การเขยี นแผนภาพรังสีของแสง 2 เส้น บนเลนสเ์ วา้ เพื่อหาตาแหน่งและลกั ษณะของภาพ
หมายเหตุ : u คือ ระยะวัตถุ และ v คือ ระยะภาพ
ประโยชน์ของเลนส์นนู โดยประยุกต์ใช้กบั ทัศนอปุ กรณด์ ังนี้
ทัศนอุปกรณ์ แนวทางการใชง้ าน
แว่นขยาย เลนสน์ นู ทีม่ รี ะยะโฟกัสประมาณ 2–20เซนติเมตร ในการส่องดูวัตถุ ระยะวตั ถุตอ้ งสน้ั
(magnifying glass) กว่าระยะโฟกสั ของเลนส์ ซง่ึ จะทาใหเ้ กิดภาพเสมือนหวั ต้งั ขนาดขยายใหญข่ ึ้น
กล้องถ่ายรปู ใชห้ ลกั การหักเหของเลนส์นนู คอื เม่อื แสงจากภายนอกจากวตั ถทุ ่ีมรี ะยะมากกว่า 2
(camera) เทา่ ของโฟกสั ของกล้องเดนิ ทางผ่านเลนส์เข้าสูต่ ัวกล้อง จะไดภ้ าพจริงหวั กลบั ขนาดเล็ก
กล้องจุลทรรศน์ ประกอบดว้ ยเลนส์นนู 2 อัน คอื เลนสใ์ กล้วตั ถุและเลนสใ์ กล้ตา จะได้ภาพจรงิ หัวกลับ
(microscope) ขนาดใหญก่ วา่ วตั ถุ สว่ นภาพท่ีเกดิ จากเลนสใ์ กล้ตา จะได้ภาพเสมอื นหวั กลบั กบั วตั ถุจรงิ
กล้องโทรทรรศน์ กล้องโทรทรรศนป์ ระเภทหกั เหแสง และกลอ้ งโทรทรรศน์ประเภทสะทอ้ นแสง
(telescope) ประกอบดว้ ยเลนสน์ ูน 2 อนั คอื เลนส์ใกลว้ ตั ถุและเลนสใ์ กล้ตา
นยั นต์ าและการมองเห็น ดวงตาเป็นอวัยวะที่ซับซ้อน มีส่วนประกอบ
สาคัญหลายอย่างท่ีทางานสัมพันธ์กัน เช่น เลนส์
สว่ นประกอบของนยั น์ตาที่ทาให้มองเห็นส่งิ ต่างๆ ไดม้ ีดงั น้ี ตา กระจกตา เซลล์ประสาทตา กล้ามเนื้อตา โดย
ค น เ ร า ส า ม า ร ถ ม อ ง เ ห็ น สิ่ ง ต่ า ง ๆ ร อ บ ตั ว ไ ด้
เนื่องจากแสงจากวัตถุเคล่ือนที่เข้าสู่ดวงตาแล้วหัก
เหผ่านกระจกตาหรือตาดาท่ีมีลักษณะโค้ง ใส
ไม่มีสี จากน้ันจะมีการหักเหเพิ่มเติมอีกคร้ังท่ีเลนส์
ตา โดยกล้ามเน้ือตาจะปรับความยาวโฟกัสของ
เลนส์ตา เพื่อให้แสงรวมกันที่เรตินาที่ผนังด้านใน
ซึ่ ง มี เ ช ล ล์ ป ร ะ ส า ท ท า ห น้ า ท่ี รั บ แ ส ง สี ต่ า ง ๆ
จากนั้นเรตินาจะส่งสัญญาณผ่านเซลล์ประสาทตา
ให้สมองตคี วามเปน็ ภาพทีม่ องเหน็
นัยนต์ าและการมองเห็น
ดวงตาทสี่ ามารถมองเห็นภาพต่าง ๆ ไดต้ ามปกติ แสงหกั เหจะรวมกันท่เี รตินาพอดี โดยสายตาปกติ
ของมนษุ ยจ์ ะมองเหน็ วัตถุซัดเจนต้ังแตร่ ะยะประมาณ 25 เชนติเมตรจนถงึ ระยะอนนั ต์ แต่ถ้าตาแหน่งที่แสง
หักเหรวมกันไมไ่ ดอ้ ย่ทู เี่ รตนิ ากจ็ ะเกิดเปน็ ความบกพร่องทางสายตา เชน่ สภาวะสายตาสน้ั และสายตายาว
ก. การหกั เหของแสงจากระยะอนนั ต์ ข. การหักเหของแสงเมือ่ วัตถอุ ยูใ่ กลด้ วงตา
ภาพ การหกั เหของแสงของตาคนปกติ
นัยน์ตาและการมองเห็น
ปัญหาการมองเหน็ สายตาสั้น สายตายาว
ปัญหาท่ีเกดิ ขน้ึ คนที่มสี ายตาสน้ั จะมองเห็นวัตถุใกลๆ้ สาหรบั คนทีม่ ีสายตายาวจะมองเหน็
ได้ชดั แตม่ องวัตถุไกลๆ ไมซ่ ัด วัตถไุ กลๆ ไดช้ ดั แตม่ องวตั ถใุ กล้ ๆ
แนวทางการ เนื่องจากแสงทห่ี ักเหผา่ นเลนสต์ าไป ไม่ชดั เน่อื งจากแสงทหี่ กั เหผ่านเลนส์
แก้ปัญหา รวมกนั ที่ตาแหน่งกอ่ นถึงเรตินา ตาไปรวมกันที่ตาแหน่งหลังเรตินา
ใชเ้ ลนสเ์ ว้าเพือ่ กระจายแสงออกให้ ใช้เลนสน์ นู เพือ่ รวมแสงเข้าให้
ไปตกบนเรตินาพอดี ไปตกบนเรตนิ าพอดี
นยั น์ตาและการมองเหน็
เกลด็ ความร:ู้ การทาเลสิก (Lasik)
การทาเลสกิ (Laser-Assisted in Situ Keratomileusis)
คอื การแก้ไขความผดิ ปกติของสายตา โดยการใชเ้ ลเซอร์
เปล่ยี นความโคง้ ของกระจกตาตามความเหมาะสม
เพื่อให้แสงหักเหไปรวมกันทเ่ี รตินาพอดี
3. ความสว่าง
brightness
การจัดความสว่างของห้องผ่าตัดใน
โรงพยาบาลให้เหมาะสมได้มาตรฐาน
เป็นเรื่องท่ีสาคัญและควรพิถีพิถัน เพ่ือ
ความปลอดภัยของผู้ป่วย เนื่องจากห้อง
ผ่าตัดต้องมีความสว่างมากเพียงพอ
สาหรับการทางานท่ีละเอียดอ่อน แต่
หากความสว่างมากเกินไปก็อาจส่งผล
ต่อแพทย์ เกิดอาการตาพร่าได้ เมื่อเงย
ห น้ า ข้ึ น แ ล ะ ป ะ ท ะ กั บ แ ส ง จ า ก
แหลง่ กาเนดิ โดยตรง
3. ความสว่าง
brightness
เราสามารถมองเห็นสิ่งต่าง ๆ รอบตัวได้ เพราะ
มีแสงจากวัตถุเข้าสู่ดวงตาเรา ปริมาณแสงท่ีเข้าสู่
ดวงตา ก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการมองเห็น เรียก
ปรมิ าณแสงทต่ี กกระทบบนพน้ื ทหี่ นงึ่ ๆ ว่า ความสว่าง
(illuminance) มีหน่วยเป็น ลักซ์ (lux) เราสามารถ
วัดความสว่างบนพ้ืนผิวหนึ่งๆ ได้โดยใช้อุปกรณ์ท่ี
เรียกว่า ลักซม์ เิ ตอร์ (luxmeter) ดังภาพ
ภาพแสดง ลกั ซม์ เิ ตอร์ (luxmeter)
3. ความสวา่ ง ตาราง แสดงความสว่างที่เหมาะสมในการทากจิ กรรมตา่ ง ๆ
brightness สถานที่ ความสวา่ ง (ลกั ซ)์
ในชีวิตประจาวัน เราต้องทากิจกรมท่ี บา้ น
หลากหลายในสถานที่ต่าง ๆ ซ่ึงความสว่างที่เหมาะสม ห้องน่ังเลน่ ห้องครัว หอ้ งอาหาร 150 - 300
ห้องอ่านหนงั สือ หอ้ งทางาน 500 - 1,000
มีความสาคัญและจาเป็นต่อดวงตาของเราเป็นอย่าง โรงเรียน
มาก ความสว่างท่ีเหมาะสมต่อการทากิจกรรมใน 75-300
สถานที่ต่างๆ มคี วามแตกตา่ งกัน ดงั ตาราง โรงพลศึกษา หอประชุม 300 - 750
ห้องเรียน 750 - 1,000
การจัดความสว่างมีผลต่อการทางานของดวงตา ห้องสมุด หอ้ งปฏิบตั กิ าร
ถ้าความสว่างน้อยเกินไป เช่น การอ่านหนังสือในห้อง โรงพยาบาล
ที่มีแสงสลัวๆ ทาให้ดวงตาทางานมากเกินไปจากการ หอ้ งตรวจโรค 200 - 750
เพ่งมอง จนเกิดอาการเมื่อยลา ปวดศีรษะ หรือถ้ามี หอ้ งผา่ ตัด 2,400 - 10,000
ความสว่างมากเกินไป เช่น การมองวัตถุในเวลาที่มี สานักงาน 30-75
บนั ไดฉุกเฉิน 75 -200
แสงแดดจ้า กท็ าให้ตาพร่ามัว แสบตา ปวดศรี ษะได้ ทางเดินภายในอาคาร
ทบทวนคาศพั ท์ เรอ่ื ง แสง
-กฎการสะทอ้ น law of reflection -รงั สตี กกระทบ incident ray แLigสhงt
-รังสสี ะท้อน reflected ray -รังสีหักเห refracted ray
-มุมตกกระทบ angel of incidence -มมุ สะท้อน angle of refraction
-กระจกเงาเว้า concave mirror -กระจกเงานูน convex mirror
-จุดยอด vertex -จดุ ศนู ย์กลางความโคง้ center of curvature
-รัศมีความโคง้ ของกระจก radius -เส้นแนวฉาก normal line
-ภาพจรงิ real image -ภาพเสมือน virtual image
-จุดโฟกัส focal point -จดุ โฟกัสเสมือน virtual focal point
-ระยะวตั ถุ object distance -ระยะภาพ mage distance
-มมุ วิกฤต critical angle -ปรากฏการณม์ ิราจ mirage
ทบทวนคาศัพท์ เร่อื ง แสง แLigสhงt
-การสะท้อนกลับหมดของแสง total internal reflection of light
-การกระจายแสง dispersion
-สเปกตรมั ของแสง visible light spectrum
-ร้งุ rainbow
-เลนส์ lens -เลนสน์ ูน convex lens
-เลนสเ์ ว้า concave lens -กลอ้ งจุลทรรศน์ microscope
-ดวงตามนุษย์ human eye -ความสวา่ ง brightness, illuminance
-ลักซ์ lux - ลักซม์ ิเตอร์ luxmeter
ขอ้ มลู อ้างอิงจาก
- คู่มอื การใชห้ ลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
จดั ทาโดยสถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
- เขียนแผนการจดั การเรียนรู้ โดยศกึ ษาตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลางกลุ่มสาระ
การเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา
ข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551
-หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 เล่ม 1
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)
สสวท. กระทรวงศึกษาธกิ าร
Lแiสghงt
Light Light Light Light Light Light Light Light Light Light Light Light Light