- 34 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย อำเภอภูหลวง ประกอบด้วยสหกรณ์ 2 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 4 แห่ง จำนวนสมาชิกสหกรณ์ 1,454 คน สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 245 คน อำเภอเอราวัณ ประกอบด้วยสหกรณ์ 3 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 2 แห่ง จำนวนสมาชิกสหกรณ์ 1,111 คน สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 258 คน รวมสหกรณ์รวมจำนวน 12 แห่ง สมาชิกสหกรณ์รวม 8,760 คน กลุ่มเกษตรกรรวม 13 แห่ง สมาชิกกลุ่มเกษตรกรรวม 942 คน 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 50,800.-บาท 50,800.-บาท 100 3. ผลการดำเนินงานแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วย นับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัด 1. สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 แห่ง 13 11 84.61 2. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 แห่ง 11 8 72.72 3. สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แห่ง 12 9 75.00 4. กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แห่ง 10 8 80 5. อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจสหกรณ์ (ร้อยละ 3) แห่ง 9 7 77.77 6. อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกร (ร้อยละ 3) แห่ง 10 9 90 กิจกรรมที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1.กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรพื้นฐาน 1.1 แนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามแผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แห่ง 25 19 100 1.2 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชีเดือน ส.ค.64 - ก.ค.65 ปิด บัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี แห่ง 25 14 100 1.3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชี ระหว่างเดือน มี.ค.64 - ก.พ.65 ประชุมใหญ่สามัญ ภายใน 150 วัน แห่ง 25 18 100 2. กิจกรรมกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 2.1 เข้าแนะนำ ป้องกันการเกิดข้อบกพร่องในสหกรณ์ แห่ง 13 13 100 2.2 การตรวจการสหกรณ์ แห่ง 13 13 100 3. กิจกรรมพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 3.1 ส่งเสริมด้านความสามารถในการให้บริการสมาชิก แห่ง 25 25 100 3.2 ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจ แห่ง 25 25 100
- 35 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วย นับ แผน ผล ร้อยละ 3.3 ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการจัดการองค์กร(การควบคุมภายใน) แห่ง 25 25 100 3.4 ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพของการบริหารงาน แก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์ แห่ง 25 25 100 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงาน สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 (อำเภอวังสะพุง ภูหลวง เอราวัณ) จำนวนสหกรณ์ ทั้งหมด 12 แห่ง มีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 8,760 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ จำนวน 6,619 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 76 มีปริมาณธุรกิจ จำนวน 647,634,830 บาท มีผลกำไรสุทธิ จำนวน 10,193,828 บาท สหกรณ์มีผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับ ดี ขึ้นไป จำนวน 9 แห่ง สหกรณ์ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 12 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 92 มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 13 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 100 กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 (อำเภอวังสะพุง ภูหลวง เอราวัณ) กลุ่ม เกษตรกรจำนวน 12 แห่ง มีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 942 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับกลุ่ม เกษตรกร จำนวน 419 คนหรือคิดเป็นร้อยละ 44 มีปริมาณธุรกิจ 1,533,760 บาท มีกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน จำนวน 10 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 83 มีกลุ่มเกษตรกรอยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 11 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 83 โดยแยกดังนี้ อำเภอวังสะพุง สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 (อำเภอวังสะพุง) สหกรณ์ทั้งหมด จำนวน 8 สหกรณ์มี สมาชิกทั้งหมด จำนวน 6,195 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ จำนวน 4,622 คน หรือ คิดเป็นร้อย 75 ปริมาณธุรกิจ จำนวน 312,421,864 บาท มีผลกำไรสุทธิ จำนวน 2,728,179 บาท สหกรณ์มี ผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับ ดี ขึ้นไป จำนวน 5 แห่ง สหกรณ์มีประสิทธิภาพในการดำเนิน ธุรกิจอยู่ผู้ในระดับมาตรฐานขึ้นไป จำนวน 5 แห่ง มีสหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 8 แห่ง หรือคิดเป็น ร้อยละ 100 มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 8 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 100 กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 (อำเภอวังสะพุง) จำนวนกลุ่มเกษตรกร 6 กลุ่ม เกษตรกรมีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 439 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับกลุ่มเกษตรกร จำนวน 178 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 41 มีปริมาณธุรกิจ 3,000,561 บาท มีกำไรสุทธิ จำนวน 101,976 บาท กลุ่ม เกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 5 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 83 กลุ่มเกษตรกรอยู่ในระดับชั้น 2 จำนวน 6 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 100 กลุ่มเกษตรกรไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานคือ กลุ่มเกษตรกรทำไร่ศรีสงคราม มีผลการ ดำเนินงานขาดทุน ไม่ผ่านเกณฑ์ ข้อ 5 กลุ่มเกษตรกรมีกำไรสุทธิประจำปีและมีการจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี ตามกฎหมาย
- 36 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย อำเภอภูหลวง สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 (อำเภอภูหลวง) จำนวนสหกรณ์ทั้งหมด 2 สหกรณ์มี สมาชิกทั้งหมด จำนวน 1,454 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ จำนวน 1,002 คน หรือ คิดเป็นร้อยละ 69 ปริมาณธุรกิจ 55,925,807 บาท มีผลกำไรสุทธิ จำนวน 1,235,341 บาท สหกรณ์มีผลการ จัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับ ดี ขึ้นไป จำนวน 2 แห่ง มีสหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 2 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 100 มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 2 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 100 กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 (อำเภอภูหลวง) กลุ่มเกษตรกรทั้งสิ้น 4 กลุ่ม เกษตรกรมีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 245 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับกลุ่มเกษตรกร จำนวน 162 คนหรือคิดเป็นร้อยละ 66 มีปริมาณธุรกิจ 1,533,760 บาท ผลกำไรสุทธิ จำนวน 203,366 บาท กลุ่ม เกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 4 แห่งหรือคิดเป็นร้อยละ 100 มีกลุ่มเกษตรกรอยู่ในระดับชั้น 2 จำนวน 4 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 100 อำเภอเอราวัณ สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 (อำเภอเอราวัณ) สหกรณ์ทั้งหมด จำนวน 3 สหกรณ์ มีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 1,111 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ จำนวน 995 คน หรือ คิดเป็นร้อยละ 90 มีปริมาณธุรกิจ จำนวน บาท ผลกำไรสุทธิ จำนวน บาท สหกรณ์มีผลการจัดชั้นคุณภาพการ ควบคุมภายในระดับดีขึ้นไป จำนวน 2 แห่ง มีสหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 2 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 67 มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 3 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 100 สหกรณ์ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน คือ สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคเนื้อ-โคนมเอราวัณ ไม่ผ่านเกณฑ์ ข้อ 4 ผลการดำเนินงานของสหกรณ์ในรอบปีมีสมาชิก น้อยกว่าร้อยละ 60 ของสมาชิกทั้งหมด มาทำธุรกิจกับสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 (อำเภอเอราวัณ) กลุ่มเกษตรกรทั้งหมด 2 แห่ง มีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 258 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับกลุ่มเกษตรกร จำนวน 79 คน หรือ คิดเป็นร้อยละ 31 มีปริมาณธุรกิจ จำนวน 675,000 บาท กลุ่มเกษตรกรมีผลการประเมินความเข้มแข็ง ระดับชั้น 2 จำนวน 1 แห่ง มีกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 1 แห่งหรือคิดเป็นร้อยละ 50 กลุ่ม เกษตรกรไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานคือ กลุ่มเกษตรกรทำไร่ทรัพย์ไพวัลย์ ไม่ผ่านเกณฑ์ ข้อ 1 คณะกรรมการ ดำเนินการจัดให้มีการจัดทำงบดุลรอบสิบสองเดือนแล้วเสร็จและจัดให้มีผู้ตรวจสอบได้ภายใน 150 วัน ตาม กฎหมาย 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปัญหาภายในองค์กร 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรหลายแห่ง ไม่สามารถติดตามเรียกเก็บหนี้สินจากสมาชิกซึ่งเป็น หนี้ค้างนานได้ ประกอบกับคณะกรรมการดำเนินงานไม่มีการติดตามหนี้อย่างจริงจัง
- 37 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 2. กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ สมาชิกและคณะกรรมการดำเนินงานส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุประกอบ กับขาดเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่ม ไม่มีเงินทุนในการจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี ซึ่งได้รับความช่วยเหลือการปิดบัญชี จากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ 3. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง หรือฝ่ายจัดการ สหกรณ์บางแห่งขาดความความเข้าใจในงานที่ปฏิบัติ 4. ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบ เพียงพอ ปัญหาภายนอกองค์กร 1. ความชัดเจนในนโยบายสนับสนุนต่างๆ ตลอดถึงในแต่ละยุคสมัยไม่ต่อเนื่องสอดคล้องกัน 2. การแข่งขันด้านการค้าในระบบธุรกิจ 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหาจัดประชุมร่วมกันระหว่างกลุ่มงาน เจ้าหน้าที่ส่งเสริม 1. คณะกรรมการดำเนินงานและฝ่ายจัดการของสหกรณ์เพื่อติดตามแก้ไขปัญหาหนี้ค้างนาน รับทราบปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ มีการจัดทำแผนประชุมทานหนี้สินเงินกู้ เงินรับฝากของสมาชิกเพื่อยืนยัน ยอดระหว่างสมาชิกกับข้อมูลของสหกรณ์ 2. จัดประชุมให้ความรู้กลุ่มเกษตรกร ด้านการบริหารจัดการ การควบคุมภายในเพื่อให้ คณะกรรมการดำเนินงานให้เป็นตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ส่งเสริม คณะกรรมการสหกรณ์ให้เข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิก ส่งเสริมการมีส่วนรวมกับการดำเนินธุรกิจของ สหกรณ์ 3. มีเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรและเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรได้กู้ เงินปลอดดอกเบี้ย/ดอกเบี้ยต่ำมาใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน 7. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ใช้เป็นตัวอย่างหรือต้นแบบของการใช้แผนแนะนำส่งเสริมฯ ในปี พ.ศ. 2565 มาใช้ในการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สหกรณ์กองทุนสวนยางเอราวัณพัฒนา จ ากัด ด้านการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ งานที่ดำเนินการ 1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการประจำเดือน ชี้แจงสหกรณ์เป้าหมายในการรักษาระดับชั้น 1 ตามเกณฑ์การจัดระดับฯ ให้คำแนะนำการบริหารจัดการโดยใช้หลักธรรมาภิบาลสหกรณ์และการควบคุม ภายใน ฯลฯ 2. แนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมโครงการต่างๆ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ เช่น เงินกู้กองทุน สงเคราะห์เกษตรกร โครงการสนับสนุนเพื่อสร้างระบบน้ำในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะที่ 2 3. แนะนำ ส่งเสริม สหกรณ์เข้ารับการคัดเลือกสหกรณ์ที่มีผลงานดีเด่นแห่งชาติประจำปี2565
- 38 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 4. ติดตามการใช้เครื่องจักรกลที่ได้รับการสนับสนุนตามโครงการต่างๆ จากกรมส่งเสริม สหกรณ์ เช่น รถแทรกเตอร์ เครื่องยนต์ดีเซลขนาด 47 แรงม้าพร้อมอุปกรณ์ จากโครงการสนับสนุนการจัดหา เครื่องจักรกลการเกษตรให้แก่สหกรณ์ เครื่องผสมปุ๋ย อย่างต่อเนื่อง 5. แนะนำการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงาน และงบรับ - จ่าย ของสหกรณ์ 6. แนะนำการปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่3) พ.ศ.2562 และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 7. แนะนำการปฏิบัติเพื่อไม่ให้เกิดข้อสังเกต และข้อบกพร่องของสหกรณ์ ผลที่ได้จากการดำเนินงาน 1. สหกรณ์ได้รับการจัดชั้นการประเมินความเข้มแข็งของสหกรณ์ 1 และผ่านมาตรฐานของ กรมส่งเสริมสหกรณ์ 2. สหกรณ์ได้รับการประเมินการควบคุมภายใน ในระดับดี 3. สหกรณ์ได้รับเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โครงการสนับสนุนเพื่อสร้างระบบน้ำในไร่ นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะที่ 2 4. ได้รับรางวัลสหกรณ์มีผลงานดีเด่นระดับภาค ประจำปี 2565 จากกรมส่งเสริมสหกรณ์ 5. สหกรณ์ใช้ประโยชน์เครื่องจักรกล ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมส่งเสริมสหกรณ์อย่าง ต่อเนื่อง 6. สหกรณ์ปฏิบัติเป็นไปตามแผนงานและงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี 7. สหกรณ์ไม่มีข้อสังเกต และข้อบกพร่อง 8. สหกรณ์ปฏิบัติเป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่3) พ.ศ.2562 และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ภาพกิจกรรม ในการเข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ ด้านการพัฒนาธุรกิจ งานที่ดำเนินการ 1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการประจำเดือน ให้คำแนะนำ ส่งเสริมด้านการดำเนินธุรกิจของ สหกรณ์ได้ให้คำแนะนำร่วมบูรณาการกับหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องในการต่อยอดผลิตภัณฑ์จากยางพาราเพื่อ เพิ่มช่องทางการจำหน่ายสินค้าของสหกรณ์ เช่น แปรรูปน้ำยางพารา เป็น ถุงมือยางพารา กระชังบก เป็นต้น
- 39 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 2. เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2565 เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินกิจการและธุรกิจของสหกรณ์ให้เป็นองค์กรหลักใน การพัฒนาเศรษฐกิจระดับอำเภอ ภาพกิจกรรม การดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ ผลที่ได้จากการดำเนินงาน ณ วันสิ้นปีทางบัญชี 31 มีนาคม 2565 สหกรณ์ดำเนินธุรกิจ 6 ด้าน ได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ 1,255,000 บาท ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย 1,568,440 บาท ธุรกิจเงินรับฝาก 1,299,127 บาท ธุรกิจ รวบรวมผลผลิต 58,050,022 บาท ธุรกิจบริการ 165,269 บาท และธุรกิจผลิตสินค้า 796,500 บาท สหกรณ์มี กำไรสุทธิจำนวน 237,842.45 บาท ด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ สหกรณ์ได้เลือกตั้งผู้ตรวจสอบกิจการตามกฎหมายข้อบังคับ ในรอบปีบัญชีผู้ตรวจสอบ กิจการได้เข้าปฏิบัติงานตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ แต่ไม่ปรากฏรายงานการตรวจสอบ งานที่ดำเนินการ : แนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์ แจ้งให้ผู้ตรวจสอบกิจการจัดทำรายงานการ ตรวจสอบเป็นลายลักษณ์อักษรเสนอต่อคณะกรรมการดำเนินการ เพื่อสหกรณ์จะได้นำข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ ของผู้ตรวจสอบกิจการมาใช้ประโยชน์ในการบริหารงานหรือแก้ไขปรับปรุงการดำเนินงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 (อ าเภอเชียงคาน ปากชม ท่าลี่) 1.กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ อำเภอเชียงคาน ประกอบด้วยสหกรณ์ 10 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 6 แห่ง จำนวนสมาชิกสหกรณ์ 1,110 คน สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 366 คน อำเภอปากชม ประกอบด้วยสหกรณ์ 3 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 4 แห่ง จำนวนสมาชิกสหกรณ์ 1,771 คน สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 242 คน อำเภอท่าลี่ ประกอบด้วยสหกรณ์ 3 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 4 แห่ง จำนวนสมาชิกสหกรณ์ 2,399 คน สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 572 คน รวมสหกรณ์ จำนวน 16 แห่ง สมาชิกสหกรณ์ 5,280 คน กลุ่มเกษตรกร 14 แห่ง สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 1,362 คน
- 40 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 54,400.-บาท 54,400.-บาท 100 3. ผลการดำเนินงานแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัด 1.สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 แห่ง 16 12 75 2. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง แห่ง 14 8 57.14 3. สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แห่ง 16 4 25 4. กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แห่ง 14 8 57.14 5. อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจสหกรณ์ (ร้อยละ 3) แห่ง 16 9 56.25 6. อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกร(ร้อยละ 3) แห่ง 14 8 57.14 7. จำนวนสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้น ราย 70 30 42.86 กิจกรรมที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1.กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรพื้นฐาน 1.1 แนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามแผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แห่ง 30 30 100 1.2 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชีเดือน ส.ค.64 - ก.ค.65 ปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี แห่ง 30 8 26.67 1.3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชี ระหว่างเดือน มี.ค.64 - ก.พ.65 ประชุมใหญ่สามัญ ภายใน 150 วัน แห่ง 30 17 56.66 2. กิจกรรมกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 2.1 เข้าแนะนำ ป้องกันการเกิดข้อบกพร่องในสหกรณ์ แห่ง 16 16 100 2.2 การตรวจการสหกรณ์ แห่ง 16 16 100 3. กิจกรรมพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 3.1 ส่งเสริมด้านความสามารถในการให้บริการสมาชิก แห่ง 30 20 66.67 3.2 ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจ แห่ง 30 20 66.67 3.3 ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการจัดการองค์กร(การควบคุมภายใน) แห่ง 30 20 66.67 3.4 ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพของการบริหารงานแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์ แห่ง 3 3 100
- 41 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงาน สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 (อำเภอเชียงคาน ปากชม ท่าลี่) จำนวนสหกรณ์ ทั้งหมด 16 สหกรณ์ มีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 5,280 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ จำนวน 3,175 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 60.13 มีปริมาณธุรกิจ จำนวน 286,917,184.94 บาท สหกรณ์ สามารถแก้ไขข้อบกพร่องแล้วเสร็จ จำนวน 1 แห่ง มูลค่าความเสียหายที่แก้ไขได้ จำนวน 250,000 บาท สหกรณ์มีผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับ ดี ขึ้นไป จำนวน 2 แห่ง สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 4 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 25 มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1และ2 จำนวน 12 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 75 กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 (อำเภอเชียงคาน ปากชม ท่าลี่ ) กลุ่มเกษตรกร จำนวน 14 กลุ่มเกษตรกร มีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 1,362 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับกลุ่ม เกษตรกร จำนวน 274 คนหรือคิดเป็นร้อยละ 20.12 มีปริมาณธุรกิจ จำนวน 16,782,423.00 บาท กลุ่ม เกษตรกรมีผลการจัดคุณภาพการควบคุมภายในระดับดีขึ้นไป จำนวน 1 แห่ง มีกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน จำนวน 8 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 57.14 มีกลุ่มเกษตรกรอยู่ในระดับชั้น 2 จำนวน 8 แห่ง หรือคิด เป็นร้อยละ 57.14 โดยแยกดังนี้ อำเภอเชียงคาน สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 (อำเภอเชียงคาน ) สหกรณ์ทั้งหมด จำนวน 10 สหกรณ์ มีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 1,110 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ จำนวน 203 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 18.28 มีปริมาณธุรกิจ จำนวน 10,585,151.50 มีสหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 2 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 12.50 มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 6 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 37.50 กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 (อำเภอเชียงคาน) จำนวนกลุ่มเกษตรกร 6 กลุ่ม เกษตรกรมีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 366 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับกลุ่มเกษตรกร จำนวน 136 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 37.15 มีปริมาณธุรกิจ จำนวน 10,408,554.10 บาท กลุ่มเกษตรกรมีผลการจัด คุณภาพการควบคุมภายในระดับดีขึ้นไป จำนวน 1 แห่ง มีกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 4 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 28.57 อำเภอปากชม สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 (อำเภอปากชม) จำนวนสหกรณ์ทั้งหมด 3 สหกรณ์ มี สมาชิกทั้งหมด จำนวน 1,771 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ จำนวน 1,182 คน หรือ คิดเป็นร้อยละ 66.74 ปริมาณธุรกิจ 131,923,737.95 บาท สหกรณ์สามารถแก้ไขข้อบกพร่องแล้วเสร็จ จำนวน 1 แห่ง มูลค่าความเสียหายที่แก้ไขได้ จำนวน 250,000.- บาท สหกรณ์มีผลการจัดชั้นคุณภาพการ ควบคุมภายในระดับ ดี ขึ้นไป จำนวน 1 แห่ง สหกรณ์มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ผู้ในระดับมาตรฐาน
- 42 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ขึ้นไป จำนวน 1 แห่ง มีสหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 1 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 6.25 มีสหกรณ์อยู่ใน ระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 3 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 18.75 กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 (อำเภอปากชม) กลุ่มเกษตรกรทั้งสิ้น 4 กลุ่ม เกษตรกรมีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 572 คน อำเภอท่าลี่ สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 (อำเภอท่าลี่) สหกรณ์ทั้งหมด จำนวน 4 สหกรณ์ มี สมาชิกทั้งหมด จำนวน 2,399 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ จำนวน 1,790 คน หรือ คิดเป็นร้อยละ 74.61 มีปริมาณธุรกิจ จำนวน 144,408,295.50 บาท สหกรณ์มีผลการจัดชั้นคุณภาพการ ควบคุมภายในระดับดีใช้ขึ้นไปจำนวน 1 แห่ง มีสหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 1 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 6.25 มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 3 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 18.75 กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 (อำเภอท่าลี่) กลุ่มเกษตรกรทั้งหมด 4 แห่ง มี สมาชิกทั้งหมดจำนวน 242 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับกลุ่มเกษตรกร จำนวน 138 คน หรือ คิดเป็นร้อยละ 57.02 มีปริมาณธุรกิจ จำนวน 6,373,868.90 บาท มีกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 4 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 28.57 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรหลายแห่ง ไม่สามารถติดตามเรียกเก็บหนี้สินจากสมาชิกซึ่งเป็น หนี้ค้างนานได้ ประกอบกับคณะกรรมการดำเนินงานไม่มีการติดตามหนี้อย่างจริงจัง และคณะกรรมการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรบางแห่งไม่มีความเสียสละในการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพ 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ คณะกรรมการดำเนินงานส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ประกอบกับขาดเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่ม ไม่มีเงินทุนในการจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี ซึ่งได้รับความช่วยเหลือการ ปิดบัญชีจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ และคณะกรรมการดำเนินการไม่มีความรู้ความเข้าใจในการบริหารงาน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 3. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง หรือฝ่ายจัดการ สหกรณ์บางแห่งขาดความความเข้าใจในงานที่ปฏิบัติ 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหาจัดประชุมร่วมกันระหว่างกลุ่มงาน เจ้าหน้าที่ส่งเสริม 1. คณะกรรมการดำเนินงานและฝ่ายจัดการของสหกรณ์เพื่อติดตามแก้ไขปัญหาหนี้ค้างนาน รับทราบปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ มีการจัดทำแผนประชุมทานหนี้สินเงินกู้ เงินรับฝากของสมาชิกเพื่อยืนยัน ยอดระหว่างสมาชิกกับข้อมูลของสหกรณ์และกระตุ้นการมีส่วนร่วมของสมาชิก และแนะนำให้คณะกรรมการ เห็นผลด้านบวกของการดำเนินงานสหกรณ์เพื่อให้บริการสมาชิกและผลประโยชน์ที่สมาชิกจะได้รับ 2. จัดประชุมให้ความรู้คณะกรรมการและสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ด้านการบริหาร จัดการ การควบคุมภายในเพื่อให้คณะกรรมการดำเนินงานให้เป็นตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ แนะนำให้
- 43 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ส่งเสริมคณะกรรมการสหกรณ์ให้เข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิก ส่งเสริมการมี ส่วนรวมกับการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ และสร้างความรู้ความเข้าใจในการบริหารงานและการดำเนินธุรกิจ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 3. มีเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรและเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรได้ กู้เงินปลอดดอกเบี้ย/ดอกเบี้ยต่ำมาใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิกและผลประโยชน์ ที่สมาชิกจะได้รับ 7. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ใช้เป็นตัวอย่างหรือต้นแบบของการใช้แผนแนะนำส่งเสริมฯ ในปี พ.ศ. 2565 มาใช้ในการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สหกรณ์การเกษตรท่าลี่ จ ากัด ด้านการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ งานที่ดำเนินการ 1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการในการประจำเดือนชี้แจงเป้าหมายในการยกระดับจากชั้น 2 เป็นชั้น 1 ตามเกณฑ์การจัดระดับฯ ให้คำแนะนำการบริหารจัดการโดยใช้หลักธรรมาภิบาลสหกรณ์และการ ควบคุมภายใน ฯลฯ 2. ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมโครงการต่างๆ เช่น โครงการปรับโครงสร้างการผลิต การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบันเกษตรกรรองรับผลผลิตทางการเกษตร เงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โครงการ สนับสนุนเพื่อสร้างระบบน้ำในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะที่ 2 3. แนะนำการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงาน และงบรับ – จ่าย ของสหกรณ์ 4. แนะนำการปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 5. แนะนำการปฏิบัติเพื่อไม่ให้เกิดข้อสังเกต และข้อบกพร่องของสหกรณ์ ผลที่ได้จากการดำเนินงาน 1. สหกรณ์ได้รับการจัดชั้นการประเมินความเข้มแข็งของสหกรณ์ 2 และผ่านมาตรฐานของ กรมส่งเสริมสหกรณ์ 2. สหกรณ์ได้รับการประเมินการควบคุมภายใน ในระดับดี 3. สหกรณ์ได้รับเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรโครงการสนับสนุนเพื่อสร้างระบบน้ำใน ไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะที่ 2 4. สหกรณ์ปฏิบัติเป็นไปตามแผนงานและงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี 5. สหกรณ์ไม่มีข้อสังเกต และข้อบกพร่อง
- 44 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 6. สหกรณ์ปฏิบัติเป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ภาพกิจกรรม ในการเข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ ด้านการพัฒนาธุรกิจ งานที่ดำเนินการ 1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการประจำเดือน ให้คำแนะนำ ส่งเสริมด้านการดำเนินธุรกิจ รวบรวมผลผลิตจากสมาชิก คำแนะนำการเพิ่มปริมาณธุรกิจให้ตรงตามความต้องการของสมาชิกและให้บริการ อย่างทั่วถึง 2. เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2565 เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินกิจการและธุรกิจของสหกรณ์ให้เป็นองค์กรหลักใน การพัฒนาเศรษฐกิจระดับอำเภอ ภาพกิจกรรม ประชุมรับฟังการชี้แจงโครงการ ฯ /รับการอบรมทางไกลผ่านระบบ Zoom /ร่วมประชุมวิเคราะห์ สถานการณ์และจัดทำแผนนำเสนอแผนต่อที่ประชุมคณะกรรมการ ผลที่ได้จากการดำเนินงาน ณ วันสิ้นปีทางบัญชี 31 มีนาคม 2565 สหกรณ์ดำเนินธุรกิจ 3 ด้าน ธุรกิจสินเชื่อ 63,126,930.- บาท ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย 22,265,293.01 บาท ธุรกิจเงินรับฝาก 55,783,146.25 บาท รวมมูลค่าปริมาณ ธุรกิจ จำนวน 141,175,369.26 บาท สหกรณ์มีกำไรสุทธิจำนวน 2,581,388.17 บาท ด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 1. การเข้าตรวจการเพื่อตรวจสอบกิจการและฐานะทางการเงินของสหกรณ์ เพื่อให้ปฏิบัติตาม ระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายสหกรณ์ 2. สหกรณ์มีเงินรับฝากจากบุคคลภายนอก จำนวน 65,406.53 บาท
- 45 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย งานที่ดำเนินการ : แนะนำให้สหกรณ์ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562 มาตรา 16(5) รับฝากเงินประเภทออมทรัพย์หรือประเภทประจำจากสมาชิกหรือสหกรณ์อื่น หรือสมาคมฌาปนกิจ สงเคราะห์ซึ่งมีสมาชิกของสมาคมนั้นไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งเป็นสมาชิกของสหกรณ์ผู้รับฝากเงินหรือนิติบุคคลซึ่งมี บุคลากรหรือลูกจ้างไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งชองนิติบุคคลนั้นเป็นสมาชิกของสหกรณ์ผู้รับฝากเงิน ทั้งนี้ตามระเบียบ ของสหกรณ์ที่ได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 1. สหกรณ์ได้รับความร่วมมือจากสมาชิก คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ ฝ่ายจัดการ ตลอดจน เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เพื่อพัฒนาสหกรณ์ให้มีความเข้มแข็งตลอดจนพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์มีแผนงานด้าน การตลาดที่เป็นรูปธรรมและมีการดำเนินงานตามแผน 2. สหกรณ์ไม่มีปัญหาการทุจริตของสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 (อ าเภอภูเรือ ด่านซ้าย นาแห้ว) 1.กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ อำเภอภูเรือ ประกอบด้วยสหกรณ์ 2 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 3 แห่ง จำนวนสมาชิกสหกรณ์ 1,138 คน สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 167 คน อำเภอด่านซ้าย ประกอบด้วยสหกรณ์ 2 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 2 แห่ง จำนวนสมาชิกสหกรณ์ 1,108 คน สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 141 คน อำเภอนาแห้ว ประกอบด้วยสหกรณ์ 1 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 4 แห่ง จำนวนสมาชิกสหกรณ์ 68 คน สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 299 คน รวมสหกรณ์ จำนวน 5 แห่ง สมาชิกสหกรณ์ 2,314 คน รวมกลุ่มเกษตรกร 9 แห่ง สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 607 คน 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 22,800.-บาท 22,800.-บาท 100 3. ผลการดำเนินงานแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัด 1.สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 แห่ง 5 4 80 2. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง แห่ง 9 5 55.55 3. สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แห่ง 5 4 80 4. กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แห่ง 9 5 55.55
- 46 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 5. อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจสหกรณ์ (ร้อยละ 3) แห่ง 5 4 80 6. อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกร (ร้อยละ 3) แห่ง 9 5 55.55 7. จำนวนสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้น ราย 52 46 88.46 กิจกรรมที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1.กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรพื้นฐาน 1.1 แนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามแผนการแนะนำ ส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แห่ง 14 14 100 1.2 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชีเดือน ส.ค.64 - ก.ค.65 ปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี แห่ง 14 9 64.28 1.3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชี ระหว่างเดือน มี.ค.64 - ก.พ.65 ประชุมใหญ่สามัญ ภายใน 150 วัน แห่ง 14 14 100 2. กิจกรรมกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 2.1 เข้าแนะนำ ป้องกันการเกิดข้อบกพร่องในสหกรณ์ แห่ง 5 5 100 2.2 การตรวจการสหกรณ์ แห่ง 5 5 100 3. กิจกรรมพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 3.1 ส่งเสริมด้านความสามารถในการให้บริการสมาชิก แห่ง 14 9 64.28 3.2 ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจ แห่ง 14 9 64.28 3.3 ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการจัดการองค์กร(การควบคุมภายใน) แห่ง 14 9 64.28 3.4 ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพของการบริหารงาน แก้ไขข้อบกพร่อง ของสหกรณ์ แห่ง 1 1 100 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงาน สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 (อำเภอภูเรือ ด่านซ้าย นาแห้ว) จำนวนสหกรณ์ ทั้งหมด 5 สหกรณ์ มีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 2,314 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ จำนวน 1,998 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 86.34 มีปริมาณธุรกิจ จำนวน 181,859,171.14 ล้านบาท มีผลกำไร สุทธิจำนวน 3,836,214.30บาท สหกรณ์สามารถแก้ไขข้อบกพร่องแล้วเสร็จ จำนวน 1 แห่ง มูลค่าความ เสียหายที่แก้ไขได้ จำนวน 16,282,380 บาทสหกรณ์มีผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับ ดี ขึ้นไป จำนวน 4 แห่ง สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 4 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 80 มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 4 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 80 กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 (อำเภอภูเรือ ด่านซ้าย นาแห้ว) กลุ่มเกษตรกร จำนวน 9 กลุ่มเกษตรกร มีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 556 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับกลุ่ม เกษตรกร จำนวน 241 คนหรือคิดเป็นร้อยละ 43.34 มีปริมาณธุรกิจ ลดลง กลุ่มเกษตรกรมีผลการจัดคุณภาพ
- 47 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย การควบคุมภายในระดับดีขึ้นไป จำนวน - แห่ง มีกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 4 แห่งหรือคิด เป็นร้อยละ 44.44 มีกลุ่มเกษตรกรอยู่ในระดับชั้น 2 จำนวน 5 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 55.55 โดยแยกดังนี้ อำเภอภูเรือ สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 (อำเภอภูเรือ) สหกรณ์ทั้งหมด จำนวน 2 สหกรณ์มี สมาชิกทั้งหมด จำนวน 1,138 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ จำนวน 971 คน หรือคิด เป็นร้อยละ 85.32 มีปริมาณธุรกิจ จำนวน 112,921,786.82 บาท มีผลกำไรสุทธิจำนวน 762,135.26 บาท สหกรณ์มีผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับ ดี ขึ้นไป จำนวน 1 แห่ง สหกรณ์มีประสิทธิภาพในการ ดำเนินธุรกิจอยู่ผู้ในระดับมาตรฐานขึ้นไป จำนวน 1 แห่ง มีสหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 1 แห่ง หรือคิด เป็นร้อยละ 50 มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 1 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 50 กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 (อำเภอภูเรือ) จำนวนกลุ่มเกษตรกร 3 กลุ่ม เกษตรกรมีสมาชิกทั้งหมดจำนวน 167 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับกลุ่มเกษตรกรจำนวน 30 คนหรือคิดเป็นร้อยละ 17.96 อำเภอด่านซ้าย สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 (อำเภอด่านซ้าย) จำนวนสหกรณ์ทั้งหมด 2 สหกรณ์มี สมาชิกทั้งหมด จำนวน 1,108 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ จำนวน 978 คน หรือคิด เป็นร้อยละ 88.26 ปริมาณธุรกิจ 67,967,384.32 บาท มีผลกำไรสุทธิจำนวน 3,062,103.32 บาท สหกรณ์ สามารถแก้ไขข้อบกพร่องแล้วเสร็จ จำนวน 1 แห่ง มูลค่าความเสียหายที่แก้ไขได้ จำนวน 16,282,380 บาท สหกรณ์มีผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับ ดี ขึ้นไป จำนวน 2 แห่ง สหกรณ์มีประสิทธิภาพในการ ดำเนินธุรกิจอยู่ผู้ในระดับมาตรฐานขึ้นไป จำนวน 2 แห่ง มีสหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 2 แห่ง หรือคิด เป็นร้อยละ 100 มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 2 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 100 กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 (อำเภอด่านซ้าย) กลุ่มเกษตรกรทั้งสิ้น 2 กลุ่ม เกษตรกรมีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 141 คน อำเภอนาแห้ว สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 (อำเภอนาแห้ว) สหกรณ์ทั้งหมด จำนวน 1 สหกรณ์ มี สมาชิกทั้งหมด จำนวน 68 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ จำนวน 49 คน หรือคิดเป็น ร้อยละ 72.05 มีปริมาณธุรกิจ จำนวน 970,000 บาท ผลกำไรสุทธิจำนวน 11,975.72 บาท สหกรณ์มีผลการ จัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับพอใช้ขึ้นไป จำนวน 1 แห่ง มีสหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 1 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 100 มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 1 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 100 กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 (อำเภอนาแห้ว) กลุ่มเกษตรกรทั้งหมด 4 แห่ง มีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 299 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับกลุ่มเกษตรกร จำนวน 211 คน
- 48 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย หรือคิดเป็นร้อยละ 70.56 มีปริมาณธุรกิจ จำนวน 1,507,700 บาท กลุ่มเกษตรกรมีผลการประเมินความ เข้มแข็ง ระดับชั้น 2 จำนวน 4 แห่ง มีกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 3 แห่งหรือคิดเป็นร้อยละ 75 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรหลายแห่ง ไม่สามารถติดตามเรียกเก็บหนี้สินจากสมาชิกซึ่งเป็น หนี้ค้างนานได้ ประกอบกับคณะกรรมการดำเนินงานไม่มีการติดตามหนี้อย่างจริงจัง 2. กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ คณะกรรมการดำเนินงานส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุประกอบกับขาด เงินทุนหมุนเวียนในกลุ่ม ไม่มีเงินทุนในการจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี ซึ่งได้รับความช่วยเหลือการปิดบัญชีจาก เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ 3. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง หรือฝ่ายจัดการ สหกรณ์บางแห่งขาดความความเข้าใจในงานที่ปฏิบัติ 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหาจัดประชุมร่วมกันระหว่างกลุ่มงาน เจ้าหน้าที่ส่งเสริม 1. คณะกรรมการดำเนินงานและฝ่ายจัดการของสหกรณ์เพื่อติดตามแก้ไขปัญหาหนี้ค้างนาน รับทราบปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ มีการจัดทำแผนประชุมทานหนี้สินเงินกู้ เงินรับฝากของสมาชิกเพื่อยืนยัน ยอดระหว่างสมาชิกกับข้อมูลของสหกรณ์ 2. จัดประชุมให้ความรู้กลุ่มเกษตรกร ด้านการบริหารจัดการ การควบคุมภายในเพื่อให้ คณะกรรมการดำเนินงานให้เป็นตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ส่งเสริม คณะกรรมการสหกรณ์ให้เข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิก ส่งเสริมการมีส่วนรวมกับการดำเนินธุรกิจของ สหกรณ์ 3. มีเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรและเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรได้ กู้เงินปลอดดอกเบี้ย/ดอกเบี้ยต่ำมาใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน 7. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ใช้เป็นตัวอย่างหรือต้นแบบของการใช้แผนแนะนำส่งเสริมฯ ในปี พ.ศ. 2565 มาใช้ในการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สหกรณ์การเกษตรภูเรือ จ ากัด ด้านการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ งานที่ดำเนินการ 1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการประจำเดือน ชี้แจงสหกรณ์เป้าหมายในการยกระดับจาก ชั้น 2 เป็นชั้น 1 ตามเกณฑ์การจัดระดับฯ ให้คำแนะนำการบริหารจัดการโดยใช้หลักธรรมาภิบาลสหกรณ์และ การควบคุมภายใน ฯลฯ 2. ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมโครงการต่างๆ เช่น โครงการปรับโครงสร้างการผลิต การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบันเกษตรกรรองรับผลผลิตทางการเกษตร เงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โครงการ สนับสนุนเพื่อสร้างระบบน้ำในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะที่ 2
- 49 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 3. แนะนำการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงาน และงบรับ – จ่าย ของสหกรณ์ 4. แนะนำการปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 กฎหมายที่ เกี่ยวข้อง 5. แนะนำการปฏิบัติเพื่อไม่ให้เกิดข้อสังเกต และข้อบกพร่องของสหกรณ์ ผลที่ได้จากการดำเนินงาน 1. สหกรณ์ได้รับการจัดชั้นการประเมินความเข้มแข็งของสหกรณ์2 และผ่านมาตรฐานของกรมส่งเสริม สหกรณ์ 2. สหกรณ์ได้รับการประเมินการควบคุมภายใน ในระดับดี 3. สหกรณ์ได้รับเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โครงการสนับสนุนเพื่อสร้างระบบน้ำในไร่นาของ สมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะที่ 2 4. สหกรณ์ปฏิบัติเป็นไปตามแผนงานและงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปี 5. สหกรณ์ไม่มีข้อสังเกต และข้อบกพร่อง 6. สหกรณ์ปฏิบัติเป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง ภาพกิจกรรม ในการเข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ ด้านการพัฒนาธุรกิจ งานที่ดำเนินการ 1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการประจำเดือน ให้คำแนะนำ ส่งเสริมด้านการดำเนินธุรกิจรวบรวม ผลผลิตจากสมาชิก คำแนะนำการเพิ่มปริมาณธุรกิจ 2.เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2565 เพื่อ พัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินกิจการและธุรกิจของสหกรณ์ให้เป็นองค์กรหลักในการ พัฒนาเศรษฐกิจระดับอำเภอ ภาพกิจกรรม การร่วมประชุมวิเคราะห์สถานการณ์และจัดทำแผนนำเสนอแผนต่อที่ประชุมคณะกรรมการ
- 50 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ผลที่ได้จากการดำเนินงาน ณ วันสิ้นปีทางบัญชี 31 มีนาคม 2565 สหกรณ์ดำเนินธุรกิจ 3 ด้าน ธุรกิจสินเชื่อ 60,438,000.- บาท ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย 44,602,104.19 ธุรกิจเงินรับฝาก 7,881,682.63 บาท รวมมูลค่าปริมาณธุรกิจ จำนวน112,921,786.82 บาท สหกรณ์มีกำไรสุทธิจำนวน 762,135.26 บาท ด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ สหกรณ์มีเงินรับฝากจากบุคคลภายนอก จำนวน 1,665,814.74 บาท งานที่ดำเนินการ : แนะนำให้สหกรณ์ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562 มาตรา 16(5) รับฝากเงินประเภทออมทรัพย์หรือประเภทประจำจากสมาชิกหรือสหกรณ์อื่น หรือสมาคม ฌาปนกิจสงเคราะห์ซึ่งมีสมาชิกของสมาคมนั้นไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งเป็นสมาชิกของสหกรณ์ผู้รับฝากเงินหรือนิติ บุคคลซึ่งมีบุคลากรหรือลูกจ้างไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของนิติบุคคลนั้นเป็นสมาชิกของสหกรณ์ผู้รับฝากเงิน ทั้งนี้ตาม ระเบียบของสหกรณ์ที่ได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์" ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 1.สหกรณ์ได้รับความร่วมมือจากสมาชิก คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ ฝ่ายจัดการ ตลอดจนเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เพื่อพัฒนาสหกรณ์ให้มีความเข้มแข็งตลอดจนพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์มี แผนงานด้านการตลาดที่เป็นรูปธรรมและมีการดำเนินงานตามแผน 2. สหกรณ์สามารถดำเนินการแก้ไขการรับฝากเงินจากบุคคลภายนอกได้ 3. สหกรณ์ไม่มีปัญหาการทุจริตของสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อวัดความเป็นสถาบันสหกรณ์ อันเป็นองค์กรของมวลสมาชิก 2. เพื่อประเมินศักยภาพในการดำเนินงานของสหกรณ์ ผลจากการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ จะสะท้อนให้เห็นว่าสหกรณ์มีจุดอ่อนจุดแข็งอย่างไร มีศักยภาพที่จะอำนวยบริการอันเป็นประโยชน์แก่ สมาชิกซึ่งเป็นเจ้าของสหกรณ์ได้ดีเพียงใด มีความสามารถในการบริหารจัดการมากน้อยเพียงใด 3. เพื่อแบ่งระดับสหกรณ์ผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์เป็นข้อมูลเบื้องต้นแก่เจ้าหน้าที่ กรมส่งเสริมสหกรณ์ในการใช้แบ่งระดับสหกรณ์ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เหมาะสมกับสภาพข้อเท็จจริง และสอดคล้องกับความต้องการของสหกรณ์ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งก้าวหน้าแก่สหกรณ์ต่อไป โครงการส่งเสริมและผลักดันสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์
- 51 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ตัวชี้วัด : 1. สหกรณ์ที่นำมาจัดเกณฑ์มาตรฐานผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ไม่น้อย กว่าร้อยละ 80 2. กลุ่มเกษตรกรที่นำมาจัดเกณฑ์มาตรฐานผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 81 เป้าหมาย สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่นำมาจัดเกณฑ์มาตรฐานผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 1. สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 1.1) สหกรณ์ที่นำมาจัดเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 58 แห่ง 1.2) รักษาเป้าหมายสหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 41 แห่ง 1.3) ผลักดันให้สหกรณ์ที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 17 แห่ง 2. กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 81 2.1) กลุ่มเกษตรกรที่นำมาจัดเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 48 แห่ง 2.2) กลุ่มเกษตรกรที่ต้องรักษาให้อยู่ในระดับได้มาตรฐาน จำนวน 35 แห่ง 2.3) กลุ่มเกษตรกรที่ต้องผลักดันจากระดับต่ำกว่ามาตรฐานสู่ระดับได้มาตรฐาน จำนวน 13 แห่ง พื้นที่ดำเนินงานโครงการ จังหวัดเลย 2. ผลการดำเนินงาน 1. ศึกษาแนวทางการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ และแนวทางการ ดำเนินการประเมินและจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2. กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ 3. ข้าราชการผู้ดูแลสหกรณ์ทำการประเมินสถานะสหกรณ์ทุกสหกรณ์ และประเมินเฉพาะส่วน การบริหารการจัดการภายในสหกรณ์พร้อมทั้งส่งเข้าระบบประเมินมาตรฐานสหกรณ์ให้ครบทุกสหกรณ์ภายใน 28 กุมภาพันธ์ 2565 4. ข้าราชการผู้ดูแลสหกรณ์เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการประเมินมาตรฐานสหกรณ์ตามแบบ ประเมิน (137 ข้อ) เมื่อสหกรณ์ประชุมใหญ่แล้วเสร็จ และส่งเข้าระบบประเมินฯ ให้แล้วเสร็จภายใน 2 วัน 5. จัดประชุมรับทราบผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ โดยกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ดำเนินจัดทำข้อมูลการประเมินและจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์เพื่อเสนอในที่ประชุมประจำเดือน 6. ตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกข้อมูล 7. ทำหนังสือรับรองและยืนยันการปฏิบัติงาน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย จัดทำหนังสือรับรอง และยืนยันผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ประจำปี 2565 ส่งให้กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงินและร้านค้า เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2565
- 52 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 8. จัดพิมพ์ประกาศผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์มาตรฐานสหกรณ์จากเว็บไซต์ของกรม ส่งเสริมสหกรณ์ และติดประกาศที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย พร้อมทั้งแจ้งผลการจัดมาตรฐานให้ ผู้อำนวยการกลุ่มทุกกลุ่มทราบ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2565 เอกสารเลขที่ ลย 0010/ว.1870 เรื่อง ประกาศผล การจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และแจ้งสหกรณ์ เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2565 เลขที่เอกสาร ลย 0010/ว.1897 เรื่อง ประกาศผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 3.ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. ผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ประจำปี 2565 (ตารางที่ 1.1) 2. ผลการจัดระดับมาตรฐานกลุ่มเกษตรกรประจำปี 2565 (ตารางที่ 1.2) ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์สามารถสะท้อนถึงผลการดำเนินงาน 2. สามารถใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนามาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีมาตรฐาน ในระดับที่ดีขึ้น ตารางที่ 1.1 ผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ ประจำปี 2565 ที่ ประเภท จำนวน สหกรณ์ที่ สำรวจ (แห่ง) ไม่นำมาจัดมาตรฐาน (แห่ง) นำมาจัด มาตรฐาน (แห่ง) ผลการจัด มาตรฐาน (แห่ง) ไม่ครบ 2 ปี หยุด ชำระ บัญชี ผ่าน ไม่ผ่าน 1 สหกรณ์การเกษตร 87 - 5 46 36 22 14 2 สหกรณ์นิคม - - - - - - - 3 สหกรณ์ประมง - - - - - - - 4 สหกรณ์ออมทรัพย์ 13 - - 4 9 8 1 5 สหกรณ์ร้านค้า 4 1 - 3 - - - 6 สหกรณ์บริการ 17 - - 7 10 4 6 7 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 - - 2 - - - รวม 123 1 5 62 55 34 21 หมายเหตุ : ระหว่างปีมีสหกรณ์เลิกดำเนินการ 3 แห่ง ได้แก่ 1) สหกรณ์ออมทรัพย์เทศบาลตำบลภูเรือ จำกัด 2) สหกรณ์ออมทรัพย์ครู-บุคลากร อปท.เลย จำกัด 3) สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนสัจจะท่าลี่ จำกัด
- 53 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ตางรางที่ 1.2 ผลการจัดระดับมาตรฐานกลุ่มเกษตรกรประจำปี 2565 ที่ ประเภทอาชีพกลุ่ม เกษตรกร จำนวน ทั้งหมด (กลุ่ม) นำมาจัด มาตรฐาน (กลุ่ม) ผ่านมาตรฐาน (กลุ่ม) ต่ำกว่า มาตรฐาน (กลุ่ม) หมาย เหตุ รักษา มาตรฐานเดิม ผลักดันให้ผ่าน มาตรฐาน 1 กลุ่มเกษตรกรทำนา 11 7 4 3 - 2 กลุ่มเกษตรกรทำสวน 31 22 16 1 5 3 กลุ่มเกษตรกรทำไร่ 32 19 9 1 9 4 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 3 1 1 - - 5 กลุ่มเกษตรกรประมง - - - - - 6 กลุ่มเกษตรกรอื่นๆ 1 1 1 - - รวม 78 50 31 5 14 หมายเหตุ : 1) กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยาง กยท.บ้านโพนทอง ถอนชื่อออกจากทะเบียนกลุ่มเกษตรกร 2) กลุ่มเกษตรกรทำนาบ้านนาท่อน นำมาจัดมาตรฐานปีแรก 3) กลุ่มเกษตรกรทำสวนยางนามาลา เลิกระหว่างปี 4) กลุ่มเกษตรกรทำไร่ห้วยบ่อซืน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีสถานะหยุดดำเนินงาน ผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ย้อนหลัง 3 ปี (2563 - 2565) ภาพกิจการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมและผลักดันสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์
- 54 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์: เพื่อคัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่น เข้ารับการคัดเลือกเป็น สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ เป้าหมาย : 1. สหกรณ์ออมทรัพย์กรมทหารพรานที่ 21 จำกัด 2. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลเลย จำกัด 3. สหกรณ์กองทุนสวนยางเอราวัณพัฒนา จำกัด 4. สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.เลย จำกัด 5. กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยาง กยท. ตำบลโคกใหญ่ 6. กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยาง กยท.บ้านนาจาน หมู่ 7 พื้นที่ดำเนินงานโครงการ จังหวัดเลย 2. ผลการดำเนินงาน (1) แจ้งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่มีความสนใจสมัครเข้ารับการคัดเลือกฯ ยื่นแบบแสดงความ จำนงเพื่อเข้ารับคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี 2565 (2) คัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่น และมีคุณสมบัติเป็นไปตามที่ กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้กำหนดไว้ โดยมีทั้งหมด 6 แห่ง ดังนี้ 1. สหกรณ์ออมทรัพย์กรมทหารพรานที่ 21 จำกัด 2. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลเลย จำกัด 3. สหกรณ์กองทุนสวนยางเอราวัณพัฒนา จำกัด 4. สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.เลย จำกัด 5. กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยาง กยท. ตำบลโคกใหญ่ 6. กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยาง กยท.บ้านนาจาน หมู่ 7 (3) ดำเนินการคัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด (กรกฎาคม 2565 – กันยายน 2565) 1. จัดทำข้อมูลและประเมินศักยภาพการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. จัดประชุมเพื่อคัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่นเพื่อเสนอเข้ารับการ คัดเลือกเป็นสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ โครงการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น
- 55 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย (4) รายงานผลการคัดเลือกให้คณะอนุกรรมการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่น ระดับภาค ให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ ภายในวันที่ 30 กันยายน 2565 ซึ่งมีทั้ง 3 แห่ง ดังนี้ 1. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลเลย จำกัด 2. สหกรณ์กองทุนสวนยางเอราวัณพัฒนา จำกัด 3. กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยาง กยท.ตำบลโคกใหญ่ 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่นได้รับการคัดเลือกเป็นสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2564/2565 ทั้งหมด 3 แห่ง มีดังนี้ 1. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลเลย จำกัด มีคะแนนรวมเป็นอันดับที่ 1 ของจังหวัดเลย 2. กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางกยท.ตำบลโคกใหญ่มีคะแนนรวมเป็นอันดับที่ 2 ของจังหวัดเลย 3. สหกรณ์กองทุนสวนยางเอราวัณพัฒนา จำกัด มีคะแนนรวมเป็นอันดับที่ 3 ของจังหวัดเลย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการ สามารถยึดถือเป็นแบบอย่าง ในแนวทางการปฏิบัติงาน และเป็นการเสริมสร้างขวัญกำลังใจในการสร้างผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ภาพกิจกรรมโครงการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น กิจกรรมการจัดประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์: สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลยได้กำหนดแผนงานการจัดประชุมซักซ้อมการตรวจการ สหกรณ์ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อให้ผู้ตรวจการสหกรณ์เข้าใจระบบตรวจการสหกรณ์ 2. เพื่อให้ผู้ตรวจการสหกรณ์ ได้ทราบสถานะภาพของสหกรณ์ ข้อสังเกตจากการสอบบัญชีสหกรณ์ที่ ผ่านมาและความเสี่ยงของสหกรณ์ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการตรวจการสหกรณ์ 3. เพื่อกำหนดเป้าหมาย คัดเลือกสหกรณ์ที่จะตรวจการสหกรณ์ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ งานก ากับ ดูแล การแก้ไขข้อบกพร่องสหกรณ์ และงานตรวจการสหกรณ์
- 56 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย เป้าหมาย : ผู้ตรวจการสหกรณ์ และผู้ช่วยผู้ตรวจการสหกรณ์ พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : จังหวัดเลย 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 5,200.00 5,200.00 100% 3. ผลการดำเนินงาน : กลุ่มตรวจการสหกรณ์จัดประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2565 โดยมีผู้ตรวจการสหกรณ์และผู้เกี่ยวข้องเข้าประชุม จำนวน 34 คน ประเด็นต่าง ๆ ที่ประชุมดังนี้ 1. ชี้แจงระบบตรวจการสหกรณ์ 2. แจ้งคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ 2.1 ที่ (ลย) 26/2564 เรื่อง แต่งตั้งผู้ตรวจการสหกรณ์ 2.2 ที่ (ลย) 27/2564 เรื่อง มอบหมายผู้ตรวจการสหกรณ์ตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินของงานสหกรณ์ 2.3 ที่ (ลย) 34/2564 เรื่อง ตั้งคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจำจังหวัดเลย ชุดที่ 1 2.4 ที่ (ลย) 35/2564 เรื่อง ตั้งคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจำจังหวัดเลย ชุดที่ 2 2.5 ที่ (ลย) 36/2564 เรื่อง ตั้งคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจำจังหวัดเลย ชุดที่ 3 2.6 ที่ (ลย) 37/2564 เรื่อง ตั้งคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ออมทรัพย์ครูเลย จำกัด 2.7 ที่ (ลย) 38/2564 เรื่อง ตั้งคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดเลย จำกัด 3. รายงานผลการวิเคราะห์/ความเสี่ยงของสหกรณ์ 4. ข้อสังเกตตามรายงานการสอบบัญชี/ข้อสังเกตที่ตรวจพบจากการสอบบัญชี/ผลการตรวจสอบสหกรณ์ที่ผ่านมา 5. คัดเลือกสหกรณ์เป้าหมายที่จะตรวจการสหกรณ์โดยพิจารณาให้ความสำคัญเรียงลำดับ ดังนี้ 5.1 เลือกสหกรณ์ที่มีความเสี่ยงจะเกิดการทุจริต 5.2 สหกรณ์ที่มีเรื่องร้องเรียน 5.3 สหกรณ์ที่มีความเสี่ยงจะเกิดข้อบกพร่อง 6. วิธีการรายงานผลจากการตรวจการสหกรณ์ 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : จัดประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ จำนวน 1 ครั้ง มีผู้เข้าประชุม จำนวน 34 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : ผู้ตรวจการสหกรณ์ ได้รับทราบระบบการตรวจการสหกรณ์รวมถึงการรับทราบข้อมูล สหกรณ์จากการวิเคราะห์/ความเสี่ยง และข้อสังเกตต่าง ๆ สามารถนำมากำหนดแนวทางการตรวจการสหกรณ์ ได้อย่างประสิทธิ
- 57 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข เนื่องจากปัญหาการแพร่ระบาดโควิด – 19 สหกรณ์กลุ่มเป้าหมายบางแห่งอยู่ในพื้นที่เสี่ยง และมีบุคลากรของสหกรณ์ได้รับเชื้อ หรือเป็นกลุ่มเสี่ยง ทำให้ การปฏิบัติงานตรวจสอบล่าช้ากว่าแผนที่กำหนด ภาพการจัดประชุมการซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 โครงการประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรที่มีข้อบกพร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ : สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลยได้กำหนดแผนงานการจัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไข ปัญหาการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 โดยมี วัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อให้ได้รับทราบข้อมูลที่เกี่ยวกับผลการดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง 2. เพื่อพัฒนาปรับเปลี่ยนแนวทางวิธีปฏิบัติให้สอดคล้องกับเศรษฐกิจและสังคม 3. เพื่อกำหนดแนวทางการแนะนำส่งเสริมกำกับ ดูแล และป้องกันปราบปรามพฤติกรรมเสี่ยง อันเป็นสาเหตุทำให้เกิดข้อบกพร่องหรือทำให้เกิดความเสียหายต่อผลประโยชน์ของมวลสมาชิก เป้าหมาย : 1. คณะทำงานฯ แก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์ฯ 2. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ 3. ผู้แทนสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง 4. ผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรที่มีข้อบกพร่อง พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : จังหวัดเลย 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 11,400.00 11,400.00 100%
- 58 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 3. ผลการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ 2565 กลุ่มตรวจการหสกรณ์ได้จัดการประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไข ปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรที่มีข้อบกพร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2564 ครั้งที่ 2/2565 เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2565 ครั้งที่ 3/2565 เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2565 ครั้งที่ 4/2565 เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2565 เป็นการจัดประชุมเพื่อให้ทราบข้อมูลที่เกี่ยวกับผลการดำเนินงานแก้ไขปัญหาข้อบกพร่อง และกำหนดแนวทางการแนะนำส่งเสริมกำกับดูแล ป้องกันป้องปราบพฤติกรรมดสี่ยงอันเป็นสาเหตุให้เกิด ข้อบกพร่องหรือทำให้เกิดความเสียหายต่อผลประโยชน์ของมวลสมาชิกได้ในอนาคต 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. จัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรที่มีข้อบกพร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวน 4 ครั้ง 2. มีผู้เข้าประชุม จำนวน 20 คน/ครั้ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. การแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้ดำเนินการให้เป็นไปตาม ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง 2. ได้ทราบแนวทางปฏิบัติการแก้ไขปัญหาจากคณะทำงานระดับจังหวัด (จกบ.) 3. ได้รับทราบข้อมูลการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 4. สามารถวิเคราะห์และประมวลข้อบกพร่องเพื่อแก้ไขปัญหาของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 5. สามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและป้องปรามข้อบกพร่องของสหกรณ์และกลุ่มเกษตร 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข เนื่องจากปัญหาการแพร่ระบาดโควิด – 19 สหกรณ์กลุ่มเป้าหมายบางแห่งอยู่ในพื้นที่เสี่ยง และมีบุคลากรของสหกรณ์ได้รับเชื้อ หรือเป็นกลุ่มเสี่ยง ทำให้การปฏิบัติงานตรวจสอบล่าช้ากว่าแผนที่กำหนด
- 59 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ภาพการจัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรที่มีข้อบกพร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด/ตรวจการตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ ตามแผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มาตรการการกำกับ ดูแล ตรวจสอบ และคุ้มครองระบบสหกรณ์กำหนดให้มีการตรวจการสหกรณ์โดยคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ร้อยละ 25 จำนวน 16 แห่ง และตรวจการตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ร้อยละ 15 จำนวน 10 แห่ง จากสหกรณ์จำนวนทั้งหมด 65 แห่ง ดังนั้นจึงได้มีการแต่งตั้งผู้ตรวจการสหกรณ์ขึ้น ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ที่ ลย 26/2564 สั่ง ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2564 เพื่อร่วมกันตรวจสอบสหกรณ์เป้าหมายแต่ละแห่ง วัตถุประสงค์: เพื่อตรวจสอบ ป้องกัน มิให้สหกรณ์กระทำการหรืองดเว้นกระทำการในลักษณะที่ไม่เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ และอำนาจกระทำการของสหกรณ์ที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของสหกรณ์ ฝ่าฝืนกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับของสหกรณ์ ระเบียบหรือคำสั่งของนายทะเบียนสหกรณ์ เป้าหมาย : 1. จำนวนสหกรณ์ที่ตรวจสอบโดยคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจำจังหวัดเลย ร้อยละ 25 ของสหกรณ์ทั้งหมด จำนวน 16 แห่ง 2. จำนวนสหกรณ์ที่ผู้ตรวจการสหกรณ์จากกลุ่มตรวจการสหกรณ์เข้าดำเนินการตรวจการ สหกรณ์ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ร้อยละ 15 ของสหกรณ์ทั้งหมด จำนวน 10 แห่ง พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : สหกรณ์ในจังหวัดเลย 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ ตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด 21,600.00 21,600.00 100 % ตรวจการตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ 13,700.00 13,700.00 100 %
- 60 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 3. ผลการดำเนินงาน 1. นายทะเบียนสหกรณ์ออกคำสั่งแต่งตั้งผู้ตรวจการสหกรณ์ 2. ดำเนินการจัดประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2565 เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2564 จำนวน 1 ครั้ง โดยเข้าร่วมประชุมกับผู้ตรวจการสหกรณ์ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย เพื่อซักซ้อมแนวทางปฏิบัติในการเข้าตรวจการสหกรณ์แต่ละแห่ง รวมถึงรวบรวมประเด็นที่ตรวจพบบ่อย จากการตรวจการสหกรณ์ในรอบก่อน และคัดเลือกสหกรณ์เป้าหมาย 3. จัดทำแผนการตรวจการสหกรณ์ (Action Plan) และเข้าตรวจสอบสหกรณ์เป้าหมายตามที่ นายทะเบียนสหกรณ์กำหนด 4. สรุปข้อเท็จจริง และรายงานผลการตรวจสอบสหกรณ์ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ เพื่อ วิเคราะห์รายงานการตรวจการสหกรณ์ก่อนนำเสนอนายทะเบียนสหกรณ์พิจารณา 5. หากมีข้อสั่งการเพื่อให้สหกรณ์แก้ไขข้อบกพร่อง ติดตามให้สหกรณ์มีการแก้ไขข้อบกพร่อง และรายงานผลให้รองนายทะเบียนสหกรณ์ทราบ รวมถึงนำความคืบหน้ารายงานผลในที่ประชุมประจำเดือน และที่ประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : ในปีงบประมาณ 2565 คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจำจังหวัดเลย ได้ดำเนินการ ตรวจสอบสหกรณ์ตามเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ 16 แห่ง ดังนี้ คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ สหกรณ์ คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ชุดที่ 1 1. นางพิชญ์สิณี สว่างโรจน์ 2. นางอ าไพ สิงห์สถิตย์ 3. นางสาวนภัสกร วรรณชัย 4. นางสาวภัครินทร์ ค าผิว 5. นางปภัสรา หงส์วิลัย 1. สหกรณ์ออมทรัพย์ต ารวจภูธรจังหวัดเลย จ ากัด 2. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลเลย จ ากัด 3. สหกรณ์ออมทรัพย์ทหารศรีสองรัก จ ากัด 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ก านันผู้ใหญ่บ้านจังหวัดเลย จ ากัด 5. สหกรณ์พัฒนาอาชีพโครงการเทิดพระเกียรติบ้านคกงิ้ว จ ากัด 6. สหกรณ์การเกษตรผาขาว จ ากัด คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ชุดที่ 2 1. นายสุทัน หล้าแก้ว 2. นางสาวสุภาพร ขวาวงษ์ 3. นางสาวสุรัชนา มงคลกุลรัตน 4. นางสาวนุสรา พรมมีเดช 5. นางปิยะนุช จันทนา 1. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูกรมสามัญศึกษาจังหวัดเลย จ ากัด 2. สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขเลย จ ากัด 3. สหกรณ์ออมทรัพย์องค์การบริหารส่วนจังหวัดเลย จ ากัด 4. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนสัจจะท่าลี่ จ ากัด 5. สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.เลย จ ากัด 6. สหกรณ์การเกษตรด่านซ้าย จ ากัด 1. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูเลย จ ากัด
- 61 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ สหกรณ์ คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ชุดที่ 3 1. นางจงจิตต์ วันปรีดา 2. นางสาวณิชาภา สอนสุรัตน์ 3. นางอรดี มาตราคิด 4. นายยอดมนูญ ก้อนมณี 5. นางสาวณัฐชยา เพ็งสา 2. สหกรณ์ออมทรัพย์ทหารพรานที่ 21 จ ากัด 3. สหกรณ์ออมทรัพย์เทศบาลต าบลภูเรือ จ ากัด 4. สหกรณ์การเกษตรภูกระดึง จ ากัด 5. สหกรณ์ออมทรัพย์บุคลากร อปท.เลย จ ากัด ในปีงบประมาณ 2565 ได้แต่งตั้งผู้ตรวจการสหกรณ์เพื่อเข้าตรวจการตามคำสั่งนายทะเบียน โดยกลุ่มตรวจการสหกรณ์ ได้ดำเนินการตรวจสอบสหกรณ์ตามเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ ร้อยละ 15 ของสหกรณ์ทั้งหมดในจังหวัดเลย เป็นจำนวน 10 แห่ง ดังนี้ ล าดับ รายชื่อ วันที่เข้าตรวจการสหกรณ์ 1. สหกรณ์ผู้ใช้น ้าสถานีสูบน ้าด้วยไฟฟ้าบ้านน้อย จ ากัด 15 ตุลาคม 2564 2. สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.เลย จ ากัด 15 มีนาคม 2565 3. สหกรณ์การเกษตรเมืองเลย จ ากัด 12 กรกฎาคม 2565 4. สหกรณ์การเกษตรผู้ปลูกยางพารานาด้วง จ ากัด 2 กุมภาพันธ์ 2565 5. สหกรณ์ผู้ปลูกไผ่เลี้ยงภูกระดึง จ ากัด 17-18 มีนาคม 2565 6. สหกรณ์ผู้ใช้น ้าสถานีสูบน ้าด้วยไฟฟ้าบ้านท่าเรือเก่าวัดป่ากลางเชียงคาน จ ากัด 22 เมษายน 2565 7. สหกรณ์หัตถกรรมนาป่าหนาด จ ากัด 25 พฤษภาคม 2565 8. สหกรณ์ผลิตภัณฑ์มะพร้าวแก้วแก่งคุดคู้บ้านน้อย จ ากัด 8 มิถุนายน 2565 9. สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านสงเปือย จ ากัด 9 มิถุนายน 2565 10. สหกรณ์บริการออมทรัพย์มั่นคงฟากเลย จ ากัด 19 กรกฎาคม 2565 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เพื่อตรวจสอบ กำกับ และติดตามการดำเนินการของสหกรณ์ให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมาย และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ดูแล แนะนำ เพื่อไม่ให้สหกรณ์ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติที่ก่อให้เกิด หรืออาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่สหกรณ์หรือสมาชิก 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. เอกสารประกอบการตรวจการไม่ครบถ้วน ทำให้ผู้ตรวจการไม่สามารถตรวจสอบให้ครบทุก ประเด็นตามแนวทางการตรวจการของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปิดบัญชีไม่ได้หรือตกค้างการปิดบัญชีหลายปี ทำให้รายละเอียด ทางบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน ทำให้ผู้ตรวจการไม่สามารถตรวจสอบได้
- 62 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 3. การตรวจสัญญากู้สหกรณ์ที่มีสมาชิกจำนวนมาก ผู้ตรวจการไม่สามารถตรวจสอบได้ครบ ทุกสัญญา โดยใช้วิธีการตรวจแบบสุ่ม ภาพกิจกรรม : ในการตรวจการสหกรณ์เป้าหมาย (ตรวจการสหกรณ์ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์) สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านน้อย จำกัด ภาพกิจกรรม : ในการตรวจการสหกรณ์เป้าหมาย (ตรวจการสหกรณ์ โดยคณะผู้ตรวจการประจำจังหวัดเลย ทีม 1-3) คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจำจังหวัดเลย ชุดที่ 1 สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดเลย จำกัด คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจำจังหวัดเลย ชุดที่ 2 สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขเลย จำกัด คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจำจังหวัดเลย ชุดที่ 3 สหกรณ์ออมทรัพย์กรมทหารพรานที่ 21 จำกัด
- 63 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย การดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ตาม พรบ. สหกรณ์ กฎกระทรวง และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง การแนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ เกณฑ์การกำกับ ดูแล ตามมาตรา 89/2 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ตามแนวทางการปฏิบัติงานที่ กพง. กำหนด) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่เกณฑ์การ กำกับ ดูแล ตามมาตรา 89/2 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ตามแนวทางการ ปฏิบัติงานที่ กพง. กำหนด) 2. เพื่อให้สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง เป้าหมาย : สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในจังหวัดเลย จำนวน 10 แห่ง 2. ผลการดำเนินงาน 1. จัดทำแผนการส่งเสริมสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนที่อยู่ในความรับผิดชอบ และรายงานผลการจัดทำแผน 2. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าแนะนำ ส่งเสริมและกำกับดูแลสหกรณ์ที่อยู่ในความ รับผิดชอบตามคู่มือปฏิบัติตามกฎกระทรวงการดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. 2564 ที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้จัดทำเป็นแนวทางในการส่งเสริม ตามมาตรา 89/2 3. รายงานผลการส่งเสริมสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ตามแบบรายงานที่ กพง. กำหนด ผลสำเร็จของงาน เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ได้เข้าแนะนำ ส่งเสริมและกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนตามแผนที่กำหนด จำนวน 10 แห่ง ดังนี้ 1. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูเลย จำกัด 2. สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดเลย จำกัด 3. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูกรมสามัญศึกษาจังหวัดเลย จำกัด 4. สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขเลย จำกัด 5. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลเลย จำกัด 6. สหกรณ์ออมทรัพย์ทหารศรีสองรัก จำกัด 7. สหกรณ์ออมทรัพย์องค์การบริหารส่วนจังหวัดเลย จำกัด
- 64 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 8. สหกรณ์ออมทรัพย์กรมทหารพรานที่ 21 จำกัด 9. สหกรณ์ออมทรัพย์กำนันผู้ใหญ่บ้านจังหวัดเลย จำกัด 10. สหกรณ์ออมทรัพย์เทศบาลตำบลภูเรือ จำกัด หมายเหตุ 1. สหกรณ์ออมทรัพย์ครู-บุคลากร อปท.เลย จำกัด เลิกตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ที่ (ลย) 28/2564 สั่ง ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2564 2. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนสัจจะท่าลี่ จำกัด เลิกตามประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ ประกาศ ณ วันที่ 14 มีนาคม 2565 3. ผลลัพธ์: เชิงปริมาณ : มีการจัดทำแผนการส่งเสริมสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนที่อยู่ในความ รับผิดชอบ เพื่อเข้าแนะนำ ส่งเสริม และกำกับดูแลสหกรณ์และรายงานผลการจัดทำแผน จำนวน 1 แผน เชิงคุณภาพ : เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าแนะนำ ส่งเสริมและกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนที่อยู่ในความรับผิดชอบตามแผนที่กำหนด โดยศึกษาตามคู่มือปฏิบัติตามกฎกระทรวงการ ดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. 2564 ที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ ได้จัดทำเป็นแนวทางในการส่งเสริม ตามมาตรา 89/2 และรายงานผลการดำเนินงานทุกเดือน และสหกรณ์มี ความพร้อมเข้าสู่เกณฑ์การกำกับ ดูแล ตามมาตรา 89/2 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไข เพิ่มเติม 4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน : สหกรณ์ออมทรัพย์และเครดิตยูเนี่ยนบางแห่งยังไม่สามารถดำเนินการตามคำแนะนำตาม แนวทางปฏิบัติให้สำเร็จได้ครบทุกข้อ เนื่องจากสหกรณ์บางแห่งมีสถานะหยุดดำเนินงานและเลิกสหกรณ์ใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แนวทางแก้ไข : จัดอบรมให้ความรู้แก่สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนขนาดเล็ก เพื่อเพิ่มความ พร้อมให้กับสหกรณ์ ภาพถ่ายแสดงการดำเนินงานโครงการการดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ตาม พรบ.สหกรณ์ กฎกระทรวง และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดเลย จำกัด
- 65 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ตรวจการสหกรณ์ 100 รายแรกสหกรณ์ออมทรัพย์ทุกแห่งประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ ตามข้อสั่งการของอธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ ในที่ประชุมข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และ พนักงานราชการ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ครั้งที่ 7/2565 ตรวจสอบลูกหนี้เงินกู้ และเจ้าหนี้เงินฝากราย ใหญ่ 100 รายแรก หากพบว่ามีรายการผิดปกติต้องสั่งการให้สหกรณ์ตรวจสอบข้อเท็จจริงทันที (ดำเนินการ ในสหกรณ์ออมทรัพย์ทุกแห่ง) เป้าหมาย : สหกรณ์ออมทรัพย์ทุกแห่งในจังหวัดเลย จำนวน 9 แห่ง และสหกรณ์ที่อยู่ในความ เสี่ยง จำนวน 1 แห่ง รวมทั้งสิ้น 10 แห่ง 2. ผลการดำเนินงาน 1. กลุ่มตรวจการสหกรณ์ ขอให้ทีมผู้ตรวจการสหกรณ์ ตรวจสอบลูกหนี้เงินกู้ และเจ้าหนี้ เงินฝากรายใหญ่ 100 รายแรก หากพบว่ามีรายการผิดปกติต้องสั่งการให้สหกรณ์ตรวจสอบข้อเท็จจริงทันที (ดำเนินการในสหกรณ์ออมทรัพย์ทุกแห่ง) 2. ขอความร่วมมือให้ทุกสหกรณ์จัดจ้าง จัดทำ หรือขอใช้ Application ที่ให้สมาชิกสามารถ ตรวจสอบข้อมูลของตนเองได้อย่างทันที ตามนโยบายที่ได้ให้ไว้แล้ว 3. สหกรณ์ที่มี Application แล้วต้องมีสมาชิกใช้บริการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 ด้วย ผลสำเร็จของงาน คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจำจังหวัดเลย ได้เข้าตรวจการสหกรณ์ตามแผนที่กำหนด จำนวน 10 แห่ง ดังนี้ 1. สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดเลย จำกัด 2. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลเลย จำกัด 3. สหกรณ์ออมทรัพย์ทหารศรีสองรัก จำกัด 4. สหกรณ์ออมทรัพย์กำนันผู้ใหญ่บ้านจังหวัดเลย จำกัด 5. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูกรมสามัญศึกษาจังหวัดเลย จำกัด 6. สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขเลย จำกัด 7. สหกรณ์ออมทรัพย์องค์การบริหารส่วนจังหวัดเลย จำกัด 8. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูเลย จำกัด 9. สหกรณ์ออมทรัพย์กรมทหารพรานที่ 21 จำกัด 10. สหกรณ์ออมทรัพย์เทศบาลตำบลภูเรือ จำกัด ผลการตรวจสอบไม่พบข้อสังเกตและการปฏิเสธหนี้เงินกู้/เงินฝากจากสมาชิก
- 66 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 3. ผลลัพธ์: เชิงปริมาณ มีการจัดทำแผนการเข้าตรวจการสหกรณ์ จำนวน 1 แผน เชิงคุณภาพ เพื่อตรวจสอบความมีอยู่จริง หรือความถูกต้องของยอดเงินฝาก และยอดเงินกู้ของสมาชิกที่ อยู่ในสหกรณ์ และเพื่อป้องกัน ตรวจสอบการดำเนินการธุรกิจการให้เงินกู้แก่สมาชิก และธุรกิจรับฝากเงินจาก สมาชิกของสหกรณ์ 4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน 1. เจ้าหน้าที่บัญชีบางสหกรณ์ติดโควิด ทำให้การตรวจการสหกรณ์ล่าช้า 2. สมาชิกที่อยู่ต่างจังหวัด หน่วยชายแดน และสมาชิกที่เป็นข้าราชการบำนาญบางส่วนไม่รับ โทรศัพท์หรือไม่สามารถยืนยันยอดด้วยตัวเองได้ 3. บางสหกรณ์สมาชิกไม่ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลการยืนยันยอด 4. เนื่องจากเป็นสหกรณ์ประเภทออมทรัพย์ ซึ่งสหกรณ์สามารถหักชำระหนี้ได้จากต้นสังกัด สหกรณ์จึงไม่มีการติดต่อหรือมีช่องทางการติดต่อกับสมาชิก แนวทางแก้ไข 1. สมาชิกที่อยู่ต่างจังหวัด/ข้าราชการบำนาญ จะส่งทางไลน์โดยเจ้าหน้าที่สหกรณ์ และ ส่งกลับทางออนไลน์เพื่อประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ซึ่งไม่พบผู้ปฏิเสธเงินฝากและเงินกู้ 2. ให้เจ้าหน้าที่สหกรณ์ดำเนินการติดต่อทางโทรศัพท์และสอบทานทางกลุ่มไลน์ของสหกรณ์ และสมาชิก โดยผู้ตรวจการสหกรณ์จะร่วมพูดคุยไปด้วย
- 67 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย การจัดการข้อสังเกตที่ตรวจพบจากการสอบบัญชีประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 วัตถุประสงค์: เพื่อให้การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดการข้อสังเกตที่ตรวจพบจากการสอบบัญชีเป็นไปใน แนวทางเดียวกัน และเพื่อติดตามตรวจสอบการจัดการเกี่ยวกับข้อสังเกตได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป้าหมาย : สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่มีข้อสังเกตที่ตรวจพบจากการสอบบัญชี ผลลัพธ์: ในปีงบประมาณ 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ได้ดำเนินการประชุมคณะทำงานพิจารณา ข้อสังเกต จำนวน 11 ครั้ง ดังนี้ ลำดับ แผนการประชุมคณะฯ ข้อสังเกต ผลการดำเนินการ วันประชุมคณะทำงานฯ ดำเนินการแล้ว ยังไม่ดำเนินการ ข้อสังเกต ตุลาคม (ไม่ได้กำหนดแผน) ครั้งที่ 1 พฤศจิกายน (ไม่ได้กำหนดแผน) √ วันที่ 3 ธันวาคม 2564 ครั้งที่ 2 วันที่ 29 ธันวาคม 2564 √ วันที่ 29 ธันวาคม 2564 ครั้งที่ 3 วันที่ 25 มกราคม 2565 √ วันที่ 25 มกราคม 2565 ครั้งที่ 4 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565 √ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 ครั้งที่ 5 วันที่ 25 มีนาคม 2565 √ วันที่ 28 มีนาคม 2565 ครั้งที่ 6 วันที่ 25 เมษายน 2565 √ วันที่ 27 เมษายน 2565 ครั้งที่ 7 วันที่ 25 พฤษภาคม 2565 √ วันที่ 27 พฤษภาคม 2565 ครั้งที่ 8 วันที่ 24 มิถุนายน 2565 √ วันที่ 4 กรกฎาคม 2565 ครั้งที่ 9 วันที่ 25 กรกฎาคม 2565 √ วันที่ 2 สิงหาคม 2565 ครั้งที่ 10 วันที่ 25 สิงหาคม 2565 √ วันที่ 31 สิงหาคม 2565 ครั้งที่ 11 วันที่ 23 กันยายน 2565 √ วันที่ 20 กันยายน 2565 ข้อสังเกตคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 สหกรณ์ จำนวน 11 แห่ง 12 ฉบับ 20 ประเด็น กลุ่มเกษตรกร จำนวน 3 แห่ง 3 ฉบับ 5 ประเด็น ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ไม่มีการรายงานการแก้ไขข้อสังเกตเป็นลายลักษณ์อักษร ทำให้ไม่สามารถตัดข้อสังเกตจาก ระบบได้เป็นผลให้การติดตามข้อสังเกตไม่เป็นปัจจุบัน โดยมีแนวทางแก้ไขคือเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ติดตาม
- 68 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ในที่ประชุมประจำเดือนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และแนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รายงานการแก้ไข ข้อสังเกตเป็นประจำทุกเดือน ภาพกิจกรรมการจัดการข้อสังเกตที่ตรวจพบจากการสอบบัญชีประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประชุมครั้งที่ 1 ประชุมครั้งที่ 3 ประชุมครั้งที่ 5 ประชุมครั้งที่ 7 ประชุมครั้งที่ 9 การชำระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1.วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์: เพื่อให้การดำเนินงานชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในสถานะเลิกสำเร็จ เรียบร้อยเป็นไปตามกระบวนการขั้นตอนการชำระบัญชีและตามกฎหมายสหกรณ์ รวมทั้งคำสั่ง และคำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ จนสามารถถอนชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรออกจากทะเบียนได้ เป้าหมาย : ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างชำระบัญชี จำนวน 92 แห่ง โดยมีตัวชี้วัดความสำเร็จ ดังนี้ 1) ร้อยละ 100 ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างชำระบัญชีขั้นตอนที่ 3-4 ยกระดับสู่ ขั้นตอนที่ 5 2) ร้อยละ 25 ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทั้งหมดที่อยู่ระหว่างการชำระบัญชี สามารถถอนชื่อ ได้ (ไม่รวมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในขั้นตอนที่ 6(คดี) สามารถถอนชื่อได้ พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : จังหวัดเลย 2.งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 97,000.-บาท 97,000.-บาท 100 3.ผลการดำเนินงาน ผู้ชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดำเนินการชำระบัญชีตามคู่มือการชำระบัญชี กฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง และคำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ที่เกี่ยวข้อง มีการประชุมติดตามความก้าวหน้า การ ชำระบัญชี เพื่อรับทราบประเด็นปัญหาอุปสรรคจากการดำเนินงาน เพื่อหาแนวทางแก้ไขร่วมกันในหน่วยงาน รวมถึงประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดในการขับเคลื่อนการชำระบัญชีร่วมกับสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์เลย
- 69 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย และสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลยได้ดำเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพการชำระบัญชีสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร เพื่อพัฒนาศักยภาพการชำระบัญชีของผู้ชำระบัญชีของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ สามารถดำเนินการชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจนสามารถ ถอนชื่อออกจากทะเบียนได้ โดยใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดำเนินการถอนชื่อสหกรณ์และกลุ่มเกษตรที่ชำระบัญชีออกจากทะเบียน จำนวน ทั้งสิ้น 15 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 16.30 ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ :ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลยมีผลการปฏิบัติงาน ชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่สามารถดำเนินการถึงขั้นตอนที่ 10 ซึ่งได้รับการถอนชื่อจากทะเบียน จำนวน 15 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 16.30 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : ผู้ชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สามารถดำเนินการชำระบัญชีตาม ขั้นตอนที่กำหนดตามคู่มือการชำระบัญชี กฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง และคำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ 3. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหาอุปสรรค ปัญหาอุปสรรคในการชำระบัญชีโดยส่วนใหญ่จะเป็นการดำเนินการใน ขั้นตอนการจัดทำงบการเงิน ณ วันเลิก ตามมาตรา 80 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไข เพิ่มเติม เนื่องจากเอกสารการบันทึกบัญชีที่ผู้ชำระบัญชีได้รับมอบไม่ครบถ้วน เอกสารสูญหาย หรือไม่มีเอกสาร ในการจัดทำงบการเงิน แนวทางแก้ไข สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลยจัดประชุมเพื่อร่วมหารือกับสำนักงานตรวจบัญชี สหกรณ์เลย เพื่อร่วมกันหาแนวทาง กรณีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ไม่มีเอกสาร หรือเอกสารไม่ครบถ้วน ให้ผู้ ชำระบัญชีตรวจสอบ ค้นหาเอกสารที่มีอยู่เสียก่อน ว่ามีเอกสารอยู่เท่าใด หากได้ดำเนินการค้นหาจนถึงที่สุดแล้ว ให้ผู้ ชำระบัญชีทำหนังสือถึงสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์เลย เพื่อขอเอกสารมาใช้ประกอบการชำระบัญชี (งบ การเงิน พร้อมเอกสารประกอบ) หรือหากไม่สามารถค้นหาเอกสารต่าง ๆ ได้ ให้ดำเนินการตามกรณีตัวอย่าง ของร้านสหกรณ์ห้วยขวาง จำกัด อยู่ในคู่มือการชำระบัญชี และให้ผู้ชำระบัญชีประสานกับผู้สอบบัญชีที่ รับผิดชอบอย่างต่อเนื่องจนสามารถถอนชื่อออกจากทะเบียน รูปภาพกิจกรรมการดำเนินการการชำระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
- 70 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า วัตถุประสงค์: เพื่อสนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพการเกษตรได้ เข้าถึงองค์ความรู้ด้านการผลิต สามารถสร้างอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน ให้เกิดความมั่นคงในการประกอบ อาชีพการเกษตร เป้าหมาย : เกษตรกรโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ กิจกรรมนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร 8 คน ผู้สังเกตการณ์ 2 คน เจ้าหน้าที่สำนักงาน สหกรณ์จังหวัดเลย 1 คน รวมทั้งสิ้น 11 คน พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย งบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 20,660.-บาท 20,660.-บาท 100 ผลการดำเนินงาน : มีผู้เข้าร่วมอบรมครบตามเป้าหมาย และผู้เข้าร่วมอบรม ร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนา ทักษะการประกอบอาชีพการเกษตร ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : 1. เพิ่มจำนวนเกษตรกรรุ่นใหม่ในภาคเกษตรบรรเทาปัญหาเกษตรกรสูงอายุและเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของภาคเกษตรและสถาบันเกษตรกร 2. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ มีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้เข้าถึงองค์ความรู้ ปัจจัยการผลิต รวมถึงการสร้างอาชีพ การเกษตรอย่างยั่งยืน ก่อให้เกิดความมั่นคงในการประกอบอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน แนวทางการแก้ไข/ข้อเสนอแนะ : ควรได้รับการพัฒนาต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็นด้านสินค้าและช่องทางการตลาด เพื่อให้เกิดความยั่งยืน รูปภาพกิจกรรมการดำเนินงานโครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ โครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ (น าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร)ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
- 71 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย กิจกรรมที่ 1 : พัฒนาศักยภาพสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการผลิตเกษตรแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่า 1. วัตถุประสงค์ 1.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรนำเทคโนโลยีและ นวัตกรรมนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมการแปรรูปสินค้าเกษตรมาใช้ในการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรสร้าง ความหลากหลายของสินค้า รวมทั้งการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มทักษะการผลิตการรวบรวมการแปรรูปรวมทั้งการบริหาร จัดการผลิตการตลาดแก่สหกรณ์ภาคการเกษตรและเกษตรกรให้เป็นที่พึ่งในการแก้ไขปัญหาการตลาดสินค้า เกษตรในชุมชนและเชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจการผลิต การตลาด เป้าหมาย 1. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรบ้านห้วยผักกูด สังกัดสหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.เลย จำกัด 2. กลุ่มเกษตรกร กยท.ทำสวนยางบ้านสูบ 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 9,800 9,800 100 3. ผลงานดำเนินงาน 1. มีการดำเนินการติดตาม แนะนำ ส่งเสริม กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรบ้านห้วยผัก กูด สังกัดสหกรณ์การเกษตรกรป.กลาง นพค.เลย จำกัด อำเภอปากชม จังหวัดเลย ที่ได้รับการสนับสนุน อุปกรณ์แปรรูป ปี 2563 เครื่องอบลมร้อน 6 ถาด และเครื่องอัดกระป๋อง ให้มีการใช้ประโยชน์อย่างมี ประสิทธิภาพ และดำเนินการตามแผนการผลิตที่ได้กำหนดไว้ โดยมีการรับซื้อผลผลิตทางการเกษตร จาก สมาชิกสหกรณ์และเครือข่ายโครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร อำเภอปากชม มาแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า ต่อยอดผลิตภัณฑ์ใหม่ให้ตรงตามความต้องการของลูกค้าอีกด้วย 2. มีการดำเนินการติดตาม แนะนำ ส่งเสริม กลุ่มเกษตรกร กยท.ทำสวนยางบ้านสูบ อำเภอ เมือง จังหวัดเลย ที่ได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์แปรรูปยางพารา เครื่องเครปยางขนาด 1.5 ตัน/ชั่วโมง ให้มีการ วางแผนการใช้งานและแผนการบำรุงรักษา เพื่อให้สามารถใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพตลอดอายุการใช้งาน 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรบ้านห้วยผักกูด มีอัตราการขยายตัวของข้อมูลสินค้า เกษตรแปรรูปขยายตัวมากขึ้นถึง 54 % เป้าหมายที่ตั้งไว้ 3% ยอดจำหน่ายปี 2564 ยอดจำหน่าย 121,705 โครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน
- 72 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย บาท เปรียบเทียบกับยอดจำหน่าย ปี 2565 ยอดจำหน่าย 187,700 บาท การขยายตัวขึ้นจากปีก่อนเนื่องจาก ปัจจุบันการตลาดมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีการเพิ่มช่องทางการจำหน่าย ทั้งออนไลน์ และออฟไลน์ จำหน่ายหน้าร้าน จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่คลายลงทำให้การขนส่งสินค้าสะดวกขึ้น และยอดจำหน่ายสินค้าเพิ่มสูงขึ้น 2. กลุ่มเกษตรกร กยท.ทำสวนยางบ้านสูบ มีผลการรวบรวมและขายยางเครปดังนี้ ผลการจำหน่ายยางเครป ปีงบประมาณ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 2562 413.90 11.40 2563 516.84 6.79 2564 317.04 8.03 2565 321.21 9.42 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : 1. พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกรและกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์เพิ่มขีด ความสามารถในการดำเนินธุรกิจแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ยกระดับการพัฒนาคุณภาพผลผลิต การเพิ่ม ผลผลิต และการลดต้นทุนของกลุ่มเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ ทำให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น 2. เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ ด้วยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้หลากหลายมากขึ้น ทำให้สมาชิกมีรายได้ เพิ่มขึ้น 3. เพิ่มช่องทางการจำหน่ายและเพิ่มมูลค่าสินค้ายางพาราด้วยการนำยางก้อนถ้วยมาแปรรูป เป็นยางเครปที่มีมูลค่าสูงกว่า ปัญหา อุปสรรค : การปรับตัวสูงขึ้นของราคาน้ำมันทำให้การแปรรูปยางก้อนถ้วยเป็นยางเครปมีต้นทุน สูงขึ้นในอนาคตการผลิตยางเครปอาจไม่คุ้มทุน แนวทางการแก้ไข/ข้อเสนอแนะ : กลุ่มเกษตรกรฯ ต้องมีการคำนวณต้นทุนการผลิตอยู่เสมอ และเพิ่มการดำเนินธุรกิจการ รวบรวมยางก้อนถ้วย การรวบรวมน้ำยางสด เพื่อบริการแก่เกษตรกรสมาชิก ภาพกิจกรรมการดำเนินการโครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน
- 73 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม กิจกรรมที่ 1 โครงการส่งเสริมการสหกรณ์ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ การจัดเวทีประชุมกลุ่มชาวบ้านเพื่อร่วมกันวางแผนการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มและพัฒนา อาชีพเกษตรด้านการผลิต การตลาดในรูปแบบสหกรณ์ เป้าหมาย 2 กลุ่มชาวบ้าน 2 โครงการ ดังนี้ 1. โครงการศูนย์พัฒนาปศุสัตว์ตามพระราชด าริ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1. ผู้เข้ารับอบรมได้รู้และเข้าใจในหลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ 2. ผู้เข้ารับการอบรมได้รู้ถึงอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการหรือผู้บริหารกลุ่ม 3. ผู้เข้ารับการอบรมได้รู้ถึงระบบการบริหารงานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เป้าหมาย : เกษตรกรอยู่ในพื้นที่การดูแลของศูนย์ปศุสัตว์ตามพระราชดำริ จังหวัดเลย บ้านทุ่งเทิง ตำบลโป่ง อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย จำนวน 20 คน พื้นที่ดำเนินงานโครงการ อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 6,200.-บาท 6,200.-บาท 100 3. ผลการดำเนินงาน 3.1 ประสานเกษตรกรในพื้นที่โครงการฯ เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหลักการอุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มและนำรูปแบบไปใช้ในการบริหารกลุ่ม 3.2 เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2565 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการให้แก่เกษตรกรในพื้นที่โครงการฯ เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มและนำรูปแบบไปใช้ใน การบริหารกลุ่ม โดยวิทยากรจากสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ณ ศูนย์เรียนรู้โคกหนองนาบ้านทุ่งเทิง หมู่ 11 ตำบลโป่ง อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย 3.3 แนะนำส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่มและติดตามประเมินผล 3.4 รายงานผลการดำเนินกิจกรรม 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : เกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่การดูแลของศูนย์ปศุสัตว์ตามพระราชดำริ จังหวัดเลย บ้านทุ่งเทิง ตำบลโป่ง อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการทั้งหมด 20 คน ตามเป้าหมาย
- 74 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : เกษตรกรได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ หลักการ อุดมการณ์และวิธีการ สหกรณ์ ขบวนการขั้นตอนการจัดตั้งสหกรณ์ แนวทางบริหารงานกลุ่มและการจัดทำวางแผนการดำเนิน กิจกรรมของกลุ่ม และพัฒนาอาชีพเกษตรกรด้านการผลิต การตลาดในรูปแบบสหกรณ์ 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไข เกษตรกรบ้านทุ่งเทิง ตำบลโป่ง อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ยังไม่มี ความพร้อมในการจดทะเบียนจัดตั้งเป็นนิติบุคคลที่ถูกต้องตามกฎหมาย จัดทำแผนการติดตามโครงการฯ เพื่อให้คำแนะนำส่งเสริมแก่ เกษตรกร เกี่ยวกับการนำรูปแบบสหกรณ์ไปใช้ในการบริหารกลุ่ม ธรรมชาติ ภาพกิจกรรม โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มชาวบ้านในพื้นที่ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โครงการศูนย์พัฒนาปศุสัตว์ตามพระราชดำริ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 วันที่ 27 มีนาคม 2565 2.โครงการรกัษน ์ ้ าเพ่อืพระแม่ของแผ่นดนิ 1.วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1. ผู้เข้าประชุมได้รู้และเข้าใจในหลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ 2. ผู้เข้าประชุมได้รู้ถึงอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการหรือผู้บริหารกลุ่ม 3. ผู้เข้าประชุมได้รู้ถึงระบบการบริหารงานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เป้าหมาย : เกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่โครงการรักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน บ้านหมากแข้ง ตำบล กกสะทอน อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย จำนวน 20 คน พื้นที่ดำเนินงานโครงการ อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย 2.งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 6,200.-บาท 6,200.-บาท 100
- 75 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 3.ผลการดำเนินงาน 3.1 ประสานเกษตรกรในพื้นที่โครงการฯ เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มและนำรูปแบบไปใช้ในการบริหารกลุ่ม 3.2 เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2565 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการให้แก่เกษตรกรในพื้นที่โครงการฯ เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มและนำรูปแบบไปใช้ใน การบริหารกลุ่ม โดยวิทยากรจากสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ณ บ้านหมากแข้ง หมู่ที่ 4 ตำบลกกสะทอน อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย 3.3 แนะนำส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่มและติดตามประเมินผล 3.4 รายงานผลการดำเนินกิจกรรม 4.ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : เกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่โครงการรักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน บ้านหมากแข้ง ตำบลกกสะทอน อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการทั้งหมด 20 คน ตามเป้าหมาย ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : เกษตรกรได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ หลักการ อุดมการณ์และวิธีการ สหกรณ์ ขบวนการขั้นตอนการจัดตั้งสหกรณ์ แนวทางบริหารงานกลุ่มและการจัดทำแผนการดำเนินกิจกรรมใน รูปแบบของกลุ่มเตรียมสหกรณ์เพิ่มขึ้น วางแผนการดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม และพัฒนาอาชีพเกษตรกรด้าน การผลิต การตลาดในรูปแบบสหกรณ์ต่อไป 5.ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไข เกษตรกรบ้านหมากแข้ง ตำบลกกสะทอน อำเภอด่าน ซ้าย จังหวัดเลย ยังไม่มีความพร้อมในการจดทะเบียนจัดตั้ง เป็น นิติบุคคลที่ถูกต้องตามกฎหมาย จัดทำแผนการติดตามโครงการฯ เพื่อให้คำแนะนำ ส่งเสริมแก่เกษตรกร เกี่ยวกับการนำรูปแบบสหกรณ์ไป ใช้ในการบริหารกลุ่มธรรมชาติ ภาพกิจกรรม : โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มชาวบ้านในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ โครงการรักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดินประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 วันที่ 22 มีนาคม 2565
- 76 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมสหกรณ์ตามพระราชด าริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กิจกรรมที่ 3 โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหม่อมหญิงอุบล รัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ได้ดำเนินการกิจกรรมที่ 2 โครงการ ส่งเสริมสหกรณ์ตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และกิจกรรมที่ 3 ได้จัดกิจกรรมทั่ศนศึกษาให้กับคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนพร้อมคณะครูผู้รับผิดชอบกิจกรรม สหกรณ์นักเรียน โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในจังหวัดเลย จำนวน 2 ครั้ง ดังนี้ ครง้ัที่1 โครงการทศันศก ึ ษาดูงานของนักเรียนที่เป็ นกรรมการสหกรณ ์ประจา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ในวันที่ 9 มิถุนายน 2565 ณ ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เลย อ าเภอวังสะพุง จังหวัดเลย 1.วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการศึกษาเพิ่มเติมจากการเรียนการสอนในห้องเรียนโดยศึกษาจากสถานที่ปฏิบัติจริง 2. เพื่อให้เด็กนักเรียนได้นำความรู้จากประสบการณ์ศึกษาดูงานในครั้งนี้นำไป ปรับใช้ในชีวิตจริงได้ เป้าหมาย : คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนพร้อมคณะครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในจังหวัดเลย จำนวน 6 โรงเรียน พร้อมคณะผู้สังเกตการณ์ รวม 90 คน ดังนี้ 1. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหมันขาว อำเภอด่านซ้าย 2. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเฉลิมราษฎรบำรุง อำเภอด่านซ้าย 3. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านนาปอ อำเภอนาแห้ว 4. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนฮิลมาร์พาเบิล อำเภอปากชม 5. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านนานกปีด อำเภอปากชม 6. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านห้วยเป้า อำเภอปากชม พื้นที่ดำเนินงานโครงการ จังหวัดเลย 2.งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 48,832. - บาท 48,832.-บาท 100 3.ผลการดำเนินงาน : นำคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนพร้อมครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน โรงเรียนตำรวจ ตระเวนชายแดนในจังหวัดเลย จำนวน 6 โรงเรียน พร้อมคณะผู้สังเกตการณ์ รวม 90 คน ศึกษาดูงานเกี่ยวกับ การส่งเสริมอาชีพ ณ ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เลย
- 77 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 4.ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนพร้อมคณะครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ นักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวรชายแดนในจังหวัดเลยจำนวน 6 โรงเรียนได้เข้าร่วมโครงการฯจำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : นักเรียนผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้รับการศึกษาเพิ่มเติมจากการเรียนการสอนใน ห้องเรียน โดยได้รับความรู้จากการปฏิบัติจริง และได้นำความรู้จากประสบการณ์ศึกษาดูงานในครั้งนี้ ไปปรับใช้ ในชีวิตจริงได้ 5.ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ไม่พบปัญหา/ อุปสรรคในการดำเนินงาน ภาพกิจกรรม : โครงการทัศนศึกษาดูงานของนักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ในวันที่ 9 มิถุนายน 2565 ณ ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เลย อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ครง้ัที่2 โครงการทัศนศึกษาดูงานของนักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์นักเรียนประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนและโรงเรียนเพียงหลวงในจังหวัดเลย จ านวน 3 โรงเรียน ในวันที่ 30 สิงหาคม 2565 ณ ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เลย อ าเภอวังสะพุง จังหวัดเลย 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการศึกษาเพิ่มเติมจากการเรียนการสอนในห้องเรียนโดยศึกษาจากสถานที่ปฏิบัติจริง 2. เพื่อให้เด็กนักเรียนได้นำความรู้จากประสบการณ์ศึกษาดูงานในครั้งนี้นำไป ปรับใช้ในชีวิต จริงได้ เป้าหมาย : คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนพร้อมคณะครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนและโรงเรียนเพียงหลวงในจังหวัดเลย จำนวน 3 โรงเรียน พร้อมคณะเจ้าหน้าที่ และผู้สังเกตการณ์ รวม 53 คน ดังนี้ 1. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านวังชมภู อำเภอเอราวัณ จำนวน 15 คน 2. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองแคน อำเภอนาด้วง จำนวน 15 คน 3. โรงเรียนเพียงหลวง 18 อำเภอเชียงคาน จำนวน 15 คน 4. เจ้าหน้าที่และผู้สังเกตการณ์ จำนวน 8 คน
- 78 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย พื้นที่ดำเนินงานโครงการ จังหวัดเลย 2. งบประมาณที่ได้รับ : ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 26,768. - บาท 26,768. - บาท 100 3. ผลการดำเนินงาน : นำคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนพร้อมครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน โรงเรียนตำรวจ ตระเวนชายแดนและโรงเรียนเพียงหลวงในจังหวัดเลย รวมจำนวน 3 โรงเรียน พร้อมคณะผู้สังเกตการณ์ รวม 53 คน ศึกษาดูงานเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ ณ ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัดเลย ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนและคณะครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนและโรงเรียนเพียงหลวงในจังหวัดเลย จำนวน 3 โรงเรียน พร้อมผู้สังเกตการณ์ ได้เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 53 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : นักเรียนผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้รับการศึกษาเพิ่มเติมจากการเรียนการสอนใน ห้องเรียน โดยได้รับความรู้จากการปฏิบัติจริง และได้นำความรู้จากประสบการณ์ศึกษาดูงานในครั้งนี้ ไปปรับใช้ ในชีวิตจริงได้ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ไม่พบปัญหา/ อุปสรรคในการดำเนินงาน ภาพกิจกรรม : โครงการทัศนศึกษาดูงานของนักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์นักเรียนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนและโรงเรียนเพียงหลวงในจังหวัดเลย จำนวน 3 โรงเรียน ในวันที่ 30 สิงหาคม 2565 ณ ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เลย อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย
- 79 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย กิจกรรมการจัดการเรียนรู้สหกรณ์ในสหกรณ์นักเรียน 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับความรู้และทักษะในการปฏิบัติเรื่องการบันทึกรายงานการประชุม และการทำบัญชีอย่างถูกต้องและเกิดประโยชน์สูงสุด 2. เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็นขวัญและกำลังใจให้กับโรงเรียนที่ดำเนินกิจกรรมสหกรณ์ นักเรียนตามพระราชดำริ เป้าหมาย : โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในจังหวัดเลย จำนวน 8 โรงเรียน 1. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองแคน อำเภอนาด้วง จังหวัดเลย 2. โรงเรียนตำรวจตระวนชายแดนบ้านวังชมภู อำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย 3. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านห้วยเป้า อำเภอปากชม จังหวัดเลย 4. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านนานกปีด อำเภอปากชม จังหวัดเลย 5. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนฮิลมาร์พาเบิล อำเภอปากชม จังหวัดเลย 6. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านนาปอ อำเภอนาแห้ว จังหวัดเลย 7. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหมันขาว อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย 8. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเฉลิมราษฎร์บำรุง อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย พื้นที่ดำเนินงานโครงการ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในจังหวัดเลย จำนวน 8 โรงเรียน 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 6,800. - บาท 6,800.-บาท 100 3. ผลการดำเนินงาน 3.1 จัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้สหกรณ์คือ กิจกรรมประกวดบันทึกรายงานการประชุมและการ บันทึกบัญชีในสหกรณ์นักเรียน 3.2 ประเมินผลกิจกรรมการประกวดบันทึกรายงานการประชุมและการบันทึกบัญชีในสหกรณ์นักเรียน 3.3 มอบเงินรางวัลพร้อมใบประกาศนียบัตรให้แก่โรงเรียนที่ผ่านการประเมิน 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : จัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้สหกรณ์คือ กิจกรรมประกวดบันทึกรายงานการ ประชุมและการบันทึกบัญชี ในสหกรณ์นักเรียน โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในจังหวัดเลย เข้าร่วมกิจกรรม ทั้งหมดจำนวน 8 โรงเรียน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : เด็กนักเรียนได้ฝึกบันทึกรายงานการประชุมและการบันทักบัญชีจนเกิดทักษะ
- 80 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย การเรียนรู้ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และได้รับใบประกาศนียบัตรเงินรางวัลเพื่อเป็นขวัญและ กำลังใจในการดำเนินกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในจังหวัดเลย ส่วนใหญ่อยู่ห่างไกล ทำให้เกิดข้อจำกัดในเรื่อง ระยะเวลาในการแนะนำการเรียนรู้เรื่องการบันทึกบัญชีสหกรณ์ ภาพกิจกรรม ประกวดบันทึกรายงานการประชุมและการบันทึกบัญชีในสหกรณ์นักเรียน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กิจกรรมวันสหกรณ์นักเรียน 7 มิถุนายน 2565 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์: เพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงริเริ่มโครงการ จัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน และเพื่อเสริมสร้างความรู้และปลูกฝังหลักการและวิธีการสหกรณ์ให้กับเยาวชน เป้าหมาย : โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 8 แห่ง และโรงเรียนเพียงหลวง จำนวน 1 แห่ง พื้นที่ดำเนินงานโครงการ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน และโรงเรียนเพียงหลวง ในจังหวัดเลย 2. ผลการดำเนินงาน : 1. ประสานหน่วยงานกำกับดูแลโรงเรียน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง 2. ประชุมหารือกับผู้บริหาร ฝ่ายวิชาการ และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนใน โรงเรียนในพื้นที่รับผิดชอบ 3. แนะนำ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนรู้เรื่องการสหกรณ์ในภาคทฤษฎี 4. จัดกิจกรรมหรือแนะนำการจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องการสหกรณ์แก่ครูผู้รับผิดชอบ/ ผู้บริหารโรงเรียน และรับชมกิจกรรมในรูปแบบออนไลน์ ผ่านทาง Facebook : สำนักพัฒนาและถ่ายทอด เทคโนโลยีการสหกรณ์
- 81 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการสหกรณ์แก่โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 8 แห่ง และโรงเรียนเพียงหลวง จำนวน 1 แห่ง รวมทั้งสิ้น 9 แห่ง ดังนี้ 1. โรงเรียนเพียงหลวง 18 อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย 2. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองแคน อำเภอนาด้วง จังหวัดเลย 3. โรงเรียนตำรวจตระวนชายแดนบ้านวังชมภู อำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย 4. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านห้วยเป้า อำเภอปากชม จังหวัดเลย 5. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านนานกปีด อำเภอปากชม จังหวัดเลย 6. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนฮิลมาร์พาเบิล อำเภอปากชม จังหวัดเลย 7. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านนาปอ อำเภอนาแห้ว จังหวัดเลย 8. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหมันขาว อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย 9. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเฉลิมราษฎร์บำรุง อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ นักเรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ภาพกิจกรรมวันสหกรณ์นักเรียน 7 มิถุนายน 2565 กิจกรรมที่ 4 โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย ได้รับความรู้ด้านการสหกรณ์ สามารถประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวันในการให้ความเป็นอยู่ที่ดีเสริมสร้างความรู้ ทักษะด้านการสหกรณ์ และสร้างลักษณะนิสัยที่ สอดคล้องกับอุดมการณ์สหกรณ์สร้างจิตสำนึกในการทำงานร่วมกันให้ประชาชน จนสามารถนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ เพื่อให้ประชาชนได้มีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้ครอบครัว สนับสนุนให้เกษตรกรมีความรู้ความ เข้าใจในระบบเกษตรทฤษฎีใหม่สามารถนำไปปรับใช้เพื่อประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน
- 82 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย เป้าหมาย : จัดกิจกรรมคลินิกเกษตรเคลื่อนที่จำนวน 4 ครั้ง พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : พื้นที่จัดกิจกรรมคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ตามที่สำนักงานเกษตรจังหวัดกำหนด 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 9,100.-บาท 9,100.-บาท 100 3. ผลการดำเนินงาน : 1. ประสานงาน ติดต่อ เข้าร่วมประชุม ร่วมกับสำนักงานเกษตรจังหวัด/สำนักงานเกษตรพื้นที่ กรุงเทพมหานคร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมดำเนินกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ 2.ดำเนินการประชาสัมพันธ์การจัดงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ทุกช่องทางก่อน การจัดงานอย่างน้อย 1 สัปดาห์ 3. ดำเนินการกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ทั้งหมด 4 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 16 ธันวาคม 2564 ณ ที่ว่าการอำเภอหนองหิน จำนวนผู้ร่วมงาน 85 คน ครั้งที่ 2 วันที่ 25 มีนาคม 2565 ณ ที่ว่าการอำเภอปากชม จำนวนผู้ร่วมงาน 50 คน ครั้งที่ 3 วันที่ 10 มิถุนายน 2565 ณ ที่ว่าการอำเภอเอราวัณ จำนวนผู้ร่วมงาน 58 คน ครั้งที่ 4 วันที่ 1 สิงหาคม 2565 ณ ที่ว่าการอำเภอภูเรือ จำนวนผู้ร่วมงาน 55 คน 4. รายงานผลการดำเนินงานตามแบบรายงานที่กองประสานงานโครงการพระราชดำริกำหนด 5. รายงานผลการดำเนินงานในระบบข้อมูลเชิงโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ของ กรมส่งเสริมการเกษตร 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ;ร่วมจัดกิจกรรมคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ทั้งหมด 4 ครั้ง ผู้ร่วมงานเข้าร่วม โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ จำนวน 248 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ;ผู้ร่วมงานที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจในการรวมกลุ่มใน รูปแบบสหกรณ์ และเป็นการประชาสัมพันธ์หน่วยงานสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ภาพกิจกรรม : ครั้งที่ 1 วันที่ 16 ธันวาคม 2564 คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ณ ที่ว่าการอำเภอหนองหิน
- 83 - ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รายงานประจ าปี 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ภาพกิจกรรม : ครั้งที่ 2 วันที่ 25 มีนาคม 2565 คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ณ ที่ว่าการอำเภอเอราวัณ ภาพกิจกรรม ครั้งที่ 3 วันที่ 10 มิถุนายน 2565 คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ณ ที่ว่าการอำเภอเอราวัณ ครั้งที่ 4 วันที่ 1 สิงหาคม 2565 คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ณ ที่ว่าการอำเภอภูเรือ กิจกรรมที่ 5 โครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์: เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรนำแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม และส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอื่นนำไปปฏิบัติตามได้ เป้าหมาย สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 5 แห่ง 1. สหกรณ์การเกษตรภูกระดึง จำกัด อ. ภูกระดึง จ. เลย 2. สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.เลย จำกัด อ. ปากชม จ. เลย 3. กลุ่มเกษตรกรทำไร่ภูกระดึง อ.ภูกระดึง จ.เลย 4. กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยาง กยท. ตำบลโคกใหญ่ 5. กลุ่มเกษตรกรทำสวนยาง กยท. บ้านนาจานหมู่ 7 อ.เชียงคาน จ.เลย พื้นที่ดำเนินงานโครงการ จังหวัดเลย