาบหวิว ทํางานจนถึงตี 2 หลังจากน้ันก็รับเงินกลับ
บาน"[58] ทาํ ใหอนุมานไดวา วิถีชีวิตของคนทาํ งานบริเวณพัฒนพงศโดยรวมแลวคง
มิไดมีความแตกตางไปจากพวกเขาท้ังสองคนมากนัก ขณะเดียวกันในมุมมองของราย
ไดนั้นมีการจายเงินใหกับพนักงานท่ีทาํ งานในบารและนักดนตรี รวมถึงนักเตนดวยซึ่ง
จะมีรายไดพิเศษจากการไปคุยกับลูกคาเปนสวนแบงที่ลูกคาผูชายจะซ้ือเครื่องด่ืม
แอลกอฮอลพรอมกับการนั่งคุยกับผูหญิง ภายในบันทึกเลาถึงวา "จอยบอกวาการแบง
รายไดนั้นเปนแบบ 50/50 ที่ MQ ผูหญิงที่ทาํ งานมีกลยุทธที่แตกตางกัน พวกเธอจะไม
ขอใหลูกคาชวนด่ืม แตจะเร่ิมตนจากการเจาไปพูดคุยทักทายกับลูกคาซ่ึงนั่นถือเปนวิธี
การที่ดึงดูดลูกคาไดดีกวา หากพวกเธอตองการออกไปขางนอกกับผูชายกอนท่ีรานจะ
ปดในเวลา 2.00 น. ลูกคาจะตองจายคาปรับบารตามปกติเพื่อชดเชย พวกเธอไมคอย
เจอปญหาจากลูกคามากเทาไหรเพราะพวกเธอเรียนรูท่ีจะเชี่ยวชาญในการเปลี่ยน
สถานการณที่นารังเกียจใหกลายเปนสิ่งที่ไมเปนอันตราย"[59] อยางไรก็ตาม การเขา
มาทํางานยานพัฒนพงศสงผลใหกลุมอาชีพตาง ๆ สามารถสรางรายไดจากแหลงทอง
เท่ียวนี้มากพอที่จะมีชีวิตที่ดีย่ิงขึ้นตามท่ีพวกเขาคาดหวัง

ภาพปายหนาราน Mississippi Queen2

9

พัฒนพงศในมุมมองท่ีแตกตางจากการเปน
ถนนแหงโลกียใจกลางกรุง

เรื่องโดย : ยศพล ใจภักดี
ตรวจทานและเรียบเรียง : อนาวิล แสงดี

ปฏิเสธไมไดเลยวา ฉากหนาท่ีสังคมรับรูเก่ียวกับพัฒน
พงศ คือ จุดศูนยรวมของความบันเทิงและสตรีเพศที่มีไวสนอง
ความใครในกามารมณของผูมาเยือน แตจากเนื้อหาบางสวนที่ได
กลาวมาแลวกอนหนานี้ไดแสดงใหเห็นแลววา พัฒนพงศเปนถนน
สายหน่ึงที่มีประวัติความเปนมาท่ีนาสนใจ มีเร่ืองราวเกิดขึ้น
มากมายในพื้นที่นี้และมีความเก่ียวของกับประเด็นทางสังคมหลาย
ประการ ทั้งท่ีเก่ียวของกับพัฒนพงศและสังคมในภาพรวม เนื้อหา
ที่จะกลาวถึงในลาํ ดับถัดไปจึงเปนการรวบรวมประเด็นสําคัญทาง
สังคมในมิติที่ถูกบดบังไวใหกระจางชัดมากขึ้น และเปนการบอก
เลาเร่ืองราวของพัฒนพงศ หลังจากสงครามเวียดนามไดส้ินสุดลง
(พ.ศ. 2518 – 2544) ไปในตัว ซ่ึงขอมูลบางสวนจะเปนการ
อางอิงจากบทสัมภาษณของเกรียงศักดิ์ คะศรีทอง วิทยากรประจาํ
พิพิธภัณฑพัฒนพงศ อดีตเสมียนบัญชีและลามภาษาอังกฤษซ่ึงเคย
ทาํ งานอยูท่ีฐานทัพอาหารสหรัฐฯ จังหวัดอุดรธานี ทั้งยังคุนเคยกับ
พัฒนพงศเปนอยางดี ประกอบการอธิบายดวย ซ่ึงสามารถจาํ แนก
เปนประเด็นสําคัญไดดังน้ี

ภาพนักแสดงและแขกท่ีเขามาเที่ยวท่ีพัฒนพงศ

10

4.1

ความสาํ คัญทางเศรษฐกิจ
และการทองเท่ียว

ความเจริ ญในพั ฒน พงศ ต้ั งแต ในช วง โดยรั ฐ (State Monopoly Capi tali sm) แต
เริ่ มต นจนถึ งช วงครามเวี ยดนาม ได แสดงให เห็ น รั ฐบาลของจอมพล ป. พิ บู ลสงคราม ก็ ได เป ดโอกาส
ถึ งอิ ทธิ พลของกลุ มนายทุ น โดยเฉพาะกลุ มชาว ให นั กลงทุ นชาวต างชาติ เข ามาลงหลั กป กฐานเพ่ื อ
จี นและชาวอเมริ กั น ที่ เข ามามี บทบาทในการยก สร างฐานที่ มั่ นทางธุ รกิ จในประเทศไทยมากข้ึ น[16]
ระดั บพั ฒน พงศ ให เกิ ดกิ จกรรมทางเศรษฐกิ จข้ึ น โดยเฉพาะอย างย่ิ งกั บสหรั ฐอเมริ กา จะเห็ นได ว า
กล าวคื อ ตระกู ลพั ฒน พงศ พานิ ช ที่ นําโดยหลวง บริ ษั ทหลายแห งท่ี เข ามาตั้ งสํานั กงานที่ พั ฒน พงศ มี
พั ฒน พงศ พานิ ชซึ่ งมี เชื้ อสายจี น ผู เป นเจ าของ สั ญชาติ อเมริ กั น เช น Pan Ameri can, Shell,
กิ จการโรงนา้ํ แข็ ง โรงสี ข าว ตลาดบ านใหม Caltex และ I BM ซึ่ งส วนหน่ึ งอาจเป นเพราะคุ ณ
จ. สระบุ รี และเป นผู ร วมสั มปทานบริ ษั ท อุ ดม พั ฒน -พงศ พานิ ช เคยเข ารั บการศึ กษาจาก
ปู นซี เมนต ไทย ได เข ามาบุ กเบิ กพื้ นที่ สวนกล วย ประเทศสหรั ฐอเมริ กา และมี เพื่ อนชาวอเมริ กั นอยู
รกร าง จนเกิ ดเป นความเจริ ญข้ึ นในภายหลั ง หลายคน จึ งสามารถชั กชวนให คนเหล านี้ เข ามาทาํ
เหล านี้ ถื อเป นการตอกยํ้าว า อิ ทธิ พลของชาวจี น ธุ รกิ จในพั ฒน พงศ ได [17]
ไม ว าจะเป นกลุ มนายทุ น ขุ นนาง หรื อแม แต
ชนช้ั นแรงงาน ที่ มี บทบาทสําคั ญอย างยิ่ งทั้ งในแง บทบาทของสหรั ฐอเมริ กาในพั ฒน พงศ เริ่ ม
ของการผลิ ตการค า และความสามารถในการเป น ชั ดเจนเม่ื อสงครามเวี ยดนามเป ดฉากข้ึ น ซึ่ งมี ส วน
เจ าของกิ จการ ระหว าง พ. ศ. 2420 – 2510 สาํ คั ญในการกระตุ นและสร างพื้ นท่ี เศรษฐกิ จใหม
พื้ นท่ี ต าง ๆ ทั้ งเยาวราช โกดั งสิ นค าและโรงสี หลายแห งในประเทศ โดยเฉพาะอย างย่ิ ง
ย านเจริ ญกรุ ง ตลาดน อย สําเพ็ ง ชาวจี นมี ส วน อุ ตสาหกรรมด านการบริ การอย างโรงแรม ร าน
สาํ คั ญที่ ส งผลให พื้ นที่ เหล าน้ั นคึ กคั กข้ึ นมาด วย อาหาร สถานบั นเทิ งและไนต คลั บ ความเจริ ญเหล า
ความสามารถในเรื่ องของการค าขาย[15] น้ี จะเกิ ดขึ้ นในลั กษณะ Downtown ขนาดย อมซ่ึ ง
ข อมู ลส วนนี้ จะสอดคล องกั บคําให สั มภาษณ ของคุ ณ
ช วงเวลาหลั งจาก พ. ศ. 2493 พั ฒน เกรี ยงศั กดิ์ ที่ ว า
พงศ เร่ิ มมี บทบาททางเศรษฐกิ จมากข้ึ นตามลาํ ดั บ
สามารถเป นส วนหนึ่ งของการอธิ บายถึ งความ " ...ชวงสงครามเวียดนาม อเมรกิ าไปต้ังฐานทพั ท่ีไหน
เจริ ญทางเศรษฐกิ จในเขตเมื องกรุ งเทพมหานคร พน้ื ทร่ี อบ ๆ เจรญิ ข้นึ หมด อยางในอีสานที่เจริญมาก
ได เป นอย างดี แม ว าช วงเวลาดั งกล าว กิ จการ ทสี่ ุดคอื อดุ รธานี ตะวันออกก็มีพัทยาทอี่ ยไู มไ กลจาก
และธุ รกิ จส วนใหญ อยู ภายใต ระบบทุ นนิ ยมผู กขาด
ฐานทัพอากาศอูตะเภา... "

11

แนนอนวา พัฒนพงศเปนหน่ึงใน ชวง พ.ศ. 2516 ประมาณสองป และเมื่อสงครามเวียดนามสิ้นสุดอัตราการเขาพัก
พื้นที่ของความเจริญเหลาน้ัน ส่ิงท่ีแตก กอนที่สงครามเวียดนามจะสิ้นสุด ลดลงเหลือเพียง 30 เปอรเซ็นต รายไดหายไป
ตางออกไปจากจังหวัดอ่ืนตามภูมิภาค คือ ประเทศไทยมีจาํ นวนนักทองเที่ยวชาว เกินเทาตัว จนตองปลอยใหกลุมชาวจีนเขามาเชา
กรุงเทพมหานครในขณะนั้นเปน ตางชาติมากกวา 1 ลานคนเปนคร้ังแรก กิจการ[24] นอกจากนี้ ทางฝงของสหรัฐฯ ก็มี
ศูนยกลางความเจริญของประเทศแทบทุก จุดมุงหมายหลักสําหรับการเขามาทอง การลดงบประมาณท่ีจะอุดหนุนธุรกิจสถาน
ดาน ทั้งเร่ืองสิ่งอาํ นวยความสะดวก การ เที่ยวของชาวตางชาติสวนมากคือ บันเทิงในประเทศไทยเองดวย ซ่ึงการลงทุนใน
คมนาคม การทําใหพัฒนพงศเปนเหมือน กรุงเทพฯสวนใหญเปนการเขามาเย่ียมชม ธุรกิจ R & R ลดลงจาก 22 ลานดอลลารสหรัฐฯ
จุดศูนยกลางทางเศรษฐกิจและการคา สถานที่สําคัญและการพักผอนหยอนใจใจ ในชวงแรก ๆ เหลือเพียง 13 ลานดอลลารใน
(Downtown) ขนาดยอมจึงมิใชเรื่อง พ้ืนท่ีท่ีเปนจุดศูนยรวมความสะดวก พ.ศ. 2511[25] ผลท่ีเกิดข้ึนคือชวงหลังสงคราม
ยาก[19] ดวยพื้นฐานเดิมท่ีเคยเปนที่ต้ัง สบาย[22] ซ่ึงพัฒนพงศเปนหน่ึงในยานที่ เวียดนามไมนาน ประเทศไทยเรงฟนฟูและสง
ของสํานักงานและบริษัทตาง ๆ มากอน สามารถรองรับนักทองเที่ยวไดเปนอยางดี เสริมการทองเที่ยวอยางมีนัยสําคัญ ดวยงบ
อยูแลว ส่ิงท่ีเกิดข้ึนตามมาบนพื้นที่นี้คือ เพราะมีทั้งโรงแรม รานอาหาร ประมาณกวา 7 ลานบาท ในชวงรัฐบาล ม.ร.ว
เศรษฐกิจและเม็ดเงินจํานวนมากที่ขับ ซุปเปอรมารเก็ต และสถานบันเทิง ถึงแม เสนีย ปราโมช โดยมีกรุงเทพ และเชียงใหม เปน
เคลื่อนโดยธุรกิจบันเทิง[20} สงครามเวียดนามจะส้ินสุด พ.ศ. 2518 จุดศูนยกลางการทองเท่ียวของประเทศในขณะ
แตพัฒนพงศก็สามารถยีนหยัดอยูไดดวย น้ัน
ในเร่ืองของการทองเที่ยวพัฒนพงศ กิจกรรมทางเศรษฐกิจและการทองเท่ียว
เปนหน่ึงในสถานท่ี R&R (Rest and ภายในพ้ืนท่ี ทวาเมื่อกลับมาพิจารณาท่ีพัฒนพงศในชวง
Relaxtion) ชวง พ.ศ. 2503 รัฐบาลไทย หลังสงครามเวียดนามจะสิ้นสุดใน พ.ศ. 2518 จะ
ภายใตการนาํ ของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต หลังจากท่ีสงครามเวียดนามสิ้นสุด พบวา พ้ืนที่นี้ไมไดรับผลกระทบจากการถอนทัพ
ไดต้ัง "องคการสงเสริมการทองเที่ยวแหง ลง กองทัพสหรัฐไดถอนตัวออกจาก ของสหรัฐฯ แตอยางใด พัฒนพงศยังสามารถยืน
ประเทศไทย" ท่ีพัฒนามาจาก "สาํ นักงาน ประเทศไทย ส่ิงที่นากังวล คือ ปญหาทาง หยัดอยูไดดวยกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการทอง
การทองเท่ียว” ใน พ.ศ. 2493 โดยมีจุด ดานเศรษฐกิจที่อาจเกิดขึ้น โดยเฉพาะใน เท่ียวภายในพ้ืนท่ีอยางตอเนื่อง จากคําสัมภาษณ
ประสงคหลักเพื่อเผยแพรและสงเสริม จังหวัดท่ีเคยเปนที่ต้ังฐานทัพสหรัฐมา ของคุณเกรียงศักดิ์ กลาววา ชวงเวลาของยุค 80
ขอมูลการทองเท่ียวของไทยแก กอน เมื่อไมมีทหารอเมริกัน ซึ่งเปนลูกคา (พ.ศ. 2523-2528) พัฒนพงศยังคุึกคักเปนอยาง
สหรัฐอเมริกา ใหความสะดวกแกนักทอง หลักเขามาใชบริการรานอาหาร สถาน มาก สถานบันเทิงและรานอาหารหลายแหงมีอดีต
เท่ียวที่จะเดินทางมาประเทศไทย การ บันเทิง โรงแรม แนนอนวา ธุรกิจเหลานี้ นายทหารและเจาหนาท่ี CIA เขามาซื้อกิจการ ใน
โฆษณาเผยแพรประเทศไทยใหเปนที่รู ยอมไดรับผลกระทบต้ังแตระดับผู ขณะท่ีกฎหมายรวมไปถึงขอกาํ หนดเก่ียวกับสถาน
เจักของชาวตางประเทศ รวมทั้งการสราง ประกอบการไปจนถึงลูกจาง ยกตัวอยาง บันเทิงในขณะนั้นยังไมมีการบังคับใช ทําใหบาง
สโลแกน "รอยย้ิมไทย" ซ่ึงสิ่งที่อาํ นวย เชน โรงแรมในเครือ President ที่ รานเปดใหบริการถึงชวงเชามืดก็มี นอกเหนือจาก
ความสะดวกในการนําพานักทองเท่ียวเขา จังหวัดนครราชสีมา ในชวงที่ การเปนแหลงของสถานบันเทิง ชวงเวลากลางวัน
มายังประเทศไทยอยางการขนสงทาง สหรัฐอเมริกายังอยู เคยมีรายไดเฉลี่ย พัฒนพงศก็ยังเปนที่ต้ังของรานอาหาร บริษัท
อากาศก็มีการพัฒนาไปมาก ทา 20,000 บาทตอเดือน และมีอัตราการเขา และสาํ นักงานหลาย ๆ แหงเชนเดิม มิไดแตกตาง
อากาศยานดอนเมืองในขณะนั้น เปนจุด ใชบริการเกือบ 100 เปอรเซ็นทุกวัน โดย จากถนนสายหนึ่งในยานธุรกิจทั่ว ๆ ไป มีราน
หมายปลายทางของสายการบินพาณิชย เกือบทั้งหมดท่ีมาใชบริการเปนทหาร อาหาร รานนวดแผนไทย ซุปเปอรมารเก็ต ราน
และฐานทัพทางอากาศของ อเมริกัน ท่ีมักจะเขามากินด่ืมหรือชักชวน ขายยา เปนตน
สหรัฐอเมริกา[21] สาวมาหลับนอน โดยมีรายจายเฉล่ียตอ
คนไมตํา่ กวา 25 ดอลลาร

12

...หลังจากที่อเมริกาออกไป พัฒนพ งศก ็ยงั ครกึ ครนื้ มาก มกี ารจดั เทศกาล มีการ
ประกวดมิสพัฒนพงศกนั ทกุ เดือน แขกทเ่ี ขา มาทองเที่ยวก็เยอะทกุ วัน บางรานเปด

ใหบรกิ ารถงึ เชา กม็ .ี ..
บทสัมภาษณของคุณเกรียงศักด์ิ
วิทยากรบรรยายท่ีพิพิธภัณฑพัฒนพงศ

จดุ เปลยี นสําคญั สงผลใหสถานบันเทิงบางแหงถูกรองเรียนและตองปดตัวลงไปบาง
สวน มีเจาหนาท่ีตํารวจและเจาหนาท่ีเทศกิจเขามาควบคุมดูแลมาก
ทศวรรษ 1980 ขึ้น กิจกรรมของสถานบันเทิงบางประการโดยเฉพาะ Fucking
Shows จึงไมอาจทําไดอยางเปดเผยเหมือนท่ีผานมา ประการที่สอง
ชวงเวลาท่ีถือเปนจุดเปล่ียนสาํ คัญของพัฒนพงศ เกิดขึ้นใน คือการเกิดข้ึนของตลาดกลางคืนพัฒนพงศ หรือ “ไนตบารซา” เม่ือ
ชวงปลายยุค 80 (พ.ศ. 2530 – 2532) เพราะนอกเหนือจากพัฒน พ.ศ. 2524 โดยกลุมทุนจากภายนอก ซึ่งมีผลประโยชนรวมกับ
พงศที่เปนหนึ่งในจุดหมายสําคัญของนักทองเท่ียวแลว อีกพ้ืนท่ีหน่ึงที่ เจาของพ้ืนที่พัฒนพงศแตเดิม มีการเปดใหเชาแผงขายสินคาใน
กาํ ลังเจริญข้ึนมา คือพ้ืนที่ตลอดแนวถนนสุขุมวิทอยางซอยคาวบอย ตลาดและพ้ืนที่ในถนนพัฒนพงศบางสวน โดยคิดราคาคาเชาคอน
ซอยนานา และสุขุมวิท 22[27] ซ่ึงการท่ีพื้นที่บริเวณดังกลาวจะ ขางสูง ทาํ ใหผูประกอบการหลายรายไดรับผลกระทบ
พัฒนาอยางรวดเร็วนั้น ปจจัยที่สาํ คัญท่ีสุดมาจากถนนสุขุมวิท ท่ีมีการ
พัฒนาจากอดีตไปมากแลวนับตั้งแตการตัดถนนครั้งแรกเม่ือ พ.ศ. " ...พวกไกดผีกับเรื่องคาเชาท่ีถือวาเปนเหตุผล
2479 และเปดใชงานตลอดเสนทางต้ังแตกรุงเทพมหานครจนสุด สาํ คัญ เพราะซอยคาวบอยกับนานาคาเชาที่ถูกกวา
ปลายทางท่ีจังหวัดจันทบุรีเม่ือ พ.ศ. 2510 (พ้ืนลาดยางมาตรฐาน) พัฒนพงศมาก มีบารและผับหลายแหงทยอยเปดกัน
ถนนสายน้ีเปรียบเสมือนเสนเลือดใหญที่เช่ือมตอเขตเมืองหลวงเขากับ เร่ือย ๆ ผมก็ไปรวมหุนทาํ ธุรกิจกับเพื่อนชาวตาง
ดินแดนภาคตะวันออกของไทย มีความสําคัญท้ังในเร่ืองของการทอง
เที่ยว อุตสาหกรรม การคมนาคม และเปนการขยายพื้นท่ีเศรษฐกิจ ชาติที่น่ัน... "
ตลอดแนวที่ถนนตัดผาน แมวาถนนเสนอื่นในเขตเมืองจะมีความเจริญ
โดยรอบไมตางกัน ทั้งถนนเจริญกรุง พระรามท่ี 4 สาทร และถนน ทั้งสองประการท่ีกลาวมาขางตนเปนเพียงสวนหนึ่งที่อาจ
สีลม แตถนนเหลานี้มิใชถนนสายยาว อีกทั้งพื้นท่ีโดยรอบมีจํากัดไม ทําใหพัฒนพงศเสื่อมความนิยมลงไปบาง แตก็ถือวาทรงตัวมาได
สามารถขยายออกไปได นอกจากนี้ถนนสุขุมวิทเปนถนนสายยาวท่ี ตลอด พื้นท่ีน้ียังมีนักทองเที่ยวแวะเวียนมาใชบริการอยางตอเน่ือง
เช่ือมถึงภาคตะวันออก และเปนการตัดถนนออกนอกเขตเมือง พื้นท่ี
โดยรอบที่ถนนตัดผานสามารถขยายความเจริญไดมากกวาและขยาย 13
ไดอยางตอเนื่อง[28] การที่ซอยคาวบอย ซอยนานา และซอยสุขุมวิท
22 จะมีความเจริญข้ึนมาเทียบเทาถนนพัฒนพงศ จึงมิใชเร่ืองแปลก
แตอยางใด นอกจากนี้ คุณเกรียงศักดิ์ยังกลาวถึงปจจัยภายในพัฒน
พงศไวดวยวา มีเหตุอยูสองประการท่ีทําใหพัฒนพงศเร่ิมไดรับความ
นิยมนอยกวาแหลงทองเที่ยวยานสุขุมวิท ประการแรก คือกลุมไกดผี
หรือไกดเถ่ือน (คนท่ีคอยเชียรลูกคาใหเขาราน) รวมไปถึงพนักงานใน
สถานบริการบางแหงที่มีพฤติกรรมไมเหมาะสมกับนักทองเท่ียวเชน
คิดคาบริการเพ่ิมจากท่ีปดปายราคาไวหนาราน หรือการทําราย
รางกายนักทองเที่ยวที่ไมยอมชําระคาบริการตามท่ีเรียกเก็บ

นโยบายรัฐสงเสริมการทองเที่ยวพัฒนพงศ คุ ณ ล ะ
เ ช่ื อ ห รื อ ไ ม ?
ขณะเดียวกัน แมพัฒนพงศจะเร่ิมไดรับความนิยมลดนอยลง ก็ รั ฐ บ า ล เ ค ย ส นั บ ส นุ น
เปนชวงเวลาเดียวกันกับที่การทองเที่ยวแหงประเทศไทยจัดแคมเปญเพื่อ ใ ห ช า ว ต า ง ช า ติ ม า
รณรงคการทองเท่ียว ไดแก “ปทองเที่ยวไทย” ครั้งแรกใน พ.ศ. 2523 เ ท่ี ย ว พั ฒ น พ ง ศ
และคร้ังท่ี 2 ใน พ.ศ. 2530 สงผลใหพัฒนพงศมีนักทองเท่ียวเขามา
อยางตอเนื่องระหวาง พ.ศ. 2532 – 2542 แมวาใน พ.ศ. 2540
ประเทศไทยจะเกิดวิกฤตเศรษฐกิจคร้ังใหญ แตในเรื่องของการทองเที่ยว
กลับไมไดรับผลกระทบมากนัก เนื่องจากคาเงินบาทท่ีลอยตัวในระดับสูง
และรัฐบาลประกาศแคมเปญ “Amazing Thailand” ใน พ.ศ. 2541
เพื่อกระตุนใหชาวตางชาติเขามาทองเท่ียวในประเทศไทย[29] รายได
จากการทองเที่ยวรวมทั้งประเทศภายใน พ.ศ. 2540 เพ่ิมขึ้นรอยละ
0.63 จากปกอนหนา และใน พ.ศ. 2541 เพ่ิมขึ้นจากปกอนรอย
ละ9.62[30] ซ่ึงสาเหตุในภาพรวมอาจมีผลมาจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
แหงชาติ ฉบับท่ี 6 (พ.ศ. 2530 – 2534) ที่มีการปรับปรุงใหการคา
ระหวางประเทศอยูในรูปแบบการคาเสรีมากข้ึน โดยเฉพาะกับ
สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และภูมิภาคอาเซียน[31] รวมไปถึงการให
ความสาํ คัญกับแผนพัฒนาการทองเท่ียวใหประเทศไทยเปนจุดศูนยกลาง
การทองเท่ียว ดึงดูดชาวตางชาติจากหลายๆภูมิภาคใหเขามายัง
ประเทศไทยมากขึ้น[32] ซึ่งในขอนี้จะสอดคลองกับขอมูลของคุณ
เกรียงศักด์ิที่กลาววา "หลังจาก พ.ศ.2540 มีนักทองเที่ยวหลากหลาย
ชาติเขามายังพัฒนพงศมากกวาที่ผานมา ทั้งยุโรปและเอเชีย โดยเฉพาะ
ชาวญี่ปุนและชาวจีน"

ส่ิงท่ียังบอกวาพัฒนพงศเปนแหลงทองเท่ียวที่
สําคัญ

อีกสิ่งหน่ึงท่ีสามารถบงบอกไดวา พัฒนพงศ เปนหนึ่งในแหลง
ทองเท่ียวท่ีสําคัญของไทยในชวงที่ผานมา คือ การปรากฏตัวของนัก
แสดงหรือศิลปนระดับโลกท่ีเคยเขามาเท่ียวในพัฒนพงศอยาง Marlon
Brando David Bowie หรือนักเขียนช่ือดังอยาง Dean Barrett ได
ปรากฏในภาพยนตรเรื่อง Deer Hunter (พ.ศ. 2526) Kick Boxer
(พ.ศ. 2531) และภาพยนตรเร่ือง มิสไซงอน (พ.ศ. 2532)[33] และ
ปรากฏในเนื้อเพลง Made in Thailand โดยวงคาราบาวในทอนท่ีวา
"Tom Tom, where you go last night?" "I love Meuang Thai, I
like Patpong."[34]

ภาพ David Bowie เมื่อครั้งเดินทางมาพัฒนพงศ

14

ก า ร ท อ ง เ ที่ ย ว พั ฒ น พ ง ศ ส มั ย รั ฐ บ า ล ทั ก ษิ ณ

จุดเปล่ียนสาํ คัญที่สงผลใหพัฒนพงศเริ่มไมคึกคักและมี ที่ 24.00 น. ทําใหผลประกอบการนอยลงจากท่ีเคยเปดบริการ
สีสันเหมือนแตกอน เกิดข้ึนในสมัยรัฐบาลของ พ.ต.ท ทักษิณ ชิณ ไดถึงชวงเชา บางรานท่ีทาํ ผิดขอกาํ หนดหรือละเมิดกฎหมาย ก็
วัตร (พ.ศ. 2544-2549) จากความพยายามในการรางพระราช ถูกสั่งปดชั่วคราวหรือเพิกถอนใบอนุญาตไปก็มาก นอกจากนี้
บัญญัติสถานบันเทิงฉบับท่ี 4 (บังคับใชคร้ังแรก พ.ศ. 2546) เกิด ปญหาในเรื่องของไกดผี สินคาผิดลิขสิทธ์ิ ที่พบเห็นไดมากใน
การบังคับใชขอกฏหมายที่เกี่ยวของกับยาเสพติด รวมไปถึงสถาน ตลาดไนตบารซา ก็เปนอีกเหตุผลหน่ึงท่ีทําใหภาพลักษณของ
บันเทิงอยางเขมงวดมากขึ้น เชน การกาํ หนดเวลาเปดและปด พัฒนพงศตกตา่ํ ลง แมวาใน พ.ศ. 2547 พัฒนพงศจะเปน 1 ใน
สถานบริการท่ัวทุกแหงภายในเวลา 24.00 น. (มาตรา 3) การ 3 ยานสถานบันเทิงในกรุงเทพมหานคร ที่ไดรับอนุญาตใหเปด
กําหนดใหมีการควบคุมและหามการใชสารเสพติดในสถานบันเทิง บริการไดเกิน 24.00 น. แตพ้ืนที่นี้ก็ถือวาไมคึกคักเหมือนแต
(มาตรา 16) ความเขมงวดของเจาหนาที่ตํารวจและสาํ นักเทศกิจ กอนแลว แมวาจะมีความพยายามฟนฟูใหพ้ืนท่ีนี้โดงดังข้ึนมา
ในพ้ืนท่ีขณะน้ัน มีสวนที่ทําใหบรรดารานอาหาร ผับบารหลาย ๆ อีกครั้งมาจนถึงปจจุบันแตก็ทาํ ไดยาก
แหงไดรับผลกระทบ เพราะการกําหนดเวลาปด

" . . . ช ว ง รั ฐ บ า ล ทั ก ษิ ณ เ ป น ต น ม า เ ข า กํา ห น ด เ ว ล า ป ด ผั บ บ า ร บ า ง ร า น ผ ล ป ร ะ ก อ บ ก า ร ไ ม ดี ก็ ต อ ง ป ด กิ จ ก า ร ไ ป
จ า ก ต อ น น้ั น ม า จ น ถึ ง ทุ ก วั น นี้ พั ฒ น พ ง ศ ก็ ก ล า ย เ ป น แ ค แ ห ล ง ท อ ง เ ที่ ย ว ธ ร ร ม ด า ที่ ค น ช อ บ เ ที่ ย ว แ ว ะ เ วี ย น ม า บ า ง

แ ต ไ ม คึ ก คั ก เ ห มื อ น แ ต ก อ น … "

ในความคิดเห็นของจัดทํา กฎหมายและขอกาํ หนดท่ีมี ภาพบรรยากาศการทองเที่ยวพัฒนพงศ
การบังคับใชออกมานั้น อาจเปนเพียงสวนหน่ึงที่ทําใหพัฒนพงศ
มิไดรับความนิยมเหมือนแตกอน แตสิ่งที่ชัดเจนมากกวา คือใน เปนศูนยกลางเพียงท่ีเดียว เชน เทศกาลดนตรีพัทยามิวสิค
ชวง พ.ศ. 2540 เปนตนมา ยานที่เปนศูนยรวมความบันเทิง จ.ชลบุรี งานมหกรรมพืชสวนโลก จ.เชียงใหม ปพ.ศ. 2543
ของกรุงเทพมหานครอีกหลายแหงก็พัฒนาไปมากแลว ทั้งซอย และ พ.ศ. 2549 รวมไปถึงการโปรโมททะเลภาคใตที่ถือวาโดง
คาวบอย ซอยนานา ถนนขาวสารท่ีเริ่มจะโดงดังข้ึนมา ยาน ดังมากในชวงนั้น{35] อยางไรก็ดี หากจะกลาววาการทองเท่ียว
ทองหลอ หรือราชประสงค รวมไปถึงศูนยรวมความเจริญใน และเศรษฐกิจเปนส่ิงที่มีความสัมพันธกันอยางแนนแฟน ชวย
ภาคพื้นตะวันออกอยางพัทยา เหลาน้ีเปนทางเลือกใหมใหกับ อุมชูและสรางช่ือเสียงใหพัฒนพงศเปนหน่ึงในพื้นท่ีสําคัญทาง
นักทองเที่ยวท่ีจะมาเยือนประเทศไทย นอกจากน้ี แคมเปญการ เศรษฐกิจและการทองเท่ียวผานกาลเวลามาอยางยาวยานกวา
ทองเท่ียวของ ททท. นับต้ังแต Amazing Thailand ใน พ.ศ. ครึ่งศตวรรษก็จะไมเกินจริงนัก
2541 – 2542 จะมุงเนนการนําเสนอแหลงทองเท่ียวตาม
ภูมิภาคเปนหลัก แทนท่ีใชเขตกรุงเทพมหานคร 15

4.2

น โ ย บ า ย แ ล ะ ค ว า ม สั ม พั น ธ
ต า ง ป ร ะ เ ท ศ

เบ้ืองหลังการเขามาพัฒนาความเจริญ โดยเฉพาะอยางย่ิง นโยบายตอตานคอมมิวนิสต ดัง
ภายในพื้นท่ีพัฒนพงศ และพ้ืนที่อื่น ๆ บริเวณใกล จะเห็นไดจากปฏิกิริยาที่แข็งกราวกับกลุมชาวจีน
เคียงกับฐานทัพของสหรัฐอเมริกาชวงสงคราม โดยหลังจาก พ.ศ. 2493 ประเทศไทยไดรับการ
เวียดนาม มีนัยสําคัญท่ีมากกวาการพัฒนาพื้นที่เหลา สนับสนุนดานเงินลงทุนและดานเทคนิคในการ
น้ันเพ่ือเปนแหลงพักผอนหนอยใจแกเหลาทหาร พัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐาน อาทิ การขนสงทาง
อเมริกัน คือ ประเด็นความสัมพันธระหวางประเทศ รถไฟ ระบบการขนสงสินคาจากทาเรือไปยังระบบ
รวมไปถึงนโยบายที่เกี่ยวของกับภาครัฐในแตละชวง ทางหลวง และในชวงสงครามเกาหลี (พ.ศ. 2493-
เวลาอยางหลีกเล่ียงไมได ชวงพ.ศ. 2492-2493 2496) อุตสาหกรรมของประเทศไทยไดรับการ
เปนชวงเวลาเดียวกันกับท่ีพัฒนพงศเริ่มเจริญขึ้นมา สนับสนุนและการเสริมสรางความเขมแข็งดวยจาก
ประเทศไทยมีความสัมพันธทางการทูตที่ดีกับ ความชวยเหลือของตางประเทศที่หล่ังไหลเขามา
สหรัฐอเมริกา ซ่ึงในมุมมองของชาวอเมริกันชวง มากขึ้น โดยเฉพาะระบบธนาคารและเงินทุนจาก
เวลานั้นใหความสนใจเกี่ยวกับการมารับตาํ แหนง สหรัฐอเมริกา สวนใหญเปนการลงทุนในเขตเมือง
ผูนําประเทศเปนคร้ังที่สองของจอมพล ป. พิบูล สาธารณูปโภค ธุรกิจบริการ และระบบบไฟฟา
สงคราม มากกวา 4-6 ลานเหรียญสหรัฐ[37]

หลังจากการขึ้นมาเปนผูนาํ ของจอมพลสฤษติ์ ธนะรัชต และการเกิดขึ้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติฉบับที่
หน่ึง (พ.ศ. 2504-2509) มีจุดประสงคหลักคือการเรงพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน การคมนาคม โดยเฉพาะการ
พัฒนาถนนในเขตเมืองหลายสาย เพื่อรองรับการเปนฐานการลงทุนของตางชาติ แมวาจะปกครองแบบรัฐบาล
ทหาร แตบทบาทของการผูกขาดทางการคาที่เกิดข้ึนจากทหารลดลงมากเชนกัน ดังนั้นการเกิดข้ึนของบริษัทขาม
ชาติหลายแหงที่พัฒนพงศ ก็เปนสวนหน่ึงที่สามารถอธิบายไดวา "ระบบผูกขาดเศรษฐกิจภายใตรัฐบาลทหาร มิได
ครองประเทศอยางเบ็ดเสร็จ" แตนโยบายของรัฐบาลในขณะน้ันไดใหโอกาสแกนักลงทุนชาวตางชาติเพ่ิมมากขึ้น
และอีกนัยหน่ึงยังเปนการเพ่ิมโอกาสใหกับชาวไทยในการลงทุน แสวงหาผลกาํ ไร รวมไปถึงผลประโยชนรวมกันใน
พ้ืนที่เศรษฐกิจดวย[38]

16


ภาพ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ สบื เน่อื งจากการส้ินสุดของสงครามเวยี ดนามตลอดจนการ 19
สน้ิ สดุ ของสงครามเย็นใน พ.ศ. 2534 ความสัมพนั ธท างการทตู และ
นโยบายเศรษฐกิจของไทยถือมคี วามสอดคลอ งกัน โดยเฉพาะอยา ง
ยงิ่ ผลพวงของรฐั บาลของพลเอกชาตชิ าย ชณุ หะวัณ ทีส่ นับสนุนการ
เปด การคาเสรแี ละการเงิน ส่ิงท่ีเกิดขึน้ หลังจาก พ.ศ. 2530 คือ การ
ลงทนุ จากตางประเทศท่ีเพ่มิ สงู ขึ้น โดยเฉพาะอยา งย่งิ จากประเทศ
ญี่ปุน กลุมประเทศอนิ โดจนี สหรฐั อเมรกิ า และกลุมสหภาพยุโรป
ตามลาํ กบั นอกเหนือจากอตุ สาหกรรมหนงั ประเภทยานยนต ช้ิน
สวนอเิ ล็กทรอนกิ ส และผลิตภัณฑเคมีแลว อุตสาหกรรมเบา รวมไป
ถงึ การลงทนุ ภาคบริการทีเ่ ฟอ งฟูมาก ชวงเวลาระหวาง พ.ศ. 2530-
2545 มหี างสรรพสนิ คา โรงแรม และจดุ ศนู ยร วมความบันเทิงหลาย
แหงทม่ี ีการลงทนุ โดยตรงจากตา งชาติ โดยเฉพาะจากญี่ปนุ และ
สหรฐั อเมริกา เชน เซเวนอีเลฟเวน เยาฮนั อิเชตัน[41] ซง่ึ ทีพ่ ัฒน
พงศน ้ี เคยเปน ทต่ี ้งั ของเซเวน อเี ลฟเวนรานสะดวกซ้อื สัญชาติ
อเมริกัน สาขาแรกเมื่อ พ.ศ. 2532[42] และในพนื้ ทใ่ี กลเคียงยงั มี
ธนิยะพลาซาซ่ึงเปด บริการในปเดยี วกนั นดี้ ว ย นอกจากน้ี คุณ
เกรยี งศกั ดิ์ ผใู หส ัมภาษณยงั กลาวดว ยวา หลงั จากสงครามเวียดนาม
จบลง มีอดตี นายทหารและอดตี เจาหนาท่ี CIA เขา มาซอ้ื กจิ การราน
อาหารและผบั บารยา นพฒั นพงศหลายแหง แสดงใหเ หน็ วา แม
สงครามเวียดนามจะส้นิ สดุ ลง แตพัฒนพงศยังคงเปน พืน้ ท่สี าํ คญั ทาง
เศรษฐกจิ ทีส่ งผลใหบ ริษทั ขามชาติเลือกจะต้ังรา นคา หรอื ลงทนุ
บรเิ วณพ้นื ทแ่ี หง นี้อยู

เมื่อเขาสชู ว ง พ.ศ. 2540 แนน อนวา การลงทุน เศรษฐกิจ
และเสถยี รภาพทางการเงนิ ของประเทศไทยไดร ับผลกระทบอยา ง
หนกั แตใ นแงมมุ ของความสมั พันธร ะหวา งประเทศ สงิ่ ท่ยี ังคงอยูคอื
การที่ประเทศไทยอยใู นฐานะของผกู ยู มื งบประมาณจาก IMF และ
อุตสาหกรรมการทอ งเที่ยว ทีส่ ามารถอมุ ชูประเทศไทยมิใหเสียหาย
หนักกวาท่ีเปน อยู หากจะมองกลบั มายังพฒั นพ งศ กต็ องกลา ววา
พน้ื ทแ่ี หง น้ยี งั ทรงตวั และอยรู อดไดดว ยการทอ งเท่ียวมาโดยตลอด
แมวาจะเสอ่ื มความนิยมไปตามกาลเวลา ซง่ึ ในความเหน็ ของผเู ขยี น
พัฒนพงศใ นชว งกอนสงครามและในชว งท่สี งครามดําเนนิ อยู มี
สถานะท้ังเปนจดุ ยทุ ธศาสตร อนั เน่อื งมาจากผลของนโยบายจาก
รฐั บาลไทย และการเปนสวนหนง่ึ ของโลกทนุ นิยม ซึ่งส่งิ เหลานล้ี วน
ซอนอยูในบรบิ ทของความสัมพันธร ะหวา งประเทศแทบท้ังสิ้น

ภาพ เซเวนอีเลฟเวนสาขาแรกที่พัฒนพงศ 17

4.3 บริบททางสังคมเมือง ประชากร
และเพศวิถี

อ ยู่ :การเขามาของสหรัฐอเมริกาในชวงสงคราม และเมื่อสงครามเวียดนามผานพนไป ปญหาท่ีเกิดขึ้น
เวียดนาม ดวยการพัฒนาพ้ืนที่โดยรอบฐานทัพทาง ตามมา คือความไมสมดุลของสังคม ประชากรท่ี
ทหารใหมีสิ่งอํานวยความสะดวก และสถานบันเทิง ละท้ิงการเกษตรเลี้ยงชีพเพ่ือหาอาชีพใหมเพ่ิมจาํ นวน
ถือเปนสวนสําคัญในการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ดังกลาวให ขึ้นอยางตอเน่ือง แรงงานราว 150,000 คนท่ีเคย
กลายเปนสังคมเมืองขนาดยอมข้ึนโดยเพาะในเขต ทํางานในรานอาหาร สถานบันเทิง และบริษัทของ
ภูมิภาค เชน อุดรธานี อุบลราชธานี นครราชสีมา ชาวอเมริกัน เมื่อธุรกิจเหลาน้ีในตางจังหวัดปดตัวลง
และชลบุรี พ้ืนที่ซึ่งเคยเปนชนบทมากอนถูกยกระดับ ไป การโยกยายเขามาในเขตเมืองอยาง
ใหเปนพื้นท่ีสังคมก่ึงสังคมเมือง (Semi-Urban) กรุงเทพมหานครท่ีเกิดขึ้น ผลกระทบท่ีเกิดเปนลูกโซ
กลาวคือ ความเจริญดานการคมนาคม สิ่งอํานวย คือการเกษตรท่ีขาดแรงงานเพ่ือการผลิต ในขณะ
ความสะดวกตาง ๆ ยังไมไดขยายเปนวงกวาง แต เดียวกัน แรงงานเหลาน้ีก็จะประสบปญหาความไม
กระจุกตัวอยูภายในเมือง เกิดกลุมอาชีพที่เกิดขึ้นอาจ แนนอนทางอาชีพ
เปนอาชีพใหม เชน งานบริการ อาชีพดานเทคนิค
หรือลาม ในขณะท่ีชนบทก็ยังมีวิถีชีวิตแบบด้ังเดิมคือ " …หลังจากฐานทัพอเมริกาถอนออกไปตอนจบ
การทําเกษตรเล้ียงชีพ นัยสาํ คัญของการเปลี่ยนแปลง สงคราม พวกผับบาร รานอาหารรอบ ๆ ฐานทัพก็
เขาสูสังคมเมืองกึ่งชนบท คือคนในทองถิ่นชนบทมี ปดไปดวย คนท่ีทํางานตรงน้ันก็ไมมีงานทาํ ตองยาย
ความเปนไปไดสูงที่จะโยกยายหรือละทิ้งอาชีพ มาทาํ งานที่กรุงเทพฯ อยางในพัฒนพงศสวนใหญก็
การเกษตร เพื่อเขามาหารายไดจากอาชีพใหมใน เปนคนอีสาน แลวก็มีพวกสลัมคลองเตยท่ีอยูมา
เมืองที่อาจทาํ รายไดสูงกวา[43]
ต้ังแตอเมริกายังไมออกไป... "

18

แมแตในพัฒนพงศ ที่อยูในกรุงเทพมหานคร ในขณะท่ีการโยกยายถิ่นฐานสวนใหญในขณะ หรือสภาวะท่ีจํายอมเพราะทองถิ่นของ
และเปนจุดศูนยรวมของสังคมเมืองอยูแลว แตก็ปรากฏ นั้นอยูในรูปแบบของการโยกยายจากชนบทสู ตนเองไมอาจหารายไดเพื่อเล้ียงปากทองให
ใหเห็นการยายเขามาทํางานจากพื้นท่ีซึ่งมีความเจริญ เขตเมืองภายในจังหวัดของตนคิดเปนรอยละ อยูรอดได เหลาน้ีคือปจจัยพ้ืนฐานท่ีสงผลตอ
นอยกวา อยางเชน ชุมชนคลองเตย ขอน้ีแสดงใหเห็น 55.2[44] แรงจูงใจท่ีสาํ คัญที่ทําใหประชาชน การตัดสินใจของประชากรในการเลือกเขามา
วา ความเจริญในสังคมเมืองกรุงเทพฯ มิไดมีความเทา ตัดสินใจยายถ่ินฐานซึ่งหางไกลจากภูมิลาํ เนา ทาํ งานในเขตเมืองชวง พ.ศ. 2518-2529
เทียมกัน การโยกยายถ่ินฐานและอาชีพใหมของชนชั้น เขาในเมืองหลวง คือ การแสวงหาอาชีพท่ีมี
แรงงานหรือคนหาเชากินคํ่าจึงถือเปนเร่ืองปกติวิสัย ใน รายไดสูงกวา ความสะดวกสบายท่ีมากกวา
พ.ศ. 2518 หลังจากสงครามเวียดนามผานพนไป มี
ประชากรยายถิ่นฐานเขามาในกรุงเทพมหานครราว ความจนมันน่ากลวั คนถึง
217,000 คน เพ่ิมข้ึนจากชวง พ.ศ. 2508 – 2513 ถึง ตอ้ งเขา้ มาทาํ งานในเขตเมอื ง
148,000 คน เปนการยายถ่ินในรูปแบบชนบทหรือ
เมืองในภูมิภาคสูเมืองหลวง คิดเปนรอยละ 14.3 ของ
การยายถิ่นท้ังหมดในประเทศ

เกร็ดความรู้ ภาพ สถานบันเทิงแบบอเมริกันหนาฐานทัพทหารอเมริกันที่จังหวัดอุดรธานี

วัฒนธรรมเมียเชา เปนอีกวัฒนธรรมหนึ่งที่เกิดข้ึนมา ซ่ึงถาหากพิจารณาถึงปจจัยท่ีใหญกวา คือ ระหวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง
พรอมกับการตั้งฐานทัพของสหรัฐอเมริกาตามเมือง ชาติฉบับท่ี 3-5 ประเทศไทยยังขับเคลื่อนดวยอุตสาหกรรมเบาหรือโมเดล 2.0 ดังน้ัน
ตางๆ ภายในประเทศไทย มีผูหญิงจาํ นวนมากเต็มใจ ภาคอุตสาหกรรมขนาดใหญจึงยังไมมีบทบาทมากนักตอการโยกยานถ่ินฐานของ
เขาสูอาชีพภรรยาเชา เพราะคาดหวังวาชีวิตของ ประชากร[45] และเม่ือมองกลับมายังคนที่เขามาทํางานยังพัฒนพงศ เมื่อสถานที่ท่ีพวก
ครอบครัวของตนเองจะดีข้ึน ภายหลังจากการถอน เขาเคยทํางานอยางรานอาหารหรือสถานบันเทิงรอบ ๆ ฐานทัพสหรัฐอเมริกาในเขต
ฐานทัพของทหารอเมริกัน มีผูหญิงหลายคนประสบ ภูมิภาคตองปดตัวลง การยายเขามาทาํ งานในเขตเมืองหลวงดวยรูปแบบงานเดิมที่พวก
ความสําเร็จในชีวิตกลายเปนภรรยาฝรั่งจดทะเบียน เขาเคยทาํ ทั้งการเปนพนักงานรานอาหาร สาวบริการ หรือแมแตการเปนเมียเชา ก็ถือ
สมรสตามกฏหมาย และหลายคนตองเล้ียงดูบุตรตาม เปนเร่ืองท่ีสมเหตุสมผล
ลาํ พัง เนื่องจากทหารอเมริกันไมยอมรับลูกที่เกิดจาก
บรรดาเมียเชา 19

สิ่งที่เกิดข้ึนเม่ือความเปนสังคมเมือง ทางเลือกท่ีชนชั้นแรงงานจะประกอบอาชีพ เมื่อผลประกอบการทางเศรษฐกิจที่ยังไมมี
ขยายตัวในพื้นท่ีตาง ๆ คือความเจริญทาง ยังมีไมมาก สวนทางกับประชากรที่หล่ังไหล อุตสาหกรรมหลักเขามาสนับสนุน ทาํ ให
เศรษฐกิจ การคมนาคม และความสะดวกสบาย เขามาทาํ งานในกรุงเทพมหานครและเมือง อุตสาหกรรมเบาโดยเฉพาะอยางย่ิงภาคการ
ทวาในอีกมุมมองซึ่งอยูคูกับความเจริญคือดานท่ี อื่น อยางตอเน่ือง จากผลสาํ รวจใน พ.ศ. บริการจึงมีบทบาทสําคัญมากตอเศรษฐกิจ
เส่ือมโทรมของสังคม ซึ่งผูจัดทาํ โครงการเสนอวา 2519 และใน พ.ศ. 2526 พบวาประชากรท่ี ชองประเทศ ดังจะเห็นไดจากชวง พ.ศ.
สตรีเพศผูทําหนาที่ขายเรือนรางเพื่อมอบความ ยายถ่ินฐานเขามาทาํ งานในกรุงเทพมหานคร 2518 – 2530 ภาครัฐมีความพยายามในการ
บันเทิงใหกับผูอ่ืน เปนส่ิงหนึ่งที่สามารถบงบอก รอยละ 78.3 เปนแรงงานระดับไมมีทักษะ ฟนฟู สงเสริมและนําเสนอการทองเที่ยวไทย
ถึงผลกระทบจากการขยายตัวของสังคมเมืองใน หรือมีการศึกษาในระดับตาํ่ ซึ่งผลท่ีเกิดข้ึน อยางตอเนื่อง ซ่ึงแนนอนวา จุดศูนยรวมของ
แงลบไดเปนอยางดี จากหนังสือ สาวชาวนาสู ตามมาคือ แรงงานจาํ นวนมากท่ีถูกผลักดัน สถานบันเทิงเชนที่พัฒนพงศ เปนสวนหน่ึงที่
หมอนวด ของผาสุก พงษไพจิตร ไดเสนอแนะสิ่ง ใหเขาสูระบบงานท่ีไมจําเปนตองใชทักษะใน สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวเขามาใน
ท่ีสําคัญไววา การทํางาน เชน บริกร กรรมกร งาน ประเทศไทยไดไมมากก็นอย แมในชวงที่
กอสราง หรือถาอยูในสถานบันเทิงก็อาจเปน ประเทศกาวเขาสูการขับเคลื่อนดวย
" ...หญิงไทยมีความรับผิดชอบเรื่อง คนเชียรแขก เมียเชา แมงดา เปนตน ซ่ึงชวง อุตสาหกรรมอยางเต็มตัวแลว ธุรกิจการคา
รายไดของครัวเรือนมานานแลว ใน เวลาดังกลาวน้ีเองท่ีสงผลใหธุรกิจและคนที่ บริการนี้ก็ยังมีความสาํ คัญอยู สรางรายไดให
สมัยกอน ผูหญิงอาจคาขายอาหาร ตองเขาสูวงจรอาชีพเหลานี้ของเพ่ิมมากข้ึน กับเศรษฐกิจนอกระบบมาเปนระยะเวลา
เพ่ือตอบสนองความตองการของครัว อยางตอเน่ือง[47] อันท่ีจริงแลว ปจจัยอื่น ๆ นาน[48]
เรือน แตเมื่อการเปลี่ยนแปลงทาง ที่จะสงผลตอการตัดสินใจขายบริการทาง
สังคมเกิดขึ้น ผูหญิงอาจขายเรือนราง เพศก็มีเชนกัน ท้ังในเรื่องของการศึกษาท่ีไม ภาพ หญิงสาวที่ตองตัดสินใจ
ของตนเองเพ่ือตอบสนองความอยู เทาเทียม ทําใหประชาชนขาดความเขาใจใน ทําอาชีพบริการ
รอดของครัวเรือนเชนเดียวกัน... " เร่ืองเพศท่ีถูกตอง ฐานะของครัวเรือนท่ี
[46] ยากจน ความเจริญที่กระจุกตัวอยูเพียงใน
เขตเมือง พฤติกรรมบริโภคนิยมของบุคคล
การท่ีสตรีจะตกลงปลงใจนําเรือนราง และทัศนคติเร่ืองชายเปนใหญ ซึ่งผูจัดทําขอ
ของตนเองแลกกับรายไดและตวามอยูรอด ไมลงรายละเอียดในสวนน้ี
ของครอบครัว หรือแมแตการถูกบังคับให
กระทาํ ผูจัดทําคิดวา ปญหาที่เปนรูปธรรม อีกประการที่สาํ คัญ การคาบริการ
มากสุดท่ีสงผลกระทบตอเรื่องดังกลาว คือ ท่ีเกิดขึ้นในพัฒนพงศ เปนสวนที่แสดงใหเห็น
ประเด็นทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางย่ิงใน วา สตรีเพศกลายเปนเครื่องมืออันนํามาซ่ึง
ชวง พ.ศ. 2518 – 2530 ซึ่งเปนชวงเวลาที่ ผลประโยชนในโลกทุนนิยม กลาวคือ
ประเทศไทยยังขับเคลื่อนดวยอุตสาหกรรม ประเทศไทยกอน พ.ศ. 2530 ที่ยังขับเคล่ือน
เบา ดวยอุตสาหกรรมมเบา แตโลกทุนนิยมไดถูก
วางรากฐานไวในระบบเศรษฐกิจไทยมากอน
แลว

20

4.4 อิทธิพลของแบรนดและวัฒนธรรม
อเมริกันในชวงสงครามเวียดนาม

หากพิจารณาในประเทศไทย ชวงที่มีการเผยแพรวัฒนธรรมอเมริกันอยางเขมขนมากที่สุดครั้งหนึ่ง เกิดขึ้นในชวงสงคราม
เวียดนาม และอาจเปนชวงที่ถือวาเปนจุดสูงสุดของอิทธิพลอเมริกันในประเทศไทยเลยก็วาไดชวงเวลาระหวาง พ.ศ. 2500 –
2520อิทธิพลของสหรัฐอเมริกามีผลตอท้ังการเมือง เศรษฐกิจ การศึกษาในประเทศและการศึกษาตอในตางประเทศ การประกอบ
อาชีพใหม ๆ ในสายงานวิชาชีพเฉพาะทาง ผูจัดการ ผูบริหาร นักเทคนิค และธุรกิจสวนตัว นอกจากน้ีนอกจากน้ี สิ่งอ่ืน ๆ ท่ีมี
ความเปนอเมริกันและสามารถจับตองในชีวิตประจาํ วันไดมากกวา อยางเชน ภาพยนตร แฟช่ัน เพลง หรือนิตยสารตางๆ ไดเขามา
ผสมผสานกับสังคมไทยดวยเชนกัน[50]

"...ในชว งสงครามเวียดนาม ส่งิ ทีส่ หรัฐอเมรกิ าไดเผยแพรเ อาไวในแบบทใี่ ครอาจไมท ันสงั เกต
คือ วฒั นธรรมที่บอกถงึ ความเปน อเมริกนั ทั้งการอปุ โภค ความบนั เทิง แนวคิด
และอุดมการณท างการเมอื ง..."[49]

เมื่อยกกรณีของพัฒนพงศขึ้นมาประกอบ จะพบวา ภายใน นอกจากความบันเทิงในพัฒนพงศท่ีผสมผสานความเปนอเมริกัน
บาร รานอาหาร มักจะนิยมเปดเพลงแนวโซลและร็อคแอนโรลด ซึ่ง เขาไปแลว บรรดารานคา รานอาหาร ก็ยังมีความอเมริกันซอนอยู
ถือวาเปนแนวเพลงท่ีเปนอัตลักษณของอเมริกันชวงยุค 60 – 70 เชนกัน ยกตัวอยางเชน การวางขายนิตยสาร Times หรือนิตยสาร
เชน Santana, Rolling Stones, Jimi Hendrix, Elvis Presley วาบหวิวอยาง Playboy ตามรานขายหนังสือ รานอาหารจานดวน
บารท่ีมีการโชวของหญิงสาวอยางอะโกโกหรือ Fucking Shows ก็ KFC ที่มีสาขาอยูบนถนนพัฒนพงศ และท่ีนาสนใจ ก็คือการมีราน
จะมีชาวอเมริกันท่ีเขามาเปนแขกของรานเกือบทุกคน และจะตองมี ขายเบอเกอรในพัฒนพงศ คือราน Burger Houses ท่ีมาเปด
การใหทิปกับนักแสดงหรือพนักงานในราน ซ่ึงถือเปนธรรมเนียม บริการคร้ังแรกใน พ.ศ. 2508[53] ซ่ึงเบอรเกอรนี้ ถือเปนอาหาร
อยางหนึ่ง ชาวอเมริกันในชวงเวลาน้ันสวนมากจะมองวา การใหทิป ชนิดหน่ึงท่ีเปนอัตลักษณบงบอกถึงความเปนอเมริกันไดเปนอยาง
ถือเปนการใหเกียรติ มากกวาการซ้ือเพื่อความพอใจ[51] นอกจากนี้ ดี
การนาํ วิสก้ีของอเมริกันมาจําหนาย การสูบบุหร่ีแบรนดอเมริกัน
อยาง Marlboro และการใชสารเสพติดจาํ พวกเฮโรอีนในหมูสาว
บริการ ก็ถือเปนส่ิงที่สถานบันเทิงเหลาน้ีไดรับอิทธิพลมาจาก
อเมริกันแทบท้ังส้ิน ซ่ึงมิใชแคที่พัฒนพงศเทานั้น แตยังรวมไปถึง
สถานบันเทิงอ่ืน ๆ ที่สหรัฐอเมริกาใหการสนับสนุนในประเทศไทย
ดวย[52]

21

นอกเหนือจากในพัฒนพงศแลว พื้นท่ีอ่ืน ๆ ท่ีสหรัฐอเมริกาไปต้ัง
ฐานทัพ ก็มีการนําเอาความอเมริกันเขาไปเผยแพร ซึ่งอาจจะชัดเจน
มากกวาย่ิงกวาท่ีพัฒนพงศดวย ยกตัวอยางเชนจังหวัดอุดรธานี ซึ่งถือเปน
หัวเมืองหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีความเจริญมากเมื่อเทียบกับ
จังหวัดอื่น ๆ ภายในคายรามสูรที่เปนแหลงรวมของทหารอเมริกันหลายพัน
นาย มีการเปดรานสวัสดิการของกองทัพท่ีเรียกวา Base Exchange หรือ
BX ในชื่อ Chang Station ใน พ.ศ. 2508 โดยมีการนาํ เอาสินคาของ
สหรัฐอเมริกาประเภทอุปโภค บริโภคเขามาจําหนาย เชน Coca Cola,
Pepsi Cola, Tabasco Sauce Kellogg’s ที่นาสนใจคือ ภายในรานดัง
กลาวยังมีการจําหนายสินคาแบรนดไทยอยางสุราแมโขง ไมขีดไฟตรา
พระยานาค หนังสือพิมพบางกอกโพสตและสยามรัฐ รวมอยูดวย

ภาพ Base Exchange ในช่ือ Chang station คายรามสูร จ.อุดรธานี (ขอมูลบอก
วามีการนําสินคาของไทยและอเมริกาขายดวยกัน)

นอกจากน้ี โรงภาพยนตรเจาพระยาใน สิ่งเหลาน้ีบงบอกถึงความเปนวัฒนธรรม
เขตตัวเมืองอุดรธานี ยังมีการนาํ และแบรนดอเมริกันท่ีจับตองไดงายใน
ภาพยนตรอเมริกันช่ือดังอยาง The ชีวิตประจาํ วันน้ี อาจแทรกซึมไปในวิถี
God Father เขามาฉายใน พ.ศ. 2516 ชีวิตของชาวไทยโดยท่ีใครหลายคนอาจ
และภายในคายรามสูร ยังมีการแสดง มิไดสังเกต หลาย ๆ สินคาที่เปนแบรนด
ของวงดนตรีที่เปนทหารอเมริกัน รวม อเมริกันก็ยังมีการจําหนาย เปดให
กับแดนเซอรหญิงเดี่ยวที่เปนชาวไทย บริการกับชาวไทยมาเปนระยะเวลานาน
ดวย ในคายรามสูรเองก็มีคนไทยทาํ งาน จวบจนปจจุบัน
อยูมาก สวนมากเปนเจาหนาที่บัญชีและ
ลามภาษาตางประเทศ[54]

ภาพ Burger House ท่ีพัฒนพงศ ภาพ การแสดงดนตรีของวง VIP ณ คายรามสูร พ.ศ. 2516 (เปนวงคนไทย แตเลนเพ
ลงแนวรอกแอนโรลด และเฮฟวี่เมทัล ซึ่งเปนแนวเพลงท่ีอเมริกันนิยมในตอนนั้น
อยางไรก็ตาม ชวงเวลาหลังจากท่ีสงคราม
เวียดนามผานพนไป การเผยแพรเขามาของแบรนด
และวัฒนธรรมอเมริกันอาจไมไดอยูในจุดสูงสุด
เหมือนแตกอน และถูกกลืนไปดวยความสัมพันธใน
เชิงเศรษฐกิจ การคา หรืออุตสาหกรรม[55] มากกวา
มุมมองในเชิงวัฒนธรรม แมแตวงการแฟช่ันและ
เพลงที่ในชวงเวลาหนี่งยังถูกมองวาเปนวัฒนธรรม
แตก็ถูกกระแสของวัฒนธรรมเอเชียอยางญ่ีปุนและ
เกาหลีข้ึนมาแทนท่ีในภายหลัง

22

เกร็ดความรู้

ภาพคุณไมเคิล เมสเนอร เจาของพิพิธภัณฑพัฒนพงศ ความนาสนใจอีกอยา งหนง่ึ ภายในพืน้ ที่ Red light แหง นี้ คือการมี
พิพิธภณั ฑก ารเรียนรปู ระวัติศาสตรของพัฒนพ งศ จากคาํ บอกเลา ของคุณไมเคิล
เมสเนอร ชาวออสเตรเลีย ซึง่ เปนเจาของพพิ ธิ ภัณฑพ ัฒนพ งศแหง น้ีวา “ชวงท่ผี ม
ทาํ รา นอาหาร ผมไดฟง เรอื่ งเลาเดด็ ๆ จากลูกคา ประจาํ มากมายทเี่ ลาถึง
เหตกุ ารณตอนทพ่ี วกเขาเคยเปน ทหารผา นศกึ ชว งสงครามเวยี ดนาม บางคน
เปนถึงอดตี สมาชกิ CIA และเมอ่ื ผมตระหนักไดว า พน้ื ทีแ่ หง นแี้ ทจ รงิ มี
ประวัติศาสตรซ อนอยู ผมก็เรม่ิ สนใจ อยากจะทําพิพธิ ภัณฑข นึ้ ”[56]

ภายในพิพิธภณั ฑมกี ารนาํ เสนอความเปนมาของพฒั นพ งศตั้งแตการเปน
พนื้ ท่ีรกรา ง สูก ารเปนพ้นื ทที่ างเศรษฐกิจ เปน ท่ตี ้ังของหนวยปฏบิ ัตกิ าร CIA อนั
นาํ วา ซง่ึ ความสมั พนั ธร ะหวา งประเทศทเ่ี กีย่ วของกันเชิงพน้ื ท่ีอยางปฏเิ สธไมไ ด
พพิ ิธภัณฑมคี วามพยายามนําเสนอมมุ มองใหม ๆ สสู งั คมใหค นภายนอกไดรูถงึ มติ ิ
ท่ีหลากหลาย ท่ีสาํ คัญคอื เขาตองการใหผชู มไดเรียนรเู ร่อื งราวทางประวัติศาสตร
ผานผบั บาร เหลาน้ี และเพื่อทาํ ความรจู กั กบั พัฒนพงศม ากข้ึนดว ย ซง่ึ คุณไมเคิ
ลบอกวา
“ผมอยากใหทกุ คนกลาเขามา ผมพดู จรงิ ๆ นะ พฒั นพ งศไมไ ดน ากลวั อยางท่ี

ทกุ คนคิด สําหรับผม ถา เปรยี บกบั อาหารแลว พัฒนพ งศกเ็ หมอื น ‘สมตาํ ’
หลากหลายรสชาติ นา ต่ืนตาตืน่ ใจ แตถกู ปรุงขึ้นดว ยวัตถดุ ิบและวธิ กี ารท่เี รยี บ

งา ยธรรมดา”[57]
นอกจากน้คี วามนาสนใจอีกอยางหน่ึง คอื นบั ต้ังแตม ีการกอต้ังพิพิธภณั ฑ
พฒั นพงศข ึ้นมา สว นตัวคุณไมเคลิ เองมองวานา จะไดร บั สนใจจากชาวตางชาติ
มากกวา คนไทย แตกลับไมเ ปน เชนน้ันมึคี นไทยจาํ นวนมากใหค วามสนใจและ
เขาไปเรียนรปู ระวัติความเปนของพ้นื ทีพ่ ฒั นพ งศแ หง นี้ สะทอนใหเหน็ วามีคนไทย
จาํ นวนไมนอยทสี่ นใจประวตั ิศาสตรนอกตาํ รา
สําหรบั คนท่ีสนใจอยากจะไปเยยี่ มชมพิพิธภณั ฑส ามารถเดินทางไปไดง าย
ๆ ดวย BTS สถานนศี าลาแดง หรือ MRT สถานีสีลม พิพธิ ภณั ฑจ ะตั้งอยฝู ง ตรง
ขา มกับ Silom Complex ภายในซอยพัฒนพ งศ 2 สาํ หรบั นกั เรยี น/นักศึกษามี
คาเขาเพียง 150 บาท (ตอ งมบี ัตรนักเรยี น/นักศึกษา) และบคุ คลทั่วไป 350 บาท
ซ่งึ ราคานีส้ ามารถแลกเครือ่ งดื่มภายในพพิ ธิ ภณั ฑ และของขวญั ตา ง ๆ ไดอกี ดว ย 23

บทสรุป

รวมความท้ั งหมดท่ี ได กล าวไปแล วข างต น ดว ย ค ว า ม ตั้ง ใ จ ข อ ง ค ณ ะ ผู จั ด ทํา แ ล ะ ร า ย วิ ช า
สามารถกล าวได อย างกระชั บว า "พั ฒน พงศ " เป น สัม ม น า ป ร ะ เด็น สํา คัญ ท า ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร ที่ มี จุ ด มุ ง ห มา ย
หนึ่ งในถนนสายเล็ ก ๆ อั นมี ประวั ติ ความเป นมาท่ี สาํ คั ญ คือ ก า ร ศึก ษ า ค ว า ม เป ลี่ ย น แ ป ล ง ที่ เ กิ ด ข้ึ น เ ชิ ง พ้ื น ท่ี ใ น
น าสนใน ซั บซ อน และคงอยู มาเป นระยะเวลานาน มิ ติ ท า ง ป ร ะ วัติศ า ส ต ร เพ่ื อ แ ส ด ง ใ ห เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม สํา คั ญ ต อ
ส่ิ งที่ สั งคมรั บรู และภาพจาํ ที่ ตายตั วเกี่ ยวกั บถนน พื้ น ท่ี น้ัน ๆ ทั้ง ดา น ก า ร เมื อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม เพื่ อ นาํ
สายนี้ คื อดิ นแดนแห งโลกี ย ที่ คั บคั่ งไปด วยสิ่ งท่ี เ ส น อ อ ง คค ว า ม รูที่ไ ดแ กสั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น ซึ่ ง ผู จั ด ทาํ ได
สั งคมมองว าเป นด านมื อดอั นขั ดต อศี ลธรรม ซ่ึ ง แ ส ด ง ใ หเห็น แ ลว วา พัฒ น พ ง ศ เ ป น อี ก ตั ว อ ย า ง ข อ ง พ้ื น ท่ี
โครงงานช้ิ นนี้ ได พยายามชี้ ให เห็ นแล วว า ระยะ ห นึ่ ง ซ่ึ ง ค ว ร คา แ กก า ร ศึก ษ า ร ว ม ไ ป ถึ ง นาํ เ ส น อ แ ก สั ง ค มเพื่ อ
เวลากว าคร่ึ งศตวรรษ พั ฒน พงศ มี เร่ื องราวอั น ส ร า ง โ ล ก ทัศ นใ ห ม ๆ ใ หกั บ ผู ที่ ส น ใ จ ท้ั ง ยั ง เ ป น ก า ร พั ฒ น า
เก่ี ยวข องกั บประเด็ นทางเศรษฐกิ จ ว าด วยการ ทั ก ษ ะ ข อ ง ผูจัด ทาํ โ ค ร ง ก า ร ใ ห ส อ ด ค ล อ ง กั บ ก ร ะ บว น ก า ร
เป นย านอั นเป นจุ ดมุ งหมายของการท องเท่ี ยวท่ี เ รี ย น รูท า ง ป ร ะ วัติศ า ส ต ร อ ย า ง ค ร บ ถ ว น อ ย า ง ไ ร ก็ ดี ผู จั ด
สาํ คั ญของประเทศ อิ ทธิ พลจากสงคราม ชาวต าง ทํา เ ห็ น วา ยัง มีขอ บ ก พ รอ ง บ า ง ป ร ะ ก า ร ที่ โ ค ร ง ก า ร น้ี ยั ง ไม
ชาติ และโลกทุ นนิ ยม สามารถเปลี่ ยนแปลงหรื อ ส า ม า ร ถ ทํา ใ หส ม บูร ณไ ด ซ่ึ ง ถื อ เ ป น ส่ิ ง ท่ี น า ส น ใ จ ใ น ก า ร
ยกระดั บพื้ นท่ี ใดพื้ นท่ี หน่ึ งเกิ ดความเจริ ญขึ้ นมาได ศึก ษ า ตอ ย อ ด อ ง คค ว า ม รู คื อ เ รื่ อ ง วิ ถี ชี วิ ต ข อ ง ค น ใ น พั ฒ น
ในเวลาอั นรวดเร็ ว และท่ี สาํ คั ญไม น อยไปกว ากั น พ ง ศ ก า ร อ ยูรว ม กัน ข อ ง ช า ว อ เ ม ริ กั น แ ล ะ ช า ว ไ ท ย ด ว ย ข อ
คื อ ประเด็ นทางสั งคม ทั้ งการโยกย ายถ่ิ นฐานผู คน จาํ กั ด ใ น เรื่อ ง ข อ ง ขอ มูล ง า น ศึ ก ษ า เ ก่ี ย ว กั บ พั ฒ น พ ง ศ ที่ แ ท บ
การประกอบอาชี พ สภาวะจํายอมให บุ คคลหนึ่ ง จ ะ ไ ม ป ร า ก ฏ ใ หเห็น ก า ร สั ม ภ า ษ ณ ผู ค น ที่ อ า ศั ย อ ยู ใ น พั ฒ น
ยอมกระทาํ เพ่ื อแลกมาซ่ึ งรายได ด วยการใช เรื อน พ ง ศ ถึ ง ป ร ะ เด็น ดัง ก ลา ว ก็ ไ ม ส า ม า ร ถ ทํา ไ ด เ ช น กั น เนื่ อ ง
ร างของตนเองเพื่ อตอบสนองความใคร รวมไปถึ ง ดว ย ส ถ า น ก า รณก า รแ พรร ะ บ า ด ข อ ง โ ร ค C o v i d – 19 สง
การเผยแพร แบรนด และความเป นอเมริ กั นผ านส่ิ ง ผ ล ใ ห พัฒ นพ ง ศแ ล ะ อีก ห ล า ย ๆ ส ถ า น ท่ี ไ ม ส า ม า ร ถ เป ด
ต าง ๆ ท่ี จั บต องได ในชี วิ ตประจาํ วั น ทั้ งหมดนี้ เป น ทาํ ก า ร ไ ดต า ม ป ก ติ ดัง น้ัน ผู จั ด ทาํ โ ค ร ง ก า ร จึ ง ค า ด ห วั ง แ ล ะ
มิ ติ อี กด านหน่ึ งที่ พั ฒน พงศ สามารถบอกกั บเราได ยิน ดี เ ปน อ ยา ง ยิ่ง ห า ก โ ค ร ง ก า ร นี้ จ ะ เ ป น ใ บ เ บิ ก ท า ง เพ่ื อ
และใครหลาย ๆ คนอาจคาดไม ถึ ง เ ป น ป ร ะ โ ย ช นใ น ฐ า น ะ ข อ ง ง า น ศึ ก ษ า เ บื้ อ ง ต น ใ ห กั บผู ท่ี
ส น ใ จ ศึก ษ า ป ร ะ วัติศ า ส ต ร เ ชิ ง พื้ น ที่ อ ย า ง จ ริ ง จั ง เ พ่ื อ ต อ ย
อ ด ค ว า ม รูเพ่ิม เติม ใ น อ น า ค ต ไ ด ไ ม ม า ก ก็ น อ ย ห า ก มี ข อ ผิ ด
พ ล า ด ป ร ะ ก า ร ใ ด ผูจัด ทํา โ ค ร ง ก า ร ทุ ก ค น ข อ น อ ม รั บไว แ ล ะ
จ ะ นํา ขอ ผิด พ ล า ด ไ ป ป รับ ป รุ ง เ พื่ อ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น อ ย า ง มี
ปร ะสิท ธิภ า พตอ ไป

24

เชงิ อรรถ

[1] Salika. (2563). เปด ประวัติ ‘ถนนสีลม’ บนั ทกึ ความเปลยี่ นแปลงแหง ยุคสมยั . (Online).
[2] Patpong Museum. (n.d). Patpong Timeline. (Online).
[3] หนังสืองานศพหลวงพัฒนพ งศพานิช. (ไมปรากฏปท ่พี ิมพ).
[4] บา นหมอ สระบรุ .ี (2561). หลวงพัฒนพงศพ านิช. (Online).
[5] Patpong Museum. (n.d). Patpong Timeline. (Online).
[6] Seven man. (2563). ศึกษาประวัติศาสตร ผานมา นแสงสี ทีพ่ พิ ิธภณั ฑพัฒนพงศ. (online).
[7] Porphant Ouyyanont. (2001). The Vietnam War and Tourism in Bangkok's Development, 1960-70,

Southeast Asian Studies, 39 (2), P 172.
[8] รวพิ รรณ สาลีผล. (2555). ประวตั ขิ องเศรษฐกิจไทย ต้งั แต 2475. หนา 12.
[9] Seven man. (2563). แหลง เดิม. (Online).
[10] พวงทอง ภวคั รพนั ธ.ุ (2561). การตา งประเทศไทยในยคุ สงครามเย็น. หนา 34.
[11] ธโสธร ตทู องคาํ . (2548). ผลกระทบจากความสมั พันธไ ทยกับสหรฐั อเมรกิ าทีม่ ีตอประเทศไทย. คณุ ภาพชีวิตกับกฎหมาย, 1 (2),

หนา 59.
[12] Lenore Manderson. (1992). Public Sex Performances in Patpong and Explorations of the Edges of
Imagination.

(Online).
[13] The New York Times. (1972). Thailand Misses Yankee Dollar. (Online).
[14] Sébastien Roux. (2010). Patpong, entre sexe et commerce. Indisciplinaire de Sciences Sociales. P 3
[15] Thai PBS. (2562). ชา งภาพคนสดุ ทา ยแหงพัฒนพ งษ : ก(ล)างเมือง (23 ก.ค. 62). (Online).
[16] Kornphanat Tungkeunkunt. (2016). Culture and Commerce: China’s Soft Power in Thailand.

International Journal of China Studies, 7 (2), P 154.
[17] Somchai Jitsuchon. (n.d). Thailand’s Economic Growth: A Fifty-Years Perspective (1950-2000). P 8.
[18] Patpong Museum. (n.d). Patpong Timeline. (Online).
[19] T. H. Silcock. (1967). Thailand Social and Economic Studies in Development. P 23 – 24.
[20] T. H. Silcock. (1967). แหลง เดิม. P 24.
[21] Sébastien Roux. (2010). Patpong, entre sexe et commerce. Indisciplinaire de Sciences Sociales. P 3.
[22] My Thailand. (2560). The Golden Era of Thailand Tourism: 1947-1979. (Online)
[23] การทองเทยี่ วแหง ประเทศไทย. (2563). TAT The Journey. หนา 27.
[24] Sébastien Roux. (2010). แหลงเดิม. P 5.
[25] The New York Times. (1976). U.S. Pullout Leaves Thai Economy in a Shaky State. (Online)
[26] The New York Times. (1972). Thailand Misses Yankee Dollar. (Online).
[27] T. H. Silcock. (1967). Thailand Social and Economic Studies in Development. P 65.
[28] Midnite Hours. (2562). Mississippi Twins Patpong’s Dancing Queen. (Online).
[29] Silpamag. (2563). ที่มาถนนสุขุมวิท ทางหลวงสาํ คญั สภู าคตะวันออก ทีจ่ อมพล ป.ใชห นีการรัฐประหาร. (Online).
[30] การทองเทยี่ วแหงประเทศไทย. (2563). เลมเดมิ . หนา 32.

เชงิ อรรถ

31] กรงุ เทพธุรกิจ. (2561). ยอ น20ปว กิ ฤตตม ยาํ กุง เตอื นทองเท่ียวเสี่ยงพึง่ พาตา งชาติ. (Online).
[32] สุนทรี ผลคาํ . (2548). บทวิเคราะหนโยบายเศรษฐกิจทมี่ ผี ลตอการสง ออกไทย. หนา 9 – 10.
[33] การทอ งเท่ียวแหง ประเทศไทย. (2563). เลมเดมิ . หนา 32.
[34] Patpong Museum. (n.d). Patpong Timeline. (Online).
[35] Thai Enquirer. (2020). The History of Thailand in 100 Objects: Patpong Co, Ltd. (Online).
[[36] การทองเที่ยวแหง ประเทศไทย. (2563). เลมเดิม. หนา 36.
[37] P. Michael Rattanasengchanh. (2559). U.S.-Thai Public Diplomacy. journal of american-east asian relations,

P 61.
[38] P. Michael Rattanasengchanh. (2559). แหลงเดิม. P 63.
[39] P. Michael Rattanasengchanh. (2559). แหลงเดิม. P 76 – 77.
[40] Patpong Museum. (n.d). Patpong Timeline. (Online).
[41] ฐาณญิ า โอฆะพนม. ฐิติวรรณ ศรีเจริญ. (2559). ปจจัยทม่ี ีอทิ ธพิ ลตอ การลงทนุ โดยตรงจากชาวตางชาตใิ นประเทศไทย.

วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร และการสือ่ สาร, 11 (2). หนา 77 – 78.
[42] The Standard. (2562). 1 มถิ ุนายน 2532 – เปด รา นเซเวน-อเี ลฟเวน สาขาแรกในไทย. (Online).
[43] Wichai Srikam. (n.d). Urbanization and Urbanism in Thailand (Research Article). Bangkok: Silpakorn
University.

P 3 – 4.
[44] กาญจนา ตั้งชลทิพย. (2550). กรงุ เทพมหานคร: เมืองโตเดี่ยวตลอดกาลของประเทศไทย. ไมปรากฏท่มี า. หนา 7.
[45] T. H. Silcock. (1967). เลมเดมิ . P 43 – 45.
[46] Martha Mensendiek. (2540). Women, migration, and prostitution in Thailand. International Social Work, Vol.40,

P 166.
[47] ธรุ กจิ การคาประเวณใี นประเทศไทย. (ม.ป.ป). กรุงเทพ: มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. หนา 19 – 20.
[48] ธรุ กิจการคาประเวณใี นประเทศไทย. (ม.ป.ป). กรุงเทพ: มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร. หนา 19 – 20.
[49] Chris Ashton. (2018). Social Impacts of Popular Culture During the Vietnam War. Scholar Commons, p 3.
[50] ภัทรัตน พนั ธปุ ระสทิ ธ. (2558). “เปลือยชายไทย : วา ดวยภาพของผูห ญงิ ความคิดเรือ่ งความสมั พันธแ ละเพศระหวางหญิงและชาย
ท่ี.

ปรากฏในนติ ยสารสาํ หรบั ผูชายทศวรรษ 2520”. มนุษยศาสตรส งั คมศาสตรปริทศั น. 3 (2). หนา 68.
[51] Big chili. (2013). PATPONG’S FAVOURITE SON: TIM YOUNG. (Online).
[52] Chris Ashton. (2018). แหลง เดิม. P 7.
[53] Big chili. (2013). แหลง เดิม. (Online).
[54] The Isann Record. (2019). Recollections of Camp Ramasun: Life with Udon Thani GIs. (Online).
[55] มติชนออนไลน. (2561). อิทธพิ ลอเมริกันในเมอื งไทย โดย นิธิ เอียวศรีวงศ. (Online).
[56] บนิ ยากร นวลสนทิ . (2563). พัฒนพ งศมิวเซยี ม : มิติใหมท่ีซอนไวเ บ้อื งหลังแสงส.ี (Online)
[57] บนิ ยากร นวลสนิท. (2563). แหลงเดมิ . (Online)
[58] William R. Morledge. (2019). Mississippi Twins Patpong's Dancing queens. (Online)
[59] William R. Morledge. (2019). แหลง เดมิ . (Online)

บรรณานกุ รมรปู ภาพ

หนา ปก : ภาพหนาปก จาก https://www.facebook.com/patpongmuseum/photos/2810756252348663
หนากอนสารบัญ : ภาพถนนพฒั นพงศใ นอดีต จาก https://imgur.com/gallery/oKDmL
หนาสารบัญ : ภาพชาวตา งชาตทิ องเที่ยวพฒั นพ งศ จาก Patpong Museum
บทท่ี 1 : ภาพปากลว ยบรเิ วณพน้ื ที่พฒั นพงศใ นอดีต จาก https://www.patpongmuseum.com/th/timeline-th/
บทท่ี 1 : ภาพแผนที่กรงุ เทพมหานคร พ.ศ. 2431 จาก Patpong Museum
บทที่ 1 : ภาพหลวงพฒั นพ งศพ านชิ จาก http://m-culture.in.th/album/134667/jsk/
บทที่ 2 : ภาพคณุ อุดม พัฒนพงศพานชิ ในนติ ยสารฉบับหนง่ึ ทพ่ี ิพธิ ภัณฑพ ฒั นง พงศนาํ มาแสดง จาก Patpong Museum
บทท่ี 2 : ภาพโลโกบริษัทท่ีเขา มาทําธุรกิจยา นพฒั นพ งศ จาก https://th.readme.me/p/34910
บทที่ 2 : ภาพถนนพฒั นพ งศ พ.ศ. 2503 เตม็ ไปดวยอาคารพาณิชยท ่นี กั ลงทุนใชเปนสาํ นักงาน จาก

https://www.facebook.com/Oldsiam/posts/2003990973061793
บทท่ี 3 : ภาพตึกสแี ดงทีถ่ ูกใชเ ปนฐานทพั ของ CIA ชว งสงครามเวยี ดนาม จาก https://thestandard.co/patpong-museum/
บทที่ 3 : ภาพเกรด็ ความรเู กย่ี วกับสงครามเวียดนาม จาก https://th.wikipedia.org/wiki/สงครามเวียดนาม
บทท่ี 3 : ภาพเหลาทหารอเมริกนั พกั ผอ นยานพฒั นพ งศ จาก https://juleswings.wordpress.com/tag/air-america/
บทท่ี 3 : ภาพแดนเซอรใ นราน Mississippi Queen จาก https://www.stickmanbangkok.com/images/Old-Thailand-Photos/Eat-

great-dancer-Mississippi-Queen-1974.jpg
บทท่ี 3 : ภาพบรเิ วณหนาราน Mississippi Queen จาก
https://www.facebook.com/patpongmuseum/photos/3197432950347656
บทที่ 3 : ภาพแดนเซอรทีร่ า น Grand prix bar จาก https://www.stickmanbangkok.com/images/Old-Thailand-Photos/
บทท่ี 3 : ภาพพนักงานทีร่ าน Memphis Queen จาก https://www.stickmanbangkok.com/images/Old-Thailand-Photos/
บทที่ 3 : ภาพสองพ่ีนอ งจูนกบั จอย จาก http://www.bangkokeyes.com/2019may01.html
บทท่ี 3 : ภาพปา ยหนาราน Mississippi Queen(1&2) จาก http://www.bangkokeyes.com/2019may01.html
บทท่ี 4 : ภาพนักแสดงและแขกที่เขา มาเท่ียวพัฒนพงศ จาก

https://www.facebook.com/patpongmuseum/photos/3211294362294848
บทที่ 4 : ภาพหนาหัวขอ 4.1 ความสําคัญทางเศรษฐกจิ และการทอ งเท่ยี ว จาก https://www.stickmanbangkok.com/images/Old-

Thailand-Photos/
บทที่ 4 : ภาพ David Bowie เมอ่ื ครง้ั เดินทางมาพฒั นพงศ จาก https://www.patpongmuseum.com/th/timeline-th/
บทที่ 4 : ภาพบรรยากาศการทอ งเที่ยวพัฒนพ งศ จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/singha-BTS/2014/04/23/entry-1/comment
บทท่ี 4 : ภาพจอมพลสฤษดิ์ ธนะรชั ต กบั นายโรเบริ ต เอฟ. เคนเนด้ี รัฐมนตรียุตธิ รรมและนองชายของอดตี ประธานาธบิ ดีจอหน เอฟ. เคนเนด้ี

เมอ่ื คร้ังเยือนประเทศไทย จาก https://www.bbc.com/thai/features-45781649
บทที่ 4 : ภาพพลเอกชาตชิ าย ชณุ หะวณั จาก https://sites.google.com/site/sodium373/enea-na-nayk-rathmntri/phl-xek-chati-
chay-

chunh-a-wan
บทที่ 4 : ภาพเซเวนอีเลฟเวน สาขาแรกท่ีพัฒนพงศ จาก https://www.facebook.com/patpongmuseum/posts/3067446730012946/
บทท่ี 4 : ภาพสถานบนั เทิงแบบอเมริกันหนาฐานทพั ทหารอเมรกิ นั ท่อี ุดรธานี จาก
https://theisaanrecord.co/2019/06/22/recollections-

camp-ramasun-udon-thani-gis/
บทที่ 4 : ภาพหญงิ สาวทตี่ ัดสนิ ใจทําอาชพี บริการ จาก https://visual-archive.livejournal.com/87815.html

บรรณานกุ รมรปู ภาพ

บทที่ 4 : ภาพ Base Exchange ในช่อื Chang station คา ยรามสูร จ. อดุ รธานี (ขอมลู บอกวามีการนําสนิ คาของไทยและอเมรกิ าขายดว ยกนั )
จาก https://theisaanrecord.co/2019/06/22/recollections-camp-ramasun-udon-thani-gis/

บทที่ 4 : ภาพ Burger House ทพ่ี ฒั นพ งศ จาก https://www.thebigchilli.com/feature-stories/patpongs-favourite-son-tim-young.
บทที่ 4 : การแสดงดนตรีของวง VIP ณ คายรามสูร พ.ศ.2516 (เปน วงคนไทย แตเ ลนเพลงแนวรอ็ กแอนโรลด และเฮฟว่ีเมทลั ซง่ึ เปนแนวเพลง

อเมริกันท่นี ยิ มในตอนนนั้ ) จาก https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_642778.

บรรณานุกรม

เอกสารภาษาไทย

หนังสือ
การทอ งเท่ยี วแหงประเทศไทย. (2563). TAT The Journey. กรงุ เทพฯ: ภาพพมิ พ.
ธรุ กจิ การคาประเวณใี นประเทศไทย. (ม.ป.ป). กรุงเทพ: มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร.
พวงทอง ภวัครพนั ธุ. (2561). การตางประเทศไทยในยุคสงครามเยน็ . กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย
รวพิ รรณ สาลีผล. (2555). ประวัตขิ องเศรษฐกิจไทย ต้งั แต 2475. กรงุ เทพ : สาํ นกั วชิ าเศรษฐศาสตรแ ละนโยบายสาธารณะ มหาวทิ ยาลยั

ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ.
สุนทรี ผลคาํ . (2548). บทวิเคราะหนโยบายเศรษฐกิจทีม่ ผี ลตอการสง ออกไทย. กรงุ เทพฯ: กรมสงเสริมการสงออกกระทรวงพาณิชย.

วารสาร
กาญจนา ตัง้ ชลทพิ ย. (2550). กรงุ เทพมหานคร: เมืองโตเดยี่ วตลอดกาลของประเทศไทย. ไมปรากฏท่มี า. หนา 1 – 23.
จิติยา พฤกษาเมธานันท. (2554). ประเทศไทยในยทุ ธศาสตรข องสหรฐั อเมรกิ าตอเอเชียอาคเนย พ.ศ.2516-2519. รม พฤกษ, 29 (2),

111-138.
ฐาณิญา โอฆะพนม, ฐติ ิวรรณ ศรเี จริญ. (2559). ปจจยั ท่ีมอี ิทธพิ ลตอ การลงทุนโดยตรงจากชาวตางชาติในประเทศไทย.

วารสารบรหิ ารธุรกิจ เศรษฐศาสตร และการสือ่ สาร, 11 (2). หนา 77 – 91.
ธโสธร ตูทองคํา. (2548). ผลกระทบจากความสมั พันธไ ทยกับสหรฐั อเมริกาทม่ี ีตอประเทศไทย. คุณภาพชีวิตกบั กฎหมาย, 1 (2), 57-69
ภัทรตั น พันธปุ ระสิทธ. (2558). “เปลือยชายไทย : วา ดว ยภาพของผูหญิง ความคดิ เร่ืองความสมั พนั ธแ ละเพศระหวา งหญงิ และชายท่ี

ปรากฏในนติ ยสารสําหรบั ผชู ายทศวรรษ 2520”. มนษุ ยศาสตรสังคมศาสตรปริทัศน. 3 (2). หนา 61 – 92.

ออนไลน
กรุงเทพธุรกิจ. (2561). ยอน20ปวกิ ฤตตม ยํากงุ เตอื นทองเท่ยี วเสย่ี งพ่งึ พาตางชาต.ิ สืบคนเมือ่ 24 กมุ ภาพันธ 2564, จาก

https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/763179.
บนิ ยากร นวลสนทิ . (2563). พัฒนพ งศม ิวเซียม : มติ ิใหมท ่ีซอ นไวเบอ้ื งหลังแสงส.ี สบื คนเมอ่ื 15 มนี าคม 2564, จาก

https://web.tcdc.or.th/th/Articles/Detail/patpongmuseum
พิพัฒน กระแจะจนั ทร. (2563). เซ็กซ สงครามเย็น และวัฒนธรรมบันเทิงทพี่ ัฒนพงศม ิวเซียม พิพธิ ภัณฑทมี่ ี โซน 18+.

สบื คนเมือ่ 27 กมุ ภาพันธ 2564, จาก https://thestandard.co/patpong-museum/.
Patpong Museum. (n.d). Patpong Timeline. สืบคน เม่อื 23 กุมภาพนั ธ 2564, จาก

https://www.patpongmuseum.com/th/timeline-th/.
Salika. (2563). เปด ประวตั ิ ‘ถนนสลี ม’ บันทกึ ความเปลย่ี นแปลงแหง ยคุ สมัย. สบื คนเมอ่ื 2 มนี าคม 2564,

จาก https://www.salika.co/2020/11/21/history-of-silom-road/.
Seven man. (2563). ศึกษาประวัติศาสตร ผา นมา นแสงสี ท่ีพิพิธภัณฑพัฒนพงศ. สบื คน เม่ือวันท่ี 25 กมุ ภาพันธ 2564.

จาก https://www.trueplookpanya.com/blog/content/82190/-blo-
Silpamag. (2563). ทมี่ าถนนสขุ มุ วิท ทางหลวงสาํ คญั สูภาคตะวนั ออก ที่จอมพล ป.ใชห นีการรัฐประหาร. สบื คนเม่อื 24 กมุ ภาพนั ธ 2564,

จาก https://www.silpa-mag.com/history/article_52818.
The Standard. (2562). 1 มถิ ุนายน 2532 – เปดรานเซเวน-อเี ลฟเวน สาขาแรกในไทย. สืบคนเมือ่ วนั ที่ 25 กมุ ภาพนั ธ 2564.

จาก https://thestandard.co/onthisday01062532/.
Thai PBS. (2562). ชางภาพคนสดุ ทา ยแหง พฒั นพ งษ : ก(ล)างเมอื ง (23 ก.ค. 62). สบื คน เม่ือวนั ท่ี 2 มีนาคม 2564.

จาก https://www.youtube.com/watch?v=Mre7E2Hiijg.
Warranittha chan-jam. (2555). หลวงพฒั นพ งศพานชิ . สบื คนเมื่อ 27 กมุ ภาพันธ 2564, จาก http://m-culture.in.th/album/134667/js/.

บรรณานกุ รม

เอกสารภาษาองั ฤษ

book
T. H. Silcock. (1967). Thailand Social and Economic Studies in Development. Australia: Australian National University.

Article
Somchai Jitsuchon. (n.d). Thailand’s Economic Growth: A Fifty-Years Perspective(1950- 2000). (n.p.).

Journal
Chris Ashton. (2018). Social Impacts of Popular Culture During the Vietnam War. Scholar

Commons, P 1 – 17.
Kornphanat Tungkeunkunt. (2016). Culture and Commerce: China’s Soft Power in Thailand. International Journal of
China

Studies, 7 (2), P 154.
Martha Mensendiek. (2540). Women, migration, and prostitution in Thailand. International Social Work, Vol.40,

P 163 – 176.
P. Michael Rattanasengchanh. (2559). U.S.-Thai Public Diplomacy. journal of american-east asian relations, 23 (2016).

P 56 – 87.
Porphant Ouyyanont. (2001). The Vietnam War and Tourism in Bangkok's Development, 1960-70, Southeast Asian
Studies,

39 (2), P 157 – 187.
Sébastien Roux. (2010). Patpong, entre sexe et commerce. Indisciplinaire de Sciences Sociales.

P 1 – 21.
Wichai Srikam. (n.d). Urbanization and Urbanism in Thailand (Research Article). Bangkok: Silpakorn

University. P 1 – 18.

Online
Big chili. (2013). PATPONG’S FAVOURITE SON: TIM YOUNG. Retrieved 2 March 2021. From,

https://www.thebigchilli.com/feature-stories/patpongs-favourite-son-tim-young.
CNN Travel. (2561). Secrets of Bangkok red light zone laid bare in new museum. Retrieved 13 January 2021. From,

https://edition.cnn.com/travel/article/patpoong-museum-.
My Thailand. (2560). The Golden Era of Thailand Tourism: 1947-1979. Retrieved 13 January 2021. From,

https://mythailand.blog/2018/06/13/thai-tourism-historry/.
Thai Enquirer. (2020). The History of Thailand in 100 Objects: Patpong Co, Ltd. Retrieved 27 February 2021. From,

https://www.thaienquirer.com/15038/15038/the-history-of-thailand-in-100-objects-patpong-co-ltd/.
The Isann Record. (2019). Recollections of Camp Ramasun: Life with Udon Thani GIs. Retrieved 2 March 2021. From,

https://theisaanrecord.co/2019/06/22/recollections-campramasun-udon-thani-gis.
The New York Times. (1972). Thailand Misses Yankee Dollar. Retrieved 1 March 2021. From,

https://www.nytimes.com/1972/01/24/archives/thailand-misses-yankee- dollar.htmll?searchResultPosition=2.
The New York Times. (1976). U.S. Pullout Leaves Thai Economy in a Shaky State. Retrieved 2 March 2021. From,

https://www.nytimes.com/1976/07/27/archives/us-pullout-leaves- thai-economy-in-a-shaky-state.html?
searchResultPosition=20.
William R. Morledge. (2019). Mississippi Twins Patpong's Dancing queens. Retrieved 15 March 2021. From,
http://www.bangkokeyes.com/2019may01.html

?และทังหมดนใี ชพ่ ฒั นพ์ งศ์
ทีคณุ รจู้ กั หรอื เปล่า


Click to View FlipBook Version