เรียนง่าย เล่นเป็นเร็ว มีเทคนิค
กีตาร์ น่าเล่น
รวมรวมเคล็ดความรู้ มาจากประสบการณ์
รวมเนื้อหาครอบคลุมทุกเรื่องเกี่ยวกับกีต้าร์
มงคลพั ฒน์ ทองเรือง
1
มงคลพัฒน์ ทองเรือง
กีต้าร์น่าเล่น 2
มงคลพัฒน์ ทองเรือง
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดเเห่งชาติ
มงคลพัฒน์ ทองเรือง
กีต้าร์น่าเล่น--กรุงเทพฯ : ไพลิน. 2553 96หน้ า
1. กีตาร์. I.ชื่อเรื่อง
787.87
ISBN 978-616-15-0219-5
ประทานกรรมการ พล.อ. วิชา ศิริธรรม
ประธานกรรมการบริห
าร ฉํัตรเฉลิม เแลิมชัยวัฒน์
ที่ปรึกษากฎหมาย อนันต์ เเย้มเกษร
ผู้จัดการสำนักพิมพ์ สมบัติ สุทธิจักร
บรรณาธิการบริหาร ลาวัณย์เฉลิมชัยวัฒนิ์
บรรณาธิการต้นฉบับ มงคลพัฒน์ ทองเรือง
กองบรรณาธิการ สุรีรัตน์ เซ็นหลวง สุพรรษา อินวงค์
ศิริพร พงศ์สันต์วิภา มานพ ทองรุ่ง
พิสูจน์อักษร ศักดิ์ชัย บางมด
ออกเเบบปก มะจัง
ศิลปกรรม คีย์ ริชเนสส์
พิมพ์ บริษัท เเสงทองพริ้นติ้นติ้ง จำกัด
คำนำสำนักพิมพ์ 3
กีตาร์เป็นเครื่องเล่นดนตรีที่เก่าเเก่ที่สุดชนิดหนึ่งของมนุษย์
เเละวัยรุ่นส่วนใหญ่ก็สนใจเล่นกีตาร์กันเยอะ เพราะกีตาร์ถ้า
เล่นเป็นเเล้วมีเเต่ ความสุข ไม่เครียด จะหลงไปกับเสียงอันไพเราะเพาะ
หนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนได้เขียนมาจากประสบการณ์ในการสอนเลย
เเละเนื้อหาก็เหมาะสมกับผู้ที่กำลังจะเริ่มหัดเล่น เเละเเนะนำวิธีการเล่นมีภาพ
เรียนง่ายมีเทคนิค
ถ้าคุณผู้อ่านเล่นเป็นรับรองจะหลงอยู่กับโลกของดนจรีไม่มีพิษภัยกับใคร
มีเเต่ประโยชน์ กับความหรรษาจริง
ปรารถนนาดี
บรรณาธิการ
คำนำ 4
หนังสือเล่มนี้ ผมได้รวบรวมจากความรู้ เเละประสบการณ์ใน
การในการสอน มีเนื้อหาเหมาะสำหรับผู้ที่กำลังเริ่มหัดเล่นกีตาร์ ซึ่ง
จ่ ะทำให้รู้จักว่ากีตาร์คืออะไร เเละเราจะมีวิธีเล่นมันอย่างไร ให้ไพเราะ
ผมได้สอดเเทรกประวัติของกีตาร์ เเละทฤษฎีดนตรีไปบ้างเล็กน้อย
เพื่อประดับความรู้ ของผู้ศึกษากีตารืเพื่อจะได้นำไปใช้ในการปฎิบัติ
ประกอบกับได้จัดทำเเบบเทคนิคต่างๆ เพื่อให้ฝึกไปพร้อมการ
คิดวิเคราะห์ ขอให้ฝึกฝนตามขั้นตอน เเละสร้างความเข้าใจในเเบบ
ฝึกหัดต่างๆ โดยเฉพาะการจับคอร์ด สำหรับผู้เริ่มต้นอาจจะยาก
ลำบากบ้าง เเต่เราจะสนุกมากๆถ้าผ่านระยะเจ็บนิ้วไปได้
หวังว่าหนังสือเล่มนี้คงเป็นประโยชน์เเละเป็นคู่มือในการฝึกฝน
บ้างไม่มากก็น้อย ขอให้สนุกกับการเล่นกีตาร์นะครับ
มงคลพัฒน์ ทองเรือง
สารบัญ 6
ประวัติกีตาร์ 8
13
องค์ประกอบของกีตาร์ 14
15
วิธีเล่นกีตาร์
16
การดีด
การตีคอร์ด
เทคนิคความรู้
ประวัติกีตาร์ 6
กีตาร์ (Guitar) เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง จัดเป็นพวกเครื่องสาย มักจะเล่นด้วยนิ้วมือ
ซ้าย และดีดด้วยนิ้วมือขวาหรือใช้ปิ๊กดีดกีตาร์ เสียงของกีตาร์นั้นเกิดจากการสั่น
สะเทือนของสาย ทำให้เกิดกำทอน (resonance) แก่ตัวกีตาร์และคอกีตาร์
กีตาร์นั้น มีทั้งแบบกีตาร์อะคูสติก และกีตาร์ไฟฟ้ า บางตัวก็เป็นได้ทั้งสองอย่าง กีตาร์
มีส่วนตัวเป็นกล่องกำทอน ซึ่งในกีตาร์อะคูสติกจะเจาะเป็นช่อง ส่วนกีตาร์ไฟฟ้ ามักจะ
ตัน และมีโพรงในส่วนคอกีตาร์ โดยทั่วไปแล้วส่วนหัวของกีตาร์จะยืดขึ้นไปจากคอ เพื่อ
ใส่ลูกบิดหมุนสายสำหรับปรับเสียง
กีตาร์เป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้แพร่หลายและใช้กับดนตรีหลากหลายสไตล์ นับเป็น
เครื่องดนตรีที่นิยมใช้บรรเลงเดี่ยวอย่างกว้างขวางที่พบเห็นมากที่สุดคือกีตาร์คลาสสิก
และยังเป็นเครื่องดนตรีหลักในวงดนตรีประเภทบลูส์ และดนตรีร็อกอีกด้วย กีตาร์
สามารถเล่นในยามว่าง หรือ เป็นงานอดิเรก ได้ดี
ปกติกีตาร์จะมี 6 สาย แต่แบบ 4- 7- 8- 10- 12- สายก็มีเช่นกัน
เครื่องดนตรีที่มีลักษณะคล้ายกีตาร์เป็นที่นิยมมากว่า 5,000 ปีเป็นอย่างต่ำ โดยเริ่ม
เป็นที่นิยมในแถบเอเชียกลาง เรียกว่าซิตาร่า (Sitara) เครื่องดนตรีที่มีรูปแบบ
คล้ายคลึงกีตาร์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ค้นพบมีอายุ 3,300 ปี เป็นหินสลักของกวีอาณาจักร
โบราณฮิตไตต์
คำว่ากีตาร์มาจากภาษาสเปนคำว่า guitarra ซึ่งมาจากภาษากรีกอีกทีคือคำว่า Kithara
kithara จากหลายแหล่งที่มาทำให้คำว่ากีตาร์น่าจะมีรากศัพท์มาจากภาษาตระกูลอินโดยู
โรเปียน guit- คล้ายกับภาษาสันสกฤต ที่แปลว่า ดนตรี และ -tar หมายถึง คอร์ด หรือ
สาย คำว่า qitara เป็นภาษาอาราบิก ใช้เรียก Lute lute ส่วนคำว่า guitarra เกิดขึ้นเมื่อ
เครื่องดนตรีชนิดนี้ถูกนำมาที่ Iberia (หรือ Iberian Peninsular เป็นคาบสมุทรทางทิศ
ตะวันตกเฉียงใต้ในทวีปยุโรป) โดย Moors
7
เพิ่มหัวเรื่องย่อย
กีตาร์ในยุคปัจจุบัน มาจากเครื่องดนตรีที่เรียกว่า cithara ของชาวโรมัน ซึ่งนำเข้าไป
แพร่หลายในอาณาจักรฮิสปาเนีย หรือสเปนโบราณ ประมาณ ค.ศ. 40 จากนั้น
เปลี่ยนแปลงรูปแบบจนกลายมาเป็น เครื่องดนตรีที่มี 4 สายเรียกว่า อู๊ด (oud) นำเข้า
มาโดยชาวมัวร์ในยุคที่เข้ามาครอบครองคาบสมุทรไอบีเรียน ในศตวรรษที่ 8 ส่วนใน
ยุโรปมีเครื่องดนตรีที่เรียกว่า ลุต (lute) ของชาวสแกนดิเนเวียมี 6 สาย ในสมัย ค.ศ.
800 เป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับความนิยมในกลุ่มชาว(ไวกิ้ง)
มีอีกผู้หนึ่ งที่มีความสำคัญต่อกีตาร์เช่นกันคือ
Francisco Tarrega (1854-1909)
องค์ประกอบของกีตาร์ 8
กีตาร์ คือ?
ได้อ่านประวัติกันมาบ้างเเล้วคงรู้กันดีว่ามีอยู่บนโลกเรานานเเล้ว
ซํ้ายังเป็นที่นิยมเเพร่หลายอีกด้วย มันสามารถให้กำเนิดเสียงได้
หลายรูปเเบบ ตามเเต่จินตนาการของผู้เล่น (เรียกว่า หวาน ซึ้ง โหด
มันส์ ฮา มีครบเสียง) ซึ่งมีคำกล่าวที่ว่าการจะเล่นกีตาร์ให้ดีนั้น ผู้เล่น
ต้องเป็นหนึ่งเดียวกับกีตาร์ เเละกีตาร์คือเรา
มาเริ่มรู้จักกีตาร์กันเถอะ 9
เริ่มจากส่วนประกอบของมันที่สำคัญมีดังนี้
1) ลูกบิดเพื่อหมุนตั้งเสียงสูงตํ่า
2) ข้อต่อส่วนหัว
จะทำหน้ าที่จัดระยะการพาดของสายกีตาร์
3) ส่วนคอ 10
เป็นส่วนที่สำคัญมากส่วนหนึ่ง เพราะเป็นส่วนเเรกใรการกำเนิดเสียง
4)เหล็กขีดเเบ่งระยะคอ
เป็นตัวกำหนดระยะความถี่ของเสียงที่สำคัญสังเกตไหมว่า เสียงยิ่งสูง
ระยะห่างจะยิ่งถี่ขึ้น ตือช่วงจะเล็กลงนั่นเอง
5) ลำตัว 11
มีหน้ าที่คล้ายๆ ตู้ลำโพง กล่าวคือจะรวมมวลเสียงที่เกิดจากสาย
เเล้วปล่อยออกมาทางโพรงเสียง
6) สะพานสาย
ทำหน้ าที่ยึดหัวสาย ให้พาดต่อไปยังลูกบิด
7) สายกีตาร์ 12
สาย 1 E สาย 2 B
สาย 3 G สาย 4 D
สาย 5 A สาย 6 E
13
ตารางฝึกคอร์ด
วิธีการเล่น 14
เอาละครับลองเอา pick ดีดสายดู เริ่มจากสายเปล่า
(ไม่ต้องกดสายด้วยมือซ้าย) หักข้อมือลงเเละขึ้นลงเเละขึ้นช้าๆ
เเล้วต่อไปสายอื่นจนครบ จาก 1 ไป 6 จาก 6 ไป 1
ระวังอย่าไปดีดโดนสายที่เราไม่ต้องการลองดูอีกครั้ง
ลง/ขึ้น/ ลง/ขึ้น ทีละสาย
สังเกตไหมว่าออกจะเทอะทะไม่สะดวก โอเค ไม่เป็นไร
ค่อยทำไปจนชิน ข้อสำคัญเวลาดีดอย่าเอา pick ไปกดสาย
หรือเหนี่ยวสายนะครับ ดีดผ่านไปนุ่มๆเบาๆ
การตีคอร์ด 15
บางคนเรียกว่าการตีคอร์ด ต่างกับการดีดที
ละสายตรงที่จำเป็ นต้องใช้ข้อศอกเป็ นกล้าม
เนื้ อหลักเป็ นการดีดโยกขึ้นลงเเละดีดหลาย
สายไปพร้อมๆกัน ตามจำนวนตัวโน๊ ตที่เรากด
เพื่อให้เกิดเสียงคอร์ดออกมาดังพร้อมกัน
เเต่อาจมีข้อมือโยกผสมในกรณีต้องการความเร็ว
หรือที่เรียกว่าการ สับคอร์ด
นอกนั้นก็หลักการเดียวกันการดีดทีละสายเรามาลอง
ฝึกตีคอร์ดดูครับ เริ่มจากจับ pick เเล้วลองดีดผ่านลง
อย่างรวดเร็วตั้งเเต่สาย 6 ไป 1
คงไม่ยากเกินไปนะครับกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
กีตาร์เเละวิธีการฝึ กความพร้อมเบื้ องต้นเพื่ อเตรียม
ตัวเล่นกีตาร์ในขั้นตอนต่อไป
เทคนิคความรู้เบื้องต้น 16
ข้อสำคัญ ควรฝึกมือซ้ายมือขวาให้สัมพันธ์กันจนชำนาญ
รวดเร็ว เเละเเม่นยำ โดยเปลี่ยนตำเเหน่งการกด ให้สูงขึ้น
ไปเรื่อยๆ ทำอย่างนี้ทุกวัน
ก่อนจากกันไปขอทิ้งท้ายว่า ให้ขยันฝึกฝนเเต่ละขั้นตอน
ให้ชำนาญก่อนค่อยไปฝึกขั้นตอนต่อไปนะครับ ผมเป็นกำลังใจ
ให้เพื่อนๆทุกคน
กองบรรณาธิการ
บริษัท ไพลินบุ๊คเน็ต จำกัด
81 ถนนเสรีไทย เเขวงมีนบุรี กรุงเทพ 10510
หรือโทรศัพท์ 0 2540 19191217
E-mail - [email protected]