กฎหมายและองค์การทเ่ี กยี่ วข้องกบั ธุรกจิ ขนาดย่อม
กฎหมายเกยี่ วกบั การคุม้ ครองผู้บริโภค
กฎหมาย คมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคเป็นกฎหมายท่ีเก่ียวกบั การดารงชีวิตของคนในสงั คม
โดยท่วั ไปจะเก่ียวขอ้ งกบั การบรโิ ภคสนิ คา้ และการใชบ้ รกิ าร เชน่ มนษุ ยต์ อ้ งบรโิ ภค
อาหาร เครอ่ื งดม่ื ตอ้ งใชบ้ รกิ ารรถประจาทาง รถไฟฟา้ รวมทงั้ บรกิ ารอน่ื ๆเพ่ืออานวย
ความสะดวก เช่น การใชบ้ ตั รเครดติ โทรศพั ทม์ ือถือ เป็นตน้ ดงั นนั้ การบรโิ ภคหรอื การ
ใชบ้ รกิ ารตา่ ง ๆ
ความคุม้ ครองตามกฎหมาย 5 ประการ ดงั น้ี
1. สทิ ธิท่ีจะไดร้ บั ข่าวสารรวมทงั้ คาพรรณนาคณุ ภาพท่ีถกู ตอ้ งและเพียงพอเก่ียวกบั สนิ คา้
หรอื บรกิ าร ไดแ้ ก่ สิทธิท่ีจะไดร้ บั การโฆษณาหรอื การแสดงฉลากตามความเป็นจรงิ และ
ปราศจากพิษภยั แกผ่ บู้ รโิ ภค รวมตลอดถงึ สทิ ธิท่ีจะไดร้ บั ทราบขอ้ มลู เก่ียวกบั สนิ คา้ หรอื บรกิ าร
อยา่ งถกู ตอ้ ง และเพียงพอท่ีจะไมห่ ลงผดิ ในการซือ้ สนิ คา้ หรอื รบั บรกิ ารโดยไมเ่ ป็นธรรม
2. สิทธิท่ีจะมีอิสระในการเลอื กหาสินคา้ หรอื บรกิ าร ไดแ้ ก่ สิทธิท่ีจะไดร้ บั สนิ คา้ หรอื รบั
บรกิ ารโดยความสมคั รใจของผบู้ รโิ ภค และปราศจากการชกั จงู ใจอนั ไมเ่ ป็นธรรม
3. สิทธิท่ีจะไดร้ บั ความปลอดภยั จากการใชส้ ินคา้ หรอื บรกิ าร ไดแ้ ก่ สิทธิท่ีจะไดร้ บั สนิ คา้
หรอื บรกิ ารท่ีปลอดภยั มีสภาพและคณุ ภาพไดม้ าตรฐาน เหมาะสมแกก่ ารใช้ ไมก่ อ่ ใหเ้ กิด
อนั ตรายตอ่ ชีวิต รา่ งกายหรือทรพั ยส์ นิ ในกรณีใชต้ ามคาแนะนาหรอื ระมดั ระวงั ตามสภาพ
ของสนิ คา้ หรอื บรกิ ารนนั้ แลว้
4. สิทธิท่ีจะไดร้ ับความเป็นธรรมในการทาสญั ญา ไดแ้ ก่ สิทธิที่จะไดร้ ับขอ้ สัญญา
โดยไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากผปู้ ระกอบธุรกิจ
5. สิทธิท่ีจะไดร้ ับการพจิ ารณาและชดเชยความเสียหาย ไดแ้ ก่ สิทธิทจี่ ะไดร้ ับการ
คุม้ ครองและชดเชยค่าเสียหาย เม่ือมีการละเมิดสิทธิของผบู้ ริโภค
กฎหมายคมุ้ ครองแรงงาน หรอื ท่ีเรยี กกนั โดยท่วั ไปวา่ กฎหมายแรงงาน
คือ กฎหมายท่ีบญั ญตั ิถึงสทิ ธิและหนา้ ท่ีของนายจา้ ง ลกู จา้ งองคก์ ารของ
นายจา้ ง และองคก์ รของลกู จา้ ง รวมทงั้ มาตรการท่ีกาหนด ใหน้ ายจา้ ง
ลกู จา้ ง และ องคก์ รดงั กลา่ วตอ้ งปฏบิ ตั ิตอ่ กนั และรฐั ทงั้ นีเ้ พ่ือใหก้ ารจา้ ง
งาน และการใชง้ าน การประกอบกิจการ และ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง
นายจา้ งและลกู จา้ งเป็นไปโดยเหมาะสม ตา่ งไดร้ บั ประโยชนต์ ามสมควร
การกาหนดระยะเวลาการทางาน และการพกั ผ่อนระหว่างงานของลกู จ้าง
ตาม กฎหมายแรงงาน กาหนดเอาไวว้ า่ งานดา้ นพาณิชกรรม หรอื งานอ่ืน ๆ ท่วั ไประยะเวลา
ในการทางานวนั ละไมเ่ กิน 9 ช่วั โมง แตส่ ปั ดาหห์ น่งึ ไมเ่ กิน 48 ช่วั โมง
งานด้านอตุ สาหกรรมไม่เกนิ สัปดาหล์ ะ 48 ช่วั โมง
งานขนสง่ ไม่เกนิ วันละ 8 ช่วั โมง
งานท่อี าจเปน็ อันตรายต่อสขุ ภาพรา่ งกายตามที่กระทรวงมหาดไทยไดก้ าหนดไว้ ต้องไมเ่ กิน
สัปดาหล์ ะ 42 ช่วั โมง
ลูกจ้างตอ้ งมเี วลาพกั อย่างนอ้ ย 1 ช่วั โมง ภายหลงั จากท่ีเรม่ิ ทางานไปแลว้ ไมเ่ กิน 5 ช่วั โมง
การกาหนดวนั ทางาน และค่าทางานในวนั หยุด
ใน 1 สปั ดาหต์ อ้ งมีวนั หยดุ อยา่ งนอ้ ย 1 วนั โดยวนั หยดุ ตอ้ งหา่ งกนั ไม่
เกิน 6 วนั
ใน 1 ปีลกู จา้ งมีสิทธิหยดุ ตามประเพณีไมน่ อ้ ยกวา่ 13 วนั
ลกู จา้ งท่ีทางานตดิ ต่อกนั เป็นระยะเวลา 1 ปีมีสิทธิลาพกั รอ้ นไดอ้ ยา่ ง
นอ้ ย 6 วนั
การทางานล่วงเวลา และค่าทางานล่วงเวลา
• ค่าลว่ งเวลา : ลกู จ้างที่ทางานในช่วงเวลาทางานในวนั จนั ทร์ – ศกุ ร์ ต้งั แต่เวลา 17.30 / 18.00 น.
(เวลาหลงั เลกิ งานท่ีแตล่ ะบรษิ ัทกาหนด) เป็นตน้ ไป จะไดร้ บั คา่ จา้ งจานวน 1.5 เทา่ ของคา่ จา้ งเป็น
รายช่วั โมง
ค่าทางานในวนั หยดุ : ลกู จา้ งทท่ี างานในวนั หยุดประจาสัปดาห์ หรอื วนั หยดุ นกั ขัตฤกษ์ 0-8
ช่วั โมงแรก (ไมร่ วมเวลาพกั 1 ช่วั โมง) จะไดร้ บั คา่ จา้ งจานวน 1 เทา่ ของคา่ จา้ งเป็นรายช่วั โมง
ค่าล่วงเวลาในวันหยุด : ลูกจ้างทท่ี างานในวนั หยดุ ประจาสปั ดาห์ หรือวนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ์ ตง้ั แต่
ช่ัวโมงที่ 9 เป็นตน้ ไป (ไมร่ วมเวลาพกั 1 ช่วั โมง) จะไดร้ บั คา่ จา้ งจานวน 3 เทา่ ของคา่ จา้ งเป็น
รายช่วั โมง
ความหมายของทรัพยส์ นิ ทางปัญญา
ทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา (Intellectual Property) หมายถงึ ผลงานอนั เกิด
จากการประดิษฐ์ คิดคน้ หรอื การสรา้ งสรรคข์ องมนษุ ย์ ซง่ึ เนน้ ท่ี
ผลผลิตของสติปัญญาและความชานาญ โดยไมจ่ ากดั ชนิดของการ
สรา้ งสรรค์
HTTPS://WWW.YOUTUBE.COM/WATCH?V=FXTKCDE1UI4&T=17S
รูท้ นั ลขิ สทิ ธิ์
กฎหมายภาษตี ามประมวลรัษฎากร
เป็นกฎหมายภาษีฉบบั หนง่ึ ของไทย มสี ถานะเทียบเทา่ พระราชบญั ญตั ิ
เพราะรฐั สภาเป็นผมู้ ีอานาจตราและแกไ้ ข ซง่ึ ปัจจบุ นั มีบทบญั ญตั ิ
ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ภาษีอยู่ 4 ประเภท ไดแ้ ก่ ภาษีเงนิ ได้ ภาษีมลู คา่ เพ่มิ
ภาษีธรุ กิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ โดยอยใู่ นอานาจหนา้ ท่ีและการ
ควบคมุ ของกรมสรรพากร
หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้องกับธุรกจิ ขนาดยอ่ ม