The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานเชิงวิชาการ-จิตวิทยาการศึกษา-3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-10-19 04:03:51

รายงานเชิงวิชาการ-จิตวิทยาการศึกษา-3

รายงานเชิงวิชาการ-จิตวิทยาการศึกษา-3

จติ วิทยาการศกึ ษา

ทิพาวดี ศรสี งวน กลมุ่ 8 เลขที่ 3

รายงานเล่มน้เี ปน็ ส่วนหน่ึงของการศึกษาวิชาการค้นควา้ และการเขยี นรายงานเชงิ วชิ าการ
สาขาการศึกษาปฐมวยั คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564



จิตวิทยาการศึกษา

ทพิ าวดี ศรีสงวน กลมุ่ 8 เลขท่ี 3

รายงานเลม่ น้ีเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวชิ าการค้นควา้ และการเขียนรายงานเชงิ วิชาการ
สาขาการศึกษาปฐมวยั คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี
ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564



คำนำ

รายงานฉบบั นี้จดั ทำข้นึ เพ่ือปฏิบัติการเขียนรายงานการค้นคว้าทถ่ี กู ต้องอย่างเปน็ ระบบ อันเป็น
สว่ นหนง่ึ ของการศึกษารายวิชา 01-210-017 การคน้ คว้าและเขียนรายงานเชงิ วิชาการ ซ่งึ จะนำไปใชใ้ น
การทำรายงานค้นคว้าสำหรบั วิชาอื่นได้อกี ตอ่ ไป การท่ีผจู้ ัดทำเลือกทำเร่ือง “ จติ วทิ ยาการศกึ ษา ”
เนื่องด้วยจติ วิทยาการศกึ ษาเปน็ วิทยาศาสตรท์ ศี่ กึ ษาวิจยั เกีย่ วกบั การเรยี นรแู้ ละพัฒนาการของผเู้ รียน
การเรียนการสอนหรอื ในชน้ั เรยี น เพือ่ ค้นคิดทฤษฎีและหลกั การที่จะนำมาช่วยแกป้ ญั หาทางการศึกษา
และสง่ เสริมการเรียนการสอนใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ ดังนน้ั จงึ จำเปน็ อยา่ งมากในการทีต่ อ้ งศึกษาและเรียนรู้
เพอื่ จะไดเ้ ข้าใจพฤติกรรมของผู้เรียนและกระบวนการเรียนรู้

รายงานเล่มน้กี ลา่ วถึงเน้ือหาเก่ยี วกับ ความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ จดุ มุง่ หมาย แนวคดิ
ของนกั จิตวิทยา เหมาะสำหรับผู้ท่ตี อ้ งการรบั ร้คู วามเข้าใจเกยี่ วกบั จิตวทิ ยาการศกึ ษาเกย่ี วกบั แนวคดิ
ของนกั จิตวิทยาและหลักของทฤษฏีการศกึ ษาอยา่ งถกู ตอ้ งผทู้ ศ่ี ึกษาสามารถนำไปปรับในการเรยี นรู้ใน
ชวี ิตประจำวันและเผยแพร่ความรแู้ กผ่ ูท้ สี่ นใจได้

ขอบคุณผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.พนิดา สมประจบ ท่ีกรณุ าให้ความรแู้ ละคำแนะนำโดยตลอดและ
ขอขอบคุณบรรณารักษ์และเจ้าหน้าทีข่ องสำนักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ และห้องสมุดคณะ
เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ทีใ่ หค้ วามสะดวกในการคน้ หาข้อมูล รวมไปถึงทา่ นเจ้าของหนังสอื บทความ
งานวิจยั ทีผ่ ้เู ขยี นใชอ้ ้างอิงทกุ ทา่ นหากมขี ้อบกพร่องประการใด ผูเ้ ขยี นขอน้อมรับไว้เพอ่ื ปรับปรงุ ต่อไป

ทิพาวดี ศรสี งวน
21 ตุลาคม 2564



สารบัญ

หน้า

ค คำนำ………………………………………………………………………………………………………………………. ก

สารบัญภาพประกอบ………………………………………………………………………………………………… ง

บทท่ี

1 บทนำ………………………………………………………………………………………………………………. 1

1.1 ความหมายของจติ วิทยาการศึกษา...................................................................... 2

1.2 ความสำคัญของจติ วทิ ยาการศกึ ษา………………………………………………………….... 3

1.3 ประโยชน์ของจิตวิทยาการศกึ ษา………………………………………………………………. 5

1.4 จุดมงุ่ หมายของจิตวทิ ยาการศกึ ษา...................................................................... 5

1.5 แนวความคิดของนกั จติ วทิ ยาศกึ ษาพฤติกรรม.................................................... 6

1.6 แนวความคิดของนกั จิตวทิ ยากลุ่มตา่ งๆเก่ียวกบั พฤติกรรมมนษุ ย.์ ...................... 10

2 หลักทฤษฏีการศึกษาและจิตวิทยา…………………………………………………………………....... 23

2.1 ทฤษฏจี ิตวิทยา...................................………………………………………………………... 23

2.1.1 ทฤษฎพี ฤตกิ รรมนยิ ม..............………………………………………………………….. 23

2.1.2 ทฤษฎพี ทุ ธปิ ัญญานยิ ม...........…………………………………………………………... 25

2.1.3 ทฤษฎกี ารศึกษากลุม่ ปญั ญานยิ ม…………………………………………………....... 28

2.2 การศึกษา 29

2.2.1 ธรรมชาติของการศึกษา.............................................................................. 29

2.2.2 ลำดบั ข้นั ตอนของการศึกษา....................................................................... 29

2.2.3 ปัจจยั ท่ีมอี ิทธพิ ลต่อการศึกษา.................................................................... 30

3 สรุป…………………………………………………………………………………………………………………. 33

บรรณานุกรม……………………………………………………………………………………………………………. 36



สารบัญภาพประกอบ

ภาพที่ หน้า
1. ทฤษฎีเช่ือมโยงธอรน์ ไดค์…………………………………………………………………………….. 7
2. ทฤษฎีการวางเงือ่ นไขของฟาลอฟ........................................................................... 8
3. ทฤษฎีการวางเง่ือนไขอัตโนมัติของวตั สัน................................................................ 9
4. ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ของฮัลล์........................................................................................ 10
5. ทฤษฏีการวางเง่อื นไขของฟาลอฟ............................................................................ 11
6. ทฤษฏีการวางเงื่อนไขของวัตสัน…………………………………………………………………….. 12
7. ทฤษฏกี ารวางเงือ่ นไขต่อเน่อื งของกทั ธรกี ทั ธรี………………………………………………… 13
8. ทฤษฏีการวางเงื่อนไขโอเปอรแ์ รนตข์ องสกินเนอร์………………………………………….. 13

1

บทที่ 1

บทนำ

จติ วทิ ยาการศึกษาเป็นศาสตรเ์ ก่ียวกบั การศึกษาเรอ่ื งพฤติกรรมต่างๆท่ีเก่ียวข้องกบั มนษุ ยแ์ ละ
สถานการณ์การเรียนการสอนสามารถวดั ไดด้ ้วยหลกั วทิ ยาศาสตร์โดยเน้นทำความเข้าใจเกยี่ วกบั
พฤติกรรมการเรยี นรู้และการพฒั นาความสามารถของผู้เรียน

การศึกษา มคี วามสำคัญมาก คือ เปน็ การสร้างคนให้มีความรู้ ความสามารถมีทกั ษะพน้ื ฐานที่
จำเป็นมีลกั ษณะนิสยั จิตใจที่ดีงาม มคี วามพรอ้ มทจ่ี ะตอ่ ส้เู พื่อตนเองและสังคม มีความพรอ้ มทีจ่ ะ
ประกอบการงานอาชพี ได้ การศึกษาชว่ ยให้คนเจริญงอกงาม ทงั้ ทางปญั ญา จติ ใจ รา่ งกาย และสังคม
การศึกษาจึงเปน็ ความจำเป็นของชีวิตอีกประการหนง่ึ เปน็ ปจั จัยท่ีจะชว่ ยแก้ปัญหาทุก ๆ ด้านของชีวิต
และเปน็ ปัจจัยทสี่ ำคญั ท่ีสดุ ของชีวิตในโลกที่มีกระแสความเปล่ียนแปลงทางด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยอี ย่าง รวดเร็ว และสง่ ผลกระทบใหว้ ิถีดำรงชวี ติ ต้องเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็วเช่นเดยี วกัน
การศึกษาย่ิงมีบทบาทและความจำเป็นมากขนึ้ ดว้ ย การศึกษาทจ่ี ะช่วยให้ทกุ คนมีชีวติ ทดี่ ี มีความสขุ

ปจั จุบนั จิตวิทยาการศกึ ษาเป็นศาสตร์ท่เี กยี่ วกับกบั การสอนและการศกึ ษา ดังน้ันทตี่ อ้ งการผู้
ศึกษาและเรยี นรเู้ รอ่ื งจติ วิทยาการศึกษาจึงสามารถนำความรู้ไปใชไ้ ด้อย่างกว้างขวาง ไมว่ ่าจะเป็น ทง้ั นี้
เพราะหลกั การทางจิตวทิ ยาสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ไดก้ ับงานต่างๆ มากมาย ความสำคญั และคุณค่าของ
วิชาจติ วิทยา เก่ยี วขอ้ งกบั ชวี ติ มนุษยใ์ นดา้ นต่างๆ เช่น พฤติกรรมของบุคคลต่างๆ บคุ ลิกภาพที่บง่ บอก
ออกมาโดยเดน่ ชัด การส่งเสรมิ คุณภาพชีวติ ในดา้ นต่างๆของคนเราให้ดีขึ้น ทง้ั ในเรื่องการปรับตวั ให้เขา้
กบั สังคม เป็นการใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั การเรยี นรทู้ ีเ่ ปน็ ระบบทง้ั ด้านทฤษฎี หลกั การและสาระอนื่ ๆ ที่
เก่ียวข้องกบั การเรียนรู้ของมนษุ ยท์ ้ังเด็กและผ้ใู หญ่ เพือ่ ให้ครสู อนสามารถนำเทคนคิ และวธิ ีการการเรยี นรู้
ไปใช้ในการเรียนการสอน การแก้ไขปัญหาในชัน้ เรียน ตลอดจนสามารถดำรงตนอยใู่ นสงั คมได้อย่างมี
ความสุข

2

1.1 ความหมายของจติ วิทยาการศึกษา

จติ วทิ ยาการศึกษา (educational psychology) หมายถึง วิทยาศาสตร์ทศ่ี ึกษาวิจัยเก่ียวกบั
การเรียนรแู้ ละพัฒนาการของผเู้ รยี น ในสภาพการเรยี นการสอนหรอื ในชั้นเรียน เพ่ือคน้ คิดทฤษฎีและ
หลกั การท่ีจะนำมาชว่ ยแก้ปญั หาทางการศึกษาและส่งเสรมิ การเรยี นการสอนให้มีประสิทธภิ าพ จิตวิทยา
การศึกษามบี ทบาทสำคญั ในการจัดการศึกษา การสร้างหลักสูตรและการเรยี นการสอน โดยคำนงึ ถึงความ
แตกต่างของบคุ คล นักการศึกษาและครจู ำเปน็ จะตอ้ งมีความรพู้ นื้ ฐานทางจิตวิทยาการศึกษา เพอื่ จะได้
เข้าใจพฤติกรรมของผู้เรียนและกระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนแก้ปญั หาต่างๆ เก่ยี วกบั การเรียนการสอน
โดยทั่วไปแลว้ เนอื้ หาของจติ วทิ ยาการศกึ ษาทเี่ ป็นความรูพ้ นื้ ฐานสำหรับครแู ละนักการศกึ ษา ประกอบ
ไปดว้ ยหัวข้อดงั นี้

1. ความสำคญั ของวตั ถุประสงค์ของการศึกษาและบทเรยี น ไดเ้ นน้ ความสำคัญของการระบุ
วัตถุประสงคข์ องการศกึ ษา บทเรียน และหนว่ ยการเรียน เพราะวัตถุประสงคจ์ ะเป็นตัวกำหนดการจดั การ
เรียนการสอน

2. ทฤษฎีพัฒนาการและทฤษฎีบุคลิกภาพ เป็นเรือ่ งที่นักการศกึ ษาและครจู ะตอ้ งมคี วามรู้
เพราะ จะชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจเอกลกั ษณ์ของผเู้ รียนในวัยตา่ งๆ โดยเฉพาะวัยอนุบาล วยั เดก็ และวยั ร่นุ ซงึ่ เป็น
วัยทกี่ ำลังศกึ ษาในโรงเรยี น

3. ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลและกลุ่ม นอกจากมีความเข้าใจพฒั นาการของเด็กวัยต่างๆ แล้ว
ต้องร้ถู ึงความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลและกลุ่มทางด้านระดบั เชาวน์ปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ เพศ
สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งนกั จติ วิทยาไดค้ ดิ วธิ กี ารวจิ ัยทจ่ี ะชว่ ยชใ้ี ห้เหน็ ว่าความแตกตา่ งระหว่าง
บุคคลเปน็ ตัวแปรท่สี ำคัญในการเลือกวธิ สี อนในการสรา้ งหลักสตู รทเี่ หมาะสม

4. ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ นกั จติ วทิ ยาท่ศี ึกษาวิจยั เกยี่ วกับการเรียนรู้ นอกจากจะสนใจวา่ ทฤษฎกี าร
เรยี นรู้จะชว่ ยนักเรียนใหเ้ รยี นรู้และจดจำอยา่ งมีประสิทธภิ าพไดอ้ ย่างไรแลว้ ยงั สนใจองคป์ ระกอบ
เกย่ี วกบั ตัวของผเู้ รยี น เชน่ แรงจูงใจวา่ มคี วามสัมพันธก์ บั การเรยี นร้อู ยา่ งไร ความรู้เหล่านี้ก็มคี วามสำคัญ
ตอ่ การเรียนการสอน

3

5. ทฤษฎกี ารสอนและเทคโนโลยที างการศกึ ษา นักจติ วทิ ยาการศึกษาไดเ้ ป็นผู้นำในการบกุ เบิก
ตง้ั ทฤษฎีการสอนซ่ึงมีความสำคัญและมีประโยชน์เท่าเทยี มกับทฤษฎกี ารเรียนรู้และพฒั นาการในการ
เกย่ี วกบั การเรยี นการสอน สำหรบั เทคโนโลยใี นการสอนท่ีจะช่วยครไู ด้มากก็คือ “ คอมพวิ เตอร์ ” ที่เข้า
มาช่วยมีบทบาทในการชว่ ยสอน

6. หลักการสอนและวิธีสอน นักจติ วิทยาการศกึ ษาได้เสนอหลกั การสอนและวธิ กี ารสอนตาม
ทฤษฎีทางจิตวิทยาที่แตล่ ะท่านยึดถอื เชน่ หลักการสอนและวิธีสอนตามทัศนะนักจิตวทิ ยาพฤตกิ รรมนิยม
ปัญญานยิ ม และมนุษย์นิยม

7. หลักการวดั ผลและประเมนิ ผลการศกึ ษา ผู้ท่ีมคี วามรูพ้ ้ืนฐานเกี่ยวกบั เรือ่ งน้ีจะช่วยให้ทราบว่า
การเรยี นการสอนมปี ระสิทธภิ าพหรือไม่ หรอื ผู้เรยี นได้สมั ฤทธิผลตามวัตถุประสงคเ์ ฉพาะของแตล่ ะวชิ า
หรอื หน่วยเรยี นหรือไม่ เพราะถ้าผู้เรียนมสี ัมฤทธิผลสูง กจ็ ะเป็นผลสะทอ้ นว่าโปรแกรมการศกึ ษามี
ประสิทธภิ าพ

8. การสร้างบรรยากาศของหอ้ งเรยี น ให้เอ้อื ตอ่ การเรียนรู้และช่วยเสรมิ สรา้ งบุคลิกภาพของ
นักเรยี นให้ดขี ้นึ (สดุ ารตั น์ เป้ทุ่ง, ม.ป.ป. :ออนไลน์ )

1.2 ความสำคญั ของจติ วทิ ยาการศกึ ษา

จิตวทิ ยาการศกึ ษาเปน็ ศาสตรท์ ี่ศึกษาเก่ยี วกบั พฤตกิ รรมมนุษย์ ดงั นน้ั ผศู้ กึ ษาวชิ าจิตวทิ ยา
การศกึ ษาจงึ สามารถนำความรูไ้ ปใช้ไดอ้ ย่างกว้างขวาง ตลอดจนมีความสำคญั ต่อประกอบอาชีพตา่ งๆ
ทงั้ นีเ้ พราะหลกั การทางจติ วทิ ยาสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ไดก้ บั งานตา่ งๆ มากมาย ความสำคญั และคณุ คา่
ของวชิ าจติ วิทยา เกี่ยวข้องกบั ชีวติ มนุษยใ์ นดา้ นต่างๆ ดังต่อไปน้ี

1. จติ วทิ ยาการศึกษาช่วยให้ผูศ้ ึกษาเกิดความเข้าใจตนเอง โดยธรรมชาติของมนุษยน์ ้ัน มกั ให้
ความสนใจตนเองมากกวา่ ผูอ้ น่ื และอยากรอู้ ยากเหน็ เก่ยี วกับตนเอง การศึกษาจิตวทิ ยาซง่ึ ใหค้ ำตอบ
เกยี่ วกับธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ในแงม่ ุมตา่ งๆ จงึ ชว่ ยให้ผ้ศู กึ ษานำไปเปรียบเทยี บกบั ตนเองและเกดิ ความ
เข้าใจตนเองไปด้วย นอกจากน้ียงั ช่วยให้มนุษย์รู้จกั ยอมรบั ตนเองและไดแ้ นวทางในการจัดการกับตนเอง
อยา่ งมีประสิทธิภาพมากขึน้ เชน่ อาจเปน็ การปรบั ตัว พฒั นาตน หรือเลือกเสน้ ทางชวี ิตท่ีเหมาะสมกับต้น
เอง

4

2. จิตวิทยาการศึกษาช่วยให้ผศู้ ึกษาเกดิ ความเขา้ ใจผ้อู ืน่ ศาสตรท์ างจติ วิทยาซึง่ เปน็ ข้อสรุป
ธรรมชาติพฤติกรรมของคนส่วนใหญ่ นอกจากชว่ ยให้ผศู้ กึ ษาเกดิ ความเข้าใจพฤติกรรมของบุคคลทว่ั ไป
แลว้ ยงั เปน็ แนวทางใหเ้ ขา้ ใจพฤติกรรมของผู้อืน่ บคุ คลรอบขา้ งที่อยูร่ อบตวั ไม่วา่ จะเป็นบุคคลใน
ครอบครัว กลุม่ เพ่ือน กล่มุ บคุ คลภายนอก ความเข้าใจดงั กล่าวส่งผลใหเ้ กดิ การยอมรับในข้อดขี อ้ จำกัด
ของกันและกัน ชว่ ยให้มกี ารปรับตัวเขา้ หากนั และยงั ชว่ ยการจัดวางตัวบุคคลให้เหมาะสมกับงานหรอื การ
เรยี นหรอื กจิ กรรมต่างๆไดด้ มี ากข้นึ

3. จิตวิทยาช่วยใหไ้ ด้แนวทางในการวางกฎเกณฑ์ทางสงั คม เชน่ กฎหมายบ้านเมือง ระเบียบ
ปฏิบัติบางประการมกั เกดิ ข้ึนหรือถกู ยกรา่ งขึ้น โดยอาศัยพน้ื ฐานความเข้าใจเกีย่ วกับธรรมชาตพิ ฤติกรรม
ของมนษุ ย์ ตัวอยา่ งเชน่ จติ วทิ ยาทีช่ ่วยให้เกดิ ความเข้าใจในเร่ืองความตอ้ งการการยอมรบั ความต้องการ
สิทธิเสรภี าพ และความเสมอภาคของคน สง่ ผลใหเ้ กดิ กฎหมายว่าดว้ ยสิทธิมนษุ ยชน หรือเกดิ องคก์ รบาง
ลักษณะทท่ี ำงานในด้านการใหโ้ อกาสท่เี ท่าเทยี มกนั สำหรับบคุ คลบางกลุ่ม หรอื สำหรบั ผู้ดอ้ ยโอกาสบาง
ประเภท หรือแมแ้ ต่การจัดให้มีการแขง่ ขันกีฬานานาชาตสิ ำหรบั คนพกิ าร กจ็ ัดเปน็ ส่วนหนง่ึ ของการนำ
ความรเู้ รื่องจิตวิทยาสำหรบั ผู้มลี ักษณะพเิ ศษมาเปน็ แนวทางปฏิบัติบางประการทางสงั คม นอกจากน้ี
จิตวิทยาการศกึ ษายงั มผี ลตอ่ กฎหมายว่าด้วยการพจิ ารณาความผดิ ทางกฎหมายบางลักษณะโดยการ
พิจารณาความผดิ ของบุคคล เชน่ กฎหมายวา่ ด้วยการกระทำ ความผิดของผู้เยาว์ หรือผทู้ ม่ี สี ุขภาพจติ
บกพร่องทีก่ ระทำโดยรเู้ ทา่ ไมถ่ ึงการณห์ รอื โดยเพราะความผิดปกตทิ างจติ ใจ ซึ่งจติ วทิ ยาจะช่วยใหผ้ ู้ศกึ ษา
เกดิ ความเข้าใจความผิดปกตติ ่างๆเหลา่ นั้นได้มากกว่าศาสตรส์ าขาอื่น ชว่ ยให้การพิจารณาบคุ คลหรือการ
วางเกณฑท์ างสังคม เป็นไปอยา่ ง สมเหตุสมผลมากขึน้

4. จติ วิทยาช่วยบรรเทาปญั หาพฤติกรรมและปัญหาสังคม ความร้ทู างจิตวิทยาในบางแง่มมุ ชว่ ย
ให้ผศู้ กึ ษาเกิดความเขา้ ใจในสิง่ เร้าและสิ่งแวดลอ้ มทมี ีผลตอ่ การหล่อหลอมบุคลิกภาพบางลกั ษณะ เชน่
ลกั ษณะความเปน็ ผหู้ ญิง ลกั ษณะความเปน็ ผ้ชู าย ลกั ษณะผิดเพศบางประการ รวมไปถึงอทิ ธพิ ลของ
ส่ือมวลชนบางประเภท รายการโทรทัศน์บางลักษณะท่สี ่งผลให้เด็กเกดิ พฤติกรรมก้าวร้าว อนั ไมเ่ หมาะสม
ซงึ่ มผี ลกระทบในเชิงลบ เป็นตน้

5. จิตวทิ ยาช่วยส่งเสรมิ พฒั นาคุณภาพชีวติ ความรู้ทางจิตวทิ ยาทวี่ า่ ดว้ ยการเลี้ยงดูในวัยเด็กอนั มี
ผลต่อบคุ คลเม่อื เจริญเตบิ โตเป็นผใู้ หญส่ ่งผลใหเ้ กดิ ความพยายาม ในการสร้างรปู แบบการเล้ียงดทู ี่
เหมาะสมเพอ่ื เสริมสรา้ งพัฒนาคนทงั้ กาย อารมณ์ สงั คมและสติปญั ญา เพอ่ื ใหไ้ ด้คนดีมีประสิทธภิ าพ หรอื

5

คนท่ีมีคุณลักษณะอนั พึงปรารถนาของสังคมนน้ั ๆ เพราะฉะน้ันจงึ กล่าวได้ว่า จิตวทิ ยาเปน็ ศาสตรท์ ีช่ ว่ ย
เสริมสร้างพฒั นาคุณภาพชวี ติ ได้อกี ศาสตรห์ นง่ึ

จากความเข้าใจดงั กล่าวน้ีนำไปสู่การคัดเลอื กสรร ส่ิงทน่ี ำเสนอเนอื้ หาทางส่ือมวลชนใหเ้ ป็นไป
ทางสร้างสรรค์ เพอื่ เสรมิ สรา้ งพฤตกิ รรมของเดก็ และผู้ใหญ่ในสงั คมอย่างเหมาะสม นอกจากน้นั จาก
คำอธิบายของจิตวิทยาในเรอื่ งของเจตคตขิ องบิดามารดาบางประการทีส่ ่งผลใหเ้ ด็กมีลักษณะลกั เพศ ก็
อาจจะเป็นแนวคิดแกบ่ ดิ ามารดา ในการปรบั พฤตกิ รรมการเลย้ี งดเู พอ่ื ใหเ้ ด็กเจริญเตบิ โตอย่างเหมาะสม
ต่อไป อนั นับเปน็ การบรรเทาปัญหาพฤติกรรมและปัญหาสงั คมไปได้บา้ ง (ปราณี รามสูต, 2542:ออนไลน)์

1.3 ประโยชน์ของจิตวิทยาการศึกษา

จติ วิทยาการศกึ ษามีประโยชนส์ ำหรับบุคคลทกุ วัยไม่เฉพาะครผู สู้ อน เชน่ ผู้บริหารการศกึ ษา
นกั แนะแนว ศึกษานิเทศก์ หวั หนา้ หน่วยงานตา่ งๆ รวมทั้งบดิ า มารดา ผูป้ กครอง ในด้านต่างๆ ต่อไปน้ี

1. ช่วยให้ครูเขา้ ใจธรรมชาติความเจรญิ เตบิ โตของเด็กและสามารถนำความรู้ท่ีได้มาจัดการเรยี น
การสอนได้อยา่ งเหมาะสมกับความตอ้ งการและความสนใจของเด็กแต่ละวัย

2. ช่วยให้ครูสามารถเตรียมบทเรยี น วิธสี อน จดั กิจกรรม ตลอดจนใช้วธิ ีการวัดและประเมินผล
การศกึ ษาไดส้ อดคล้องกับวยั ชว่ ยใหจ้ ดั การเรียนการสอนมีประสทิ ธิภาพ

3. ชว่ ยสรา้ งสมั พันธภาพทด่ี รี ะหวา่ งครู ผ้ปู กครองและเดก็ และสามารถทำงานกับเดก็ ไดอ้ ย่าง
ราบรนื่

4. ชว่ ยให้ผู้บรหิ ารการศึกษาวางแนวทางการศึกษา จดั หลักสูตร อปุ กรณ์การสอนและการ
บริหารงานไดเ้ หมาะสม

5. ชว่ ยใหผ้ ้เู รยี นเข้ากับสังคมได้ดี ปรับตวั เข้ากบั ผอู้ ื่นไดด้ ี(สุดารตั น์ เปท้ ุ่ง, ม.ป.ป; ออนไลน)์

1.4 จุดมุง่ หมายของจิตวทิ ยาการศึกษา

จุดม่งุ หมายทวั่ ไปของการเรียนจิตวิทยาการศกึ ษา คือ เพื่อให้เขา้ ใจเพือ่ การทำนายและ
เพอ่ื ควบคุมพฤติกรรมการเรียนร้ขู องมนษุ ยใ์ นสถานการณต์ า่ งๆ

จดุ มุ่งหมายท่ีสำคญั ของการเรยี นจติ วิทยา ไว้ดังน้ี
1. เปน็ การใหค้ วามรเู้ ก่ยี วกบั การเรยี นรทู้ ีเ่ ป็นระบบท้ังด้านทฤษฎี หลกั การและสาระอน่ื ๆท่ี

เกี่ยวขอ้ งกบั การเรยี นรู้ของมนุษยท์ ง้ั เด็กและผู้ใหญ่

6

2. เป็นการนำความรเู้ กีย่ วกับการเรยี นรู้และตวั ผู้เรียนให้แก่ครแู ละผู้เก่ยี วขอ้ งกบั การศกึ ษา
นำไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การเรียนการสอน

3. เพือ่ ให้ครสู อนสามารถนำเทคนิคและวิธกี ารการเรยี นรู้ไปใชใ้ นการเรียนการสอน การแกไ้ ข
ปญั หาในชนั้ เรยี น ตลอดจนสามารถดำรงตนอยใู่ นสงั คมได้อย่างมคี วามสุข (กดู๊ วินและคลอส ไม
เออร์,1975 : ออนไลน์)

1.5 แนวความคิดของนกั จติ วทิ ยาการศกึ ษาพฤตกิ รรม

พฤติกรรมการตอบสนองของมนษุ ย์ คือ
1. พฤตกิ รรมการตอบสนองของมนุษยเ์ กดิ จากการวางเงือ่ นไขท่ตี อบสนองตอ่ ความต้องการทาง
ธรรมชาติ
2. พฤติกรรมการตอบสนองของมนษุ ย์สามารถเกดิ ข้ึนได้จากสิ่งเรา้ ทีเ่ ชอื่ มโยงกับสงิ่ เร้าตาม
ธรรมชาติ
3. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษยท์ ี่เกิดจากสิ่งเร้าท่เี ชื่อมโยงกับสงิ่ เร้าตามธรรมชาติจะ
ลดลงเรือ่ ย ๆ และหยดุ ลงในท่สี ุดหากไม่ได้รับการตอบสนองตามธรรมชาติ
4. พฤติกรรมการตอบสนองของมนษุ ย์ตอ่ ส่ิงเรา้ ทีเ่ ชอ่ื มโยงกับสงิ่ เร้าตามธรรมชาตจิ ะลดลงและ
หยุดไปเมื่อไม่ไดร้ ับการตอบสนองตามธรรมชาติ และจะกลบั ปรากฏขึ้นได้อีกโดยไมต่ ้องใช้สิง่ เร้าตาม
ธรรมชาติ
5. มนุษยม์ แี นวโน้มทจี่ ะจำแนกลักษณะของส่ิงเรา้ ใหแ้ ตกตา่ งกันและเลือกตอบสนองไดถ้ ูกต้อง

พฤตกิ รรมเปน็ ส่ิงท่เี ห็นได้ชดั สามารถวดั และทดสอบได้ ทฤษฏีการเรยี นรใู้ นกลุม่ นี้
ประกอบด้วยแนวคิดสำคัญๆ 3 แนวด้วยกนั คือ

- ทฤษฎีการเช่อื มโยง(Classical Connectionism) ของธอรน์ ไดค(์ Thorndike) มีความเช่ือว่า
การเรียนรูเ้ กิดจากการเชอื่ มโยงระหว่างสิ่งเรา้ กับการตอบสนองซึง่ มหี ลายรูปแบบบุคคลจะมกี ารลองผดิ
ลองถกู ปรบั เปลีย่ นไปเรอื่ ยๆ จนกวา่ จะพบรปู แบบการตอบสนองท่สี ามารถให้ผลท่ีพึงพอใจมากทีส่ ุด เมือ่
เกิดการเรียนร้แู ล้วบุคคลจะใชร้ ูปแบบการตอบสนองที่เหมาะสมเพียงรปู แบบและจะพยายามใช้รูปแบบ
น้ันเช่อื มโยงกบั สิง่ เรา้ ในการเรยี นรู้ตอ่ ไปเร่ือยๆ การจัดการเรยี นการสอนตามทฤษฏนี ้ีจงึ เน้นทก่ี ารเปิด
โอกาสใหผ้ ู้เรยี นได้เรียนแบบลองผดิ ลองถกู บา้ ง มีการสำรวจความพร้อมของผูเ้ รียนซ่ึงเปน็ สิ่งจำเปน็ ที่ต้อง

7

กระทำกอ่ นการสอนบทเรยี นเม่อื ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้แล้วครูควรฝกึ ให้ผเู้ รยี นฝึกการนำการเรียนร้นู ้ันไป
ใชบ้ ่อยๆจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

ภาพท่ี 1 ทฤษฏีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
(ณฐั พงศ์ ดอนฉิมพลี, 2559: ออนไลน์)

- ทฤษฎีการวางเงอ่ื นไข (Conditioning Theory) ประกอบดว้ ยทฤษฏีย่อย 4 ทฤษฏี ดงั น้ี
1) ทฤษฏกี ารวางเง่อื นไขแบบอัตโนมัตขิ องพาฟลอฟ (Pavlov’s Classical Conditioning)

เน้นการตอบสนองตอ่ สงิ่ เร้าที่วางเง่อื นไข สรุปแนวคดิ ตามทฤษฏีนี้ได้ว่า การเรยี นรขู้ องสิ่งมีชีวติ เกิดจาก
การตอบสนองต่อสิ่งเรา้ ทีว่ างเง่ือนไข

8

ภาพที่ 2 ทฤษฏีการวางเงอื่ นไขของพาลอฟ (ณฐั พงศ์ ดอนฉมิ พลี, 2559: ออนไลน)์
2) ทฤษฏกี ารวางเง่อื นไขแบบอตั โนมตั ขิ องวตั สัน (Watson’s Classical Conditioning)

เนน้ การตอบสนองต่อส่งิ เร้าที่วางเงอื่ นไขเช่นกัน สรุปแนวคดิ ตามทฤษฏนี ไี้ ดว้ า่ การเรยี นรจู้ ะคงทน
ถาวรหากมกี ารให้ส่ิงเรา้ ทส่ี ัมพนั ธก์ นั น้นั ควบคกู่ ันไปอยา่ งสมำ่ เสมอ

9

ภาพที่ 3 ทฤษฏีการวางเง่ือนไขอัตโนมตั ขิ องวตั สัน
(ณัฐพงศ์ ดอนฉิมพลี, 2559: ออนไลน์)

-ทฤษฏกี ารเรียนรู้ของฮลั ล์ (Hull’s Systematic Behavior Theory) มีความเชอ่ื วา่ ถ้ารา่ งกาย
เมื่อยลา้ การเรียนรจู้ ะลดลงการตอบสนองต่อการเรียนรู้จะเกิดข้ึนไดด้ ที ีส่ ุดเมอ่ื ไดร้ บั แรงเสริมในเวลาใกล้
บรรลุเปา้ หมาย หลักการจดั การเรียนการสอนตามทฤษฏนี ีจ้ งึ มกั คำนงึ ถึงความพรอ้ มความสามารถและ
เวลาทผี่ เู้ รียนจะเรียนไดด้ ีที่สดุ การจัดการเรียนการสอนควรใหท้ างเลอื กทีห่ ลากหลายเพ่ือตอบสนองระดับ
ความสามารถของผูเ้ รียน (ทิศนา แขมมณี, 2542: ออนไลน)์

10

ภาพท่ี 4 ทฤษฏีการเรียนร้ขู องฮัลล์
(ณัฐพงศ์ ดอนฉมิ พลี, 2559: ออนไลน)์

1.6 แนวความคดิ ของนักจิตวทิ ยากลมุ่ ต่างๆเกีย่ วกับพฤตกิ รรมมนุษย์

กลุ่มพฤตกิ รรมนิยม (Behaviorism)
ผู้นำกลมุ่ นไี้ ด้แก่ John B.Watson เชื่อว่า การศกึ ษาบคุ คลจะต้องพจิ ารณาพฤติกรรมทเี่ ขาแสดง
ออกมามากกว่าระบบการทำงานภายใน ดังนนั้ จิตวิทยาเก่ยี วข้องกบั พฤติกรรมทส่ี ามารถสงั เกตและวดั ได้
ชดั เจนเทา่ นั้นแนวคิดของวตั สนั ทีว่ ่า “ จิตวทิ ยาเปน็ วทิ ยาศาสตรท์ เ่ี กีย่ วข้องกบั พฤตกิ รรม ” จึงไดร้ ับการ
ยอมรบั อย่างกวา้ งขวางและมีอทิ ธพิ ลตอ่ การเปลีย่ นแปลงการพัฒนาการของจติ วิทยาในระยะตอ่ มา ทำให้
เกิดจติ วิทยาที่วา่ ดว้ ยความสัมพันธร์ ะหว่างสิ่งเร้ากบั การตอบสนอง มักสนใจศึกษาสิ่งเร้าท่กี ระตุน้ ใหเ้ กดิ
การตอบสนองดา้ นการกระทำเป็นสว่ นใหญ่กล่มุ นี้ไมส่ นใจเกี่ยวกับการศกึ ษาสิง่ ที่เกดิ ข้นึ ภายในตวั ของ
บุคคลเพราะเหน็ ว่า เป็นสิ่งทสี่ ังเกตและวดั ได้ยากไมม่ ีความเปน็ วิทยาศาสตร์
นกั คดิ ในกลมุ่ นี้มองธรรมชาติของมนุษย์ในลักษณะท่เี ป็นกลาง คอื ไมด่ ี ไม่เลว วัตสันเช่อื มน่ั ว่า ถ้า
สามารถควบคุมสิ่งแวดล้อมของมนษุ ย์ได้ จะทำใหม้ นษุ ย์คนน้ันมีพฤตกิ รรมอะไรกไ็ ด้ตามท่ีต้องการจะให้
เปน็
ทฤษฎกี ารเรยี นรูใ้ นกลุม่ นี้ ประกอบด้วยแนวคิดสำคัญๆ 3 แนวคิดด้วยกนั คือ

11

1. ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎกี ารเชอื่ มโยงของธอรน์ ไดค(์ Thorndike’s Classical Connectionism) ธอรน์ ไดค์

(ค.ศ.1814-1949) เชอ่ื วา่ การเรยี นรู้เกิดจากการเช่อื มโยงระหวา่ งสิง่ เรา้ กบั การตอบสนอง ซงึ่ มหี ลาย
รปู แบบบคุ คลจะมกี ารลองผิดลองถูก(trial and error)ปรับเปลย่ี นไปเร่ือยๆ จนกวา่ จะพบรปู แบบการ
ตอบสนองที่สามารถให้ผลทพ่ี ึงพอใจมากทีส่ ดุ เมอื่ เกดิ การเรียนรู้แล้ว บุคคลจะใช้รปู แบบการตอบสนองที่
เหมาะสมเพียงรูปแบบเดยี ว และจะพยายามใชร้ ปู แบบนัน้ เชอื่ มโยงกับสิ่งเร้าในการเรียนร้ตู อ่ ไปเร่ือย ๆ
2. ทฤษฎีการวางเงอ่ื นไข(Conditioning Theory)

ทฤษฎกี ารวางเงอ่ื นไขแบบอัตโนมัต(ิ Classical conditioning)ของพาฟลอฟ พาฟลอฟ
(Pavlov)ไดท้ ำการทดลองใหส้ นุ ขั นาํ้ ลายไหลด้วยเสยี งกระด่งิ การเรียนร้ขู องสนุ ัขเกดิ จากการรจู้ ัก
เชือ่ มโยงระหว่างเสยี งกระดง่ิ ผงเนอื้ บดและพฤตกิ รรมน้าํ ลายไหล

ภาพที่ 5 ทฤษฏกี ารวางเงือ่ นไขของฟาลอฟ
(สมชาย จงดี, 2532: ออนไลน์)

ทฤษฎีการวางเง่อื นไขของวตั สัน(Watson) วัตสันไดท้ ำการทดลองโดยให้เดก็ คนหน่งึ เล่นกบั หนู
ขาวกท็ ำเสียงดังจนเด็กตกใจร้องไห้หลงั จากน้ันเด็กก็จะกลวั และร้องไห้เมอื่ เห็นหนูขาว ต่อมาทดลองใหน้ ำ
หนขู าวมาให้เด็กดูโดยแมจ่ ะกอดเดก็ ไว้จากน้นั เด็กก็จะค่อยๆหายกลวั หนขู าว

12

ภาพท่ี 6 ทฤษฏีการวางเงื่อนไขของวัตสนั
(สมชาย จงดี, 2532: ออนไลน์)

ทฤษฎกี ารวางเง่อื นไขแบบต่อเนือ่ ง(Contiguous Conditioning) ของกทั ธรีกทั ธรไี ดท้ ำการทดลอง
โดยปลอ่ ยแมวทห่ี วิ จัดเข้าไปในกล่องปัญหามเี สาเล็กๆตรงกลาง มกี ระจกที่ประตทู างออกมีปลาแซลมอน
วางไวน้ อกกล่อง เสาในกลอ่ งเป็นกลไกเปดิ ประตูแมวบางตวั ใช้แบบแผนการกระทำหลายแบบเพื่อจะออก
จากกลอ่ งแมวบางตวั ใชว้ ิธเี ดยี ว

13

ภาพท่ี 7 ทฤษฏีการวางเงอื่ นไขตอ่ เน่อื งของกทั ธรีกทั ธรี
(สมชาย จงดี, 2532: ออนไลน์)

ทฤษฎกี ารวางเง่ือนไขแบบโอเปอร์แรนต์ (Operant Conditioning)ของสกนิ เนอร(์ Skinner)สกิน
เนอร(์ Skinner) ไดท้ ำการทดลองโดยนำหนทู ีห่ วิ จัดใส่กล่องภายในมีคานบงั คับให้อาหารตกลงไปในกลอ่ ง
ได้ ตอนแรกหนจู ะวง่ิ ชนโน่นชนน่ีเมอื่ ชนคานจะมีอาหารตกมาให้กินทำหลายๆคร้งั พบว่าหนูจะกดคานทำ
ใหอ้ าหารตกลงไปไดเ้ ร็วข้ึน

ภาพที่ 8 ทฤษฏีการวางเง่ือนไขโอเปอร์แรนต์ของสกินเนอร์
(สมชาย จงดี, 2532: ออนไลน)์

14

3.ทฤษฎกี ารเรยี นรขู้ องฮลั ล(์ Hull’s Systematic Behavior Theory)

ฮลั ล(์ Hull)ได้ทำการทดลองโดยฝกึ หนูให้กดคาน โดยแบง่ หนูเป็นกลุม่ ๆแต่ละกล่มุ อดอาหาร
24 ชั่วโมงและแต่ละกล่มุ มแี บบแผนในการเสริมแรงแบบตายตัวตา่ งกนั บางกล่มุ กดคาน 5 ครง้ั จึงได้
อาหารไปจนถึงกลุ่มทก่ี ด 90 ครั้ง จงึ ไดอ้ าหารและอีกพวกหนงึ่ ทดลองแบบเดยี วกนั แต่อดอาหารเพียง 3
ช่ัวโมง ผลปรากฏว่า ย่ิงอดอาหารมาก คอื มแี รงขบั มาก จะมผี ลให้เกิดการเปล่ยี นแปลงความเขม้ ของนสิ ยั
กลา่ วคือ จะทำใหก้ ารเชื่อมโยงระหวา่ งอวยั วะรับสมั ผสั receptor)กับอวยั วะแสดงออก(effector)เขม้ แข็ง
ขน้ึ ดงั นนั้ เมื่อหนหู ิวมากจงึ มพี ฤติกรรมกดคานเรว็ ขน้ึ สรปุ ทฤษฎกี ารเรียนรู้กลุม่ พฤติกรรมนยิ ม คือ มอง
ธรรมชาติของมนษุ ย์ในลกั ษณะทเ่ี ป็นกลาง คือ ไม่ดี – ไมเ่ ลว การกระทำตา่ งของมนุษยเ์ กิดจากอทิ ธพิ ล
ของส่งิ แวดล้อมภายนอก พฤตกิ รรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อส่งิ เรา้ (stimulus response)
การเรียนร้เู กิดจากการเชอ่ื มโยงระหว่างสิง่ เร้าและการตอบสนอง กลมุ่ พฤติกรรมนิยมให้ความสนใจกบั
พฤติกรรมมากเพราะพฤตกิ รรมเป็นสิ่งท่เี ห็นได้ชดั สามารถวัดและทดสอบไดม้ ที ฤษฎที ี่สำคัญอยู่ 3 กลุ่ม
คอื

- ทฤษฎกี ารเช่อื มโยงของธอรน์ ไดค์ (Thorndike’s Classical Connectionism)

- ทฤษฎีการวางเงอ่ื นไข (Conditioning Theory)

- ทฤษฎีการเรียนรขู้ องฮลั ล์ (Hull’s Systematic Behavior Theory)

4.กลมุ่ จิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis)

กลมุ่ จิตวิทยากลุ่มน้เี น้นความสำคัญของ“จติ ไร้สำนึก”(uncoscious mind)ว่า มอี ทิ ธพิ ลต่อ
พฤตกิ รรม กล่มุ นจี้ ดั เป็นกลุ่ม “พลังทห่ี น่ึง”(The first force)ที่แหวกวงล้อมจากจติ วทิ ยายคุ เดมิ
นักจติ วิทยาในกล่มุ จิตวิเคราะห์ทีม่ ชี อ่ื เสียงเปน็ ท่ีรู้จกั กนั ท่วั ไป ไดแ้ ก่ ฟรอยด์(Sigmund Freud,1856-
1939)และส่วนใหญแ่ นวคิดในกลุม่ จติ วเิ คราะห์น้เี ปน็ ของฟรอยด์ซ่งึ เป็นจิตแพทย์ ชาวออสเตรีย เป็นผู้ที่
สร้างทฤษฎีจติ วเิ คราะห(์ Psychoanalytic Theory) ซึ่งเป็นทฤษฎีทางด้านการพัฒนาPsychosexualโดย
เช่อื ว่าเพศหรอื กามารมณ์(sex)เป็นส่งิ ที่มีอทิ ธพิ ลต่อการพัฒนาของมนุษย์ แนวคิดดังกลา่ วเกดิ จากการ
สนใจศกึ ษาและสงั เกตผูป้ ่วยโรคประสาท ดว้ ยการให้ผปู้ ่วยนอนบนเก้าอ้นี อนในอริ ิยาบถที่สบายทีส่ ุด
จากนน้ั ให้ผู้ปว่ ยเล่าเรื่องราวของตนเองไปเร่อื ยๆ ผรู้ ักษาจะนั่งอยู่ดา้ นศีรษะของผปู้ ่วย คอยกระต้นุ ให้
ผปู้ ่วยได้พดู เล่าต่อไปเร่ือยๆเท่าท่ีจำได้ และคอยบันทกึ สง่ิ ที่ผ้ปู ว่ ยเล่าอย่างละเอียด โดยไมม่ กี ารขัดจงั หวะ

15

แสดงความคดิ เหน็ หรอื ตำหนิผปู้ ว่ ย ซ่งึ พบวา่ การกระทำดังกลา่ วเปน็ วิธกี ารท่ีช่วยให้ผรู้ ักษาได้ขอ้ มลู ที่อยู่
ในจิตใต้สำนึกของผปู้ ่วย และจากการรกั ษาด้วยวิธนี ้เี อง จงึ ทำให้ฟรอยดเ์ ปน็ คนแรกที่สรา้ งทฤษฎจี ิต
วเิ คราะห์ เขาอธบิ ายว่า จิตของคนเรามี 3 สว่ น คือ จติ สำนกึ (conscious mind)จติ กึ่งรสู้ ำนึก
(preconscious mind)และจิตไร้สำนึก (unconscious mind) ซง่ึ มีลักษณะดงั นี้ เชอ่ื วา่ พฤติกรรมของ
มนษุ ย์สว่ นมากกำหนดขนึ้ โดยสญั ชาตญาณ ซึ่งมมี าตัง้ แต่กำเนดิ สัญชาตญาณเหลา่ น้สี ่วนมากจะอยู่ใน
ระดับจติ ไรส้ ำนกึ เขาเชอื่ ว่าการทำงานของจิตแบ่งเปน็ 3 ระดบั เปรียบเสมือนก้อนนํ้าแขง็ ลอยอยใู่ นทะเล
คอื

1.จติ รสู้ ำนกึ (Conscious mind)เปน็ สว่ นทโี่ ผลผ่ วิ นา้ํ ขึน้ มา ซง่ึ มีจำนวนนอ้ ยมาก เปน็ สภาพท่ี
รตู้ ัววา่ คือใคร อยทู่ ไี่ หน ตอ้ งการอะไร หรือกำลังรู้สกึ อยา่ งไรตอ่ สงิ่ ใด เมอ่ื แสดงพฤติกรรมอะไรออกไปก็
แสดงออกไปตามหลักเหตุและผล แสดงตามแรงผลักดันจากภายนอก สอดคลอ้ งกบั หลกั แหง่ ความเป็นจริง
(principle of reality)

2.จิตกงึ่ ร้สู ำนกึ (Preconscious mind)เป็นสว่ นท่อี ยใู่ กล้ๆผวิ นาํ้ เป็นจิตทเี่ กบ็ สะสมขอ้ มลู
ประสบการณไ์ ว้มากมาย มไิ ดร้ ู้ตัวในขณะนั้นแตพ่ รอ้ มใหด้ งึ ออกมาใช้ พร้อมเข้ามา อยู่ในระดับจิตสำนกึ
เช่น เดินสวนกับคนรู้จัก เดนิ ผ่านเลยมาแล้วนึกขนึ้ ไดร้ บี กลับไปทักทายใหม่ เปน็ ต้น และอาจถอื ได้วา่
ประสบการณ์ต่างๆท่ีเกบ็ ไวใ้ นรปู ของความจำก็เปน็ สว่ นของจิตก่ึงรู้สำนึกด้วย เชน่ ความขมขน่ื ในอดตี ถา้
ไม่คดิ ถงึ กไ็ มร่ ูส้ กึ อะไร แตถ่ า้ น่งั ทบทวนเหตุการณท์ ไี รกท็ ำใหเ้ ศร้าไดท้ ุกครงั้ เป็นต้น

3.จิตไรส้ ำนึก(Unconscious mind)เป็นส่วนใหญ่ของกอ้ นนํ้าแขง็ ที่อย่ใู ตน้ ้าํ ฟรอยดเ์ ชอื่
วา่ จิตส่วนนี้มีอิทธพิ ลมากต่อพฤติกรรมของมนษุ ย์ กระบวนการจติ ไร้สำนึกนี้ หมายถงึ ความคิด ความ
กลัว และความปรารถนาของมนุษย์ ซึ่งผู้เป็นเจ้าของเก็บกดไวโ้ ดยไม่รตู้ วั แตม่ ี

อิทธิพลต่อเขา พลงั ของจติ ไร้สำนกึ อาจจะปรากฏข้ึนในรูปของความฝัน การพล้ังปากหรอื การแสดง
ออกมาเป็นกิริยาอาการทบ่ี ุคคลทำโดยไม่รูต้ ัว เปน็ ตน้

ฟรอยด์ เชอ่ื วา่ มนษุ ย์มสี ญั ชาตญาณติดตัวมาแต่กำเนิด พฤตกิ รรมของบุคคลเป็นผลมาจาก
แรงจงู ใจหรอื แรงขบั พน้ื ฐานทกี่ ระตุ้นใหบ้ ุคคลมพี ฤติกรรม คือ สญั ชาตญาณทางเพศ (sexual instinct)

2 ลกั ษณะคอื

16

1.สัญชาตญาณเพอ่ื การดำรงชวี ติ (eros = life instinct)
2.สัญชาตญาณเพ่ือความตาย (thanatos = death instinct)

โครงสรา้ งบคุ ลิกภาพ (The personality structure) ฟรอยด์ เชอื่ ว่าโครงสร้างบุคลิกภาพของ
บคุ คลมี 3 ประการ คอื

1.ตนเบื้องต้น(id) คอื ตนท่ีอยใู่ นจติ ไร้สำนกึ เป็นพลงั ท่ตี ดิ ตวั มาแต่กำเนดิ ม่งุ แสวงหา
ความพึงพอใจ(pleasure seeking principles)และเป็นไปเพอื่ ตอบสนองความต้องการของตนเองเท่านั้น
โดยไมค่ ำนงึ ถงึ เหตุผล ความถกู ตอ้ ง และความเหมาะสม ประกอบด้วย ความต้องการทางเพศและความ
กา้ วรา้ ว เปน็ โครงสรา้ งเบ้อื งตน้ ของจติ ใจ และเป็นพลงั ผลกั ดนั ให้ ego ทำในส่ิงตา่ งๆ ตามท่ี id ตอ้ งการ

2.ตนปัจจุบัน(ego)คอื พลังแห่งการใช้หลักของเหตแุ ละผลตามความเป็นจรงิ (reality
principle)เปน็ สว่ นของความคดิ และสติปัญญา ตนปัจจุบัน จะอยู่ในโครงสรา้ งของจติ ใจท้งั 3 ระดบั

3.ตนในคณุ ธรรม(superego)คอื สว่ นทคี่ วบคุมการแสดงออกของบคุ คลในดา้ นคุณธรรม
ความดี ความชวั่ ความถกู ผิด มโนธรรม และจริยธรรมทส่ี ร้างโดยจิตใตส้ ำนึกของบุคคลนน้ั ซง่ึ เปน็ ผลท่ี
ไดร้ บั จากการเรียนร้ใู นสงั คมและวฒั นธรรมนนั้ ๆ ตนในคุณธรรมจะทำงานอยใู่ นโครงสร้างของจติ ใจท้งั 3
ระดบั

การทำงานของตนท้ัง 3 ประการ จะพฒั นาบคุ ลกิ ภาพของบคุ คลให้เด่นไปด้านใดด้านหน่งึ
ของทงั้ 3 ประการนี้ แต่บุคลกิ ภาพทพี่ ึงประสงค์ คอื การทบี่ คุ คลสามารถใชพ้ ลงั อโี กเ้ ปน็ ตวั ควบคมุ พลังอดิ
และซูเปอร์อโี กใ้ ห้อยใู่ นภาวะทีส่ มดุลได้ นอกจากนี้ฟรอยด์ใช้วิธีการวเิ คราะห์ความฝนั ของผ้มู ปี ัญหา เขา
เชอื่ ว่า ความฝันมคี วามสัมพนั ธก์ บั ส่ิงทีไ่ ดป้ ระสบมาในชีวิตจรงิ ปัญหาตา่ งๆทแี่ กไ้ มไ่ ดอ้ าจจะไปแสดงออก
ในความฝัน เพ่ือเปน็ การระบายออกของพฤตกิ รรมอีกทางหนง่ึ

5.กลุ่มเกสตลั ท์(Gestalt Psychology)
นกั จติ วิทยาคนสำคัญกลมุ่ นไ้ี ดแ้ ก่ Max Werthimer,Kurt Koffka และWolfgang

Kohlerทง้ั หมดเปน็ ชาวเยอรมันเชอ้ื สายยวิ กลมุ่ นี้เช่อื ว่ามนษุ ย์ไม่ไดเ้ ปน็ เพียงหนว่ ยรับส่ิงเร้าทอี่ ยู่นง่ิ เฉย

17

เทา่ นน้ั แตจ่ ิตมกี ารสรา้ งกระบวนการประมวลข้อมลู ทร่ี ับเขา้ มาและส่งผลออกไปเปน็ ขอ้ มลู ใหมห่ รือ
สารสนเทศชนิดใหม่นักจิตวิทยากล่มุ นีไ้ ม่เหน็ ด้วยกบั แนวคิดของกลมุ่ พฤติกรรมนยิ ม กลมุ่ นีเ้ นน้ อธิบายว่า
การเรียนรูเ้ กดิ จากการรับรู้เป็นสว่ นรวมมากกว่าสว่ นยอ่ ยรวมกนั เพราะคนเราจะรับรูส้ ิง่ ตา่ งๆในลกั ษณะ
รวมๆได้ดกี ว่ารบั รู้ส่วนปลีกยอ่ ย กล่มุ น้เี ห็นวา่ การเรียนร้จู ะเกดิ ข้นึ เม่ือมกี ารรับรเู้ ป็นสว่ นรวมมากกวา่
ส่วนยอ่ ยรวมกัน มนษุ ยจ์ ะรับในสิง่ ท่ตี นเองสนใจเท่านัน้ สิง่ ใดทสี่ นใจรับรู้จะเป็นภาพ ส่งิ ใดทีไ่ มไ่ ด้สนใจ
รบั รจู้ ะเปน็ พน้ื ดงั เช่น รปู ภาพขา้ งบนถา้ สนใจมองทส่ี ีขาว เราจะมองเหน็ เป็นแก้ว แต่ถา้ เราสนใจมองสีดำ
เราจะเหน็ เป็น รูปคนสองคนกำลังหันหน้าเข้าหากนั

คำว่า เกสตัลท์(Gestalt)เป็นภาษาเยอรมัน ความหมายเดิมแปลว่า แบบหรือรูปรา่ ง (Gestalt =
form or Pattern) ต่อมาปัจจุบนั แปลว่า ส่วนรวมหรอื สว่ นประกอบทั้งหมด(Gestalt =The
wholeness)

กลมุ่ เกสตลั ท์ มีแนวคดิ วา่ การเรยี นรูเ้ กดิ จากการจัดสงิ่ เร้าต่าง มารวมกัน เร่มิ ต้นด้วยการรับรู้
โดยสว่ นรวมก่อนแล้ว จงึ จะสามารถวเิ คราะหเ์ ร่อื งการเรยี นรสู้ ว่ นยอ่ ยทลี ะส่วนต่อไป ตอ่ มาเลวิน ไดน้ ำเอา
ทฤษฎเี กสตลั ทม์ าปรับปรุงเปน็ ทฤษฎสี นาม(Field theory โดยนำความรู้ทางคณิตศาสตรแ์ ละฟิสิกส์มา
อธบิ ายทฤษฎีของเขาแตก่ ย็ ังคงใช้หลกั การเดยี วกัน น่นั คอื การเรยี นรขู้ องบุคคลจะเป็นไปไดด้ ้วยดีและ
สรา้ งสรรคถ์ า้ เขาได้มีโอกาสเหน็ ภาพรวมท้งั หมดของสิง่ ทจ่ี ะเรยี นเสียกอ่ น เมื่อเกิดภาพรวมทั้งหมดแล้วก็
เป็นการงา่ ยทีบ่ ุคคลนนั้ จะเรียนสิง่ ทล่ี ะเอียดปลกี ยอ่ ยต่อไป ปัจจุบันไดม้ ผี นู้ ำเอาวธิ กี ารเรยี นร้ขู องกลมุ่
เกสตัลทม์ าใชอ้ ย่างกว้างขวางโดยเหตุทีเ่ ขา เชื่อในผลการศึกษาคน้ ควา้ ทีพ่ บว่า ถ้าใหเ้ ยาวชนได้เรียนรู้โดย
หลกั ของเกสตัลทแ์ ล้วเขาเหลา่ นน้ั จะมสี ติปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ และความรวดเรว็ ในการเรยี นรู้
เพมิ่ ข้ึน

หลักการเรยี นรู้ของกลุ่มเกสตลั ท์

กล่มุ เกสตัลท์ เชือ่ ว่า การเรยี นรทู้ เ่ี หน็ ส่วนรวมมากกวา่ สว่ นย่อยนัน้ จะต้องเกิดจาก
ประสบการณ์เดิม และการเรยี นร้ยู อ่ มเกิดข้ึน 2 ลกั ษณะ คอื

1.การรบั รู้(Perception)การรับรู้ หมายถึง การแปลความหมายหรอื การตคี วามตอ่ ส่งิ
เรา้ ของอวยั วะรับสัมผัสส่วนใดส่วนหนึง่ หรอื ทัง้ หา้ สว่ น ได้แก่ หู ตา จมกู ล้ิน และผิวหนัง การตคี วามนี้

18

มักอาศัยประสบการณ์เดมิ ดังนน้ั แต่ละคนอาจรับรู้ในสงิ่ เรา้ เดียวกนั แตกตา่ งกนั ได้ แลว้ แต่ประสบการณ์
เชน่ นางสาว ก. เห็นสีแดงแลว้ นกึ ถึงเลือด แตน่ างสาว ข.เหน็ สีแดงอาจนึกถึงดอกกหุ ลาบสีแดงก็ได้

2.การหยัง่ เห็น(Insight) การหยงั่ เห็น หมายถึง การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง โดยจะเกิด
แนวความคดิ ในการเรียนรูห้ รือการแก้ปญั หาขึ้นอย่างฉบั พลันทันทที ันใด(เกดิ ความคดิ แวบขน้ึ มาในสมอง
ทนั ที)มองเห็นแนวทางการแก้ปัญหาตัง้ แตจ่ ุดเริม่ ตน้ เปน็ ขน้ั ตอนจนถึงจดุ สดุ ทา้ ยทีส่ ามารถจะแก้ปัญหาได้
เชน่ การร้องออกมาวา่ ยเู รก้าของอารค์ ีเมดิสเพราะเกิดการหย่ังเห็น(Insight)ในการแกป้ ัญหาการหา
ปริมาตรของมงกฎุ ทองคำด้วยวิธกี ารแทนท่ีน้ําว่าปริมาตรของมงกฎุ ทจ่ี มอยู่ในนํ้าจะเท่ากับปรมิ าตรของน้าํ
ท่ีลน้ ออกมา แล้วใชว้ ิธกี ารนีห้ าปรมิ าตรของวตั ถทุ ่มี ีรปู ทรงไม่เปน็ เรขาคณิตมาจนถึงบัดนี้

การเรยี นรขู้ องกลุ่มเกสตลั ทท์ ี่เน้น “การรบั รเู้ ป็นส่วนรวมมากกวา่ สว่ นย่อย”น้นั ได้สรุปเป็น
กฎการเรยี นรขู้ องทง้ั กลมุ่ 4 กฎ เรียกว่า กฎการจดั ระเบยี บเข้าดว้ ยกนั (The Laws of Organization)
ดงั น้ี

1.กฎแห่งความแน่นอนหรอื ชัดเจน(Law of Pregnant)

2.กฎแหง่ ความคล้ายคลงึ (Law of Similarity)

3.กฎแห่งความใกลช้ ดิ (Law of Proximity)

4.กฎแหง่ การส้นิ สุด(Law of Closure)

โดยกำหนดFigureและBackground แต่ในที่นีข้ อเสนอพอสงั เขป ดงั น้ี

แนวความคิดของนักจติ วทิ ยากล่มุ นี้ คือ การพจิ ารณาพฤติกรรมหรอื ประสบการณ์ของคน
เป็นสว่ นรวม ซง่ึ สว่ นรวมน้ันมีคา่ มากกว่าผลบวกของส่วนยอ่ ยต่างๆ มารวมกนั เช่น คนนั้นมคี า่ มากกว่า
ผลบวกของส่วนยอ่ ยตา่ งๆมารวมตัวกันเปน็ คน ได้แก่ แขน ขา ลำตวั สมองฯลฯ

จติ วิทยากลุ่มเกสตลั ท์นยิ ม จึงหมายถงึ จติ วทิ ยาท่ยี ดึ ถือเอาสว่ นรวมท้ังหมดเป็นสำคัญ นกั จิตวิทยา
กลมุ่ นยี้ ังมีความเหน็ อกี ว่า การศกึ ษาทางจิตวิทยานัน้ จะต้องศกึ ษาพฤติกรรมทางจติ เป็นส่วนรวมจะแยก
ศกึ ษาทล่ี ะส่วนไม่ได้ กลุ่มGESTALISM เห็นวา่ วิธกี ารของ BEHAVIORISM ที่พยายามจะแยกพฤตกิ รรม
ออกมาเป็นหนว่ ยย่อย เชน่ เป็นส่งิ เร้าและการตอบสนองนนั้ เปน็ วิธกี ารไมใ่ ช่เรื่องของจิตวิทยา น่าจะเปน็

19

เรือ่ งของเคมหี รอื ศาสตรบ์ ริสทุ ธ์ิแขนงอ่นื ๆ ดังนนั้ กลุ่ม GESTALISM จึงไม่พยายามแยกพฤตกิ รรมออกเปน็
สว่ นๆ แลว้ ศกึ ษารายละเอยี ดของแต่ละส่วนเหมอื นกล่มุ อืน่ ๆ แต่ตรงกันข้ามจะพิจารณาพฤตกิ รรมหรอื
การกระทำของมนษุ ยท์ ุกๆอยา่ งเปน็ ส่วนรวม เน้นในเรื่องสว่ นรวม(WHOLE)มากกวา่ สว่ นย่อย เพง่ เล็งถึง
สว่ นทัง้ หมดในลกั ษณะท่ีเป็นอนั หน่งึ อันเดียวกัน(UNIQUE)

6.กล่มุ มนุษยนิยม(Humanistic Perspective)

แนวคิดกลมุ่ มนุษยน์ ยิ ม(The Humanistic Perspective) เชอื่ วา่ มนุษยม์ อี ิสระทางความคิดที่
สามารถเลอื กแสดงพฤตกิ รรมได้ การแสดงพฤติกรรมใดๆ จงึ เปน็ ทางเลอื กของบุคคลซงึ่ ทกุ คนมีศักยภาพ
ในการเจริญงอกงามหรอื พฒั นานกั จิตวทิ ยากลุ่มน้ี ไดแ้ ก่ มาสโลว์ (Abraham Maslow)และคาร์ล โรเจอส์
(Carl Rogers)

มาสโลว์ (Maslow) กล่าวถงึ ทฤษฎีลำดับข้นั ความต้องการไว้ 5 ข้ันตอน ดงั น้ี

1.ความตอ้ งการทางกายภาพ(Physiological Needs) เป็นความตอ้ งการขน้ั พืน้ ฐานของ
มนุษย์เป็นสง่ิ ทจ่ี ำเป็นในการดำรงชีวิต ไดแ้ ก่ อาหาร อากาศ ทอี่ ยอู่ าศยั เคร่ืองน่งุ หม่ ยารักษาโรค ความ
ต้องการพกั ผอ่ น และความตอ้ งการทางเพศ เปน็ ตน้

2.ความตอ้ งการความม่นั คงและปลอดภยั (Safety Needs and Needs for Security) ถา้
ตอ้ งการความม่นั คงปลอดภัยในชวี ิตท้งั ในปัจจุบนั และอนาคต ตอ้ งการความเปน็ ธรรมในการทำงานความ
ปลอดภยั ในเงนิ เดอื นและการถูกไล่ออกสวสั ดกิ ารด้านทอ่ี ยอู่ าศัยและการรกั ษาพยาบาล รวมท้งั ความเช่อื
ในศาสนาและเช่อื มน่ั ในปรชั ญาซงึ่ จะช่วยใหบ้ คุ คลอยูใ่ นโลกของความเช่ือของตนเองและรู้สึกมีความ
ปลอดภัย

3.ความตอ้ งการมีสว่ นร่วมในสังคม (Social Belonging Needs)เม่ือความตอ้ งการทางดา้ น
ร่างกายและความปลอดภยั ไดร้ ับการตอบสนองแล้วความต้องการทางด้านสังคมก็จะเรม่ิ เป็นส่งิ จูงใจที่
สำคัญตอ่ พฤติกรรมของบุคคลเป็นความต้องการที่จะใหส้ งั คมยอมรับตนเป็นสมาชกิ ต้องการไดร้ ับการ
ยอมรบั จากคนอื่นๆไดร้ ับความเปน็ มติ รและความรกั จากเพอ่ื นรว่ มงาน

20

4.ความตอ้ งการยกยอ่ งนับถือ (Esteem Needs) ความต้องการด้านน้ี เปน็ ความต้องการ
ระดับสูงท่เี กีย่ วกับความอยากเดน่ ในสงั คม ตอ้ งการให้บุคคลอ่ืนยกยอ่ งสรรเสรญิ รวมถงึ ความเชื่อมน่ั ใน
ตนเองในเร่อื งความรคู้ วามสามารถ ความเปน็ อสิ ระและเสรภี าพ

5.ความตอ้ งการบรรลุในสิ่งที่ตงั้ ใจ (Need for Self Actualization) เปน็ ความตอ้ งการ
ระดับสงู สดุ ซงึ่ เป็นความต้องการท่ีอยากจะให้เกิดความสำเร็จในทุกสิง่ ทกุ อยา่ งตามความนกึ คิดของตนเอง
เปน็ ความตอ้ งการทยี่ ากแกก่ ารไดม้ า

1.) มนุษยท์ กุ คนมคี วามต้องการความต้องการท่ีมนษุ ย์นี้จะอยูใ่ นตัวมนษุ ยต์ ลอดไปไมม่ ีที่
สนิ้ สุด เม่อื สนใจในความตอ้ งการหน่งึ แลว้ ก็ยังต้องการในระดบั ท่สี ูงข้นึ

2.) อิทธพิ ลใดๆ ท่ีจะมีผลต่อความต้องการของมนษุ ยอ์ ย่ใู นความตอ้ งการลำดบั ขน้ั น้ันๆ
เท่าน้นั หากความต้องการลำดับขัน้ นน้ั ได้รบั การสนองให้พอใจแล้วความตอ้ งการน้ันกจ็ ะหมดอิทธิพลไป

3) ความต้องการของมนุษยจ์ ะมีลำดบั ขัน้ จากต่าํ ไปหาสงู เมอ่ื ความตอ้ งการขั้นต่ําได้รบั การ
ตอบสนองเป็นท่พี อใจแล้วความต้องการลำดบั สูงข้นึ ไปกต็ ามมา

คาร์ล โรเจอร์ส (CarlRogers)มคี วามเห็นวา่ ธรรมชาติของมนุษย์เปน็ สิง่ ท่ดี แี ละมีความสำคญั
มากโดยมคี วามพยายามท่จี ะพฒั นาร่างกายใหม้ คี วามเจริญเติบโตอยา่ งมีศกั ยภาพสูงสุด โรเจอรส์ ตงั้ ทฤษฏี
ขนึ้ มาจากการศกึ ษาปญั หาพฤติกรรมของคนไข้จากคลินิกของเขาและไดใ้ หค้ วามสนใจเกี่ยวกบั บคุ ลิกภาพ
ทีเ่ กดิ จากสุขภาพเป็นอย่างมาก ทฤษฏีของโรเจอร์เน้นถึงเกยี รตขิ องบคุ คลซงึ่ บคุ คลมคี วามสามารถที่จะทำ
การปรับปรงุ ชีวิตของตนเองเม่ือมโี อกาสเขา้ มใิ ช่จะเปน็ เพียงแต่เหยอ่ื ในขณะท่ีมีประสบการณ์ในสมัยทเ่ี ป็น
เด็กหรือจากแรงขับของจิตใตส้ ำนกึ แต่ละบคุ คลจะรจู้ กั การสงั เกตส่งิ แวดลอ้ มท่อี ยู่รอบตวั เรา โดยมี
แนวทางเฉพาะของบุคคล กลา่ วไดว้ ่า เป็นการรบั ร้สู ภาพสิง่ แวดลอ้ มซงึ่ มีความสำคญั มาก โรเจอร์เชอื่ ว่า
มนษุ ยท์ กุ คนมีตวั ตน 3 แบบ

1.ตนท่ตี นมองเห็น (Self Concept) ภาพที่ตนเหน็ เองวา่ ตนเป็นอย่างไร มีความรู้
ความสามารถ ลกั ษณะเพราะตนอย่างไร เชน่ สวย รวย เก่ง ตา่ํ ตอ้ ย ขอี้ ายฯลฯ การมองเหน็ อาจจะไม่ตรง
กับขอ้ เท็จจริงหรือภาพท่ีคนอนื่ เห็น

21

2.ตนตามท่ีเป็นจรงิ (Real Self) ตวั ตนตามข้อเทจ็ จริงแตบ่ ่อยครง้ั ทตี่ นมองไม่เห็น
ขอ้ เท็จจรงิ เพราะอาจเปน็ สง่ิ ทท่ี ำให้รสู้ ึกเสียใจไม่เท่าเทยี มกบั บคุ คลอื่น เป็นต้น

3.ตนตามอุดมคติ (Ideal Self) ตัวตนทอ่ี ยากมอี ยากเป็นแตย่ งั ไมม่ ี ไมเ่ ป็นในสภาวะปัจจุบัน
เชน่ ชอบเก็บตัวแต่อยากเก่งเข้าสงั คม เป็นตน้

ถ้าตัวตนทัง้ 3 ลกั ษณะ คอ่ นข้างตรงกนั มากจะทำใหม้ บี ุคลิกภาพมั่นคง แตถ่ ้าแตกต่างกัน
สงู จะมีความสับสนและออ่ นแอดา้ นบุคลิกภาพ

โรเจอร์ วางหลกั ไว้วา่ บคุ คลถูกกระตนุ้ โดยความตอ้ งการสำหรบั การยอมรบั นับถือทางบวก
นัน่ คือความตอ้ งการความรัก การยอมรบั และความมีคณุ คา่ บุคคลเกิดมาพร้อมกับความต้องการ การ
ยอมรบั นับถอื ในทางบวก และจะได้รบั การยอมรับนบั ถอื โดยอาศัยการศกึ ษาจากการดำเนนิ ชวี ิตตาม
มาตรฐานของบุคคลอื่น

ทฤษฏขี องโรเจอร์ กลา่ วว่า “ตนเอง”(Self) คือ การรวมกนั ของรปู แบบ ค่านิยม เจตคติ
การรบั รู้ และความรสู้ กึ ซ่งึ แตล่ ะบคุ คลมีอยแู่ ละเชอ่ื วา่ เปน็ ลักษณะเฉพาะของเขาเอง ตนเอง หมายถึง
ฉนั และตัวฉนั เปน็ ศนู ย์กลางทร่ี วมประสบการณ์ทั้งหมดของแตล่ ะบุคคล ภาพพจน์น้เี กดิ จากการที่แตล่ ะ
บคุ คลมีการเรียนรตู้ งั้ แต่วัยเริม่ แรกชีวิต ภาพพจนน์ ่นั เอง สำหรับบคุ คลทมี่ ีการปรบั ตัวดีกจ็ ะมกี าร
เปลี่ยนแปลงอย่างคงที่ และมกี ารปรบั ตัวตามประสบการณท์ แ่ี ต่ละคนมีอยู่การสังเกตและการรับรู้ เปน็
เรื่องของตนเองทปี่ รับให้เขา้ กับสภาพสิ่งแวดลอ้ มในการทำงาน เชน่ พนกั งานบางคนมีการตอบสนองอยา่ ง
มีประสิทธิภาพตอ่ สภาพสิง่ แวดล้อมในการทำงานและการเป็นผู้นำ

7. กลุ่มปัญญานิยม(Cognitive Psychology)

ผนู้ ำกลุม่ คนสำคัญ คอื เพยี เจต์ บรเู นอร์ และวายเนอร์ หลังปีค.ศ.1960 กลุ่มแนวคิด
ปญั ญานิยมได้รบั ความสนใจอย่างมาก

แนวคิดกล่มุ ปญั ญานยิ ม สนใจศึกษาเร่ืองกระบวนการทางจิต ซง่ึ เป็น พฤติกรรมภายในทีไ่ มส่ ามารถ
สังเกตได้โดยตรง ไดแ้ ก่ การรบั รู้ การจำ การคดิ และความเขา้ ใจ เชน่ ขณะท่ีเราอา่ นหนังสอื เราจะทราบ
ความสำคญั ของข้อความ คำตา่ งๆ เนอื้ หาของเร่ืองมากกวา่ การรับรู้ตัวอกั ษร

22

นกั วิจยั ในกลุ่มปญั ญานยิ มสนใจศกึ ษากระบวนการทางจิต ซึง่ เปน็ พฤติกรรมที่มองไมเ่ หน็ ภายในตัว
บุคคลด้วยวิธกี ารวัดแบบวิทยาศาสตร์ แนวความคิดของกล่มุ นี้เชื่อวา่ มนษุ ยจ์ ะเป็นผู้กระทำตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม
มากกวา่ ทำตามสิง่ แวดลอ้ ม เพราะจากความรู้ ความเช่อื และความมปี ญั ญาของมนุษย์ จะทำใหม้ นุษย์
สามารถจดั การกบั ขอ้ มลู ข่าวสารท่ีเขา้ มาในสมองมนุษยไ์ ด้ เชน่ ยรู คิ ไนเซอร(์ Ulric Neisser) กลา่ ววา่
บุคคลตอ้ งแปลผลสงิ่ ที่รบั ร้มู าเพ่อื ใหเ้ ข้าใจโลกรอบตัวของเขาได้ ดังน้นั เป้าหมายของนกั จิตวิทยากลมุ่ น้ีคอื
สามารถระบุเจาะจงได้วา่ กระบวนการของจติ เกีย่ วขอ้ งกับการแปลความหมายส่งิ ท่บี ุคคลรบั เข้ามา แล้ว
ส่งตอ่ ใหห้ น่วยรบั ข้อมลู เพ่ือแปลผลอีกครง้ั หน่ึงว่า มกี ลไกอยา่ งไรบ้างท่ชี ว่ ยจัดระบบระเบยี บการจำและ
เขา้ ใจทกุ สิ่งทุกอยา่ งทเี่ ราไดพ้ บเหน็ ไดด้ ้วยวิธใี ด การทำงานของระบบความจำ และการใชค้ วามคดิ ในการ
แก้ไขปัญหา

วิธีการศกึ ษาของนักจติ วทิ ยากลมุ่ ปญั ญานยิ ม จะเนน้ วิธีการทดลองเปน็ ส่วนใหญ่ เช่น การทดลองให้
ผรู้ ับการทดลองต้ังเทียนไขให้ขนานกับแนวฝาผนังโดยไมม่ ีอุปกรณใ์ ห้ ผรู้ ับการทดลองต้องใช้วธิ ีการ
อย่างไรกไ็ ด้ ซง่ึ มักจะประสบความยงุ่ ยากในการแก้ปญั หา และตอ้ งคิดค้นวิธกี ารใหม่ๆจากการใช้อปุ กรณท์ ่ี
มี จากการทดลองน้ีวิธีคิดแบบเกา่ ๆ จะมีผลสกดั ก้นั ความคิดใหม่ๆได้ เพราะฉะนน้ั บคุ คลจะมีวธิ ีการ
เอาชนะวิธคี ิดทตี่ นเองคนุ้ เคยได้อย่างไร และบุคคลจะสรา้ งสรรคแ์ นวคิดใหม่ๆเพ่ือแกป้ ญั หาได้อย่างไร(อนุ
ศกั ด์ิ ฉินไพศาล, 2548: ออนไลน)์

23

บทท่ี 2

หลักทฤษฎีการศึกษาและจิตวทิ ยา

ในการจดั การเรียนรนู้ ้นั ผูส้ อนจำเปน็ ทจ่ี ะต้องศกึ ษา และทำความเขา้ ใจทฤษฎีการเรียนรู้ และ
การสอนต่างๆ ในส่วนของกฎหรอื หลกั การที่สำคญั ของทฤษฎเี หล่านั้นเพือ่ นำไปประยุกตใ์ นการจดั
กจิ กรรมการเรยี นร้ใู ห้แก่ผู้เรยี นได้อยา่ งเหมาะสม ราชบัณฑติ ยสถาน (2555) ใหค้ วามหมายของการ
เรยี นรไู้ วว้ ่า เป็นกระบวนการ หรอื วิธกี ารท่ีบคุ คลใชใ้ นการสรา้ งความหมายของขอ้ มลู และสง่ิ เร้าตา่ งๆ ที่
รบั เขา้ มาทางประสาทสัมผัสใหเ้ กดิ เปน็ ความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ เจตคติ ความรสู้ ึก และพฤติกรรมที่พงึ
ประสงค์ ซ่งึ การเรยี นรูเ้ กิดขึ้นได้ ทกุ เวลา ทกุ สถานทจ่ี ากประสบการณ์ และการฝกึ หดั อบรมบม่ นิสัยทง้ั ที่
เป็นทางการ และไม่เปน็ ทางการ เน่อื งจากทฤษฎกี ารเรียนรู้และการสอนในอดตี จนถงึ ปจั จุบนั มีมากมาย
ในทน่ี จ้ี ึงแบ่งทฤษฎกี ารเรียนรู้และการสอนทีย่ งั มกี ารนำมาประยุกตใ์ ช้ในการจดั การเรียนรตู้ ามชว่ งเวลา
ออกเป็น 2 ช่วง คอื ทฤษฎกี ารเรียนรู้และการสอนในชว่ งคริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 และทฤษฎี การเรยี นรู้
และการสอนรว่ มสมยั

2.1 ทฤษฎีจิตวิทยา

2.1.1 ทฤษฏีพฤตกิ รรมนยิ ม (Behaviorism)

ทฤษฏีการเสรมิ แรง ของพาฟลอบ การปฏิกิริยาตอบสนองอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ แต่เพียง
อย่างเดียวสงิ่ เร้านั้นก็อาจจะทำใหเ้ กิดการตอบสนองเช่นน้นั ได้ถา้ หากมกี ารวางเงื่อนไขที่ถกู ต้อง

นักจิตวทิ ยาการศึกษากลมุ่ น้ี เช่น chafe Watson Pavlov, Thorndike, Skinner ซ่ึงทฤษฎขี อง
นักจิตวทิ ยากลมุ่ น้ีมีหลายทฤษฎี เชน่ ทฤษฎีการวางเง่ือนไข (Conditioning Theory) ทฤษฎี
ความสัมพันธต์ ่อเนื่อง(Connectionism Theory) ทฤษฎีการเสรมิ แรง (Stimulus-Response Theory)
ทฤษฎกี ารวางเงอ่ื นไข (Conditioning Theory) เจ้าของทฤษฎนี ้ี คอื พาฟลอบ (Pavlov) กลา่ วไว้วา่
ปฏกิ ิริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหน่งึ ของร่างกายของคนไมไ่ ด้มาจากส่ิงเรา้ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงแตเ่ พียงอยา่ ง
เดยี ว สง่ิ เรา้ นั้นก็อาจจะทาํ ใหเ้ กดิ การตอบสนองเช่นนัน้ ได้ถา้ หากมีการวางเง่อื นไขท่ีถกู ตอ้ งเหมาะสม
ทฤษฎคี วามสัมพันธต์ อ่ เนอ่ื ง (Connectionism Theory) เจา้ ของทฤษฎนี ้ี คอื ธอรน์ ไดค์ (Thorndike)

24

ซงึ่ กลา่ วไว้ว่า สิ่งเรา้ หนึ่งๆ ย่อมทำให้เกดิ การตอบสนองหลาย ๆ อย่าง จนพบส่งิ ทตี่ อบสนองทีด่ ที ่สี ดุ เขา
ไดค้ น้ พบกฎการเรียนรูท้ สี่ ำคัญคอื

1. กฎแหง่ การผล (Law of Effect)
2. กฎแหง่ การฝกึ หัด (Law of Exercise)
3. กฎแห่งความพรอ้ ม (Law of Readiness)
แนวคดิ ของธอรน์ ไดค์ นกั การศกึ ษาและจิตวิทยาชาวเยอรมัน ผู้ใหก้ ำเนนิ ทฤษฎีแห่งการเรยี นรู้ ได้
เสนอหลักการ ภารกิจของการสอนของครูไว้ 2 ประการ และเสนอหลักการเบอื้ งตน้ เกยี่ วกับเทคโนโลยี
ทางการศึกษาไว้ 5 ประการ ภารกจิ ของการสอนของครูไว้ 2 ประการ คอื
1. ควรจัดเรื่องหรือสิง่ ท่ีจะสอนต่าง ๆ ท่คี วรจะไปดว้ ยกนั ใหไ้ ด้ดำเนินไปดว้ ยกนั
2. ควรใหร้ างวลั การสมั พนั ธเ์ ช่ือมโยงท่เี หมาะสม และไม่ควรให้ความสะดวกใด ๆ ถา้ ไม่
สามารถสรา้ งความสัมพนั ธเ์ ช่อื มโยงท่ีเหมาะสมขนึ้ มาได้
หลกั การเบอื้ งต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาและการสอนของเขา ไว้ 5 ประการ คือ
1. การกระทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ ด้วยตนเอง (Self – Activity)
2. การทำให้เกิดความสนใจด้วยการจูงใจ (Interest Motivation)
3. การเตรียมสภาพทเ่ี หมาะสมทางจติ ภาพ (Preparation and Mentalset)
4. คำนงึ ถงึ เรอ่ื งเอกตั ตะบุคคล (Individualization)
5. คำนึงถงึ เรอ่ื งการถา่ ยทอดทางสังคม (Socialization)
ทฤษฎีการวางเง่อื นไข/ทฤษฎกี ารเสรมิ แรง (S-RTheory หรือ Operant Conditioning) เจา้ ของ
ทฤษฎนี ้ีคอื สกินเนอร์ (Skinner) กล่าวว่า ปฏิกริ ิยาตอบสนองหนึ่งอาจไม่ใช่เนอื่ งมาจากส่ิงเรา้ สงิ่ เดยี วสง่ิ
เร้าน้นั ๆกค็ งจะทาํ ให้เกิดการตอบสนองเชน่ เดยี วกนั ไดถ้ า้ ไดแ้ นวคดิ ของสกนิ เนอรน์ นั้ นํามาใช้ในการสอน
แบบสําเร็จรปู หรอื การสอนแบบโปรแกรม(Program Inattention) สกินเนอรเ์ ปน็ ผู้คดิ บทเรยี นโปรแกรม
เป็นคนแรก

25

คาร์เพนเตอร์และเดล (C.R. Carpenter and Edgar Dale) ไดป้ ระมวลหลักการและทฤษฏี
เทคโนโลยที างการศึกษาในลกั ษณะของการเรียนรทู้ มี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ คือ หลกั การจงู ใจ ส่ือเทคโนโลยีทาง
การศกึ ษาจะมีพลังจูงใจทสี่ ําคญั ในกิจกรรมการเรียนการ สอน เพราะเป็นส่งิ ทส่ี ามารถผลกั ดัน ส่งเสรมิ
และเพ่ิมพนู กระบวนการจงู ใจท่มี อี ทิ ธพิ ลต่อพลังความสนใจความตอ้ งการ ความปรารถนา และความ
คาดหวงั ของผเู้ รี ยนทจี่ ะศกึ ษา การพัฒนามโนทัศน์ (Concept) ส่วนบุคคล วัสดุการเรยี นการสอนจะชว่ ย
สง่ เสริมความ คิด ความเขา้ ใจแก่ผ้เู รียนแต่ละคน ดังนัน้ การเลอื ก การผลิตและการใช้วสั ดกุ ารเรยี นการ
สอน ควรจะต้องสมั พนั ธก์ บความสามารถของผสู้ อน และผเู้ รยี น กระบวนการเลอื กและการสอนด้วยส่ือ
เทคโนโลยี ความสมั พนั ธร์ ะหว่างการปฏบิ ัติเกีย่ วกับสอ่ื จะเป็นแบบลกู โซ่ในกระบวนการเรยี นการสอน
การจดั ระเบียบประสบการณเ์ ทคโนโลยที างการศึกษา ผู้เรียนจะเรยี นไดด้ จี ากสื่อ เทคโนโลยีที่จดั ระเบยี บ
เป็นระบบการมีสว่ นรวมและ การปฏบิ ตั ิ ผ้เู รยี นตอ้ งการมีส่วนร่วม และการปฏิบัตดิ ้วยตนเองมากท่สี ดุ
การฝึกซ้าํ และ การเปลยี่ นแปลงส่งิ เรา้ บ่อยๆ อัตราการเสนอสือ่ ในการเรียนการสอน อัตราหรือช่วงเวลา
การเสนอขอ้ ความรู้ต่างๆ จะต้องมีความสอดคล้องกบั ความสามารถอตั ราการเรียนรูแ้ ละประสบการณ์ของ
ผู้เรียน ความชดั เจน ความสอดคลอ้ ง และความเป็นผล การถ่ายโยงท่ีดโี ดยทก่ี ารเรียนรู้แบบเกา่ ไม่อาจ
ถ่ายทอดไปสู่การเรียนรใู้ หมไ่ ด้อยา่ ง อตั โนมัติ จงึ ควรจะต้องสอนแบบถ่ายโยงเพราะผเู้ รียนต้องการแนะนาํ
ในการปฏิบตั ิ และเจตคติท่ดี ตี ่อการเรยี นร้นู นั้ ทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อการนาํ ไปใชใ้ นสถานการณจ์ ริง การให้รู้
ผล การเรียนรูจ้ ะดขี ้นึ

สว่ นบเู กสสกี (Bugelski) ได้สนบั สนนุ ว่า การเรยี นรจู้ ะเปน็ ผลจากการกระทําของผ้เู รยี น ไม่
ใช้กระบวนการถา่ ยทอดของผสู้ อน เพื่อผู้เรยี นจะไดเ้ ช่อื มโยงความรู้ใหมไ่ ด้สะดวกซึ่งหมายถงึ วา่
เทคโนโลยที างการศกึ ษาจะเป็นตัวการประสานความรู้โดยตรงแก่ผเู้ รยี น

หลักการและทฤษฎที เ่ี กี่ยวกับนวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษายงั ต้องอาศัยวธิ ีการทส่ี าํ คัญ คือ
วธิ กี ารเชงิ มนษุ ยวทิ ยา (Humunistic Approach) ได้แก่ การทค่ี รใู หค้ วามสนใจต่อการพฒั นาในดา้ นความ
เจริญเติบโตของผู้เรยี นแตล่ ะคนวิธีการสอนเชงิ ระบบ (Systematic Approach) ได้แก่ การจัดการเรยี น
การสอน โดยอาศัยวิธรี ะบบทง้ั เพราะการเรียนการสอนเปน็ การถ่ายทอดศิลปะวฒั นธรรม ความรบั ผิดชอบ
ตอ่ สงั คมในลักษณะของการเข้าใจเน้ือหาวชิ าจิตวทิ ยาการเรยี นรู้ (ทิศนา แขมมณี, 2548: ออนไลน์)

2.1.2 ทฤษฎีพทุ ธิปญั ญานยิ ม

26

การเรียนรพู้ ฤติกรรมจากตวั แบบ ทฤษฎกี ารเรียนร้ทู างสงั คมเชงิ พุทธิปัญญา ทฤษฎกี ารเรียนรทู้ างสงั คม
เชงิ พุทธปิ ญั ญา (Social Cognitive Learning Theory) ซงึ่ เปน็ ทฤษฎีของศาสตราจารย์บนั ดรู า แหง่
มหาวิทยาลยั สแตนฟอรด์ (Stanford) ประเทศสหรัฐอเมรกิ า บนั ดรู ามีความเชือ่ วา่ การเรยี นรู้ของมนุษย์
สว่ นมากเป็นการเรยี นร้โู ดยการสังเกตหรอื การเลยี นแบบ (Bandura 1963) จงึ เรียกการเรยี นรจู้ ากการ
สังเกตว่า “การเรียนรูโ้ ดยการสังเกต” หรือ “การเลียนแบบ” และเนื่องจากมนษุ ยม์ ปี ฏสิ มั พนั ธ์
(Interact) กบั ส่ิงแวดลอ้ มท่อี ยรู่ อบ ๆ ตัวอย่เู สมอ บนั ดูราอธบิ ายวา่ การเรียนรเู้ กดิ จากปฏิสัมพนั ธ์ระหว่าง
ผู้เรียนและส่งิ แวดล้อมในสงั คม ซึง่ ท้งั ผเู้ รยี นและสง่ิ แวดลอ้ มมีอทิ ธิพลตอ่ กนั และกนั บันดรู า (1969,
1971) จงึ เปลยี่ นชือ่ ทฤษฎีการเรียนรูข้ องทา่ นวา่ การเรยี นรทู้ างสังคม (Social Learning Theory) แต่
ต่อมาไดเ้ ปลย่ี นเปน็ การเรียนรทู้ างสงั คมเชิงพทุ ธปิ ัญญา (Social Cognitive Learning Theory) อกี ครง้ั
หน่ึง

จากการทดลองวา่ สาเหตุทีส่ ำคญั อย่างหนง่ึ ในการเรียนรู้ดว้ ยการสังเกต คือ ผเู้ รียนจะตอ้ งเลอื ก
สงั เกตสิง่ ท่ีตอ้ งการเรียนรโู้ ดยเฉพาะ และสง่ิ สำคัญอีกอย่างหน่ึงก็คอื ผเู้ รียนจะตอ้ งมกี ารเข้ารหสั
(Encoding) ในความทรงจำระยะยาวได้อยา่ งถูกตอ้ ง นอกจากนี้ ผ้เู รียนตอ้ งสามารถทจ่ี ะประเมินได้ว่าตน
เลียนแบบไดด้ ีหรอื ไม่ดอี ยา่ งไร และจะตอ้ งควบคมุ พฤติกรรมของตนเองไดด้ ว้ ย (metacognitive) บันดูรา
Bandura, 1986 จึงสรุปว่า การเรยี นรูโ้ ดยการสังเกตจึงเปน็ กระบวนการทางการรู้คิดหรอื พทุ ธปิ ญั ญา
(Cognitive Processes) การเรียนรโู้ ดยการสังเกตหรอื การเลยี นแบบ (Observational Learning หรือ
Modeling)บนั ดูรา (Bandura) มีความเห็นวา่ ท้งั สงิ่ แวดล้อม และตวั ผ้เู รยี นมีความสำคัญเท่า ๆ กนั บัน
ดูรากลา่ ววา่ คนเรามปี ฏิสมั พนั ธ์ (Interact) กบั ส่งิ แวดลอ้ มที่อยู่รอบๆ ตัวเราอยู่เสมอการเรียนรู้เกดิ จาก
ปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ งผเู้ รยี นและสิ่งแวดล้อม ซึ่งท้ังผูเ้ รียนและส่ิงแวดล้อมมอี ิทธพิ ลต่อกนั และกัน พฤตกิ รรม
ของคนเราสว่ นมากจะเป็นการเรียนรโู้ ดยการสังเกต (Observational Learning) หรือการเลยี นแบบจาก
ตัวแบบ (Modeling) สำหรบั ตัวแบบไม่จำเป็นต้องเปน็ ตัวแบบทม่ี ชี ีวติ เท่าน้ัน แต่อาจจะเป็นตวั สัญลกั ษณ์
เช่น ตวั แบบทเี่ ห็นในโทรทศั น์ หรอื ภาพยนตร์หรอื อาจจะเป็นรปู ภาพการ์ตนู หนังสอื กไ็ ด้ นอกจากน้ี คำ
บอกเลา่ ด้วยคำพดู หรอื ขอ้ มลู ทเ่ี ขยี นเปน็ ลายลักษณ์อักษรก็เป็นตัวแบบได้ การเรียนรู้โดยการสงั เกตไม่ใช่
การลอกแบบจากสิง่ ท่สี ังเกตโดยผู้เรียนไมค่ ิด คุณสมบัติของผู้เรยี นมีความสำคัญ เช่น ผู้เรียนจะต้องมี
ความสามารถท่จี ะรบั รู้สิ่งเรา้ และสามารถสร้างรหัสหรอื กำหนดสญั ลกั ษณ์ของสง่ิ ทส่ี ังเกตเก็บไวใ้ น
ความจำระยะยาว และสามารถเรยี กใชใ้ นขณะท่ีผสู้ ังเกตต้องการแสดงพฤติกรรมเหมอื นตัวแบบ บนั ดรู า

27

ไดเ้ ริ่มทำการวจิ ยั เกีย่ วกบั การเรยี นรู้โดยการสงั เกต หรอื การเลยี นแบบ ตง้ั แต่ปี ค.ศ. 1960 เปน็ ต้นมา ได้
ทำการวิจัยเป็นโครงการระยะยาว และได้ทำการพิสจู นส์ มมตฐิ านทตี่ ้งั ไว้ทลี ะอย่าง โดยใชก้ ลมุ่ ทดลองและ
ควบคมุ อย่างละเอียด และเป็นข้นั ตอน ต่อไปนเี้ ปน็ ตวั อย่างของการวิจัยทีบ่ ันดูราและผรู้ ว่ มงานเก่ียวกบั
การเรยี นรู้โดยการสังเกตผลการวจิ ยั ที่ไดร้ ับความสนใจจากนักจิตวทิ ยาเปน็ อนั มาก และมีผู้นำไปทำงาน
วิจัยโดยใชส้ ถานการณแ์ ตกต่างไป ผลทไ่ี ดรบั สนับสนุนขอ้ สรปุ ของศาสตราจารย์บนั ดูราเก่ยี วกับการเร่ยี นรู้
โดยการสงั เกต การทดลองอันแรกโดย บนั ดรู า ร็อส และรอ็ ส (Bandural, Ross&Roos, 1961) เป็นการ
แสดงพฤติกรรมกา้ วร้าวโดยการสงั เกต บนั ดูราและผรู้ ว่ มงานไดแ้ บง่ เด็กออกเปน็ 3 กลุม่ กลมุ่ หนึง่ ใหเ้ ห็น
ตวั อยา่ งจากตัวแบบทม่ี ชี วี ติ แสดงพฤติกรรมกา้ วรา้ ว เด็กกลุ่มทสี่ องมตี ัวแบบที่ไมแ่ สดงพฤติกรรมกา้ วรา้ ว
และเด็กกลุ่มทสี่ ามไมม่ ีตวั แบบแสดงพฤตกิ รรมใหด้ ูเปน็ ตวั อยา่ ง ในกลุ่มมีตัวแบบแสดงพฤตกิ รรมกา้ วร้าว
การทดลองเรมิ่ ด้วยเดก็ และตวั แบบเลน่ ต๊กุ ตา (Tinker Toys) สกั ครู่หน่ึงประมาณ 1 – 10 นาที ตัวแบบ
ลกุ ขน้ึ ต่อย เตะ ทุบ ตุ๊กตาทท่ี ำดว้ ยยางแล้วเป่าลม ฉะนั้นตุ๊กตาจึงทนการเตะตอ่ ยหรอื แม้วา่ จะนง่ั ทับหรือ
ยนื กไ็ มแ่ ตก สำหรบั เด็กกลุ่มทีส่ อง เดก็ เล่นตุ๊กตาใกล้ ๆ กบั ตวั แบบ แตต่ วั แบบไมแ่ สดงพฤติกรรมกา้ วร้าว
ให้ดเู ป็นตัวอยา่ ง เด็กกลมุ่ ทสี่ ามเลน่ ตุ๊กตาโดยไมม่ ตี วั แบบ หลังจากเล่นตกุ๊ ตาแล้วแม้ผู้ทดลองพาเดก็ ไปดู
ห้องท่มี ตี กุ๊ ตาทนี่ ่าเลน่ มากกว่า แตบ่ อกว่าหา้ มจบั ตกุ๊ ตา เพ่ือจะใหเ้ ดก็ รสู้ ึกคับขอ้ งใจ เสร็จแล้วนำเด็กไปอกี
ห้องหน่งึ ทีละคน ซง่ึ มีตกุ๊ ตาหลายชนดิ วางอยแู่ ละมตี กุ๊ ตายางท่ีเหมอื นกบั ตกุ๊ ตาทตี่ วั แบบเตะต่อยและทุบ
รวมอยู่ด้วย ผลการทดลองพบวา่ เดก็ ท่ีอยู่ในกลุ่มทมี่ ตี ัวแบบแสดงพฤตกิ รรมก้าวรา้ วจะแสดงพฤตกิ รรม
ก้าวรา้ ว เตะต่อยทบุ รวมทงั้ นั่งทบั ต๊กุ ตายางเหมือนกบั ทีส่ งั เกตจากตัวแบบแสดงและค่าเฉลยี่ (Mean)
ของพฤตกิ รรมก้าวร้าวทแ่ี สดงโดยเดก็ กลมุ่ น้ที งั้ หมดสูงกว่าค่าเฉล่ยี ของพฤติกรรมกา้ วร้าวของเดก็ กล่มุ ที่
สองและกลุ่มที่สามการทดลองที่สองก็เปน็ การทดลองของบนั ดรู า ร็อส และ รอ็ ส (1963) วธิ กี ารทดลอง
เหมอื นกับการทดลองที่หนึง่ แต่ใชภ้ าพยนตร์แทนของจริง โดยกล่มุ หนง่ึ ดภู าพยนตรท์ ี่ตวั แบบ แสดง
พฤติกรรมก้าวร้าว อกี กล่มุ หน่ึงดภู าพยนตรท์ ต่ี วั แบบไมแ่ สดงพฤตกิ รรมกา้ วร้าว ผลของการทดลองทไ่ี ด้
เหมอื นกับการทดลองที่หนง่ึ คอื เด็กท่ดี ภู าพยนตรท์ ม่ี ีตวั แบบแสดงพฤติกรรมกา้ วร้าว จะแสดงพฤตกิ รรม
ก้าวรา้ วมากกว่าเดก็ ท่ีอยใู่ นกลมุ่ ทด่ี ภู าพยนตรท์ ต่ี วั แบบไม่แสดงพฤตกิ รรมทก่ี ้าวรา้ ว บนั ดูรา และเม็นลอฟ
(Bandural & Menlove, 1968) ไดศ้ ึกษาเก่ียวกับเดก็ ซึ่งมีความกลวั สตั วเ์ ล้ยี ง เช่น สนุ ัข จนกระทงั่
พยายามหลีกเลี่ยงหรอื ไมม่ ีปฏิสัมพนั ธ์กบั สัตว์เล้ยี ง บนั ดูราและเมน็ ลอฟไดใ้ ห้เดก็ กลมุ่ หน่ึงทมี่ คี วามกลวั
สนุ ัขไดส้ ังเกตตวั แบบทีไ่ มก่ ลวั สนุ ัข และสามารถจะเล่นกบั สุนัขไดอ้ ย่างสนกุ โดยเรม่ิ จากการคอ่ ย ๆ ใหต้ วั
แบบเลน่ แตะและพดู กบั สุนขั ท่ีอยใู่ นกรงจนกระทง่ั ในทส่ี ดุ ตวั แบบเข้าไปอยูใ่ นกรงสุนัข ผลของการทดลอง

28

ปรากฏวา่ หลังจากสังเกตตัวแบบทไี่ ม่กลวั สุนัข เด็กจะกลา้ เลน่ กับสนุ ขั โดยไมก่ ลัว หรือพฤตกิ รรมของเดก็ ที่
กล้าทจ่ี ะเลน่ กับสุนขั เพิ่มข้นึ และพฤติกรรมทีแ่ สดงวา่ กลวั สนุ ัขจะลดน้อยไป การทดลองของบันดรู าที่
เก่ียวกับการเรียนรูโ้ ดยการสงั เกตหรอื เลยี นแบบมผี นู้ ำไปทำซ้ำ ปรากฏผลการทดลองเหมอื นกบั บันดูรา
ไดร้ ับ นอกจากน้มี นี กั จิตวิทยาหลายท่านไดใ้ ช้แบบการเรยี นรู้ โดยวิธกี ารสงั เกตในการเรียนการสอนวชิ า
ต่างๆ (ทิศนา แขมมณี, 2548: ออนไลน์)

2.1.3 ทฤษฏกี ลุ่มการศกึ ษากล่มุ ปัญญานิยม

ปัญญา นิยมหรอื กลมุ่ ความร้คู วามเข้าใจ หรอื บางครั้งอาจเรยี กวา่ กลุ่มพทุ ธินิยม เปน็ กลมุ่ ทเี่ นน้
กระบวนการทางปญั ญาหรือความคิด นักคดิ กลุ่มนี้ ไดข้ ยายขอบเขตของความคิดทเี่ นน้ ทางด้านพฤติกรรม
ออกไปสู่กระบวนการทางความคิด ซงึ่ เปน็ กระบวนการภายในสมอง นกั คดิ กลุ่มนเ้ี ชอ่ื ว่าการเรยี นรขู้ อง
มนษุ ยไ์ ม่ใช่เร่ืองของพฤติกรรมทเี่ กดิ จากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพยี งเท่าน้นั การเรยี นรขู้ อง
มนุษย์มคี วามซบั ซ้อนยงิ่ ไปกวา่ นน้ั การเรียนรเู้ ปน็ กระบวนการทางความคดิ ที่เกดิ จากการสะสมข้อมลู การ
สร้างความหมาย และความสมั พันธ์ของขอ้ มลู และการดงึ ขอ้ มลู ออกมาใชใ้ นการกระทำและการแกป้ ญั หา
ต่างๆ การเรยี นรเู้ ปน็ กระบวนการทางสติปญั ญาของมนุษย์ในการท่จี ะสร้างความรคู้ วาม เขา้ ใจใหแ้ ก่
ตนเอง

ทฤษฎีการเรยี นรทู้ ส่ี ำคญั ของกลมุ่ ปัญญานิยม มีดังตอ่ ไปนี้
1. ทฤษฏีการเรียนรูข้ องกลมุ่ เกสตลั ท์ ( Gestalt Theory) นกั จิตวิทยาคนสำคัญของ

ทฤษฎนี ้ี คือ แมกซ์ เวอรไ์ ทม์เมอร์ (Max Wertheimer) วลุ ฟ์ แกงค์ โคห์เลอร์ (Wolfgang Kohler) เคิรท์
คอฟฟก์ า (Kurt Koffka)

2. ทฤษฎีเครอื่ งหมาย (Sign Theory) ของทอลแมน (Tolman)
3. ทฤษฎพี ฒั นาการทางสติปัญญา (Intellectual Development Theory)
นักจติ วทิ ยาคนสำคญั คือ เพียเจต์ (Piaget) และ บรเุ นอร์ (Bruner)
4. ทฤษฎีการเรยี นรูอ้ ย่างมีความหมาย (A Theory of Meaningful Verbal
Learnning)ของ ออซูเบล (Ausubel)
5. ทฤษฎีสนาม (Field Theory) นักจติ วิทยาคนสำคญั คือ เคริ ท์ เลวิน (Kurt Lewin)
ซ่ึงเคยอย่ใู นกลมุ่ ทฤษฎขี องเกสตัลท์ และไดแ้ ยกตัวออกมาในภายหลงั

29

6. ทฤษฎคี วามยืดหย่นุ ทางปัญญา (Cognitive Flexibility Theory)
7. ทฤษฎโี ครงสร้างความรู้ (Schema Theory) มีนกั จิตวิทยาที่สำคัญ คอื รูเมลฮารท์
และออโทน่ี (ทิศนา แขมมณี, 2548: ออนไลน์)

2.2 การศึกษา

2.2.1 ธรรมชาติของการศึกษา

ธรรมชาติของการเรียนรู้ มี 4 ข้นั ตอน คือ
1. ความตอ้ งการของผู้เรียน (Want) คือ ผู้เรยี นอยากทราบอะไร เมอ่ื ผเู้ รยี นมคี วาม

ต้องการอยากรู้อยากเห็นในสิง่ ใดกต็ าม จะเปน็ สง่ิ ทีย่ ่ัวยุให้ผเู้ รียนเกดิ การเรยี นรู้ได้
2. สง่ิ เรา้ ท่ีน่าสนใจ (Stimulus) กอ่ นที่จะเรยี นรไู้ ด้ จะตอ้ งมสี ิง่ เรา้ ทนี่ ่าสนใจ และนา่

สมั ผสั สำหรบั มนษุ ย์ ทำให้มนษุ ย์ดน้ิ รนขวนขวาย และใฝ่ใจทีจ่ ะเรียนร้ใู นสง่ิ ท่ีน่าสนใจนน้ั ๆ
3. การตอบสนอง (Response) เม่อื มีสง่ิ เรา้ ที่นา่ สนใจและน่าสัมผสั มนษุ ย์จะทำการ

สมั ผัสโดยใช้ประสาทสมั ผัสต่างๆเช่น ตาดู หูฟัง ล้ินชิม จมกู ดม ผวิ หนงั สัมผัส และสัมผสั ดว้ ย
ใจ เป็นตน้ ทำใหม้ กี ารแปลความหมายจากการสมั ผัสสง่ิ เร้าเป็นการรับรู้ จำได้ ประสาน
ความรู้เขา้ ด้วยกนั มีการเปรยี บเทียบ และคดิ อย่างมเี หตุผล

4. การไดร้ ับรางวัล (Reward) ภายหลังจากการตอบสนอง มนษุ ย์อาจเกดิ ความพงึ
พอใจ ซ่ึงเป็นกำไรชีวิตอย่างหนีง่ จะได้นำไปพัฒนาคุณภาพชวี ิต เช่น การได้เรยี นรู้ ในวิชาชีพ
ช้ันสงู จนสามารถออกไปประกอบอาชีพชนั้ สงู (Professional) ไดน้ อกจากจะไดร้ บั รางวัล
ทางเศรษฐกจิ เป็นเงินตราแล้ว ยงั จะไดร้ บั เกียรตยิ ศจากสงั คมเป็นศกั ดศิ์ รี และความ
ภาคภมู ิใจทาง (นายปรเมษฐ์ ศรีทาสงั ข์, ม.ป.ป: ออนไลน)์

2.2.2 ลำดบั ขั้นตอนของการศกึ ษา

ลำดบั ขนั้ ของการเรยี นรใู้ นกระบวนการเรยี นรู้ของคนเรานั้น จะประกอบดว้ ยลำดับขั้นตอน
พน้ื ฐานท่สี ำคัญ 3 ขั้นตอนด้วยกนั คอื

(1) ประสบการณ์
(2) ความเข้าใจ
(3) ความนกึ คดิ

30

1. ประสบการณ์ (experiences) ในบคุ คลปกตทิ กุ คนจะมีประสาทรับรอู้ ยูด่ ้วยกนั ท้ังนนั้
สว่ นใหญท่ ีเ่ ปน็ ทเ่ี ขา้ ใจก็คอื ประสาทสัมผัสทงั้ หา้ ซง่ึ ไดแ้ ก่ ตา หู จมกู ลิน้ และผวิ หนัง
ประสาทรับรู้เหล่าน้จี ะเป็นเสมอื นชอ่ งประตทู จ่ี ะให้บุคคลได้รับรแู้ ละตอบสนองต่อสง่ิ เร้าต่าง
ๆ ถา้ ไม่มีประสาทรับรเู้ หล่านแี้ ล้ว บุคคลจะไมม่ ีโอกาสรับรหู้ รอื มีประสบการณ์ใด ๆ เลย ซึ่งก็
เท่ากบั เขาไมส่ ามารถเรียนรู้สิง่ ใดๆ ไดด้ ้วยประสบการณต์ า่ งๆ ท่บี คุ คลได้รับน้นั ยอ่ มจะ
แตกต่างกัน บางชนดิ กเ็ ป็นประสบการณ์ตรง บางชนิดเป็นประสบการณแ์ ทนบางชนิดเปน็
ประสบการณร์ ูปธรรม และบางชนิดเป็นประสบการณ์นามธรรม หรือเป็นสัญลักษณ์

2. ความเขา้ ใจ (understanding) หลงั จากบุคคลไดร้ บั ประสบการณ์แลว้ ข้ันตอ่ ไปก็
คอื ตีความหมายหรือสรา้ งมโนมต(ิ concept) ในประสบการณน์ ัน้ กระบวนการน้ีเกดิ ขึน้ ใน
สมองหรือจิตของบุคคล เพราะสมองจะเกิดสญั ญาณ (percept) และมีความทรงจำ (retain)
ขึ้น ซ่งึ เราเรียกกระบวนการนวี้ า่ "ความเข้าใจ" ในการเรยี นรูน้ นั้ บุคคลจะเข้าใจ
ประสบการณ์ท่เี ขาประสบไดก้ ต็ ่อเมอื่ เขาสามารถจัดระเบียบ (organize) วิเคราะห์

(analyze) และสังเคราะห์ (synthesis) ประสบการณต์ า่ งๆ จนกระทง่ั หาความหมายอัน
แทจ้ ริงของประสบการณน์ นั้ ได้

3. ความนึกคดิ (thinking) ความนึกคิดถอื วา่ เปน็ ขน้ั สดุ ท้ายของการเรียนรู้ ซงึ่ เปน็
กระบวนการทเ่ี กดิ ขึน้ ในสมอง Crow (1948) ไดก้ ล่าวว่า ความนึกคดิ ท่มี ีประสทิ ธิภาพนัน้
ต้องเปน็ ความนกึ คิดที่สามารถจดั ระเบยี บ (organize) ประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์
ใหมท่ ไี่ ดร้ บั ใหเ้ ข้ากนั ได้ สามารถที่จะคน้ หาความสมั พันธ์ระหว่างประสบการณท์ ั้งเก่าและ
ใหม่ ซ่ึงเปน็ หัวใจสำคัญทจี่ ะทำใหเ้ กิดบูรณาการการเรยี นร้อู ยา่ งแทจ้ รงิ (นายปรเมษฐ์ ศรที า
สงั ข,์ ม.ป.ป: ออนไลน)์

2.2.3 ปจั จยั ที่มอี ทิ ธิพลตอ่ การศกึ ษา

1. คณุ ภาพผู้สอน ปกติคนท่ีจะมีอาชีพสอนหนังสือจะต้องเปน็ คนท่ีมผี ลการเรียนดี หรอื
เปน็ คนเรียนเกง่ สถาบนั การศกึ ษาทม่ี ีช่ือเสียงทัว่ โลกทกุ ระดับจะพยามคัดเลอื กคนเก่งใหเ้ ป็น
ผูส้ อน ในอดตี ประเทศไทยเราใครจะเรียนครตู อ้ งเป็นคนเก่งจงึ จะเข้าเรียนได้ แตใ่ นระยะหลัง
นี้เราไม่สามารถดงึ ดดู ให้คนเกง่ มาเรยี นครูได้ โดยเฉพาะการศึกษาขั้นพน้ื ฐานหาคนเกง่ มา

31

เปน็ ครูยาก ทำใหม้ ีผลกระทบตอ่ คณุ ภาพการศึกษาของเรามาโดยตลอด ในขณะทปี่ ระเทศ
เกาหลใี ต้ประสบความสำเรจ็ มากในการดึงดูดคนเกง่ มาสอนหนังสือ

2. หลกั สูตรและระบบการเรียนการสอน กล่าวคือหลักสูตรตอ้ งเปน็ หลักสตู รทีท่ นั สมยั
สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของสงั คม และมีระบบการเรยี นการสอนทเี่ สรมิ สร้างทักษะการ
คดิ การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง แตป่ ญั หาหลกั ของระบบการ
เรียนการสอนของไทยคอื การสอนให้ทอ่ งจำ ไมม่ ที ักษะในการคิดและวิเคราะห์ ทำให้ไมม่ ี
ความคิดสรา้ งสรรค์

3. ผูเ้ รียน โดยธรรมชาติคนเราเกิดมามภี ูมิปัญญาต่างกนั แต่ปรัชญาการศกึ ษาถอื ว่า
คนเราทุกคนทีเ่ กดิ มาลว้ นมีความสามารถทั้งส้นิ เป็นหนา้ ที่ของครอบครัวและโรงเรียนที่
จะต้องค้นใหพ้ บวา่ เด็กมีทกั ษะในด้านใด แล้วสง่ เสริมใหเ้ ด็กม่ีโอกาสไดพ้ ฒั นาตามทกั ษะของ
ตนใหเ้ ตม็ ความสามารถ เดก็ ทกุ คนกจ็ ะมโี อกาสประสบความสำเร็จตามความสามารถของตน
ได้ แตป่ ญั หาหลกั ของเรากค็ ือเด็กจำนวนมากไม่มโี อกาสไดพ้ ัฒนาตามทกั ษะทีต่ นถนดั ทำให้
กลายเป็นคนดอ้ ยความสามารถไปโดยปริยาย

4. ปัจจัยส่งเสรมิ การเรียนการสอน เชน่ ห้องสมุด ห้องทดลองวทิ ยาศาสตร์
หอ้ งปฏิบัติการฝึกงาน หอ้ งปฏบิ ัติการระบบสารสนเทศ อุปกรณ์กฬี า และดนตรี เป็นต้น
สถาบันการศกึ ษาทมี่ ีปัจจยั ส่งเสริมการเรยี นการสอนอยา่ งครบถ้วนทุกด้านจะช่วยให้การ
เรียนการสอนมคี ุณภาพและประสิทธภิ าพสงู แตโ่ รงเรียนหรือสถาบันการศกึ ษาจำนวนมาก
ไม่สามารถจดั หาปจั จัยสง่ เสรมิ การเรียนการสอนดังกลา่ วได้อยา่ งเหมาะสม ทำใหก้ ารจดั
การศกึ ษาไมม่ คี ุณภาพ

5. การจัดการการศกึ ษา ประเด็นนี้ถอื วา่ มีความสำคัญอย่างยิ่งเพราะผู้บริหาร
สถาบนั การศกึ ษาต้องรับผดิ ชอบการจัดการศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพ ท้ังเรอื่ งการจัดใหม้ ีผ้สู อนทีม่ ี
คณุ ภาพ การจดั หาทรัพยากรให้เพยี งพอต่อการจัดการศกึ ษาอย่างมคี ณุ ภาพ โดยเฉพาะอย่าง
ยิง่ ผบู้ รหิ ารตอ้ งมภี าวะผ้นู ำในการขับเคลอื่ นสถาบนั การศึกษาให้บรรลุเป้าหมายของการจดั
การศกึ ษาอย่างมคี ุณภาพ แตป่ ัญหาหลกั ของไทยคอื มสี ถาบันการศกึ ษาจำนวนมากที่
ผู้บริหารไมม่ ภี าวะผนู้ ำและไมใ่ ส่ใจในการพฒั นาใหก้ ารศกึ ษามีคุณภาพ

32

นอกจากน้ยี ังมีผลงานวจิ ยั ยนื ยันวา่ ปัจจยั สง่ เสริมคุณภาพการศึกษาทส่ี ำคญั อกี ประการ
หนง่ึ คอื ความเอาใจใสข่ องครอบครวั ถ้าครอบครัวโดยเฉพาะคุณพอ่ คณุ แมม่ เี วลาเอาใจใส่
ตดิ ตามการเรยี นของบตุ รหลานอย่างสม่ำเสมอและช่วยให้คำแนะนำอย่างใกล้ชิด จะทำให้
เด็กมีผลสมั ฤทธ์ิทางการศกึ ษาสงู ซ่ึงจะเหน็ ได้จากครอบครวั คนชัน้ กลางในสงั คมไทยที่คณุ
พ่อคุณแมม่ เี วลาเอาใจใส่ให้คำแนะนำบุตรหลานอยา่ งใกล้ชดิ เด็กกจ็ ะมผี ลสมั ฤทธิ์ทาง
การศึกษาดกี ว่าลูกหลานคนยากจนท่ีคุณพอ่ คุณแมไ่ มม่ เี วลาสนใจเพราะตอ้ งดิน้ รนหาเช้ากิน
คำ่ ประเทศไทยเรามีเพยี งคนส่วนนอ้ ยทม่ี โี อกาสได้ศกึ ษาในสถาบนั การศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพ
โดยเฉพาะบตุ รหลานของคนชนั้ กลางข้นึ ไปที่ครอบครัวมีเวลาเอาใจใส่ใกล้ชดิ ทำให้มโี อกาส
ดกี วา่ บุตรหลานของคนยากจน การที่มีโอกาสทางการศกึ ษาดกี วา่ ทำใหม้ ีโอกาสได้ทำงาน
ดกี วา่ โอกาสในการประสบความสำเร็จในชวี ิตจึงมีมากกว่าบตุ รหลานคนยากจนโดยทัว่ ไป

33

บทท่ี 3
สรปุ

ปัจจุบนั การศึกษาของสังคมไทยมีความสำคญั อย่างมากต่อตัวของเด็กทุกๆคน
การศกึ ษาสามารถพฒั นาบุคคลใหเ้ ป็นคนท่ดี ี มคี วามรู้ ความสามารถในเร่ืองต่างไมว่ า่ จะเป็น
เรอ่ื งการตัดสนิ ใจ การเรียนรู้ ทต่ี อ้ งค่อยๆฝกึ ฝนไปเรอื่ ยๆ พบว่าสภาพครอบครวั ในปจั จุบัน
มคี วามหลากแตกตา่ งกันออกไป การเลี้ยงดู การอบรมสงั่ สอน เมือ่ ตอ้ งมาอยู่ในสังคม
เดยี วกนั จงึ เปน็ เร่ืองท่สี ำคญั อย่างมากในการที่ต้องเรยี นร้ใู นสงิ่ ท่ผี ดิ ทีถ่ กู คนเราทกุ คนลว้ น
แล้วต้องลองผดิ ลองถกู กันเพ่อื ให้ชีวิตของเราไดด้ ำรงอย่อู ยา่ งรอด ปลอดภัย

การท่ีคนๆนงึ จะเตบิ โตมาได้ในสงั คมๆหน่ึงยากพอสมควร เหมอื นอยา่ งเช่น แนวคดิ ของ
จติ วิทยาทา่ นหนง่ึ ทีไ่ ดก้ ลา่ ววา่ คนเราตอ้ งลองผิดลองถกู นกั จิตวิทยามแี นวคิดในเร่อื งทฤษฏี
ทแี่ ตกตา่ งกันไปตามแนวคิดของตัวเอง ทฤษฎีของแต่ละทา่ นลว้ นแล้วแตม่ คี วามสำคัญหมด
ทุกทฤษฏี เราไดท้ ำการศึกษาทฤษฎีของแต่ละท่านมาเพอื่ เป็นแนวทางในการใชช้ ีวิตและเปน็
ความรแู้ ก่ตวั ของเราเอง

ทฤษฏขี องแตล่ ะท่านโดยสรปุ คือ
1. ทฤษฎขี องพาลอฟ (การเรียนรแู้ บบวางเงอื่ นไข)
กล่าวคือ การเรยี นรู้ของสง่ิ มีชวี ิตมกั เกิดจากการวางเงื่อนไขจนนำไปสู่การเกดิ
พฤติกรรมตอบสนองต่อส่ิงเรา้ ซงึ่ สามารถอธิบายเพมิ่ เติมไดว้ า่ เม่อื พฤตกิ รรมเหล่านีเ้ กิดขนึ้
ซำ้ หลายๆครง้ั จนผู้ถกู วางเงอื่ นไขเกิดการเรยี นรู้ครั้งต่อไปก็จะเกดิ พฤติกรรมตอบสนองโดย
อตั โนมัติเพยี งแคม่ สี ่ิงเร้าเกดิ ขนึ้ โดยไมต่ อ้ งบอกเงอื่ นไขซ้ำอกี 3 ลำดบั ขั้น ครสู ามารถใช้
หลกั การเรียนร้ขู องทฤษฏีน้ีเพือ่ พัฒนาการเรียนรูข้ องเดก็ ให้มีประสิทธภิ าพมากข้นึ
2. ทฤษฎขี องวัตสัน (การเรยี นร้แู บบวางเงอื่ นไข)
กล่าวคอื ทุกๆพฤติกรรมต่างๆของมนษุ ยจ์ ะเกดิ ขึน้ ภายใตอ้ ทิ ธพิ ลของส่ิงแวดลอ้ ม

34

คนเราเกิดมาจะมปี ฏกิ ิรยิ าทางอารมณท์ ต่ี ดิ ตวั มาโดยไม่ต้องเรยี นร้อู ยู่ 3 อย่าง คือ
- ความกลวั
- ความโกรธ
- ความรกั
มี 2 ลำดับขั้น ครสู ามารถทจี่ ะหลกั การเรยี นรูข้ องทฤษฏนี ี้ ในการควบคุมผเู้ รยี น
3. ทฤษฎีของธอรน์ ไดท์ (การเรียนร้แู บบลองผิดลองถกู )
เป็นการเชือ่ มโยงระหวา่ งสง่ิ เร้ากบั การตอบสนองโดยการตอบสนองจะแสดงออกใน
หลายๆรปู แบบจนกวา่ จะพบรูปแบบทด่ี ีท่สี ดุ เรียกวา่ การลองผดิ ลองถูกมี 3 ลำดับขัน้
1. เปน็ การเปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นไดล้ องผดิ ลองถกู ด้วยตัวเอง
2. เมือ่ ผู้เรียนเกิดการรแู้ ล้ว ครสู ามารถทจ่ี ะฝึกใหผ้ ู้เรยี นนำการเรยี นรู้นน้ั ไปใช้ใน
ชวี ิตประจำวันได้
3. การให้ผู้เรยี นได้รับผลทต่ี ัวเองพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียน การสอน ประสบ
ความสำเร็จ
4. ทฤษฎีของสกนิ เนอร์ (การเรียนรูโ้ ดยการวางเงื่อนไขแบบ Type R)
และให้ความสำคัญต่อการเสริมแรงเป็นการเชอ่ื มโยงสิ่งเรา้ กับพฤติกรรมตอบสนอง
เชน่ เดียวกนั แต่จะให้ความสำคัญต่อการตอบสนองมากกวา่ ส่ิงเรา้ และยงั ใหค้ วามสำคัญใน
เรื่องของการเสริมแรง หรอื พูดไดว้ า่ อตั ราการเกดิ พฤตกิ รรมตอบสนองข้นึ อยู่กบั ผลของการ
กระทำทเี่ รียกว่า การเสรมิ แรงหรอื การลงโทษทง้ั ทางบวกและทางลบ สามารถที่จะใช้ทฤษฏี
นี้ ในการพัฒนาความสามารถของผู้เรยี นได้อย่างเต็มที่ ดว้ ยการเสรมิ แรงใหก้ ับผเู้ รยี น เช่น
ใหค้ ำชมเม่อื ผู้เรียนทำดี และในการลงโทษครสู ามารถทีจ่ ะลงโทษผเู้ รียนในทางบวกได้
5. เกสตัลท์ (การเรยี นรจู้ ากการรบั รู้และการหยงั่ เห็น)

35

ผเู้ รียนมองเห็นความสัมพันธข์ องสถานการณท์ เ่ี ป็นปัญหา แล้วนำความสัมพันธน์ ้นั มาใช้
ในการแกป้ ัญหาได้ ทั้งนนั้ ในการแกป้ ญั หาในแตล่ ะคนจะแตกตา่ งกันข้ึนอยูก่ บั สตปิ ัญญา
ความสามารถ วฒุ ิภาวะ และประสบการณ์ท่ีเคยพบมาในอดตี ดว้ ย 4 ลำดบั ขัน้

1. ครูสามารถที่จะจดั การเรียนการสอนให้มคี วามยากง่ายให้เหมาะสมกบั ระดับของ
ผู้เรยี น

2. ครสู ามารถจดั ประสบการณก์ ารเรียนรูใ้ ห้มคี วามหลากหลาย
กล่าวโดยสรุป คือ จิตวทิ ยาการศึกษา มปี ระโยชนต์ ัวผศู้ กึ ษาเพราะจะไดแ้ นวคดิ และรู้
ถงึ แนวคิดของนกั จิตวิทยาท่านตา่ งๆและสามารถนำความรู้มาใชต้ ่อไปได้ควบค่กู บั การศกึ ษา
ในสงั คมไทยปจั จุบนั นี้

36

บรรณานุกรม

“ประโยชน์ของจิตวิทยา,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก:

https://sites.google.com/site/group1class52557/1- khwam-hmay-khxng-citwithya/1-6-

prayochn-khxng-citwithya-kar-suksa 2559 [สืบคน้ เมอ่ื 26

กรกฎาคม 2564].

“ความหมายของจติ วิทยา,” [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก:
https://sites.google.com/site/group1class52557/1-khwam-hmay-khxng-citwithya/1-1-ssss
2559

[สืบค้นเมื่อ 26 กรกฎาคม 2564].

“ความสำคัญของจิตวิทยา,” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก:
https://sites.google.com/site/group1class52557/1-khwam-hmay-khxng-citwithya/1-2-
khwam-sakhay-khxng-citwithya-laea-rabeiyb-withi-kar-suksa-keiyw-kab-citwithya 2559

[สืบคน้ เมื่อ 26 กรกฎาคม 2564].

“จุดมุ่งหมายของจติ วทิ ยา,” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก:
https://sites.google.com/site/group1class52557/1-khwam-hmay-khxng-citwithya/1-4-cud-
mung-hmay-khxng-citwithya-kar-suksa 2559

[สบื ค้นเม่อื 26 กรกฎาคม 2564].

“ขอบขา่ ยของจติ วทิ ยา,” [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก:
https://sites.google.com/site/group1class52557/1-khwam-hmay-khxng-citwithya/1-5-
khxbkhay-khxng-citwithya-kar-suksa 2559

[สืบคน้ เม่ือ 26 กรกฎาคม 2564].

37

“แนวความคิดของนักจติ วิทยาพฤตกิ รรม,” [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก:
https://sites.google.com/site/group1class52557/1-khwam-hmay-khxng-citwithya/1-7-
naew-khwam-khid-khxng-nak-citwithya-kar-suksa 2559
[สืบค้นเม่อื 26 กรกฎาคม 2564].

“แนวความคดิ ของนักจติ วทิ ยาการกล่มุ ต่างๆเกี่ยวกับพฤตกิ รรมมนษุ ย์,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก:
https://sites.google.com/site/group1class52557/1-khwam-hmay-khxng-citwithya/1-8-
naew-khwam-khid-khxng-nak-citwithya-klum-tang-keiyw-kab-phvtikrrm-mnusy 2559
[สืบคน้ เม่ือ 26 กรกฎาคม 2564].

“ทฤษฏกี ารเรยี นรู้,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
https://sites.google.com/site/sawettaporn17/assignments/thvstihlaksutr 2559
[สืบคน้ เมื่อ 26 กรกฎาคม 2564].

“ทฤษฏีจติ วทิ ยาการเรียนรู้,” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก:
https://sites.google.com/site/psychologybkf1/home/citwithya-kar-suksa/thvsdi-thang-
citwithya-kar-suksa 2559
[สบื คน้ เมือ่ 26 กรกฎาคม 2564].


Click to View FlipBook Version