The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ค่านิยมเรื่องเพศในสังคมและวัฒนธรรมไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chagkrapat, 2021-09-19 04:08:22

ค่านิยมเรื่องเพศในสังคมและวัฒนธรรมไทย

ค่านิยมเรื่องเพศในสังคมและวัฒนธรรมไทย

คา่ นิยมเร่ืองเพศตามวัฒนธรรม

รายวิชา สุขศกึ ษา : ชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี 5

หน่วยการเรียนรู้ท2่ี
ค่านิยมเรื่องเพศตามวฒั นธรรม

จัดทาโดย

นาย ศิรนนั ท์ พรวิชา เลขท่ี4 ม.5/2
นาย จกั รภทั ร พลหาญ เลขท่ี10 ม.5/2
นาย ภาณวุ ชั ร์ ทองดี เลขท่ี14 ม.5/2

เสนอ

คณุ ครู อิทธิพล โสภา

E-book เล่มนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาสุขศกึ ษา
โรงเรยี นหวั ตะพานวิทยาคม
ภาคเรียนท1ี่ / 2564

คานา

E-Book เล่มนีจ้ ัดทาขนึ้ เพอื่ ให้ทกุ คนรู้จักค่านิยมเร่ืองเพศในดา้ นตา่ งๆ มีทัง้ ข้อดี ข้อเสยี ข้อปิ ดก้ัน
ท้ังของประเทศเราและของตา่ งประเทศเพราะในบางเร่อื งแตล่ ะประเทศไม่เหมอื นกัน ทง้ั ค่านิยมของ
อดตี และปัจจุบัน ทง้ั ในเรื่องการศกึ ษาและวจิ ัย ผลของการวจิ ัย เร่ืองต่างๆว่าเหมาะสมกับทุกคนใน
เรื่องตา่ งๆรปึ ่ าว ประโยชนข์ องค่านิยมในเร่ืองต่างๆ ท้งั ข้อเสนอแนะแนวทางในการเป็ นอยขู่ องชาว
ศาสนาพุทธและครสิ ต์ และสภาพแวดล้อมในการเป็ นอยู่ของศาสนาพุทธและคริสตท์ ั้งในประเทศเรา

และตา่ งประเทศ

สารบัญ 4
4
ค่านิยมเร่ืองเพศในสังคมและวัฒนธรรมไทย 6
-ค่านิยมทางเพศทเ่ี หมาะสมทค่ี วรพจิ ารณาและนาไปปฏิบัติ 6
ค่านิยมทางเพศในวัฒนธรรมไทย 6
-ค่านิยมทางเพศท่คี ่อนข้างปิ ดกั้นของคนไทย 8
-ค่านิยมทางเพศทด่ี ขี องสังคมไทย 9
ค่านิยมทางเพศตามสังคมและวัฒนธรรมตะวันตก 10
-อิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตกทม่ี ีตอ่ พฤตกิ รรมทางเพศของวัยรุ่นในสังคมไทย 11
ค่านิยมทางเพศของสังคมไทยในปัจจุบัน 12
การอยรู่ ่วมกันของคนในสังคมพหวุ ัฒนธรรมในประเทศไทย กรณีศึกษาสังคมพหวุ ัฒนธรรม 12
-สังคมพหุวัฒนธรรม 13
-การศึกษาวิเคราะหส์ ังคมพหุวัฒนธรรม 13
-วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย 14
-นิยามศัพท์ 15
-เครอื่ งมือวิจัยแบบสัมภาษณ์ 15
-เป้าหมายเชงิ ยทุ ธศาสตรข์ องแผนงานวจิ ัย 16
-ผลการวจิ ัย
แนวทางในการเป็ นอยูข่ องชาวพทุ ธ

แนวทางในการเป็ นอย่ขู องชาวคริสต์ 18
แนวทางการสร้างความม่ันคงทางสังคมในสังคมพหุวัฒนธรรม 19
-ข้อเสนอแนะ 21
คุณค่าของการอยู่ร่วมกันอย่างสันตแิ ละพงึ่ พาอาศัยกันก่อใหเ้ กดิ ประโยชนด์ า้ นตา่ งๆ 22
-ประโยชนต์ อ่ ตนเอง 22
-ประโยชนต์ ่อสังคมและประเทศชาติ 23
การอยู่ร่วมกันอย่างสันติและการพงึ่ พาอาศัยกัน 23
-เคารพซงึ่ กันและกัน 23
-เมตตาตอ่ กัน 24
-ช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน 24
-มีความซ่ือสัตยต์ อ่ กัน 24
-ไม่ลบหลู่ดูหมิ่นกัน 24
ค่านิยมทางเพศตามสังคมและวัฒนธรรม 25
-บรรทัดฐานทางครอบครัวและสังคม 25
-ตวั อยา่ งค่านิยมทางเพศในอดตี 25
-ตัวอย่างค่านิยมทางเพศในปัจจุบัน 26
-สภาพแวดล้อม 26
-สื่อเทคโนโลยี 26

หน่วยการเรียนรู้ท2ี่

คา่ นิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม

ตัวชีว้ ัด

วิเคราะหค์ า่ นิยมในเร่ืองเพศตามวฒั นธรรมไทยและวฒั นธรรมอ่ืนๆ

ผังสาระการเรียนรู้

คา่ นิยมเร่ืองเพศในสงั คมและวฒั นธรรมไทย
แนวทางในการเป็นอยขู่ องชาวพทุ ธ
แนวทางในการเป็นอยขู่ องชาวครสิ ต์
แนวทางการสรา้ งความม่นั คงทางสงั คมในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม
คณุ คา่ ของการอยรู่ ว่ มกนั อย่างสนั ตแิ ละพ่งึ พาอาศยั กนั ก่อใหเ้ กิดประโยชนด์ า้ นตา่ งๆ
การอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ตแิ ละการพ่งึ พาอาศยั กนั

สาระสาคัญ

คา่ นยิ มเร่ืองเพศเป็นวฒั นธรรมท่ีปรากฏอยใู่ นทกุ สงั คม และสง่ ผลตอ่ การปฏิบตั ติ นทางเพศในดา้ นตา่ งๆ เม่ือ
คนไทยเขา้ สสู่ งั คมพหวุ ฒั นธรรมมากขนึ้ จงึ มีการเปล่ียนแปลงหลายประการ ลว้ นสง่ ผลตอ่ ชีวิต จงึ เป็นส่ิงสาํ คญั
ท่ีจะเรียนรู้ สามารถปรบั ใชใ้ นการอยรู่ ว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งมีความสขุ

ค่านิยมเรอ่ื งเพศในสังคมและวัฒนธรรมไทย

คา่ นยิ มทางเพศ (Sexual Value) หมายถงึ หลกั การพืน้ ฐานท่ีบคุ คลยดึ เป็นหลกั ในการปฏิบตั เิ พ่ือ
ดาํ เนินชีวิตซง่ึ เก่ียวกบั เร่ืองเพศ โดยคา่ นิยมทางเพศของบคุ คลเกิดจากการอบรมส่งั สอนจากพ่อแมใ่ นสถาบนั
ครอบครวั ระบบการศกึ ษา ประสบการณ์ กระบวนการขดั เกลาและถา่ ยทอดทางสงั คม ขนบธรรมเนียม
ประเพณีและวฒั นธรรมของสงั คมนนั้ ๆ

ค่านิยมทางเพศทเี่ หมาะสมทค่ี วรพจิ ารณาและนาไปปฏบิ ัติ มีดงั นี้

๑)คา่ นิยมความรกั นวลสงวนตวั โดยเฉพาะในเพศหญิงซง่ึ ควรระวงั เนือ้ ระวงั ตวั ไมเ่ ปิดเผย แสดงออกลกั ษณะ
ทางเพศมากเกินไปเชน่ นงุ่ กางเกงหรอื กระโปรงสนั้ เกินพอดี ใสส่ ายเด่ยี วบางๆ ใสเ่ สือ้ ผา้ บางรดั รูป เป็นตน้ ซ่ึง
พฤตกิ รรมเหลา่ นีจ้ ะชว่ ยปอ้ งกนั การลว่ งละเมิดทางเพศได้ ทาํ ใหช้ ายและหญิงไมไ่ ดอ้ ยใู่ กลช้ ิดกนั หรือแตะเนือ้
ตอ้ งตวั กนั มากเกินไป จนเกิดอารมณท์ างเพศตามมาได้
๒)คา่ นยิ มการใหเ้ กียรตแิ ละการวางตวั ผชู้ ายควรมีความเป็นสภุ าพบรุ ุษและใหเ้ กียรติผหู้ ญิง ไมด่ ถู กู เหยียดเพศ
เชน่ เดียวกนั ผหู้ ญิงก็ตอ้ งใหเ้ กียรตผิ ชู้ าย และวางตวั อยา่ งเหมาะสมไมอ่ ยทู่ ่ีเปล่ียวตามลาํ พงั สองตอ่ สอง พดู จา
กนั ดว้ ยภาษาสภุ าพเรียบรอ้ ย แสดงความมีนา้ํ ใจชว่ ยเหลือกนั เป็นตน้
๓)คา่ นยิ มการสรา้ งคณุ คา่ ความดงี ามในจิตใจ ความดงี ามในจติ ใจเป็นส่ิงมีคณุ คา่ เพราะเป็นส่ิงท่ีบคุ คลท่ัวไป
ในสงั คมตอ้ งการ ดงั นนั้ จงึ ควรปลกู ฝังและสรา้ งคณุ ธรรมความดใี หเ้ กิดแก่หม่วู ยั รุน่ เพ่ือท่ีเด็กๆ เหลา่ นนั้ จะได้
เตบิ โตเป็นผใู้ หญ่ท่ีดี ทาํ ประโยชนเ์ พ่ือประเทศชาตติ อ่ ไป

๔)คา่ นิยมความเขา้ ใจในความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ งเพศ ทงั้ ชายและหญิงควรเขา้ ใจในความ
แตกตา่ งทางสภาพสรีระของทงั้ สองฝ่าย และใหเ้ กียรตชิ ว่ ยเหลือซ่งึ กนั และกนั เชน่ ผชู้ ายท่ีธรรมชาตสิ รา้ งมาให้
แข็งแรงกวา่ ผหู้ ญิง ผชู้ ายก็ไมค่ วรไปรงั แกผหู้ ญิง แตต่ อ้ งชว่ ยเหลือผหู้ ญิงในดา้ นตา่ งๆ เป็นตน้

ค่านิยมทางเพศในวัฒนธรรมไทย

ในประเทศไทย มีความเป็นไทย มีขนบธรรมเนียมประเพณีและวฒั นธรรมอนั เป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั
โดยเฉพาะคา่ นิยมในเร่อื งเพศ ซ่งึ มกั มีมมุ มองได้ ๒ ทาง ดงั นีค้ ือ
๑)ค่านิยมทางเพศในเรื่องทค่ี ่อนข้างปิ ดกั้นของคนไทย ไดแ้ ก่
๑.๑)การไมเ่ ผยแพรค่ วามจรงิ ในเร่อื งเพศหรือการไมใ่ หค้ วามรูเ้ ร่อื งเพศแก่ บตุ รหลาน โดยคดิ ว่าเป็นเร่ืองหยาบ
คาย หรอื นา่ อาย
๑.๒)การไมส่ นนั สนนุ หรือสง่ เสรมิ ใหบ้ คุ คลในสงั คมพดู คยุ กนั ในเร่ืองเพศอยา่ งเปิดเผย
๑.๓)การยกยอ่ งใหเ้ พศชายเป็นใหญ่กวา่ เพศหญิง
คา่ นยิ มเหล่านีท้ าํ ใหบ้ คุ คลในสงั คมมีทศั นคตทิ ่ีไมถ่ กู ตอ้ งรวมทงั้ มีพฤตกิ รรมทางเพศท่ีไม่ถกู ตอ้ ง เชน่ การเอา
เปรยี บเพศตรงกนั ขา้ มเม่ือมีโอกาส ความไมเ่ สมอภาคระหวา่ งเพศ การดถู กู เพศตรงกนั ขา้ ม อนั เป็นผลตอ่
ความรกั ความผกู พนั ความสงบสขุ ในครอบครวั และสงั คมโดยรวม
๒)ค่านิยมทางเพศทด่ี ขี องสังคมไทย
๒.๑)หญิงไทยมกั จะรกั นวลสงวนตวั ไมม่ ีเพศสมั พนั ธก์ ่อนการแตง่ งาน
๒.๒)ชายไทยไมค่ วรสาํ สอ่ นทางเพศเพราะอาจเกิดผลเสียโดยการติดโรค
๒.๓)ชายไทยมีความรบั ผิดชอบตอ่ เพศหญิง ไมห่ ลอกลวง ไมข่ ม่ เหงนาํ้ ใจ
๒.๔)ชายไทยรบั ผดิ ชอบตอ่ ครอบครวั

สาํ หรบั วยั รุน่ ในปัจจบุ นั ควรมีเจตคตทิ ่ีดีวา่ ทงั้ สองเพศมีความสาํ คญั เท่าเทียมกนั การสรา้ งสรรคส์ งั คมจงึ จะ
เกิดขนึ้ คา่ นยิ มดงั กลา่ วเป็นส่ิงท่ีดีและยงั ใชไ้ ดใ้ นสงั คมปัจจบุ นั วยั รุน่ จงึ ควรรกั ษาคา่ นิยมท่ีดไี วเ้ พ่ือปอ้ งกปั ัญ
หาท่ีจะตามมา เชน่ ครอบครวั แตกแยก โรคทางเพศสมั พนั ธ์ การตงั้ ครรภน์ อกสมรส การคา้ ประเวณี การสาํ
สอ่ นทางเพศ เป็นตน้

ค่านิยมทางเพศตามสังคมและวัฒนธรรมตะวนั ตก

ปัจจบุ นั วฒั นธรรมตะวนั ตกไดเ้ ขา้ มามีบทบาทและมีอิทธิพลตอ่ วฒั นธรรมทางสงั คมของไทยมากขนึ้ ทงั้ นี้
เน่ืองมากจากเทคโนโลยีและการส่ือสารท่ีกา้ วหนา้ รวดเร็ว สง่ ผลทาํ ใหว้ ยั รุน่ มีพฤติกรรมลอกเลียนแบบ และ
ดาํ เนนิ ชีวิตตามวฒั นธรรมตะวนั ตก ซง่ึ วฒั นธรรมบางอยา่ งก่อใหเ้ กิดปัญหาทางสงั คมมากมาย โดยเฉพาะการ
มีพฤตกิ รรมทางเพศท่ีไมเ่ หมาะสม การเลียนแบบวฒั นธรรมตะวนั ตกไมว่ า่ จากส่ือโทรทศั น์ ภาพยนตร์ หนงั สือ
หรืออินเทอรเ์ น็ตก็ตาม ไดท้ าํ ใหข้ นบธรรมเนียม จารีตประเพณี วฒั นธรรมท่ีดีงามของสงั คมไทยเปล่ียนไป ซ่ึง
วฒั นธรรมบางอยา่ งสง่ ผลดี เชน่ การกลา้ แสดงความคดิ เหน็ ความขยนั และความทมุ่ เทใหก้ บั งาน การมองโลก
ในแง่บวก การมีแนวคิดท่ีดตี า่ งๆ เป็นตน้ ในขณะท่ีวฒั นธรรมบางอยา่ งกลายเป็นตวั อยา่ งท่ีไมด่ ี ไมเ่ หมาะสม
กบั วฒั นธรรมไทย จากพฤติกรรมวยั รุน่ เชน่ เสรีภาพในการคบเพ่ือนตา่ งเพศ ซ่งึ บางครงั้ มีพฤตกิ รรมเส่ียงตอ่
การมีเพศสมั พนั ธ์ การถกู เนือ้ ตอ้ งตวั ระหวา่ งชายกบั หญิงมีมากขนึ้ พฤตกิ รรมการแสดงออกทางเพศในท่ี
สาธารณะ เชน่ การโอบกอด การแตง่ กายท่ีลอ่ แหลม กิรยิ ามารยาทท่ีไมเ่ รยี บรอ้ ย การแสดงออกอยา่ งเปิดเผย
ในเร่ืองเพศ หรือการท่ีวยั รุน่ หญิงบางคนตามจีบผชู้ าย เป็นตน้

อทิ ธิพลของวัฒนธรรมตะวันตกทม่ี ตี อ่ พฤตกิ รรมทางเพศของวัยรุ่นในสังคมไทย พอจะ
สรุปได้ดงั นี้

๑)ปัญหาเร่ืองเพศ เชน่ การคบเพ่ือนตา่ งเพศอยา่ งไมเ่ หมาะสม การออกเท่ียวกลางคืนกบั เพ่ือนตา่ งเพศ การ
แตง่ กายดงึ ดดู เพศตรงขา้ ม เปิดเผยใหเ้ ห็นของสงวนมากเกินไป การมีเพศสมั พนั ธก์ อ่ นแตง่ งาน เป็นตน้

๒)ปัญหาสงั คม เชน่ การม่วั สมุ กนั ในสถานเรงิ รมย์ การตงั้ ครรภก์ ่อนวยั อนั ควร การทาํ แทง้ การใชส้ ารเสพตดิ
เป็นตน้

ดงั นนั้ เม่ือไมอ่ าจสกดั กนั้ วฒั นธรรมตา่ งๆ ท่ีแพรก่ ระจายเขา้ มาได้ จงึ ควรเลือกและสรา้ งคา่ นิยมในเร่ืองเพศ
ท่ีเหมาะสมกบั สภาพสงั คมไทย เชน่ ลด ละ เลกิ การเท่ียวสถานบรกิ ารทางเพศ ไมส่ าํ สอ่ นทางเพศ ไมค่ บเพ่ือน
ตา่ งเพศโดยไมเ่ ลือกหนา้ ฝ่ ายชายแสดงความเป็นสภุ าพบรุ ุษใหเ้ กียรตไิ มล่ ว่ งเกินสภุ าพสตรี เป็นตน้

ค่านิยมทางเพศของสังคมไทยในปัจจุบัน

สาํ หรบั ปัจจบุ นั นนั้ สงั คมไทยมีการเปิดเผยและยอมรบั ในการศกึ ษา หรือพดู คยุ เก่ียวกบั เร่ืองเพศมากขนึ้
ทาํ ใหเ้ ยาวชนสว่ นใหญ่มีความเขา้ ใจเร่ืองเพศศกึ ษามากขนึ้ รวมถงึ การมีคา่ นิยมทางเพศท่ีดี เชน่ การใหเ้ กียรติ
ชว่ ยเหลือซ่งึ กนั และกนั , การรกั นวลสงวนตวั , ความเขา้ ใจในความแตกตา่ งทางเพศ ฯลฯ นอกจากนีจ้ ะเห็นได้
วา่ สงั คมไทยในปัจจบุ นั นนั้ มีการยอมรบั สทิ ธิสตรีมากขนึ้ ดงั จะเหน็ ไดจ้ าก มลู นธิ ิเพ่ือเดก็ และสตรี ไปจนถึงการ
ทาํ งานหนา้ ท่ีตา่ งๆ ท่ีปัจจบุ นั ผหู้ ญิงเขา้ ไปมีบทบาทผนู้ าํ มากขนึ้ และสงั คมไทยนนั้ หนั กลบั มายอมรบั เก่ียวกบั
เพศท่ีสามมากย่ิงขนึ้ และลดการกดข่ี ดถู กู เพศท่ีสาม แตค่ า่ นยิ มบางประการก็ถือไดว้ ่าเป็นวิกฤติ เชน่ การแตง่
กายย่วั ยวนตามแบบตะวนั ตก, การมีเพศสมั พนั ธใ์ นวยั เรียน, การตงั้ ครรภใ์ นวยั เรียน รวมไปถึงการคา้ ประเวณี
เป็นตน้

การอยู่ร่วมกนั ของคนในสังคมพหวุ ัฒนธรรมในประเทศไทย กรณีศึกษาสังคมพหุ
วัฒนธรรมฯ

๑)แตกตา่ งในเร่ืองของแนวคดิ วฒั นธรรมประเพณี และความแตกตา่ งทางดา้ นเชือ้ ชาติ ภาษา ศาสนา ลทั ธิ
ความเช่ือ
๒)ความสอดคลอ้ งของหลกั การอยรู่ ว่ มกนั ของคนในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม ตามหลกั การของแตล่ ะศาสนา คือ
การอยรู่ ว่ มกนั ของชมุ ชนชาวพทุ ธ คอื การรกั ษาศีล ๕ พดู จาท่ีไพเราะไมส่ รา้ งความแตกแยกใหเ้ กิดในชมุ ชน ทาํ
ตนใหเ้ ป็นประโยชน์ ชมุ ชนชาวครสิ ต์ สง่ เสรมิ ใหม้ ีการพฒั นาเปิดกวา้ งแตล่ ะชมุ ชนสสู่ งั คมอยา่ งเทา่ เทียมกนั ให้
ทกุ คนในสงั คมหนั มาเขา้ ใจความแตกตา่ ง และสนใจเรียนรูค้ วามแตกตา่ งกบั ความรูท้ ่ีมีอยู่
๓)การอยรู่ ว่ มกนั ของคนในสงั คมพหวุ ฒั นธรรมในประเทศไทย : กรณีศกึ ษาสงั คมพหวุ ฒั นธรรมในอาํ เภอเมือง
จงั หวดั เชียงใหม่ เพ่ือนนาํ เสนอรูปแบบและวิธีการอยรู่ ว่ มกนั ของคนในสงั คมพหวุ ฒั นธรรมท่ีเหมาะสมสาํ หรบั
สงั คมไทยอยา่ งเป็นรูปธรรม คอื ในชมุ ชนชาวพทุ ธ สง่ เสริมเยาวชนและประชาชนท่ีอยรู่ อบวัด ชมุ ชนชาวคริสต์
คอื สง่ เสรมิ การยอมรบั ในเร่ืองความแตกตา่ งในเร่ืองความคดิ ตลอดจนมีทศั นคตทิ ่ีดใี นการอยรู่ ว่ มกนั อนั จะเป็น
ผลใหก้ ารอยรู่ ว่ มกนั ในชมุ ชนท่ีมีความหลากหลายอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

สังคมพหวุ ัฒนธรรม (Multicultural Society)

เป็นสงั คมท่ีประกอบดว้ ยกลมุ่ คนท่ีมีความหลากหลายมีความแตกตา่ งกนั ทางสงั คมและวฒั นธรรม ไมว่ า่ จะ
เป็นดา้ นศาสนา ภาษา การแตง่ กาย การเป็นอยู่ ฯลฯ เพราะแตล่ ะกลมุ่ ชนมีความเช่ือ ความศรทั ธา ในศาสนา
และวฒั นธรรมท่ีแตกตา่ งกนั การท่ีจะททาํ ใหแ้ ตล่ ะคนสามารถอย่รู ว่ มกนั ในชมุ ชนหรือสงั คมเดียวกนั ดว้ ยการ
พง่ึ พาอาศยั ชว่ ยเหลือกนั ไมม่ ีการเบยี ดเบียนกนั ไมท่ าํ รา้ ยกนั หรือไมล่ ะเมิดสิทธิของกนั และกนั แตล่ ะกลมุ่ ชน
สามารถประกอบพิธีกรรมทางศาสนาไดต้ ามความเช่ือและศรทั ธาของตนเอง อย่างมีเสรีภาพ โดยไมม่ ีการกีด
กนั กา้ วก่าย ลว่ งละเมิด หรอื ก่อกวนซ่งึ กนั และกนั ทาํ ใหส้ ามารถอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งทางสงั คมและ
วฒั นธรรมไดอ้ ยา่ งสนั ติ สงบ และพ่งึ พาอาศยั ซ่งึ กนั และกนั โดยไมม่ ีปัญหาขดั แยง้ หรอื ความรุนแรงระหวา่ งกนั
จงึ ตอ้ งมีการศกึ ษาวเิ คราะหท์ าํ ความเขา้ ใจกบั ความเป็นสงั คมพหวุ ฒั นธรรมอยา่ งลกึ ซงึ้ และรอบดา้ น

การศึกษาวเิ คราะหส์ ังคมพหวุ ัฒนธรรม (Multicultural Education)

เป็นการศกึ ษาท่ีเนน้ การวเิ คราะหท์ าํ ความเขา้ ใจในความหลากหลาย และความแตกตา่ งทางวฒั นธรรมของ
คนในพืน้ ท่ีตา่ ง ๆเพ่ือใหไ้ ดอ้ งคค์ วามรูห้ รือแนวทางท่ีเหมาะสมสาํ หรบั การอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมอยา่ งปกติสขุ
ภายใตค้ วามหลากหลายหรือความแตกตา่ งทางภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเช่ือ ศาสนาและวถิ ีชีวิต
บนพืน้ ฐานของการยอมรบั สิทธิเสรภี าพ บทบาทและหนา้ ท่ีของแตล่ ะคนในสงั คมอยา่ งเสมอภาคและเทา่ เทียม
กนั โดยปราศจากการอคติหรือความลาํ เอียงทางเชือ้ ชาติ ศาสนา ภาษา ผิวพรรณวรรณะ หรอื เผา่ พนั ธุใ์ น
ประเทศไทย มีชมุ ชนท่ีมีลกั ษณะความเป็นสงั คมพหวุ ฒั นธรรมอยหู่ ลายชมุ ชน เชน่ ชมุ ชนชาวตาํ บลคลอง
ตะเคยี น อาํ เภอพระนครศรีอยธุ ยา จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา เป็นชมุ ชนของชาวพทุ ธ ครสิ ตแ์ ละอสิ ลามท่ีอยู่
รว่ มกนั อยา่ งสมานฉนั ทใ์ นภาคกลาง ชมุ ชนประตทู า่ แพ เป็นชมุ ชนของชาวพทุ ธ ครสิ ตแ์ ละอิสลามท่ีอยรู่ ว่ มกนั
อยา่ งสมานฉนั ทใ์ นภาคเหนือ บา้ นสองคอน อาํ เภอหวา้ นใหญ่ จงั หวดั มกุ ดาหาร

วัตถุประสงคข์ องการวิจยั

๑)เพ่ือศกึ ษาวเิ คราะหห์ ลกั การอยรู่ ว่ มกนั ของคนในสงั คมพหวุ ฒั นธรรมในชมุ ชนประตทู า่ แพอาํ เภอเมือง
จงั หวดั เชียงใหม่

๒)เพ่ือวิเคราะหค์ วามสอดคลอ้ งของหลกั การอยรู่ ว่ มกนั ของคนในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม ตามหลกั การ

ของแตล่ ะศาสนา

๓)เพ่ือนาํ เสนอรูปแบบและวิธีการอย่รู ว่ มกนั ของคนในสงั คมพหวุ ฒั นธรรมท่ีเหมาะสมสาํ หรบั

สงั คมไทยอยา่ งเป็นรูปธรรม

นิยามศัพทใ์ นการวิจัย

สงั คมพหวุ ฒั นธรรม หมายถงึ สงั คมท่ีมีความหลากหลายทางวฒั นธรรม เชือ้ ชาติ ศาสนา วิถีชีวติ ความคดิ
และวิถีปฏิบตั ขิ องกลมุ่ ชนในสงั คมนนั้ ๆ เพ่ือแสวงหาชีวิตท่ีดอี ยดู่ ว้ ยกนั อยา่ งมีความสขุ สามคั คีและการเปิดรบั
การไหลบา่ ทางวฒั นธรรมชนุ ชนประตทู ่าแพ หมายถงึ บคุ คลท่ีอยใู่ นในชมุ ชนประตทู า่ แพ จงั หวดั เชียงใหม่ ซง่ึ
นบั ถือศาสนาพทุ ธและศาสนาครสิ ตข์ อบเขตการศกึ ษาวิจยั /การวิจยั เลม่ นีเ้ ป็นการวจิ ยั เชิงคณุ ภาพแบบ
สมั ภาษณ์

๑)ขอบเขตดา้ นเนือ้ หา ศกึ ษาหลกั การอย่รู ว่ มกนั ของศาสนาพทุ ธ และศาสนาครสิ ตห์ ลกั การอยรู่ ว่ มกนั ของ
ประชาชนในพืน้ ท่ีการศกึ ษาวจิ ยั วิเคราะหห์ ลกั การอยรู่ ว่ มกนั ของชุมชนพหวุ ฒั นธรรมกบั หลกั ศาสนาและการ
สรา้ งความม่นั คงทางสงั คม

เครือ่ งมอื วิจัยแบบสัมภาษณ์

คณะผวู้ จิ ยั ไดส้ รา้ งเคร่ืองมือเพ่ือวจิ ยั ตามวตั ถปุ ระสงค์ คือ การวิจยั เชิงคณุ ภาพ
(QuralitatveResearch) ใชแ้ บบสมั ภาษณเ์ ชิงลึก ในลกั ษณะการสมั ภาษณแ์ บบมีโครงสรา้ ง
(Structured lnterview)เพ่ือศกึ ษาการอย่รู ว่ มกนั ของคนในสงั คมพหวุ ฒั นธรรมในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม
ในชมุ ชนประตทู า่ แพอาํ เภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ ตามลาํ ดบั ขนั้ ตอน ดงั ตอ่ ไปนี้

๑)ศกึ ษาหลกั การ แนวคิด ทฤษฏี และงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง

๒)กาํ หนดกรอบแนวคดิ ในการสรา้ งแบบสมั ภาษณ์

๓)สรา้ งแบบสมั ภาษณต์ ามคาํ แนะนาํ ของอาจารยท์ ่ีปรกึ ษา

๔)สรา้ งแบบสมั ภาษณต์ ามวตั ถปุ ระสงค์

๕)นาํ เสนอแบบสมั ภาษณต์ อ่ คณะกรรมการพจิ ารณา
๖)ปรบั ปรุงแกไ้ ขแบบสมั ภาษณต์ ามคาํ แนะนาํ

๗)จดั พมิ พแ์ บบสมั ภาษณฉ์ บบั ท่ีสมบรู ณ์ เพ่ือนาํ ไปเก็บขอ้ มลู จากประชากรตวั อยา่ งและผใู้ หข้ อ้ มลู สาํ คญั

การเก็บรวบรวมขอ้ มลู คณะผวู้ จิ ยั

ไดเ้ ก็บรวบรวบขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการสมั ภาษณ์ ตามลาํ ดบั ขนั้ ตอน

๑)ศกึ ษาขอ้ มลู จากบคุ ลากรตา่ ง ๆ ท่ีไดส้ มั ภาษณม์ าแลว้ นาํ มาวเิ คราะหเ์ พ่ือเสนอรูปแบบของการอยรู่ ว่ มกนั ใน
สงั คมพหวุ ฒั นธรรม ในชมุ ชนประตทู า่ แพ
๒)ศกึ ษาขอ้ มลู จากหนงั สือ ไดแ้ ก่ วิทยานพิ นธ์ งานวจิ ยั และหนงั สือวารสาร เอกสาร ส่ิงพิมพแ์ ละส่ืออีเล็คโทร
นิคเป็นตน้

เป้าหมายเชงิ ยทุ ธศาสตรข์ องแผนงานวจิ ยั

ทาํ ใหเ้ กิดสงั คมพหวุ ฒั นธรรมท่ีมีความเขม้ แข็งในสงั คมไทย ประชาชนสามารถเผชิญกบั ความเปล่ียนแปลง
และความหลากหลายอย่างรูเ้ ทา่ ทนั อีกทงั้ ดาํ รงชีวิตอยใู่ นทา่ มกลางความหลากหลายของบคุ คลตา่ งเชือ้ ชาติ
วรรณะ สีผวิ เพศ พนั ธุ์ ไดอ้ ย่างมีความสขุ

ผลการวจิ ยั

แนวคดิ พหวุ ฒั นธรรม ไดเ้ ขา้ มาสปู่ ระเทศไทยในชว่ งระยะเวลาประมาณ ๕๐ ปีท่ีผา่ นมา (ปัจจบุ นั นี๖้ ๐ ปี
แลว้ ) ซ่งึ เป็นชว่ งของการสรา้ งรฐั ชาติ ท่ีเนน้ ความเป็นหน่ึงเดียวกนั ทางวฒั นธรรม และความเป็นไทยแนวคดิ ท่ี
เก่ียวขอ้ งกบั ความเป็นสงั คมพหวุ ฒั นธรรม4ทฤษฎีประกอบสรา้ ง (Construction) ความสมั พนั ธเ์ ชงิ
อาํ นาจ ซ่งึ มีฐานความคิดท่ีจะตอ้ งทาํ ความเขา้ ใจอยู่ ๓ ฐานความคิด คอื วฒั นธรรม ชาตพิ นั ธุแ์ ละอตั ลกั ษณ์
ลกั ษณะความสมั พนั ธท์ างวฒั นธรรมท่ีมีอย่คู ือ ตา่ งคนตา่ งมีวฒั นธรรมเป็นของตนเองทีแตกตา่ งกนั การมี
แนวคดิ ลกั ษณะนีจ้ ะชว่ ยใหค้ นในสงั คมลดการดถู กู เหยียดหยามกนั ทางวฒั นธรรมสามารถอยรู่ ว่ มกนั ไดภ้ ายใต้
ความแตกตา่ งและการใหค้ วามเคารพในสิทธิเสรภี าพของกนั และกนั สงั คมพหวุ ฒั นธรรมเป็นแนวคดิ ท่ีมีการ
พฒั นาเพ่ือใหส้ งั คมเกิดการเรยี นรูเ้ พ่ือท่ีจะอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมท่ีมีความหลากหลายอนั เรียกวา่ “สงั คมพหุ
วฒั นธรรม” ไดเ้ กิดจากความหลากหลายทางชาตพิ นั ธุ์ ความเช่ือทางศาสนา แตอ่ ยา่ งไรก็ตามการยอมรบั
ความแตกตา่ งทางศาสนาและวฒั นธรรม บนพืน้ ฐานเสรีภาพจากการศกึ ษาพหวุ ฒั นธรรมไดร้ บั ความสนใจมาก
ขนึ้ จนเห็นไดใ้ นหลากหลายองคก์ ร และสืบเน่ืองจากการท่ีประชากรมีการแลกเปล่ียนความรูแ้ ละสามารถยา้ ย
ถ่ินฐานอยา่ งถาวร จากเหตทุ ่ีมีการอบพยพยา้ ยถ่ินฐานจงึ เกิดการศกึ ษาเรียนรูภ้ าษา ในเร่อื งของการเป็นอยู่
วฒั นธรรม การดาํ เนินชีวิต ภายใตเ้ ง่ือนไขทางกฎหมาย พรอ้ มระเบียบปฏิบตั ใิ หม่ แตป่ ระชากรกลมุ่ ดงั กลา่ วก็
มิไดท้ อดทงิ้ ภาษา วฒั นธรรมความเช่ือ และศาสนาเดมิ การศกึ ษาสงั คมพหวุ ฒั นธรรม เป็นการศกึ ษาระดบั ขนั้
พืน้ ฐานท่ีจะชว่ ยใหป้ ระชาชนพรอ้ มทงั้ เดก็ และเยาวชน มีความเป็นผทู้ ่ีเปิดกวา้ ง เกิดความเขา้ ใจ ไมร่ งั เกียจ
และยอมรบั ซง่ึ ความแตกตา่ งในเร่อื งของความเป็นสงั คมกลมุ่ นอ้ ยท่ีมีความตา่ ง ดา้ นเชือ้ ชาติ ภาษา ศาสนา
ลทั ธิความเช่ือ คือ การศกึ ษาสงั คมพหวุ ฒั นธรรมท่ีเกิดในสถานศกึ ษาระดบั พืน้ ฐานในสงั คม เพ่ือชว่ ยลด
ความรูส้ กึ เหยียดหยามเร่ืองเชือ้ ชาติ และศาสนา จงึ ชว่ ยใหส้ งั คมเขา้ ใจซ่งึ กนั และกนั ไมน่ าํ เร่ืองความแตกตา่ ง
ของวฒั นธรรม เชือ้ ชาตคิ วามเช่ือไปใชใ้ นทางท่ีผิด

แนวทางในการเป็ นอยู่ของชาวพุทธ

แนวทางในการเป็นอยขู่ องชาวพทุ ธ ผลจากการศกึ ษาแนวทางและการลงพืน้ ท่ีเพ่ือสมั ภาษณ์ ผใู้ หข้ อ้ มลู หลกั
ตามประเดน็ คาํ ถามวา่ “หลกั การอยรู่ ว่ มกนั ระหวา่ งคนในชมุ ชนท่ีมีความหลากหลายทางสงั คมศาสนาและ
วฒั นธรรมมีอะไร”ผลจากการสมั ภาษณผ์ ใู้ หข้ อ้ มลู หลกั เพ่ือเป็นประโยชนใ์ นการศกึ ษาวจิ ยั เร่อื งแนวทางในการ
อยรู่ ว่ มกนั ดงั ตอ่ ไปนีจ้ ากความหลากหลายทางสงั คม ศาสนาและวฒั นธรรมของชมุ ชนท่ีอาศยั อยกู่ บั เขตทุ ่ีติด
กบั ประตทู า่ แพ ซ่งึ เรียกกนั วา่ ชมุ ชนวดั บา้ นปิง สรุปความวา่ ชมุ ชนประตทู า่ แพ เป็นชมุ ชนเลก็ ๆ ท่ีอาศยั อยู่
รว่ มกนั อยา่ งมีความสขุ มาอยา่ งชา้ นาน จงึ เกิดมีประเพณีวฒั นธรรม เช่นการทาํ บญุ เดือน ๑๒ เป็ง ก๋ินก็วย
สลากภตั ร ท่ีมีการจดั ขนึ้ ภายในชมุ ชนและเทศนาใหแ้ ละศรทั ธาในชมุ ชนประตทู า่ แพชมุ ชนแหง่ นีเ้ ป็นชมุ ชนเลก็
ๆ แตม่ ีความเขม้ แข็งสามคั คี ไมค่ อ่ ยจะมีปัญหาอะไร ท่ีมีก็เป็นสว่ นเล็ก ๆ แตก่ ็สามารถแกป้ ัญหาได5้ หลกั ทาง
พระพทุ ธศาสนา คอื
๑)ความเมตตากรุณาตอ่ กนั (เมตตาธรรม) ๒) การเคารพในสทิ ธิของกนั และกนั (ศลี ธรรม)
๓)การชว่ ยเหลือเกือ้ กลู กนั (สงั คหธรรม) ๔) ความสามคั คี (สามคั คีธรรม)
๕)ความอดทนอดกลนั้ ตอ่ ความแตกตา่ งระหวา่ งกนั (ขนั ติธรรม)ดว้ ยการท่ีพระพทุ ธศาสนาใหค้ วามสาํ คญั กบั
ความเป็นมนษุ ยต์ อ้ งประกอบดว้ ยหลกั ของการมีความเมตตากรุณาตอ่ กนั ชว่ ยเหลือซ่งึ กนั และกนั ดแู ลกนั
ดว้ ยดีพรอ้ มกบั การเคารพในสทิ ธิของกนั และกนั อนั เป็นหลกั ของศลี ธรรม รวมถงึ การชว่ ยเหลือเกือ้ กลู กนั พรอ้ ม
สรา้ งความสามคั คโี ดยนาํ หลกั ธรรมเป็นหลกั ในการดาํ เนินชีวติ พรอ้ มกบั การสรา้ งระบบความเขา้ ใจและอดทน
อดกลนั้ ตอ่ ความแตกตา่ งระหวา่ งกนั หลกั การอยรู่ ว่ มกนั ระหวา่ งคนในชมุ ชนท่ีมีความหลากหลายทางสงั คม

ดว้ ยการมีความเป็นกลางไมพ่ ยายามสรา้ งความแตกแยกใหเ้ กิดมีในสงั คมดว้ ยการเป็นกลางในความคดิ ของแต่
ละศาสนาและบคุ คลเพราะชมุ ชนแหง่ นีไ้ มม่ ีจดุ ออ่ นอะไรเลย ดว้ ยเห็นท่ีเราเคารพซง่ึ กนั และกนั เพราะจดุ รว่ มท่ี
ยดึ ถือในชมุ ชนแหง่ นีก้ ็ คอื ศาสนาท่ีเป็นศาสนาของทกุ คนท่ีมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมตา่ งๆ มวลชนมีความสมั พนั ธ์
ท่ีดีผปู้ กครองมีสว่ นรว่ มดใี นทกุ ศาสนาหลกั ทศิ ๖ อคติ ๔ เป็นตน้ ซ่งึ หลกั การเหลา่ นี้ สามารถใชเ้ ป็นกรอบ
สาํ หรบั การวิเคราะหห์ ลกั การอยรู่ ว่ มกนั ของคนในสงั คมพหวุ ฒั นธรรมตามหลกั การในทางพระพทุ ธศาสนา

แนวทางในการเป็ นอยู่ของชาวครสิ ต์

แนวทางในการเป็นอยขู่ องชาวครสิ ต์ ผลจากการศกึ ษาแนวทางและการลงพืน้ ท่ีเพ่ือสมั ภาษณ์ ผใู้ หข้ อ้ มลู
หลกั ตามประเดน็ คาํ ถามวา่ “หลกั การอยรู่ ว่ มกนั ระหวา่ งคนในชมุ ชนท่ีมีความหลากหลายทางสงั คมศาสนา
และวฒั นธรรมมีอะไร” ผลจากการสมั ภาษณผ์ ใู้ หข้ อ้ มลู หลกั เพ่ือเป็นประโยชนใ์ นการศกึ ษาวิจยั เร่ืองแนวทาง
ในการอยรู่ ว่ มกนั ดงั ตอ่ ไปนีจ้ ากความหลากหลายของชมุ ชนนีม้ ี ศาสนาครสิ ตอ์ ยรู่ ว่ มกบั คนไทยมาก็ ๕๐ กวา่ ปี
หลกั ในการเป็นอย่ดู ว้ ยการจดั กิจกรรมและการสอนศาสนา หลกั การอยรู่ ว่ มกนั ระหวา่ งคนในชมุ ชนท่ีมีความ
หลากหลายในสงั คม ในการเป็นอยขู่ องชาวครสิ ต์ คอื อย่ดู ว้ ยความรกั ดว้ ยการรกั เพ่ือนมนษุ ยด์ ว้ ยกนั เหมือนรกั
ตนเอง จงึ ไมม่ ีจดุ ออ่ นและอปุ สรรค์ เพราะเรามีความเมตตา จงึ เป็นจดุ แข็งของเรา คือ มีความรกั กบั ผคู้ นทกุ
สานิกท่ีมีความหลากหลาย และทาํ ใหเ้ ขารูถ้ ึงหลกั ของชีวิต ดว้ ยการมีจดุ รว่ มในการใหค้ วามรกั ตอ่ เพ่ือนมนษุ ย์
ดว้ ยกนั ดว้ ยการป็นแบบนีเราจงึ ไมม่ ีปัญหา7หลกั ของศาสนาครสิ ต์ เนน้ การปฏิบตั ติ ามหลกั การของบญั ญตั ิ
๑๐ ประการ ท่ีพระเจา้ ไดป้ ระทานแก่โมเสส สาํ หรบั เป็นหลกั ในการปฏิบตั ขิ องคนในสงั คม ไดแ้ ก่

๑) จงนมสั การพระเจา้ แตเ่ พียงผเู้ ดยี ว ๒)อยา่ ออกพระนามของพระเจา้ โดยไมส่ มควร

๓)วนั พระเจา้ ใหถ้ ือเป็นวนั สละตนเพ่ือพระเจา้ ๔)จงนบั ถือบดิ ามารดา

๕)อยา่ ฆา่ คน ๖)อยา่ ลว่ งประเวณี

๗)อยา่ ลกั ทรพั ย์ ๘)อยา่ นินทาวา่ รา้ ยผอู้ ่ืน

๙)อยา่ คดิ โลภในประเวณี ๑๐)อยา่ คิดโลภในส่ิงของของผอู้ ่ืน

แนวทางการสร้างความม่ันคงทางสังคมในสังคมพหวุ ัฒนธรรม

ในสงั คมแตล่ ะแหง่ จะมีแนวทางในการสรา้ งความม่นั คงทางสงั คมท่ีเป็นหลกั ในการอยดู่ ว้ ยกนั ไดใ้ นความ
หลากหลายของศรทั ธาทางศาสนาประเพณีและวฒั นธรรมตา่ งๆแนวคดิ ของพหวุ ฒั นธรรมตามสาขาวชิ า
มานษุ ยวิทยาวฒั นธรรมไดใ้ หค้ วามหมายของวฒั นธรรมไวว้ า่ วฒั นธรรมหมายถงึ ผลรวมของบรรดาส่งิ ตา่ งๆท่ีมี
ความสลบั ซบั ซอ้ นท่ีประกอบดว้ ยความรูค้ วามเช่ือศลิ ปวฒั นธรรมศลี ธรรมกฎหมายประเพณีอปุ นสิ ยั ตลอดจน
พฤตกิ รรมอ่ืนๆท่ีมนษุ ยแ์ สดงออกนอกจากนนั้ พระราชบญั ญตั วิ ฒั นธรรมแหง่ ชาตไิ ดใ้ หค้ วามหมายของ
วฒั นธรรมไวว้ า่ หมายถงึ ลกั ษณะท่ีแสดงความเจรญิ งอกงามความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ยความกลมเกลียว
กา้ วหนา้ ของชาตแิ ละศีลธรรมอนั ดขี องประชาชนวฒั นธรรมเกิดขนึ้ ไดเ้ ม่ือมนษุ ยท์ ่ีอยใู่ นบรเิ วณใกลเ้ คยี งกนั ใน
สงั คมเดยี วกนั ทาํ ความตกลงกนั วา่ จะยดึ ระบบไหนดพี ฤตกิ รรมใดบา้ งท่ีจะถือเป็นพฤตกิ รรมท่ีควรปฏิบตั แิ ละมี
ความหมายอยา่ งไรแนวความคดิ ใดจงึ เหมาะสมขอ้ ตกลงเหลา่ นีค้ ือการกาํ หนดความหมายใหก้ บั ส่งิ ตา่ งๆใน
สงั คมเพ่ือวา่ สมาชกิ ของสงั คมจะไดเ้ ขา้ ใจตรงกนั และยดึ ระบบเดียวกนั หรอื อีกนยั หน่งึ เราอาจเรียกระบบท่ี
สมาชิกในสงั คมไดต้ กลงในความหมายแลว้ นีว้ า่ ระบบสญั ลกั ษณด์ งั นนั้ วฒั นธรรมก็คอื ระบบสญั ลกั ษณใ์ น
สงั คมมนษุ ยท์ ่ีมนษุ ยส์ รา้ งขนึ้ เม่ือสรา้ งขนึ้ แลว้ จงึ สอนใหค้ นรุน่ หลงั ไดเ้ รียนรูห้ รือนาํ ไปปฏิบตั เิ พราะฉะนนั้
วฒั นธรรมจงึ ตอ้ งมีการเรียนรูแ้ ละมีการถา่ ยทอดเม่ือมนษุ ยเ์ รยี นรูเ้ ก่ียวกบั วัฒนธรรมมนษุ ยก์ ็รูว้ ่าอะไรคอื
ขนบธรรมเนียมประเพณีของสงั คม8วฒั นธรรมหมายถงึ ส่ิงท่ีมนษุ ยส์ รา้ งขนึ้ และปรบั ปรุงจากธรรมชาตแิ ละ
มนษุ ยจ์ ะเรยี นรูว้ ฒั นธรรมจากกนั และกนั เป็นส่ิงท่ีมีการสืบตอ่ เน่ืองเป็นมรดกทางสงั คมท่ีมีการถ่ายทอดจากคน
รุน่ หน่งึ ไปยงั อีกรุน่ หนง่ึ มนษุ ยไ์ ดเ้ รียนรูว้ ฒั นธรรมจากทงั้ ท่ีตายไปแลว้ และท่ียงั มีชีวิตอยโู่ ดยไดร้ บั ความรูน้ นั้ ไว้
เป็นมรดกตกทอดกนั มาเป็นลาํ ดบั วฒั นธรรมมีความหมายครอบคลมุ ถึงทกุ ส่งิ ทกุ อย่างท่ีแสดงออกถึงวิถีชีวิต
ของมนษุ ยใ์ นสงั คมของกลมุ่ ใดกลมุ่ หน่งึ หรือสงั คมใดสงั คมหน่งึ ท่ีประกอบไปดว้ ยความรูค้ วามเช่ือศลิ ปะ
ศีลธรรมกฎหมาย ประเพณีวิทยาการและทกุ ส่งิ ทกุ อยา่ งท่ีคดิ และทาํ ในฐานะสมาชิกของสงั คม10วฒั นธรรมคอื

ส่ิงท่ีมนษุ ยส์ รา้ งขนึ้ กาํ หนดขนึ้ มิใชส่ ่งิ ท่ีมนษุ ยท์ าํ ตามสญั ชาตญาณอาจเป็นการประดิษฐว์ ตั ถสุ ่ิงของขนึ้ ใชห้ รือ
อาจเป็นการกาํ หนดพฤตกิ รรมหรอื ความคดิ ตลอดจนวิธีการหรือระบบการทาํ งาน วฒั นธรรมมีความหมายท่ี
กวา้ งขวางมากและครอบคลมุ เกือบจะทกุ ส่งิ ทกุ อยา่ งในการดาํ รงชีวิตรว่ มกนั และมนษุ ยใ์ ชเ้ ป็นแนวทางในการ
อบรมศกึ ษาและถา่ ยทอดไปสสู่ มาชกิ รุน่ ใหมร่ วมทงั้ มีการปรบั ปรุงเปล่ียนแปลงใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาวะแวดลอ้ ม
ท่ีเป็นอยชู่ มุ ชนชาวพทุ ธใหค้ วามสาํ คญั กบั ความดที ่ีแตกตา่ งของแตล่ ะศาสนาท่ีมี การสอนเพ่ือใหท้ กุ คนอยู่
ดว้ ยกนั อยา่ งมีความสขุ ไมส่ รา้ งความเดอื ดรอ้ นใหใ้ คร เคารพความดีท่ีแตล่ ะศาสนาใหค้ วามหมายกบั การอยู่
ดว้ ยกนั ไมโ่ ตแ้ ยง้ เพียงแตป่ รบั ใหเ้ ขา้ กนั ในแตล่ ะบริบทของสงั คมนนั้ ๆ อนั เป็นการใหเ้ กียรตมิ นษุ ยด์ ว้ ยกนั
พรอ้ มกบั การสง่ เสรมิ ใหช้ มุ ชนเหน็ ความสาํ คญั ทางศาสนา คือ การจดั กิจกรรมวนั สาํ คญั ของชาวพทุ ธ เชน่
ทาํ บญุ ตามเทศกาล ตา่ ง ๆ และวฒั นธรรมประเพณีตา่ ง ๆ วนั สาํ คญั ของชมุ ชน คอื ควรมีการสง่ เสรมิ ใหท้ กุ คน
ในแตล่ ะศาสนาเขา้ มาจดั กิจกรรมรว่ มกนั ในสถานทีของตน เวียนกนั ไปโดยไมเ่ ก่ียงวา่ เป็นคนตา่ งศาสนา พรอ้ ม
กบั มีหนว่ ยงานท่ีสาํ คญั ในชมุ ชนเป็นตวั ชว่ ยสนบั สนนุ หรือกาํ หนดใหห้ นว่ ยงานนนั้ ๆ เป็นหลกั ในการทาํ
กิจกรรม พธิ ีกรรม และขนั้ ตอนตา่ ง ๆ อยา่ งท่วั ถึงทกุ วาระท่ีมีวนั สาํ คญั เกิดขนึ้ พรอ้ มสรา้ งความรูใ้ หเ้ กิดในชมุ ชนุ
ไดม้ องเหน็ ความสาํ คญั ของคณุ คา่ ในการอยารว่ มกนั อยา่ งมีความสขุ ดว้ ยการเคารพความเห็นตา่ งทางดา้ นคาํ
สอนและแนวคิดของกนั และกนั ประเทศไทยมีประชากรท่ีอาศยั อยใู่ นพืน้ ท่ีท่ีมีสถานะเชงิ พหวุ ฒั นธรรม
โดยเฉพาะในจงั หวดั ท่ีมีเขตตดิ ตอ่ กบั ประเทศเพ่ือนบา้ น นอกจากนนั้ ในพืน้ ท่ีเขตเมืองใหญ่ท่ีเป็นแหลง่
อตุ สาหกรรมหรือแหลง่ รว่ มทนุ จากบรษิ ัทหรือกลมุ่ บคุ คลจากตา่ งประเทศก็จะมีประชากรกลมุ่ หนง่ึ เป็นชาว
ตา่ งประเทศท่ีมีภาษาวฒั นธรรม วถิ ีชีวิตความเป็นอยแู่ ตกตา่ งไปจากคนไทย รวมถงึ นกั ทอ่ งเท่ียว พกั อาศยั อยู่
สถานศกึ ษาจะเป็นแหลง่ เรยี นรูท้ ่ีจะชว่ ยการยอมรบั พหวุ ฒั นธรรมเหน็ คณุ คา่ ของความหลากหลาย (value
ofdiversity) และชว่ ยหลอ่ หลอมกลอ่ มเกลาใหเ้ ดก็ เยาวชน หรือผเู้ รียน ไดร้ บั การพฒั นาทกุ ดา้ นเตม็ ตาม
ศกั ยภาพ เพราะปัจจยั ทางศาสนาและวฒั นธรรมเป็นส่ือสาํ คญั ท่ีจะเช่ือมประชาชนใหส้ ามารถ

ข้อเสนอแนะ

ขอ้ เสนอแนะในการศกึ ษาวิจยั ครงั้ ตอ่ ไป ควรจะศกึ ษาในประเดน็ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การดาํ เนินชีวิตของผคู้ นใน
กลมุ่ เดียวกนั เชน่ เร่ือง “ศกึ ษาความสอดคลอ้ งของสงั คมพหวุ ฒั นธรรม กบั การเปล่ียนแปลงของโลกนิยม”
กรณีศกึ ษาการเป็นอยขู่ องสงั คมเมืองกบั สงั คมชนบท เพ่ือนาํ มาพฒั นาเปรียบเทียบกบั การเป็นอยใู่ นสงั คมแหง่
การพฒั นาเทคโนโลยีแหง่ การส่ือสาร กบั คณุ คา่ ดงั เดมิ ของสงั คมไทยวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งของหลกั การอยู่
รว่ มกนั ของคนในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม ตามหลกั การของแตล่ ะศาสนา ดา้ นความเช่ือ และวิถีชีวติ วเิ คราะหก์ าร
อยรู่ ว่ มกนั ของคนในสงั คมพหวุ ฒั นธรรมท่ีเหมาะสมสาํ หรบั สงั คมไทยทางดา้ นแนวคิด

คุณค่าของการอยรู่ ่วมกันอย่างสันตแิ ละพงึ่ พาอาศัยกันกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนด์ ้านต่างๆ ดงั นี้

ประโยชนต์ อ่ ตนเอง

๑)ทาํ ใหอ้ ย่ใู นสงั คมอยา่ งมีความสขุ และรูส้ กึ ปลอดภยั จากอนั ตรายตา่ งๆ
๒)มีผคู้ อยใหค้ วามชว่ ยเหลือเม่ือตกยาก หรอื ประสบกบั ความยากลาํ บากจากเหตกุ ารณต์ า่ งๆ และทาํ ให้ไมร่ ูส้ กึ
โดเด่ยี ว หรอื ไรท้ ่ีพง่ึ เม่ือเจอปัญหา
๓)ประสบความสาํ เรจ็ ในการประกอบหนา้ ท่ีการงาน เพราะไดร้ บั ความชว่ ยเหลือเกือ้ กลู จากบคุ คลรอบขา้ ง
ประโยชนต์ อ่ สังคมและประเทศชาติ
๑)สงั คมเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ยและสงบสขุ ปราศจากปัญหาความแตกแยกขดั แยง้ ใดๆ
๒)เกิดการพฒั นาท่ีรวดเรว็ และย่งั ยืน เพราะความสงบสขุ ในสงั คม จะกระตนุ้ ใหเ้ กิดการลงทนุ ทางเศรษฐกิจ ทาํ
ใหป้ ระเทศชาตมิ ีรายไดเ้ พ่มิ ขนึ้ เพียงพอตอ่ การนาํ มาปรบั ปรุงโครงสรา้ งทางสงั คมใหม้ ีประสิทธิภาพ และพรอ้ ม
รบั มือกบั ความเส่ียงหรือการเปล่ียนแปลงของสถานการณ์
๓)ความสขุ ของคนในชาตเิ พ่มิ มากขนึ้ เพราะมีความอยดู่ ีกินดี รูส้ กึ ปลอดภยั ในการดาํ เนนิ ชีวิต มีหนา้ ท่ีการงาน
และรายไดท้ ่ีม่นั คง

การอยรู่ ่วมกนั อย่างสันตแิ ละการพง่ึ พาอาศัยกนั

แนวทางการอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ติ และการพง่ึ พาอาศยั กนั การเรียนรูว้ ธิ ีการอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมท่ีเตม็ ไปดว้ ย
ความหลากหลายและแตกตา่ ง เพ่ือปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั บคุ คลรอบขา้ ง จะกอ่ ใหเ้ กิดความสขุ ในการอาศยั อยู่
รว่ มกนั ซง่ึ การสรา้ งสนั ตสิ ขุ ใหเ้ กิดขนึ้ ในสงั คม จาํ เป็นตอ้ งอาศยั ความรว่ มมือของสมาชิกทกุ คน โดยยดึ แนว
ทางการปฎิบตั ิ ดงั นี้

เคารพซงึ่ กันและกัน

๑)แสดงกิรยิ าท่ีนอบนอ้ มตอ่ กนั
๒)พดู ดีตอ่ กนั ทงั้ ตอ่ หนา้ และลบั หลงั
๓)ยอมรบั ในความแตกตา่ งทงั้ ความเช่ือ ศาสนา ภาษา วฒั นธรรม เชือ้ ชาติ ผิวพรรณ เป็นตน้
๔)รบั ฟังความคดิ เห็นซง่ึ กนั และกนั

เมตตาตอ่ กนั

๑)เอาใจเขามาใสใ่ จเรา คิดถึงจติ ใจของผอู้ ่ืน
๒)แสดงความหว่ งใยตอ่ บคุ คลรอบขา้ ง ไมซ่ าํ้ เตมิ ใหผ้ อู้ ่ืนไดร้ บั ความทกุ ขย์ ากมากขนึ้
๓)ฝึกใจใหร้ กั ในการให้ มากกวา่ การรบั
๔)เสียสละประโยชนส์ ว่ นตน เพ่ือประโยชนส์ ว่ นรวม

ช่วยเหลือเกอื้ กูลกัน

๑)บรจิ าคทรพั ยส์ นิ หรือส่ิงของชว่ ยเหลือผอู้ ่ืนท่ียากลาํ บากหรอื ประสบภยั ตา่ งๆ
๒)ชว่ ยเหลือผอู้ ่ืนทาํ งาน หรือชว่ ยงานตามความสามารถของตนดว้ ยความทมุ่ เทและเต็มใจ
๓)ใหค้ วามรว่ มมือในการปฎิบตั ิตามขอ้ กาํ หนด หรือระเบียบของสงั คม

มคี วามซอื่ สัตยต์ ่อกัน

๑)แสดงความจรงิ ใจตอ่ กนั ทงั้ ทางกาย วาจา ใจ ทงั้ ตอ่ หนา้ และรบั หลงั
๒)รกั ษาสจั จะวาจา ตอ้ งทาํ ใหไ้ ดต้ ามท่ีรบั ปากไว้
๓)ไมท่ จุ รติ หรือเอาเปรียบผอู้ ่ืนดว้ ยกลอบุ ายตา่ งๆ
๔)ไวว้ างใจกนั ไมร่ ะแวงผอู้ ่ืนจนเกิดความเป็นความบาดหมาง
๕)ฝึกความมีระเบยี บวินยั ในตนเองใหก้ ลายเป็นนิสยั

ไม่ลบหลู่ดหู มิน่ กัน

๑)ไมด่ ถู กู การกระทาํ คาํ พดู หรือความคิดของผอู้ ่ืน
๒)ไมแ่ สดงกิรยิ าหรือวาจาดถู กู ศรทั ธาความเช่ือ วฒั นธรรม เชือ้ ชาติ หรือชาตพิ นั ธุข์ องผอู้ ่ืน
๓)เคารพสิทธิมนษุ ยชน ดว้ ยการปฎิบตั ิตอ่ กนั อยา่ งเทา่ เทีย

ค่านิยมทางเพศตามสังคมและวัฒนธรรมไทย
บรรทดั ฐานทางครอบครัวและสังคม

คา่ นิยมทางเพศตามสงั คมและวฒั นธรรมไทย ในอดีตมีความแตกตา่ งจากในปัจจบุ นั อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั
เน่ืองจากในอดีตบตุ รหลานจะถกู ปลกู ฝังโดยการอบรมเลีย้ งดใู หเ้ คารพเช่ือฟังคาํ ส่งั สอนของบิดามารดาอยา่ ง
เครง่ ครดั วิถีชีวิตตลอดจนวธิ ีการดาํ เนินชีวิตจะตอ้ งอยใู่ นขอบเขตท่ีทางครอบครวั ไดว้ างเอาไว้ รวมทงั้ ปัจจยั
ทางสงั คมและสภาพแวดลอ้ มก็ยงั ไมเ่ อือ้ อาํ นวยอยา่ งเชน่ ปัจจบุ นั คา่ นิยมทางเพศในอดีตมีลกั ษณะดงั นี้

ตัวอยา่ งค่านิยมทางเพศในอดตี

1)ผหู้ ญิงตอ้ งอย่กู บั เหยา้ เฝา้ กบั เรอื นเพียงอยา่ งเดียว จงึ ทาํ ใหผ้ หู้ ญิงตอ้ งถกู กดข่ีขม่ เหงดว้ ยความไมเ่ สมอภาค
ทางเพศ
2)ผชู้ ายมกั เป็นใหญ่ในบา้ น และมีอาํ นาจในการตดั สินใจทกุ อย่าง สว่ นผหู้ ญิงมีหนา้ ท่ีเพียงแคด่ แู ลบา้ นและ
บตุ รเท่านนั้
3)การนดั พบกนั ในอดีตสามารถพบกนั ไดโ้ ดยการแนะนาํ จากผใู้ หญ่หรือพบกนั ตามวดั ในเทศกาลตา่ งๆ ไมม่ ี
โอกาสไดม้ าพบกนั ในสถานท่ีสาธารณะอยา่ งเชน่ ในปัจจบุ นั
4)ผหู้ ญิงตอ้ งไมแ่ สดงกิรยิ าย่วั ยวน แสดงทา่ ทีเชือ้ เชิญหรือใหโ้ อกาสผชู้ ายไดเ้ ขา้ มาใกลช้ ดิ
5)การถกู ควบคมุ จากผใู้ หญ่ในเร่อื งของการเลือกคนรกั การแตง่ งาน ท่ีเรียกวา่ “คลมุ ถงุ ชน” โดยใหเ้ หตผุ ลถึง
ความคคู่ วร เหมาะสม เป็นส่ิงสาํ คญั มากกวา่ จะนกึ ถึงความรกั ของระหวา่ งบุคคล ทงั้ นีม้ กั จะอา้ งวา่ ใชบ้ รรทดั

ฐานทางครอบครวั และสงั คมเป็นเคร่ืองตดั สนิ ใจใหแ้ ตง่ งานกนั ซ่งึ อาจจะดว้ ยสมคั รใจหรือถกู บงั คบั ก็ตาม แตก่ ็
ตอ้ งยนิ ยอมพรอ้ มทงั้ ปลกู ฝังคา่ นยิ มของเพศหญิงใหม้ ีความรกั และซ่ือสตั ยต์ อ่ สามีเพียงคนเดียว

ตวั อย่างค่านิยมทางเพศในปัจจุบัน

ปัจจบุ นั สภาพครอบครวั และสงั คมไดเ้ ปล่ียนแปลงไป ผหู้ ญิงตอ้ งทาํ งานหาเลีย้ งครอบครวั เชน่ เดยี วกบั ผชู้ าย
สว่ นภาระหนา้ ท่ีการดแู ลบา้ นและการเลีย้ งดบู ตุ รก็ยงั คงเป็นหนา้ ท่ีของผหู้ ญิงเชน่ เดมิ ทงั้ นี้ ผหู้ ญิงสามารถไดร้ บั
การศกึ ษาในระดบั สงู ๆ ไดเ้ ชน่ เดียวกบั ผชู้ าย ผหู้ ญิงมีสิทธิ์ท่ีจะสามารถแสดงความคดิ เห็นและโตแ้ ยง้ ในกรณี
ตา่ งๆ ได้ เน่ืองจากไดร้ บั สิทธิท่ีเทา่ เทียมกนั ทาํ ใหม้ ีโอกาสมากขนึ้ เก่ียวกบั เร่ืองเพศ เชน่ การเลือกฝ่ายชายท่ีจะ
มาเป็นคคู่ รอง การขอหยา่ ถา้ แตง่ งานไปแลว้ ไมม่ ีความสขุ การเป็นผนู้ าํ ครอบครวั เป็นตน้

สภาพแวดล้อม

สภาพแวดลอ้ มในอดีตกบั ปัจจบุ นั แตกตา่ งกนั มาก ในปัจจบุ นั มีส่งิ ย่วั ยุ สถานบนั เทิงเรงิ รมยต์ า่ งๆ ศนู ยก์ ารคา้
ปัญหาสารเสพตดิ และความรุนแรง ซ่งึ สง่ ผลใหว้ ยั รุน่ อาจใชช้ ีวติ ท่ีหลงผิด จนอาจก่อใหเ้ กิดเป็นปัญหา
อาชญากรรมทางสงั คมได้ ทาํ ใหม้ ีคณุ ภาพชีวิตท่ีไมด่ ี ยากจน ไมม่ ีโอกาสศกึ ษาตอ่ ตอ้ งหาเลีย้ งชีพโดยไมส่ จุ รติ
เกิดความฟงุ้ เฟอ้ เพ่ือตอ้ งการใหต้ นเองทดั เทียมกบั ผอู้ ่ืน และในท่ีสดุ ก็เกิดคา่ นิยมทางเพศท่ีผดิ ๆ เชน่ การมี
ความคดิ วา่ การขายบรกิ ารทางเพศเป็นส่ิงท่ีหารายไดใ้ หแ้ ก่ตนเองไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ เป็นตน้

สื่อเทคโนโลยี

ความกา้ วหนา้ และรวดเรว็ ของส่ือเทคโนโลยี อาจเป็นสาเหตขุ องการทาํ ใหเ้ กิดคา่ นิยมทางเพศท่ีไมถ่ กู ตอ้ ง
เน่ืองจากวยั รุน่ สามารถติดตอ่ หรือคบเพ่ือนตา่ งเพศท่ีไมเ่ คยรูจ้ กั กนั ไดง้ า่ ย เพียงแตโ่ ทรศพั ทห์ รือใชอ้ นิ เตอรเ์ นต็
เป็นส่ือในการตดิ ตอ่ กนั หากใชใ้ นทางท่ีไมเ่ หมาะสมหรอื คยุ กบั บคุ คลท่ีไมห่ วงั ดีดว้ ย อาจก่อใหเ้ กิดปัญหาการ
ถกู ลอ่ ลวงหรอื ปัญหาในทางไมด่ อี ่ืนๆ ตามมาวฒั นธรรมไทยใหค้ วามสาํ คญั ในเร่ืองความถกู ตอ้ งดงี ามในเร่ือง
เพศ ซ่งึ เป็นส่ิงท่ีสมาชิกในสงั คมไทยยึดถือปฏิบตั ิ รวมทงั้ การอบรมส่งั สอนถ่ายทอดความเช่ือและคา่ นิยมสืบตอ่
กนั มาทางสถาบนั ครอบครวั โดยมีพอ่ แมเ่ ป็นผคู้ อยส่งั สอน อบรมชีแ้ นะลกู ใหย้ ึดถือเป็นแนวปฏิบตั ใิ นการ
ดาํ รงชีวิต ดงั สภุ าษิตสอนหญิงของสนุ ทรภ่ทู ่ีวา่ “จงรกั นวลสงวนงามหา้ มใจไว้ อยา่ หลงใหลจงจาํ คาํ ท่ีพร่าํ สอน

คดิ ถึงหนา้ บดิ าและมาดร อยา่ รบี รอ้ นเรว็ นกั มกั ไมด่ ี เม่ือสกุ งอมหอมหวนจงึ ควรหลน่ อยกู่ บั ตน้ อยา่ ใหพ้ รากไป
จากท่ี อยา่ ชงิ สกุ ก่อนห่ามไมง่ ามดี เม่ือบญุ มีคงจะมาอยา่ ปรารมภ”์

บรรณานุกรม

https://sites.google.com/site/class52thongpannaraichonon/neuxha-1-
3

file:///C:/Users/Admin/Downloads/184052-Article%20Text-735604-1-10-
20191105%20(2).pdf

http://edoc.mrta.co.th/hrd/Attach/public/1618890190_1.pdf

https://sites.google.com/site/khawnchanokpoopaepoopaew/kha-
niym-thang-phes-tam-sangkhm-laea-wathnthrrm-thiy


Click to View FlipBook Version