หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์
ผู้เรียบเรียง : เด็กชายกฤตพจน์ ศรีสุข
คานา
บทเรียนเว็บบล็อก รายวิชาการออกแบบผลติ ภัณฑ์ จัดทาข้ึน เพื่อใชป้ ระกอบการจัด
กจิ กรรมการเรยี นการสอน ซึ่งไดร้ วบรวมเนอื้ หาจากประสบการณ์ในการเรยี นการสอนมา
บูรณาการให้เปน็ บทเรียนทีม่ ีความสมบูรณ์ เขา้ ใจงา่ ย เพือ่ ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรไู้ ดด้ ้วย
ตนเอง
การจัดการเรียนการสอนดว้ ยบทเรียนเวบ็ บลอ็ กจึงเปน็ ทางเลือกหน่ึงในการสร้างสื่อ
การเรียนการสอน โดยผู้เรียนสามารถเรยี นรูผ้ า่ นระบบเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ ได้ตาม
ความสามารถและความสนใจของตนเอง อีกทัง้ ยังเอื้ออานวยความสะดวกในเรือ่ งของเวลา
และสถานที่ ผูเ้ รียนสามารถเขา้ ศึกษาเนอื้ หาบทเรียนไดต้ ามความตอ้ งการ หากขอ้ มูลขาดตก
ไมค่ รบถว้ นคณะผู้จัดทาตอ้ งขออภัยมา ณ ทน่ี ี้ด้วย คณะผู้จัดทาหวังวา่ ผูอ้ า่ นจะไดร้ ับ
ประโยชนไ์ ม่มากก็นอ้ ย
คณะผูจ้ ัดทา
สารบัญ หน้าที่
เรือ่ ง 1
2
สาระสาคัญ 3-4
5 การใชเ้ ครื่องมือหนว่ ยที่ปรับแตง่ 5
-ประเภท 3D Model 6-7
-สว่ นประกอบ 3D Mode 8
-คุณสมบัติ 3D Model 9-10
เครื่องมือผลัก/ดงึ วัตถุ 11-12
-การใช้ Push/Pull กับพื้นผิวทัว่ ไป 13-15
-การใช้ Push/Pull เพ่มิ ความซับซอ้ นใหพ้ ื้นผิว 16
-การใช้ Push/Pull เจาะวัตถุ 17-18
เครื่องมือเคลือ่ นย้ายวัตถุ 19-20
-การเคลือ่ นย้ายทัว่ ไป 21-23
-การเคลื่อนยา้ ยและทาสาเนา 24
การปรับแต่งรูปทรงดว้ ยเคร่อื งมือ Move 25-26
เครือ่ งมือหมุนวัตถุ 27
-การใช้ Rotate หมุนวัตถุ 28
-การใช้ Rotate ยา้ ยวัตถุแนวโค้ง 29
-การใช้ Rotate บิดพืน้ ผิวของวัตถุ 30-31
เครื่องมือปรับขนาดวัตถุ 32
-การใช้ Scale ปรับขนาดโดยรักษาอัตราส่วน 32-33
เครือ่ งมือสรา้ งขอบขนานวัตถุ 34
-การใช้ Offset กับเสน้
-การใช้ Offset กับพืน้ ผวิ
1
สาระสาคัญ
เครื่องมือที่จาเปน็ ตอ่ จากเครื่องมือวาดและสรา้ งรูปทรง คือ กลุม่
เครือ่ งมือปรับแตง่ ตา่ งๆ จะทาใหช้ ้นิ งานที่เราวาดกลายเป็นโมเดลที่
ต้องการได้ดว้ ยเทคนิคหลายอย่าง
จุดประสงค์การเรียนรู้
ดา้ นความรู้ (K)
1. บอกประเภท ส่วนประกอบและคุณสมบัตขิ องโมเดล 3 มติ ไิ ด้
2.อธิบายการใชเ้ ครื่องมือผลัก/ดงึ และเคลื่อนยา้ ยวัตถุได้
3. อธิบายการใชเ้ ครื่องมือหมุนวัตถุได้
4.อธบิ ายการใช้เครื่องมือปรับขนาดและทศิ ทางของวัตถุได้
5. อธิบายการใชเ้ ครื่องมือสร้างขอบขนานได้
6. อธิบายการใช้เครือ่ งมือสร้างวัตถุตามเส้นทางได้
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
1. ออกแบบโมเดลดว้ ยเครื่องมือปรับแต่งได้
ด้านคุณลักษณะ (A)
1. มีวินัย ใฝ่เรียนรูแ้ ละมีความมุ่งมัน่ ในการทางาน
2
5การใช้เครื่องมือ
หนว่ ยทปี่ รับแตง่
โมเดล 3 มิติ หรือ 3D Model คือ โมเดลทีถ่ ูกสร้างโดยโปรแกรม
คอมพวิ เตอร์ เพือ่ แสดงผลให้เห็นบนพืน้ ผวิ 3 มติ ิ คือมีมิติในแนวนอน
แนวตัง้ และแนวลกึ ซึง่ แตกต่างจากภาพ 2 มิติ ทีแ่ สดงผลเพียง 2 แนว
เท่านั้น
โมเดล 3 มิติ จงึ มีมุมมองทีม่ ากกว่า คือสามารถมองเห็นได้รอบ
ด้าน 360 องศา และสามารถปรับแต่งแกไ้ ขรูปทรงในลักษณะเหมือนกับ
งานปั้นได้ ซ่ึงเรียกวา่ 3D Modeling หรือการปั้นวัตถุ 3 มติ ิ
3
ประเภท 3D Model
วัตถุ 3 มิติ แบง่ ประเภทตามลักษณะโครงสรา้ ง ได้แก่
1. NURBS : เหมาะกับการขึ้นโมเดลทีม่ ีลักษณะที่โค้งเวา้
เชน่ ขวดแก้ว แจกัน จะไมส่ ามารถเกบ็ รายละเอียดไดม้ ากนัก เช่น
หน้าคนที่มีรายละเอียดมาก โมเดลที่มีลวดลายมากมาย ไมเ่ หมาะกับ
NURBS รูปแบบลักษณะจะเรียบ โค้งเว้ามาตั้งแต่เรม่ิ ตน้ จึงเหมาะกับ
การสรา้ งวัตถุ
ภาพที่ 5.1 โมเดล 3 มติ ิแบบ NURBS
ทีม่ า https://www.applicadthai.com/articles/rhinoceros-%E2%80%93-nurbs-modeling/
เขา้ ถงึ เมื่อ 20 มถิ ุนายน 2556
4
2. Polygonal : มีโครงสร้างเป็นรูปทรงเรขาคณติ คือรูปทรง
เหลีย่ มตา่ ง ๆ ที่เปน็ แผ่น (Mesh) ประกอบเรียงกันจนเปน็ วัตถุทีซ่ ับซ้อน
ข้นึ Polygonal มีการใชง้ านทีแ่ พร่หลายกวา่ และเปน็ มาตรฐานทั่วไป
ของวัตถุ 3 มติ ิ สามารถปรับแตง่ ได้งา่ ยกวา่ ดว้ ย ซ่ึงเราจะให้ความสนใจ
กับวัตถุ Polygonal ในการทางานหลัก
ภาพที่ 5.2 โมเดล 3 มติ ิแบบ Polygonal
ทีม่ า http://mayabasic.blogspot.com/2015/05/maya.html
เข้าถึงเมือ่ 20 มถิ ุนายน 2556
5
สว่ นประกอบ 3D Model
วัตถุ 3 มติ ิ แบบ Polygonal มีสว่ นประกอบ ดังนี้
1. Face คือ พื้นผิวแตล่ ะดา้ นของวัตถุ
2. Edge คือ เส้นขอบแต่ละดา้ นของวัตถุ
3. Vertice หรือ Vertex คือ จุดเชื่อมตอ่ ของเสน้ และพืน้ ผวิ
ภาพที่ 5.3 ส่วนประกอบของโมเดล 3 มิติ
6
คุณสมบัติ 3D Model
นอกจากโครงสรา้ งแลว้ วัตถุ 3 มิติ สามารถแสดงคุณสมบัตขิ อง
ตัวเองผา่ นพืน้ ผิวภายนอก ไดแ้ ก่
1. Shader คือ ลักษณะของพื้นผวิ เชน่ ความมันวาว
โปร่งใส สะท้อนแสง หยาบ เรียบ เรืองแสง มีรอยบุม๋ หรือนูนขนึ้ มา
ภาพที่ 5.4 พื้นผวิ แบบ Shader
ที่มา https://www.pinterest.com/pin/699817229567744186/
เขา้ ถงึ เมือ่ 20 มถิ ุนายน 2556
7
2. Texture คือ สี ลวดลาย หรือภาพ ที่เรากาหนดลงไปให้พืน้ ผิว
เช่น ลายไม้ หนิ พื้นกระเบ้อื ง โลหะ
ภาพที่ 5.4 พื้นผวิ แบบ Texture ลายหนิ
8
เครื่องมือผลัก/ดึงวัตถุ
เครื่องมือผลักและดงึ พืน้ ผวิ วัตถุมีชื่อว่า Push/Pull เปน็ เครือ่ งมือที่
ใชป้ รับแต่งรูปทรงวัตถุ ใหม้ ีปริมาตรเพม่ิ ข้นึ หรือลดลง มักใช้ในการขนึ้ รูป
วัตถุจากรูปทรง 2 มติ ิ เช่น รูปสี่เหลีย่ ม ให้กลายเป็นรูปทรง 3 มิติ คือ
กลอ่ งสี่เหลีย่ ม เป็นต้น
เครื่องมือ Push/Pull สามารถประยุกต์ใช้ไดม้ ากมาย และนับวา่ เปน็
เครือ่ งมือทีโ่ ดดเดน่ ของ Google SketchUp ทีท่ าใหก้ ารขน้ึ รูปโมเดลนั้น
รวดเรว็ มากและไมย่ ุง่ ยากเหมือนโปรแกรมสรา้ งงาน 3 มติ อิ ื่นๆ
9
การใช้ Push/Pull กับพื้นผิวทั่วไป
เครื่องมือ Push/Pull สามารถใชก้ ับพน้ื ผิวปดิ ทั่วไปได้ ไม่ว่าจะรูปทรง
เปน็ สี่เหลี่ยมหรือโค้งกต็ าม
พืน้ ผวิ เหลยี่ ม ตัวอย่างแรกจะใชร้ ูปสีเ่ หลี่ยม ซงึ่ เราสามารถใชพ้ ืน้ ที่
ปดิ ใดกับเครื่องมือ Push/Pull กไ็ ด้
10
11
การใช้ Push/Pull เพิม่ ความซับซ้อนใหพ้ ืน้ ผวิ
ระหว่างการสร้างปริมาตรเราสามารถเพิ่มความซับซ้อนใหก้ ับปรมิ าตร
ได้ โดยการแบง่ Segments ของวัตถุ เพือ่ การปรับแต่งรูปทรงทีซ่ ับซอ้ นมาก
ข้ึน
12
13
การใช้ Push/Pull เจาะวัตถุ
นอกจากจะใช้ในการเพิ่มปรมิ าตรแล้ว Push/Pull ยังสามารถใชเ้ จาะ
วัตถุได้อีกดว้ ย เงือ่ นไขว่าวัตถุท่จี ะเจาะนัน้ ตอ้ งมีพืน้ ผวิ ที่ขนานกัน ตัวอย่าง
ง่าย ๆ คือการเจาะกาแพง เพื่อเปน็ ชอ่ งประตู
14
15
16
เครือ่ งมือเคลือ่ นย้ายวัตถุ
เครือ่ งมือเคลือ่ นย้ายวัตถุมี่ชือ่ วา่ Move สามารถใช้งานได้มากกวา่ การ
เคลื่อนย้ายวัตถุชนิ้ ใดชนิ้ หนึ่งเทา่ นัน้ เครื่องมือนีย้ ังประยุกตใ์ ชใ้ นการทา
สาเนาวัตถุไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ และใช้แกไ้ ขรูปทรงวัตถุได้ดว้ ยนับเปน็
เครื่องมือพืน้ ฐานและสารพัดประโยชน์ในการสร้างโมเดล
17
การเคลื่อนยา้ ยทั่วไป
ตัวอย่างนีจ้ ะเปน็ การใชเ้ ครือ่ งมือเพื่อยา้ ยตาแหนง่ วัตถุ ซ่งึ เปน็ การใช้
งานทั่วไปของเครือ่ งมือนี้
18
19
การเคลื่อนย้ายและทาสาเนา
ตัวอยา่ งนี้จะเปน็ การใชเ้ ครือ่ งมือย้ายเพอ่ื ทาสาเนาวัตถุ และกาหนด
ระยะหา่ งทีแ่ นน่ อนจากวัตถุต้นฉบับ หรือเรียกวา่ การทา Linear
Arrays
20
21
การปรับแต่งรูปทรงดว้ ยเครือ่ งมือ Move
ตัวอยา่ งนี้จะเปน็ การใช้เครื่องมือย้าย เพือ่ แกไ้ ขรูปทรงของวัตถุ โดย
การเคลือ่ นยา้ ยเฉพาะจุดและพืน้ ผิว
22
23
24
เครือ่ งมือหมุนวัตถุ
เครื่องมือ Rotate ใชส้ าหรับหมุนชน้ิ ส่วนตามแกนที่
กาหนด หากเราหมุนชนิ้ ส่วนเดียวก็ใชเ้ ครื่องมือ Rotate หมุนโดยตรง แต่
ถา้ จะหมุนหลายชิ้นสว่ นก็ตอ้ งใช้เครือ่ งมือ Select คลิกเลือกชิ้นสว่ นที่
ตอ้ งการกอ่ นแลว้ จงึ ใช้เครือ่ งมือ Rotate
เครื่องมือ Rotate ยังประยุกต์ใช้ในการทาสาเนาวัตถุแนวโคง้
ไดอ้ ีกดว้ ย ซ่งึ เรียกวา่ Radial Arrays
25
การใช้ Rotate หมุนวัตถุ
ตัวอย่างนีจ้ ะเปน็ การใช้ Rotate หมุนวัตถุ โดยมีจุดหมุนคือตัววัตถุเอง
26
27
การใช้ Rotate ย้ายวัตถุแนวโค้ง
ตัวอย่างนีจ้ ะเปน็ การใช้ Rotate Tool ย้ายวัตถุแนวโค้ง โดยมีจุดหมุน
นอกวัตถุ
28
การใช้ Rotate บดิ พื้นผิวของวัตถุ
ตัวอย่างนี้จะเป็นการใช้ Rotate Tool บิดพ้นื ผวิ วัตถุใหเ้ ป็นเกลียว
29
เครือ่ งมือปรับขนาดวัตถุ
เครื่องมือปรับขนาดวัตถุมีชื่อว่า Scale มีหน้าทีเ่ ปลีย่ นขนาดหรอื สเกล
จากวัตถุตน้ ฉบับใหย้ อ่ หรือขยายใหญ่ขน้ึ ซ่ึงการเปลีย่ นสเกลนีจ้ ะเปน็ การ
เปลีย่ นแปลงขนาดของวัตถุจริง ไมใ่ ช่การซูมขยายหรือย่อมุมมอง
การกาหนดสเกลทีจ่ ะย่อหรือขยายนั้น เราสามารถใช้เมาสก์ ะขนาด
ครา่ ว ๆ หรือกาหนดค่าที่แน่นอนในการปรับได้ และสามารถเปลี่ยนสเกล
ในทางตรงกันขา้ ม หรือเรียกวา่ Mirroring ผลทีไ่ ด้ คือวัตถุจะอยูใ่ น
ทศิ ทางกลับดา้ น หรือกลับหัวกลับหาง
30
การใช้ Scale ปรับขนาดโดยรักษาอัตราสว่ น
ตัวอยา่ งนีจ้ ะเปน็ การปรับขนาดวัตถุโดยรักษาอัตราสว่ นของรูปทรง
ไมใ่ ห้ผิดไปจากเดมิ
31
32
เครื่องมือสร้างขอบขนานวัตถุ
เครื่องมือสรา้ งขอบขนานมีชือ่ ว่า Offset มีไวเ้ พือ่ สรา้ งเส้นหรือ
พื้นผิวท่มี ีลักษณะขนานกับเส้น หรือพื้นผิวทีอ่ ้างองิ ซึ่งประยุกตใ์ นการ
สรา้ งวัตถุได้ เช่น การสร้างขอบประตูหรือหนา้ ตา่ ง เปน็ ต้น
การใช้ Offset กับเสน้
Offset Tool สามารถใช้กับเสน้ ทต่ี อ่ เนือ่ งในระนาบเดยี วกันได้ โดยมี
ขัน้ ตอน ดังนี้
33
34
การใช้ Offset กับพื้นผิว
Offset Tool สามารถใช้กับพืน้ ทีป่ ิดใด ๆ ก็ได้ โดยมีขั้นตอน ดังนี้