Forewคําoนrdาํ
รายงานประจําปี 2561 ของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 5 จัดทําข้ึนโดยวัตถุประสงค์เพื่อ
เผยแพร่งานในหนา้ ท่ี และผลการปฏบิ ตั ิงานดา้ นต่าง ๆ ของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 5 ในรอบปีท่ี
ผ่านมาโดยกล่าวถึงนโยบาย หน้าท่ีความรับผิดชอบ อัตรากําลัง งบประมาณ ผลการปฏิบัติงานปัญหา
และอุปสรรคในการปฏิบัติงาน ตลอดจนข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินงาน และฐานะทางการเงินของ
สหกรณ์ และกลมุ่ เกษตรกรในพน้ื ที่สํานกั งานตรวจบญั ชีสหกรณ์ที่ 5
สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ท่ี 5 หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานประจําปีฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์
แกห่ น่วยงานอื่นทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง และผสู้ นใจตามสมควร
สาํ นกั งานตรวจบัญชีสหกรณท์ ่ี 5
ธันวาคม 2561
สารบัญ
Contents
ประวตั คิ วามเป็นมา หน้า
2
จงั หวดั ในพืน้ ทคี่ วามรับผดิ ชอบ 5
6
โครงสร้างการบรหิ าร 7
11
วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ และยทุ ธศาสตร์
11
ผลการปฏิบัติงานของสาํ นกั งานตรวจบัญชสี หกรณ์ท่ี 5 13
15
หน้าท่คี วามรบั ผดิ ชอบกลุม่ กาํ กบั มาตรฐานการบัญชี
- ภาวะเศรษฐกิจทางการเงนิ สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร 25
- มมุ มอง 6 มติ ิ ของสภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงิน (Camels Analysis) 29
- วเิ คราะห์ความเสยี่ งภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงนิ สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร 30
จังหวดั ในพื้นทส่ี าํ นักงานตรวจบัญชสี หกรณ์ท่ี 5 33
39
หนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบกล่มุ พัฒนาการเรยี นรู้
- แผนงานยุทธศาสตร์ปฏิรูปโครงสร้างการผลติ ภาคเกษตร 51
หนา้ ที่ความรับผิดชอบกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ
หนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบกลุ่มแผนงานและติดตามประเมินผล
กิจกรรมสําคญั ประจําปี 2561
“ ...ทําบญั ชใี หเ้ ห็นวา่ สมดุลไมข่ าดทนุ
ถ้าทกุ คนสามารถท่ีจะทําให้พอดไี มข่ าดทุน ประเทศชาติไม่ขาดทุนแน่
และประเทศชาตขิ าดทนุ อยา่ งน้ี ไมข่ าดทุน อยู่รอด
ข้อสําคัญเปน็ อยา่ งน้ี ท่ีวา่ เศรษฐกจิ พอเพียง ไม่ใชว่ า่ พอเพียงในการบรโิ ภค
แต่ใหพ้ อเพยี งในการมชี วี ติ อยู่ บางคนกอ็ าจจะรวยได้ทเี ดียว... ”
พระราชดาํ รัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ในโอกาสเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ
ทอดพระเนตรการดาํ เนนิ งานศนู ยศ์ กึ ษาพฒั นาการห้วยทราย อันเนอ่ื งมาจากพระราชดําริ
เมื่อวนั อังคารที่ 14 กรกฎาคม 2541
1
ประวัตคิ วามเปน็ มา
History
การพัฒนาสหกรณ์ตามแผนพัฒนาสหกรณ์
การเกษตรสมบรู ณ์แบบ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้
เสนอโครงการสินเชื่อเพื่อการเกษตรของประเทศไทย
โดยมวี ัตถุประสงคส์ ําคญั สรุปได้ ดงั นี้
1. ขยายสมรรถภาพและขีดความสามารถในการ
ให้คําแนะนํา และการบริการด้านสินเชื่อแก่เกษตรกร
อยา่ งท่ัวถงึ
2. เสริมสร้างการดาํ เนนิ งานของสถาบันเกษตรกรใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพย่ิงขน้ึ
โครงการนี้ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีให้กู้เงินจากธนาคารโลก จํานวน 19 ล้านเหรียญสหรัฐ
มาดําเนินการไดเ้ มอ่ื วันที่ 8 มกราคม 2528 การดําเนินงานตามโครงการดังกล่าวประกอบด้วยโครงการย่อย
10 โครงการ ในจาํ นวนนี้มโี ครงการปรับปรุงการบริหารการเงินและการบัญชีของสถาบันเกษตรกร ซึ่งอยู่ใน
ความรับผิดชอบของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์รวมอยู่ด้วย โดยให้จัดตั้งสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ขึ้น
จังหวดั ละ1 สํานกั งาน สาํ หรบั ระยะแรกของโครงการ (ปงี บประมาณ 2524 - 2526) กาํ หนดใหจ้ ัดตัง้ ขนึ้ 50
สํานักงาน ค่าใช้จ่ายท้ังสิ้น 69.8 ล้านบาท เป็นเงินกู้จากธนาคารโลก 19.5 ล้านบาท (0.97 ล้านเหรียญ
สหรัฐ) และเงินงบประมาณสมทบ 50.3 ล้านบาท ต่อมาได้มีการจัดตั้งสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์เพิ่มขึ้น
เร่ือย ๆ จนถึงปจั จุบันมอี ยู่ครบทุกจังหวัด
เขตตรวจบัญชีที่ 6 ได้จดั ตงั้ ข้นึ เมือ่ ปี พ.ศ. 2527 โดยเชา่ อาคาร 223 ถนนประชารักษาอําเภอเมือง
จังหวัดอุดรธานี เป็นท่ีทําการสํานักงาน เนื่องจากสถานที่เดิมคับแคบ ต่อมาได้ย้ายสํานักงานใหม่โดยเช่า
อาคารเลขที่ 267/1 ซอยวิจารณรงค์ 1 ถนนอุดรดุษฎี ตําบลหมากแข้ง อําเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี
ในปีงบประมาณ 2541 ได้รับจัดสรรงบประมาณก่อสร้างอาคาร ต่อเติมอาคารสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์
ภูมิภาคที่ 6 จํานวนเงินสองล้านบาทเศษ เสร็จสิ้นตามสัญญาวันท่ี 1 มิถุนายน 2541 โดยสํานักงานต้ังอยู่
เลขที่ 28/10 ถนนโพศรี ตําบลหมากแขง้ อําเภอเมือง จังหวดั อุดรธานี
2
วันท่ี 1 มีนาคม 2555 สํานักงานตรวจบัญชี
สหกรณ์ท่ี 5 ได้เปล่ียนแปลงท่ีต้ังสํานักงานจากจังหวัด
อุดรธานี มายังจังหวัดขอนแก่น ตั้งอยู่เลขท่ี 119/156
ถนนมิตรภาพ ซอยรัตนาภา ตําบลในเมืองอําเภอเมือง
จั ง ห วั ด ข อ น แ ก่ น ต า ม คํ า ส่ั ง ก ร ม ต ร ว จ บั ญ ชี ส ห ก ร ณ์
ที่ 147/2555เนื่องจากท่ีตั้งเดิมมีความคับแคบประกอบ
กับสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ขอนแก่น มีพ้ืนที่เพียง
พอที่จะรองรับบุคลากรของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ท่ี 5 รวมทั้งจังหวัดขอนแก่นยังเป็นท่ีต้ังของส่วน
ราชการระดับภาค เป็นศูนยก์ ลางทางเศรษฐกจิ และศนู ยก์ ลางการคมนาคมอกี ดว้ ย
เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2556 ได้ย้ายที่ตั้งสํานักงานจากจังหวัดขอนแก่นมายังจังหวัดอุดรธานี
ปัจจบุ ันสาํ นกั งานตง้ั อยเู่ ลขท่ี 28/10 ถนนโพศรี ตาํ บลหมากแข้ง อําเภอเมอื ง จังหวดั อดุ รธานี
3
Lสoถcาaนtทio่ีตnงั้
สํานักงานตรวจบัญชสี หกรณ์ที่ 5
ท่อี ยู่ : 28/10 ถนนโพศรี ตาํ บลหมากแข้ง อําเภอเมอื ง จงั หวดั อดุ รธานี 41000
โทรศัพท์ : 042-244829โทรสาร : 042-221033
e-mail :[email protected]
4
พน้ื ทคี่ วามรับผดิ ชอบ
Area of responsibility
จงั หวัดในพื้นทคี่ วามรับผิดชอบ
จงั หวัดในพน้ื ที่ ระยะทางจากสํานกั งานตรวจบัญชสี หกรณ์ท่ี 5
รบั ผดิ ชอบ (อุดรธานี)
115 กิโลเมตร
1. ขอนแกน่ 252 กิโลเมตร
2. นครพนม 159 กโิ ลเมตร
3. สกลนคร 46 กโิ ลเมตร
4. หนองบวั ลําภู 152 กิโลเมตร
5. เลย 46 กิโลเมตร
6. หนองคาย -
7. อดุ รธานี 188 กิโลเมตร
8. บงึ กาฬ
5
โครงสรา้ งการบริหาร
Structure
ผเู้ ชยี่ วชาญด้านการบัญชี
และการสอบบัญชี
6
วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจและยทุ ธศาสตร์
Vision / Values/ Strategies
วสิ ัยทศั น์ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
"ภายในปี 2564 สหกรณ์และเกษตรกร
มรี ะบบบรหิ ารจัดการด้านการเงนิ การบญั ชีทม่ี คี ุณภาพเชอ่ื ถือได”้
"By the Year 2021, the Accounting and Financial Management
Conducts of Cooperatives and Farmers will be of good quality and reliable.”
พนั ธกจิ
1. พัฒนาระบบการตรวจสอบบญั ชีและระบบควบคุมคณุ ภาพการตรวจสอบบัญชสี หกรณใ์ ห้เปน็ ไป
ตาม มาตรฐานสากล
2. พฒั นามาตรฐานการบัญชีสหกรณ์และสง่ เสรมิ ความรู้การจัดทาํ บัญชแี ละการบริหารจดั การดา้ น
การเงนิ การบัญชีแกส่ หกรณแ์ ละเกษตรกร
3. เสริมสร้างเสถยี รภาพทางการเงินและระบบการควบคมุ ภายในที่ดีแก่สหกรณ์
4. พฒั นาเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลและการเตอื นภยั ทางการเงนิ แกส่ หกรณ์
5. พัฒนาระบบการให้คําปรึกษาแนะนําดา้ นการเงินการบญั ชีแกส่ หกรณแ์ ละเกษตรกร
ภารกจิ ตามกฎหมาย
1. ดาํ เนนิ การตรวจสอบบัญชสี หกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณแ์ ละกฎหมายอืน่
ท่เี กยี่ วข้อง
2. กาํ หนดระบบบญั ชีและมาตรฐานการสอบบญั ชีใหเ้ หมาะสมกับธรุ กิจของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร
3. ใหค้ าํ ปรกึ ษาแนะนําและใหค้ วามรู้ด้านการบรหิ ารการเงนิ และการบัญชแี ก่คณะกรรมการและ
สมาชิกของสหกรณ์ กลุม่ เกษตรกรและบุคลากรเครอื ข่าย
4. ถ่ายทอดความรู้และสง่ เสรมิ การจดั ทําบัญชีใหแ้ กส่ หกรณ์ กลุ่มเกษตรกร กล่มุ อาชพี
วสิ าหกิจชมุ ชน กลมุ่ เปา้ หมายตามโครงการพระราชดําริ เกษตรกรและประชาชนทัว่ ไป
5. กํากบั ดูแลการสอบบัญชีสหกรณ์โดยผู้สอบบญั ชภี าคเอกชน
6. จดั ทํารายงาภาวะเศรษฐกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อเปน็ พน้ื ฐานในการกาํ หนดนโยบาย
และแผนพฒั นาสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร
7. ปฏิบตั ิหน้าทีต่ ามกฎหมายกาํ หนดให้เป็นอาํ นาจหน้าท่ขี องกรมตรวจบัญชีสหกรณห์ รอื ตามที่
กระทรวงหรอื คณะรัฐมนตรมี อบหมาย
7
ยุทธศาสตรก์ รมตรวจบญั ชสี หกรณ์
การกาํ หนดกลยุทธ์ตามยุทธศาสตรก์ รมตรวจบญั ชสี หกรณ์ 4 ยุทธศาสตร์ เพอ่ื นําไปสู่การปฏิบัติ
กาํ หนดไดเ้ ป็น 25 กลยุทธ์ ดงั นี้
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 : คณุ ประโยชนข์ องการปฏบิ ัติตามหลักธรรมาภิบาลจะต้องเป็นทีป่ ระจักษ์อยา่ งชัดเจน และ
นาํ ไปสกู่ ารพฒั นาสหกรณ์ไดอ้ ย่างเป็นรูปธรรม กลยุทธ์
สรา้ งความเชอ่ื มนั่ และโปร่งใสให้กับสหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกร
พฒั นาระบบการตรวจสอบกจิ การของสหกรณใ์ ห้มีประสทิ ธภิ าพ
เพ่ิมขดี ความสามารถในการจัดทาํ บัญชี งบการเงิน และยกระดบั ชั้นคณุ ภาพ การควบคมุ
ภายในของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
พฒั นามาตรฐานการบญั ชสี หกรณใ์ ห้กา้ วทันมาตรฐานการบัญชี และสามารถนาํ ไปใชก้ ับ
สหกรณ์ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและบงั เกดิ ผล
สง่ เสรมิ ใหส้ มาชกิ สหกรณต์ ระหนกั และมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการดําเนนิ การ
ของสหกรณ์
พฒั นาวิสาหกจิ ชมุ ชนให้เขม้ แข็งและพง่ึ พาตนเองได้
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 : สร้างผู้บริหารสหกรณ์เพอื่ เป็นรากฐานของการพฒั นาสหกรณ์แห่งอนาคต กลยทุ ธ์
สร้างจิตสาํ นกึ ในการเปน็ ผบู้ ริหารสหกรณ์ท่ีดแี กค่ ณะกรรมการสหกรณ์
พัฒนาสมรรถนะฝ่ายบรหิ ารสหกรณ์ให้สามารถใช้ขอ้ มูลการเงนิ การบญั ชี เพ่อื บริหาร
สหกรณ์อยา่ งมืออาชพี
พฒั นาผบู้ ริหารสหกรณใ์ ห้มคี วามสามารถในการกํากับและติดตามการปฏบิ ัติงาน ของฝ่าย
จัดการ
ผลักดันใหส้ หกรณใ์ ชป้ ระโยชน์จากรายงานการตรวจสอบบัญชีและรายงาน การตรวจสอบ
กิจการ
8
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 : คุณประโยชนข์ องการทําบญั ชแี ละบริหารการเงนิ ท่มี คี ุณภาพ จะต้องเป็นทปี่ ระจักษ์ตอ่
เกษตรกรอยา่ งกวา้ งขวาง ชดั เจน และเข้าถงึ ได้ กลยุทธ์
สร้างความตระหนกั รูป้ ระโยชน์การจัดทําบญั ชแี ก่เกษตรกร
นาํ คุณค่าการจดั ทาํ บญั ชสี เู่ กษตรกรอย่างยั่งยนื
สรา้ งเกษตรกรรุ่นใหมท่ ี่ทาํ บัญชีไดใ้ ช้บญั ชเี ป็น
ส่งเสรมิ การพัฒนาเครือข่ายดา้ นบัญชี
ส่งเสริมการจดั ทําบญั ชแี กก่ ลมุ่ เป้าหมายตามโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ
ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 : มีระบบบริหารจัดการองค์กรท่มี ีประสิทธภิ าพในการรองรบั ภารกจิ ท่ี เร่งด่วน ท้าทาย
และเพมิ่ ข้ึนอยา่ งตอ่ เน่ือง และสามารถสร้างความเป็น AUDITOR ให้ มคี วามชดั เจน และ
เปน็ จริง กลยทุ ธ์
ผลกั ดนั ให้มีการปรบั ปรุงโครงสร้างและระบบการบรหิ ารจัดการองค์กรทเ่ี หมาะสม กับ
สถานการณ์
ปรบั ระบบบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลและผลักดนั ใหน้ ําไปสู่การปฏิบตั ิ
ปรบั ระบบการตรวจสอบบญั ชีสหกรณ์
ปรับระบบการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากรส่กู ารปฏิบตั งิ านอยา่ งมืออาชีพ
สรา้ งตน้ แบบ Smart Cooperative Auditing Office
จดั ต้ังหนว่ ยบริการรูปแบบพเิ ศษ (Service Delivery Unit : SDU) รองรบั การจดั จา้ ง
ผสู้ อบบัญชภี าคเอกชน
พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
สง่ เสรมิ และสนับสนุนการวจิ ยั และพฒั นา
บรู ณาการกาํ กับดแู ลการปอ้ งกันปราบปรามการฟอกเงินและการต่อตา้ น การสนับสนนุ
ทางการเงนิ แก่การกอ่ การรา้ ย
สรา้ งภาคเี ครอื ข่ายความร่วมมอื ทางวชิ าการกับองค์กรด้านสหกรณ์ทง้ั ในประเทศ และ
ตา่ งประเทศ
9
คา่ นยิ มหลกั : “AUDITOR”
10
หน้าทีค่ วามรบั ผิดชอบกล่มุ กาํ กบั มาตรฐานการบญั ชี
กลมุ่ กํากบั มาตรฐานการบญั ชมี หี นา้ ท่คี วามรบั ผดิ ชอบ ดังนี้
ศกึ ษาวิเคราะห์ลักษณะธรุ กจิ ของสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน กล่มุ ธุรกจิ ราย
สินคา้ จากกลุม่ อาชพี ต่าง ๆ กลมุ่ เปา้ หมายตามโครงการพระราชดาํ ริ ตลอดจนเกษตรกรราย
บุคคลในพืน้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ เพอ่ื นาํ รปู แบบบญั ชที ีก่ รมกาํ หนดไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกบั ธุรกิจ
จัดทาํ คาํ ส่งั แตง่ ตั้งผ้สู อบบัญชสี หกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกร และควบคุณภาพงานสอบบัญชีโดย
ประเมินผลการปฏิบัตงิ านของผสู้ อบบัญชตี ามมาตฐานการสอบบัญชโี ดย
สอบทานความถกู ตอ้ งสมั พันธ์กันระหวา่ งผลการประเมนิ ประสทิ ธิภาพการควบคุมภายใน/
ความถ่ีในการกาํ หนดแนวการสอบบัญชี งบการเงินและการเปิดเผยขอ้ มูล รวมท้งั รายงาน
การสอบบัญชี
ทดสอบกระดาษทาํ การของผูส้ อบบัญชี
จัดทาํ หนงั สือแจ้งข้อสงั เกตและคาํ แนะนาํ ในการปฏิบัติงานสอบบญั ชถี งึ ผู้สอบบญั ชี และการ
บนั ทึกขอ้ สงั เกตในระบบ Intranet
นิเทศระบบงานตามกระบวนการตรวจสอบบัญชีสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรแก่สาํ นกั งานตรวจ
บญั ชีสหกรณใ์ นพ้นื ท่คี วามรับผิดชอบและผูส้ อบบัญชี
พิจารณาข้อบกพร่องในการปฏบิ ัตงิ านของผู้สอบบัญชสี หกรณเ์ สนอคณะกรรมการจรรยาบรรณ
ของผ้สู อบบัญชี
แจง้ ขอ้ บกพรอ่ งทางการเงนิ การบญั ชแี ละสงั่ การใหส้ หกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรแกไ้ ขข้อบกพร่อง
เปน็ ศนู ย์ประสานงานการสอบบญั ชี โดยผู้สอบบัญชภี าคเอกชนและสหกรณ์เป้าหมายของ
สาํ นกั งานตรวจบญั ชีสหกรณใ์ นพน้ื ที่ความรบั ผดิ ชอบ
สรปุ ผลการวิเคราะหส์ ภาวะทางการเงนิ รายสหกรณ์ (CAMELS Analysis) ในภาพรวมของ
สํานักงานตรวจบญั ชีสหกรณท์ ่ี 5
ใหค้ าํ แนะนาํ ปรึกษาและสอบทานการแจง้ ขอ้ สงั เกตของผสู้ อบบัญชี การบันทึกข้อสงั เกตใน
ระบบ Intranet ให้เป็นไปตามคําแนะนําของกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์
ดแู ลการปลดล๊อคข้อมลู Input Form เพอื่ ให้จังหวดั แก้ไขข้อมลู การรายงานให้ถูกต้อง
การสอบทานและนาํ เสนอการขออนมุ ตั ิงบการเงินสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรทีช่ าํ ระบญั ชี กรณที ีไ่ ม่
สามารถประชุมใหญ่ฯ ได้
ให้คําปรกึ ษา แนะนาํ การปฏิบตั ิงานเก่ยี วกับการถ่ายโอนงานสอบบัญชีสหกรณ์ใหแ้ ก่ผู้สอบบัญชี
ภาคเอกชน
11
กลุ่มกํากบั มาตรฐานการบญั ชี พร้อมคณะ รว่ มกับสํานกั งานตรวจบญั ชีสหกรณ์เลย ไดเ้ ข้าตรวจสอบ
มาตรฐานการบัญชีสหกรณอ์ อมทรพั ย์ครเู ลย จาํ กัด เพื่อชว่ ยใหค้ าํ แนะนาํ และเพิ่มประสทิ ธภิ าพการควบคุม
ภายในด้านการเงินการบญั ชีและการปฏบิ ัติงานของสหกรณใ์ หเ้ ป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และคาํ แนะนํา
นายทะเบยี นสหกรณ์ รวมท้ังชว่ ยปอ้ งปรามเพ่ือลดความเสย่ี งท่ีอาจก่อให้เกดิ ความเสียหายแก่สหกรณ์
กลุ่มกํากับมาตรฐานการบัญชี พร้อมคณะ ร่วมกับสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์สกลนคร ได้เข้า
ตรวจสอบมาตรฐานการบัญชสี หกรณอ์ อมทรัพย์กองกาํ กบั การตํารวจตระเวนชายแดนท่ี 23 จํากดั
12
ภาวะเศรษฐกิจทางการเงินสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร
ของจงั หวัดในพ้ืนทีส่ าํ นักงานตรวจบญั ชสี หกรณ์ท่ี 5
ในปัจจุบันสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ท่ี 5 ซ่ึงประกอบด้วย
จังหวัดต่าง ๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน จํานวน 8 จังหวัด คือ อุดรธานี ขอนแก่น เลย
นครพนม สกลนคร หนองคาย หนองบัวลําภู และบึงกาฬ ในปีงบประมาณ 2561 ได้ทําการรวบรวมข้อมูล
ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2561 ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่ีสอบบัญชีได้จํานวน 1,219 แห่ง แยกเป็นภาค
การเกษตร 1,006 แห่ง และนอกภาคการเกษตร 213 แห่ง ภายใต้การรวมตัวของสมาชิก 1,277,276 ราย
แยกเปน็ ภาคการเกษตร 996,165 ราย และนอกภาคการเกษตร 281,111 ราย
สหกรณ์ร้านค้า, สหกรณ์บริการ, สหกรณ์เครดติ ยเู นยี่ น,
6 แห่ง 5,742 คน 62 แห่ง 16,914 คน 54 แหง่ 75,192 คน
= 0.45% =1.32%
= 5.89%
สหกรณอ์ อมทรัพย์,
91 แห่ง 183,263 คน
= 14.35%
กลุ่มเกษตรกร,
547 แห่ง 78,750 คน
= 6.17%
สหกรณ์นคิ ม, สหกรณ์ประมง,
2 แหง่ 6,404 คน 2 แห่ง 404 คน
= 0.03%
= 0.50%
สหกรณ์การเกษตร,
455 แห่ง 910,607 คน
= 71.29%
แผนภมู ิแสดงจาํ นวนสมาชกิ สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร
13
ภาวะเศรษฐกิจทางการเงนิ สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร
ของจังหวัดในพื้นทสี่ าํ นักงานตรวจบญั ชสี หกรณ์ที่ 5
หนองบัวลําภ,ู บึงกาฬ, อุดรธานี,
145 แห่ง 101,381 คน 82 แห่ง 94,913 คน 151 แห่ง 239,207 คน
= 7.94% = 7.43% = 18.73%
หนองคาย,
112 แห่ง 94,545 คน
= 7.40%
สกลนคร, ขอนแก่น,
173 แห่ง 186,634 คน 259 แห่ง 340,940 คน
= 14.61% = 26.69%
นครพนม, เลย,
151 แห่ง 101,690 คน 106 แหง่ 117,966 คน
= 7.96% = 9.24%
แผนภูมิแสดงจาํ นวนสมาชกิ สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร (รายจังหวัด)
14
มุมมอง 6 มติ ิ ของสภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงนิ
Camels Analysis
มมุ มอง 6 มิติ ของสภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงนิ (Camels Analysis)
มติ ทิ ่ี 1ความเพยี งพอของเงนิ ทุนตอ่ ความเสยี่ ง(Capital Strength)
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจํานวน 1,219 แห่ง มีทุนดําเนินงาน จํานวน 213,495.77 ล้าน
บาท แยกเป็นภาคการเกษตร จํานวน 27,756.78 ล้านบาท และนอกภาคการเกษตร จํานวน 185,738.99
ล้านบาท ประกอบด้วยทุนภายในซ่ึงเป็นทุนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 93,694.55ล้านบาท และเงินรับ
ฝากของสมาชิก 33,486.02 ล้านบาท รวมทุนภายใน 127,180.57 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 59.57 ของทุน
ดําเนินงานทั้งส้ิน และได้มาจากแหล่งเงินทุนภายนอก จํานวน 86,315.20 ล้านบาท ประกอบด้วย เงินกู้ยืม
73,188.86 ล้านบาท เงินรับฝากอื่น 9,293.31 ล้านบาท เครดิตทางการค้า 201.62 ล้านบาท และอื่นๆ
3,631.41 ล้านบาท รวมทุนภายนอก 86,315.20 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 40.43 ของทุนดําเนินงานทั้งสิ้น
เมื่อพิจารณาอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน พบว่าสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน 1.28 เท่า ปี
ก่อน 1.60เท่า ประกอบกับอัตราส่วนทุนสํารองต่อสินทรัพย์ 0.05 เท่า ปีก่อน 0.04 เท่า และมีผลตอบแทน
ต่อส่วนทุน ร้อยละ 8.19 ปีก่อนร้อยละ 8.72 แสดงให้เห็นถึงทุนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสร้าง
ผลตอบแทนได้ลดลงจากปีก่อน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรควรบริหารเงินทุนให้เกิดผลตอบแทนและ
พิจารณาระดมเงินทุนให้เพ่ิมข้ึนเพื่อรองรับกับความเส่ียงท่ีอาจจะเกิดข้ึน ทั้งนี้ต้องพิจารณาปัจจัยอื่นเสริม
ดว้ ย
เครดติ ทางการค้า เงินรับฝากอื่น เงนิ รับฝากสมาชิก
201.62 9293.31 33486.02
0% 4% 16%
ทนุ ของสหกรณ์ อนื่ ๆ
93694.55 3631.41
44%
2%
เงนิ ก้ยู ืม
73188.86
34%
แผนภูมิแสดงทนุ ดําเนนิ งานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
15
มมุ มอง 6 มิติ ของสภาวะเศรษฐกิจทางการเงนิ
Camels Analysis
120,000.00 113,877.54 ลบ.
100,000.00 71,861.46 ลบ.
80,000.00 13,303.03 ลบ. 14,453.75 ลบ.
60,000.00
40,000.00
20,000.00
-
ภาคการเกษตร นอกภาคการเกษตร
ทนุ ภายใน ทนุ ภายนอก
แผนภูมิแสดงทุนดําเนนิ งานของสหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกรทั้งสนิ้
เลย, นครพนม, สกลนคร,
21,265.32 ล้านบาท 14,230.28 ล้านบาท 37,022.18 ล้านบาท
= 10% = 7% = 17%
ขอนแก่น, อดุ รธานี, หนองคาย,
58,692.97 ล้านบาท 54,282.85 ล้านบาท 14,134.36 ล้านบาท
= 28% = 25% = 7%
หนองบัวลภู,
11,158.15 ล้านบาท
= 5%
บึงกาฬ,
2,709.65 ลา้ นบาท
= 1%
แผนภมู แิ สดงทนุ ดาํ เนินงานของสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร (รายจงั หวดั )
16
มมุ มอง 6 มิติ ของสภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงนิ
Camels Analysis
มติ ทิ ี่ 2คณุ ภาพสนิ ทรพั ย(์ Asset Quality)
สินทรัพย์ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประกอบด้วย เงินสด/เงินฝากธนาคารและ
สหกรณ์อ่ืน 10,857.96 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.09 ลงทุนในลูกหนี้ 197,729.12 ล้านบาท หรือร้อยละ
92.62 ที่ดินอาคารอุปกรณ์และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน 1,981.05 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.93 ลงทุนในสินค้า
451.54 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.21 ลงทุนในหลักทรพั ย์ 796.99 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.37 ดอกเบ้ียค้าง
รับ 1,154.96 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.54 และสินทรพั ย์อ่ืน 524.14 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.24 สินทรัพย์
ส่วนใหญ่เป็นลูกหนี้สูงสุด ร้อยละ 92.62 ของสินทรัพย์ทั้งส้ิน และเป็นลูกหนี้ผิดนัดชําระหน้ี ร้อยละ 46.84
ของหน้ีถึงกําหนดชําระ แยกเป็นภาคการเกษตร ร้อยละ 40.99 นอกภาคการเกษตร ร้อยละ 5.85 สหกรณ์
และกลุ่มเกษตรกรต้องให้ความสําคัญกับการบริหารลูกหน้ีเป็นหลัก ในระหว่างปีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
มีรายได้จากการดําเนินธุรกิจหลักจํานวน 23,531.98 ล้านบาท มีอัตราหมุนของสินทรัพย์ 0.11 รอบ ลดลง
จากปีก่อน 0.02 เท่า อัตราการหมุนของสินทรัพย์ลดลง ประกอบกับอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ลดลง
จากเดิมร้อยละ 3.47 เป็นร้อยละ 3.38 แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการทํากําไรจากสินทรัพย์ลดลง
สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรควรบรหิ ารจัดการสินทรพั ยใ์ ห้เกิดผลตอบแทนและคมุ้ คา่ ด้วย
เงนิ ลงทนุ ในหลกั ทรัพย์,
769.99 ลา้ นบาท = 0%
เงินสดเงนิ ฝากธนาคาร เงนิ ใหก้ ยู้ มื ,
และฝากสหกรณอ์ ่ืน, 194,525.18 ลา้ นบาท
10,857.96 ล้านบาท = 5%
= 91%
ที่ดนิ อุปกรณ์ และสินทรพั ย์
ไม่มตี ัวตน, 1,981.05 = 1% ลกู หนอ้ี ่นื ,
3,203.94 ลา้ นบาท = 2%
สินค้า,
451.54 ลา้ นบาท = 0%
ดอกเบย้ี คา้ ง,
1,154.96 ล้านบาท = 1%
อื่น ๆ, 254.14 = 0%
แผนภมู แิ สดงการใช้สนิ ทรพั ยข์ องสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร
17
มุมมอง 6 มิติ ของสภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงนิ
Camels Analysis
จํานวนเงิน : ล้านบาท
50,000.00 48,222.49 47,130.45
40,000.00 33,669.68
30,000.00
20,000.00 18,378.33
10,000.00
11,562.53 13,733.27 12,854.57
0.00
9,831.32
6,060.36 2,886.99 3,352.50
497.01
1,279.79 1,326.83 790.76 1,918.89
อดุ รธานี ขอนแกน่ เลย นครพนม สกลนคร หนองคาย หนองบวั ลําภู บึงกาฬ
ภาคเกษตร นอกภาคเกษตร
ตารางแสดงการใชส้ ินทรพั ยข์ องสหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกรแยกภาคเกษตรและนอกภาคเกษตรรายจังหวดั
เลย, นครพนม, สกลนคร,
21,265.32 ลา้ นบาท 14,230.28 ล้านบาท 37,022.18 ลา้ นบาท
= 10% = 7% = 17%
ขอนแกน่ , หนองคาย,
58,692.97 ลา้ นบาท 14,134.36 ล้านบาท
= 28% = 7%
อดุ รธานี, หนองบัวลําภ,ู
11,158.15 ล้านบาท
แผนภมู ิแสดงสินทรัพยข์ องสหกรณ์และก5ล4,ุม่ 28เ2ก.8ษ5ตล้ารนกบราท(รายจังหวดั )
= 25% = 5%
บึงกาฬ,
2,709.65 ลา้ นบาท
= 1%
แผนภมู แิ สดงการใช้สนิ ทรัพยข์ องสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร(รายจงั หวดั )
18
มุมมอง 6 มติ ิ ของสภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงนิ
Camels Analysis
หนองคาย, หนองบัวลาํ ภู, บึงกาฬ,
14,134.36 ลา้ นบาท = 7% 11,158.15 ลา้ นบาท = 5% 2,709.65 ลา้ นบาท = 1%
สกลนคร, อุดรธาน,ี
37,022.18 ล้านบาท = 17% 54,282.85 ล้านบาท
= 25%
นครพนม, เลย, ขอนแกน่ ,
14,230.28 ลา้ นบาท = 7% 21,265.32 ลา้ นบาท = 10% 58,692.97 ลา้ นบาท
= 28%
แผนภูมิแสดงการใชส้ นิ ทรพั ยข์ องสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร (รายจังหวัด)
19
มุมมอง 6 มติ ิ ของสภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงนิ
Camels Analysis
มติ ทิ ่ี 3ความสามารถในการบริหารจดั การ(Management Ability)
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดาํ เนินธุรกิจ 6 ด้าน มมี ูลคา่ รวม 170,964.85 ล้านบาทต่อปี หรือ
14,247.07 ล้านบาทตอ่ เดือน ประกอบด้วย ธรุ กิจดา้ นการให้เงินกู้ มีมลู คา่ ธุรกจิ สูงท่ีสุด 119,901.95 ล้าน
บาท เฉลี่ยเดือนละ 9,991.83 ล้านบาท รองลงมาคือธุรกิจการรับฝากเงิน 42,182.57 ล้านบาท เฉล่ีย
เดือนละ 3,515.21 ล้านบาท ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย 5,106.20 ล้านบาท เฉลี่ยเดือนละ 425.52
ลา้ นบาท ธรุ กิจรวบรวมผลิตผล 4,059.35 ล้านบาท เฉลี่ยเดือนละ 338.28 ล้านบาท ธุรกิจแปรรูปผลิตผล
การเกษตร 781.82 ล้านบาท เฉลี่ยเดือนละ 65.15 ล้านบาท และธุรกิจการให้บริการ 60.32 ล้านบาท
เฉลี่ยเดอื นละ 5.03 ล้านบาท ตามลําดับ
การให้ก้,ู การจดั หาสนิ คา้ จําหน่าย, การรวบรวมผลติ ผล,
93,694.55 ล้านบาท = 24% 9,293.31 ล้านบาท = 2% 201.62 ลา้ นบาท = 0%
การแปรรปู ผลติ ผลการเกษตร,
73,188.86 ลา้ นบาท = 19%
การใหบ้ รกิ าร,
3,631.41 ลา้ นบาท = 1%
การรับฝากเงิน,
33,486.02 ล้านบาท = 9%
ปริมาณธรุ กจิ รวม, 170,694.85
= 45%
ตารางแสดงปริมาณธุรกจิ ของสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
20
มุมมอง 6 มิติ ของสภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงนิ
Camels Analysis
หน่วย : ล้านบาท 38,877.37 40,504.81
45,000.00 34,808.00
40,000.00
35,000.00
30,000.00
25,000.00
20,000.00
15,000.00 10,940.34 10,048.31
10,000.00 7,049.93
5,000.00 8,483.60
0.00 2,382.12 4,836.30 3,899.75 3,240.58
645.17
1,579.76 1,082.76 1,117.65 1,468.42
อดุ รธานี ขอนแก่น เลย นครพนม สกลนคร หนองคาย หนองบัวลาํ ภู บึงกาฬ
ภาคเกษตร นอกภาคเกษตร
แผนภมู แิ สดงปรมิ าณธรุ กจิ ของสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรรายจังหวดั แยกภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร
ตารางแสดงปรมิ าณธรุ กจิ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (รายจงั หวดั ) (หนว่ ย:ล้านบาท)
จงั หวดั การรับฝากเงิน การให้เงนิ กู้ การจดั หา การ การแปรรปู การให้ ปริมาณ รอ้ ยละ
สนิ ค้ามา รวบรวม ผลติ ผลการ บรกิ าร ธรุ กจิ รวม
จําหนา่ ย ผลิตผล
เกษตร
อดุ รธานี 15,868.54 28,747.56 800.46 547.21 51.68 10.87 45,927.30 26.86
ขอนแก่น 12,779.26 35,772.69 2,071.47 1,083.16 130.08 42.02 51,445.15 30.09
2,798.24 8,992.30 515.22 223.57 2.62 2.12 12,430.43 7.27
เลย 2,218.77 2,798.82 197.24 474.18 4.10 0.38 5,481.46 3.21
นครพนม 4,934.82 31,889.12 1,064.69 264.79 582.60 4.00 38,707.75 22.64
สกลนคร 2,584.03 6,925.95 177.55 394.02 3.81 0.10 10,063.35 5.89
หนองคาย 679.57 3,238.26 208.03 350.88 6.27 0.72 4,323.33 2.53
หนองบัวลาํ ภู 319.34 1,537.25 71.54 721.54 0.67 0.12 2,586.07 1.51
บงึ กาฬ 42,182.57 119,901.95 5,106.20 4,059.35 781.82 60.32 170,964.85 100.00
รวม
21
มุมมอง 6 มิติ ของสภาวะเศรษฐกิจทางการเงนิ
Camels Analysis
มิติที่ 4 ความสามารถในการทํากาํ ไร (Earning Sufficiency)
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีรายได้ท้ังสิ้น 24,954.68 ล้านบาท มีค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น
17,999.07 ล้านบาท กําไรสุทธิ 6,955.61 ล้านบาท แยกเป็นภาคการเกษตร 503.12 ล้านบาท และนอก
ภาคการเกษตร 6,452.49 ล้านบาท เฉลี่ยกําไรต่อสมาชิกคนละ 5,445.66 บาท มีเงินออมเฉล่ียคนละ
92,913.72 บาท และมหี นส้ี นิ เฉล่ียคนละ 154,583.94 บาท
สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรมกี ําไรสุทธิ 972 แห่ง เปน็ เงิน 7,300.62 ลา้ นบาท ขาดทนุ สทุ ธิ
223 แหง่ เป็นเงิน 345.02 ลา้ นบาท
ตารางแสดงผลการดําเนนิ งาน (หนว่ ย : ล้านบาท)
จาํ นวน กาํ ไร ขาดทุน
แห่ง
ประเภทสหกรณ์ รายได้ คา่ ใชจ้ า่ ย กาํ ไร กาํ ไร (บาท) ขาดทนุ ขาดทนุ
(แห่ง) (แหง่ ) (บาท)
สหกรณก์ ารเกษตร 449 11,117.72 10,626.20 347 589.51 102 97.99
สหกรณป์ ระมง 2 0.44 0.49 1 0.02 1 0.07
สหกรณน์ ิคม 2 128.15 123.94 2 4.20 --
กลุ่มเกษตรกร 531 1,032.01 1,024.57 449 14.91 82 7.46
รวมภาคการเกษตร 984 12,278.32 11,775.20 799 608.63 185 105.51
สหกรณ์ออมทรพั ย์ 91 12,175.87 5,775.56 87 6,602.74 4 202.43
สหกรณ์รา้ นคา้ 6 68.50 65.23 5 3.32 1 0.05
สหกรณบ์ รกิ าร 60 159.97 171.99 41 12.13 19 24.15
สหกรณเ์ ครดติ ยูเน่ยี น 54 272.02 211.10 40 73.79 14 12.87
รวมนอกภาคการเกษตร 211 12,676.36 6,223.88 173 6,691.99 38 239.50
รวมทั้งสน้ิ 1,195 24,954.68 17,999.07 972 7,300.62 223 345.02
หน่วย : ล้านบาท 12,278.32 11,775.20 12,676.36
6,223.88
15,000.00
10,000.00
5,000.00
0.00
ภาคการเกษตร นอกภาคการเกษตร
รายได้ คา่ ใช้จา่ ย
แผนภูมแิ สดงผลการดําเนนิ งาน
22
มุมมอง 6 มิติ ของสภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงนิ
Camels Analysis
หนว่ ย : ล้านบาท
8,000.00
6,000.00
4,000.00
2,000.00
- ขอนแก่น เลย นครพนม สกลนคร หนองคาย หนองบวั ลาํ ภู บงึ กาฬ
7,435.47 2,240.12 1,590.32 4,397.10 1,577.48 1,342.52 1,018.77
อดุ รธานี 5,364.94 2,015.02 1,167.88 3,193.27 1,058.35 1,069.30 983.51
รายได้ 5,352.88 2,070.54 225.10 422.44 1,203.83 519.13 273.22 35.26
คา่ ใช้จ่าย 3,146.81
กําไร(ขาดทุน) 2,206.07
แผนภูมแิ สดงผลการดาํ เนินงาน (รายจงั หวัด)
มติ ทิ ่ี 5 สภาพคล่องทางการเงนิ (Liquidity)
ความเพียงพอของสภาพคล่องต่อความต้องการเงินสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในภาพรวม
ถือว่าดําเนินธุรกิจประสบความสําเร็จมีกําไร แต่มีสภาพคล่องทางการเงินค่อนข้างต่ํา คือ มีสัดส่วนของ
สนิ ทรัพยห์ มนุ เวยี นต่อหนส้ี นิ หมนุ เวยี น 0.51 เท่า และสินทรพั ยห์ มุนเวยี นส่วนใหญเ่ ป็นลูกหน้ี ดังน้ัน สภาพ
คล่องทางการเงินจงึ ข้นึ อยูก่ ับประสิทธิภาพในการบริหารลกู หนี้เปน็ สาํ คญั
มติ ทิ ่ี 6 ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงภายนอกที่เกดิ ขน้ึ (Sensitivity)
ปี 2561 มีปัจจัยเสี่ยงเข้ามาอย่างต่อเน่ือง ท้ังราคานํ้ามัน อัตราดอกเบี้ย ปัญหาภัยธรรมชาติ
ราคาสินค้า/พืชผลทางการเกษตรไม่แน่นอน รวมถึงนโยบายของภาครัฐ และสถานการณ์การเมือง ปัจจัยเส่ียง
เหล่าน้ีส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ท้ังด้านของการลงทุน การออม การ
บริโภค และภาระการผ่อนชําระหน้ีของสมาชิก จึงเป็นส่ิงที่ต้องเฝ้าระวังทางการเงิน โดยพัฒนาระบบเตือนภัย
ทางการเงิน (Warning System) และพัฒนาระบบการสร้างมูลค่าเพ่ิม (Value Driver) ซ่ึงเป็นการเพ่ิม
ศักยภาพด้านการจดั การทางการเงนิ เพือ่ นาํ ไปสูค่ วามยัง่ ยนื ของสหกรณ์
23
มมุ มอง 6 มิติ ของสภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงนิ
Camels Analysis
การประเมินคณุ ภาพการดาํ เนนิ งานปี 2561
ผลการดําเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรถือว่าประสบผลสําเร็จมีผลกําไรมากกว่า
ขาดทุน โดยมีผลกําไรจํานวน 972 แห่ง เป็นเงิน 7,300.62 ล้านบาท ขาดทุน จํานวน 223 แห่ง เป็นเงิน
345.02 ล้านบาท โดยมีผลกาํ ไรต่อสมาชกิ เฉลี่ยคนละ 5,445.66 บาท
แม้โดยรวมองค์กรจะมีความสามารถทํากําไรได้ แต่หากพิจารณาเปรียบเทียบสัดส่วนของ
เงินออมเฉลี่ย 92,913.72 บาทต่อคนกับหนี้สินเฉลี่ย 154,583.94 บาทต่อคน มีความไม่สมดุลกัน เงินออม
น้อยกว่าหนี้สินซึ่งเป็นการสะท้อนถึงกําลังความสามารถชําระหน้ีของสมาชิกในอนาคตที่อาจส่งผลกระทบ
ต่อการบริหารงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร รวมถึงต้องระมัดระวังในเรื่องของค่าใช้จ่ายให้เหมาะสม
กับฐานะการเงินของสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร
เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการดําเนินงาน และสามารถอํานวย
ประโยชน์แก่สมาชิกอย่างมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน ควรท่ีสหกรณ์จะได้พิจารณาปรับปรุงประสิทธิภาพในการ
บรหิ ารจดั การ ดงั น้ี
1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ควรเพิ่มความระมัดระวังในการก่อหน้ีให้สอดคล้อง
เหมาะสมกับฐานะการเงนิ และกาํ ลังความสามารถในการชําระหนี้ รวมถึงการควบคุม ดแู ลการใช้จ่ายเงินให้
เหมาะสมและรดั กุมด้วย
2. สหกรณ์ต้องขยายธุรกิจการรวบรวมผลิตผลทางการเกษตร ทําหน้าที่ตลาดให้
ครอบคลุมพ้ืนท่ีมากที่สุด เพื่อเป็นศูนย์กลางในการวบรวมผลิตผลทางการเกษตร และพิจารณาแปรรูปเป็น
ผลิตภณั ฑพ์ รอ้ มใช้ เพื่อจําหน่าย เป็นการเพมิ่ มูลคา่ สนิ คา้ และเพิ่มอํานาจต่อรองราคา
3. ให้การศึกษาอบรมแก่คณะกรรมการดําเนินการ และพนักงานของสหกรณ์ ให้มีความรู้
ความสามารถ ประสบการณ์ และความชํานาญในการบรหิ ารธุรกจิ ของสหกรณ์อย่างมอื อาชีพยง่ิ ขึ้น
4. ส่งเสริมแนะนําให้สมาชิกสหกรณ์ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง รวมท้ังส่งเสริมให้สมาชิก
จัดทําบัญชีรายรับ รายจ่ายในครัวเรือน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการควบคุมค่าใช้จ่ายให้สมดุลกับรายได้และ
วางแผนประกอบอาชีพควบคกู่ นั ไปอันจะสง่ ผลใหส้ มาชกิ มคี วามกินดีอยู่ดขี ้นึ
24
วเิ คราะห์ความเส่ียงภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงนิ สหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกร
จงั หวัดในพ้นื ทส่ี าํ นกั งานตรวจบัญชสี หกรณท์ ่ี 5
ความเสยี่ งท่ีอาจเกดิ ขน้ึ
1. ความเสี่ยงด้านเครดิต เป็นความเสี่ยงท่ีเกี่ยวข้องกับการให้สินเช่ือที่เป็นธุรกรรมหลักของ
สหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร และความเสยี่ งในการก่อหน้ขี องสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร
ในปีงบประมาณ 2561 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของจังหวัดในพื้นที่สํานักงานตรวจบัญชี
สหกรณ์ท่ี 5 มีปริมาณธุรกิจการให้สินเช่ือ จํานวน 119,901.95 ล้านบาท เฉลี่ยเดือนละ 9,991.83 ล้าน
บาท แยกเป็นสหกรณ์ประเภทการเกษตร จํานวน 12,307.41 ล้านบาท และสหกรณ์นอกภาคเกษตร
จํานวน 107,594.54 ลา้ นบาท
การบริหารธุรกิจสินเช่ือ ด้านการชําระหนี้ของลูกหนี้ มีลูกหนี้ที่ผิดนัดชําระหน้ี จํานวน
8,511.56ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 15.71 ของหนี้ที่ถึงกําหนดชําระท้ังส้ิน แยกเป็นภาคการเกษตร จํานวน
6,231.78 ล้านบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 11.50 ของหนี้ที่ถงึ กาํ หนดชําระ และนอกภาคเกษตร จํานวน 2,279.78
ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.21 ของหน้ีท่ีถึงกําหนดชําระ มีลูกหนี้ท่ีไม่ก่อให้เกิดรายได้ จํานวน 1,089.81
ล้านบาท แยกเป็นภาคการเกษตร จํานวน 17.11 ล้านบาท และนอกภาคการเกษตร จํานวน 1,072.70
ลา้ นบาท จากความเส่ยี งดงั กล่าวอาจส่งผลให้สหกรณ์ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายจากการประมาณการค่าเผ่ือหน้ี
สงสัยจะสูญ และหากในภายหน้ายังไม่สามารถติดตามให้ลูกหนี้มาชําระหน้ีได้แล้ว สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
อาจต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการติดตามหนี้ ค่าใช้จ่ายในการฟ้องร้องคดีความ หรือการระงับรับรู้รายได้
ท่เี กดิ จากดอกเบย้ี เงินใหก้ ขู้ องลูกหนี้ทีไ่ ม่กอ่ ใหเ้ กดิ รายไดต้ ามเกณฑค์ งค้างหรอื เป็นหน้ีสญู ได้ในอนาคต
จากการที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีลูกหนี้ผิดนัดชําระหน้ี จํานวน 8,511.56 ล้านบาท และ
ลูกหนท้ี ีไ่ ม่กอ่ ใหเ้ กิดรายได้ จาํ นวน 1,089.81 ลา้ นบาท สหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร ควรทบทวนการ ใหส้ นิ เชื่อ
และตรวจสอบการให้สินเช่ือลูกหน้ีแต่ละราย รวมถึงการให้สินเช่ือแก่สหกรณ์อื่นว่าเป็นการ ให้สินเช่ือใน
จํานวนเงินท่ีมากหรือเกินกว่าระเบียบท่ีกําหนดหรือไม่ เพื่อป้องกันความเส่ียงของการกระจุกตัวของลูกหนี้
รายใหญท่ ่มี ากเกินไป รวมถึงต้องพจิ ารณาหลักประกนั เงนิ กูใ้ หค้ มุ้ กบั จาํ นวนหนี้ดว้ ย
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีหน้ีถึงกําหนดชําระ จํานวน 54,186.87 ล้านบาท สามารถชําระหนี้
ได้ตามกําหนด จํานวน 45,675.31 ล้านบาท หรือร้อยละ 84.29 ของหนี้ที่ถึงกําหนดชําระ ถือได้ว่า
สมาชิกยังมีความสามารถในการชําระหนี้ แต่สหกรณ์ยังคงต้องพิจารณาหลักเกณฑ์ในการจ่ายเงินกู้
แก่สมาชิกและขีดความสามารถในการชําระหน้ีของสมาชิก ต้องไม่มีความเสี่ยงท่ีอาจจะไม่สามารถเรียกเก็บ
หนไ้ี ดใ้ นอนาคต เชน่ การให้สินเชื่อลูกหนีท้ สี่ ูงอายุ ลกู หนีท้ มี่ ีเงนิ ได้ไม่พอหักชาํ ระหนีก้ ารใหส้ นิ เชอ่ื ทีม่ ี
25
วิเคราะหค์ วามเส่ียงภาวะเศรษฐกิจทางการเงินสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร
จงั หวัดในพ้ืนทส่ี ํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ท่ี 5
จํานวนเงิน ต่องวดในการชําระหน้ีเป็นจํานวนมาก มีระยะเวลาการผ่อนชําระที่ยาวนาน และลูกหน้ีมีการ
ปรบั ปรุงโครงสร้างหนมี้ ากกวา่ 3 ครัง้ ในรอบปบี ัญชี เป็นตน้ ท้งั น้ี เพ่อื ป้องกันความเสียหายท่ีอาจเกิดข้ึนได้
ในอนาคต
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ควรพิจารณาการก่อหนี้ที่เกินกว่าอัตราที่ระเบียบกําหนด โดยใน
ปีงบประมาณ 2561 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของจังหวัดในพ้ืนที่สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ท่ี 5
มอี ัตราส่วนการกอ่ หนี้ 1.38 เทา่ ซ่ึงมีสูตรในการคํานวณ ดังน้ี
อัตราส่วนวดั ความสามารถในการก่อหน้ี = หนี้สินทง้ั สิ้น
(ทนุ เรือนหุ้น + ทุนสํารอง)
= 119,801,224,802.33
(76,854,592,010.92 + 9,965,445,485.17)
= 119,801,224,802.33
86,820,047,496.09
= 1.38 เทา่
อัตราส่วนน้ีใช้วัดความเพียงพอของเงินทุนเฉพาะที่เป็นทุนเรือนหุ้น และทุนสํารองว่ามีความ
เพียงพอหรือมีขีดความสามารถในการชําระหน้ีแก่เจ้าหน้ี กล่าวคือ เจ้าหนี้จะมีความปลอดภัยจากผล
ขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตจากทุนเรือนหุ้นและทุนสํารองได้เพียงใดนั้น อัตราส่วนความสามารถใน
การก่อหน้ีสามารถบ่งช้ีได้ โดยหากสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีอัตราส่วนความสามารถในการก่อหน้ีสูง แสดง
ว่าเงินทุนจากสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีเพียงเล็กน้อยและมาจากหน้ีสินเป็นส่วนใหญ่ ความเส่ียงจะตกเป็น
ของเจ้าหนี้ รวมถึงสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเองก็ต้องแบกรับภาระในรูปของดอกเบี้ยจ่ายไว้ ในทาง ตรงกัน
ข้าม หากสหกรณ์มีอัตราส่วนความสามารถในการก่อหนี้ตํ่า แสดงว่าเจ้าหน้ีมีเกราะคุ้มกันในการท่ีจะได้รับ
ชําระหนี้จากสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เมื่อพิจารณาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของจังหวัดในพ้ืนท่ีสํานักงาน
ตรวจบญั ชีสหกรณท์ ่ี 5 ท่มี อี ตั ราส่วนการก่อหนี้ จาํ นวน 1.38 เทา่ แสดงให้เห็นว่าเงินทุน จากสหกรณ์/กลุ่ม
เกษตรกรมีเพยี งเล็กนอ้ ยและมาจากหนสี้ นิ เป็นสว่ นใหญ่ ความเส่ียงจงึ ตกเปน็ ของเจ้าหน้ี
26
วเิ คราะห์ความเสี่ยงภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงินสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
จังหวัดในพืน้ ทีส่ ํานักงานตรวจบัญชสี หกรณท์ ี่ 5
จากอตั ราส่วนวดั ความสามารถในการก่อหนี้ 1.38 เท่า ที่แสดงให้เห็นว่าทุนของสหกรณ์/กลุ่ม
เกษตรกรยังมีจํานวนน้อย ทุนส่วนใหญ่มาจากหน้ีสิน สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรยังคงมีการกู้ยืมเงิน จาก
ภายนอก ซ่ึงควรระมัดระวังและพิจารณาป้องกันการกู้ยืมเงินกู้ระยะส้ันจากภายนอกมาเพ่ือมาจ่ายเงินกู้
ระยะยาวให้แก่สมาชิกหรือสหกรณ์อ่ืนด้วย
2. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง เป็นสถานการณ์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรอาจไม่สามารถ
ชําระหน้ีสินและภาระผูกพันได้ตามกําหนด หรือไม่สามารถจัดหาเงินทุนได้อย่างเพียงพอ อัตราส่วนน้ีใช้วัด
ความสามารถในการชําระหน้ีหรือสภาพคล่องของสหกรณ์ และช่วยชี้ถึงระดับความปลอดภัยของเจ้าหน้ี
จากการได้รับชําระหนี้ตามกําหนด อัตราส่วนนี้จะพิจารณาจากสินทรัพย์ที่สามารถเปล่ียนเป็นเงินสดได้เร็ว
เท่าน้ัน ถ้าอัตราส่วนสภาพคล่องต่ํา แสดงว่าสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรอาจไม่สามารถชําระหนี้สินได้เม่ือครบ
กําหนด แต่ในทางตรงกันข้าม หากอัตราส่วนสภาพคล่องสูง แสดงถึงความสามารถในการชําระหนี้ได้ตาม
กาํ หนด โดยปกติแลว้ ถือวา่ อตั ราสว่ นนย้ี ่งิ สูงความคล่องตัวกจ็ ะย่ิงมมี ากขึน้
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของจังหวัดในพ้ืนที่สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ท่ี 5 มีอัตราส่วน
สภาพคล่อง 0.06 เท่า ซง่ึ มสี ตู รในการคาํ นวณ ดงั น้ี
อัตราสว่ นสภาพคล่อง = (เงินสด + เงินฝากธนาคาร)
(เงินรบั ฝาก + เงนิ ก้ยู มื + ทุนเรือนหุ้น)
= 10,857,962,461.76
(42,779,331,375.07 + 73,188,864,883.64 + 76,854,592,010.92)
= 10,857,962,461.76
192,822,788,269.63
= 0.06 เท่า
เมื่อพิจารณาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของจังหวัดในพ้ืนท่ีสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ท่ี 5 ที่มี
อัตราส่วนสภาพคล่อง 0.06 เท่า กล่าวคือสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีความสามารถในการชําระหน้ีสินได้เม่ือ
ครบกาํ หนดคดิ เป็น 0.06 เท่า ตอ่ หน้สี ิน 1 เท่า แสดงว่าสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีสภาพคล่องต่ํา ช้ีให้เห็นว่า
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรอาจไม่สามารถชําระหน้ีสินได้เม่ือครบกําหนดชําระหนี้ แต่ทั้งน้ีหนี้สินที่สหกรณ์ต้อง
ชาํ ระคืนสว่ นใหญเ่ ป็นเงินรบั ฝากจากสมาชกิ และทุนเรือนหุ้น ซ่งึ มโี อกาสนอ้ ยทจ่ี ะถูกถอนเงินฝากออกไปใน
คราวเดียวเป็นจํานวนมาก ประกอบกับสัดส่วนของจํานวนลูกหน้ีที่สามารถชําระหนี้ได้ตามกําหนด (ร้อยละ
84.29) ซงึ่ มมี ากกว่าสัดสว่ นของลูกหน้ที ่ชี าํ ระหน้ีไมไ่ ดต้ ามกาํ หนด (รอ้ ยละ 15.71) ดังน้ัน สภาพคล่องของ
27
วิเคราะหค์ วามเสยี่ งภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงนิ สหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกร
จงั หวัดในพนื้ ที่สาํ นักงานตรวจบัญชสี หกรณท์ ี่ 5
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรทั้งระบบจึงยังคงอยู่ในสถานะที่ปลอดภัย แต่ยังคงต้องระมัดระวังรอบคอบในการ
ดําเนินธุรกิจ เพราะสภาพคล่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรขึ้นอยู่กับการบริหารจัดการสินทรัพย์หมุนเวียน
เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งคือลูกหน้ีเงินให้กู้ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจึงควรเฝ้าระวังลูกหนี้ให้สามารถมาชําระหน้ีให้
เป็นไปตามกําหนดสัญญา เพ่ือสร้างความเชื่อมั่นขององค์กรต่อสมาชิก และเพ่ือลดภาระค่าใช้จ่ายท่ีอาจ
เกิดขน้ึ เช่น ค่าใชจ้ า่ ยจากหนีส้ ญู คา่ ใชจ้ ่ายในการตดิ ตามหนี้ ค่าใชจ้ า่ ยในการฟ้องร้องดาํ เนินคดี เป็นตน้
3. ความเสี่ยงด้านเงินลงทุนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เป็นความเสี่ยงท่ีสหกรณ์/กลุ่ม
เกษตรกร มีการลงทุนต่าง ๆ เป็นไปตามกฎหมายของสหกรณ์ และลงทุนในหลักทรัพย์เกินอัตราท่ีนาย
ทะเบียนสหกรณ์กําหนดหรือไม่ รวมถึงมีการนําเงินไปฝากสหกรณ์อ่ืนที่มีปัญหาด้านสภาพคล่อง/หยุด
ดาํ เนนิ ธุรกิจ หรือฝากเงินในสหกรณท์ อ่ี าจเลกิ หรือตอ้ งเลกิ ตามกฎหมาย/มสี ว่ นขาดแหง่ ทุน
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของจังหวัดในพื้นท่ีสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ท่ี 5 จัดหาเงินทุน
เพื่อมาลงทุนในหลักทรัพย์ จํานวน 796.99 ล้านบาท แยกเป็นสหกรณ์ภาคการเกษตร จํานวน 57.03 ล้าน
บาท และสหกรณ์นอกภาคเกษตร จํานวน 739.96 ล้านบาท แหล่งเงินทุนส่วนใหญ่ของสหกรณ์/กลุ่ม
เกษตรกร มาจากทุนภายใน จํานวน 127,180.57 ล้านบาท ประกอบด้วยเงินรับฝากจากสมาชิก จํานวน
33,486.02 ล้านบาท และทุนของสหกรณ์ จํานวน 93,694.55 ล้านบาท มาจากแหล่งเงินทุนภายนอก
จาํ นวน 86,315.20 ล้านบาท ประกอบด้วยเงินรับฝากอื่น จํานวน 9,293.31 ล้านบาท เป็นการรับฝากเงิน
จากบุคคลภายนอกซึ่งไม่เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบว่าด้วยการรับฝากเงิน เครดิตการค้า
จํานวน 201.62 ล้านบาท และเงินกู้ยืม จํานวน 73,188.86 ล้านบาท จะเห็นได้ว่าแหล่งเงินทุนจาก
ภายนอกได้มาจากการกู้ยืมเป็นส่วนใหญ่ และแหล่งเงินทุนท่ีได้มาจากการกู้ยืมน้ัน ถูกนําไปใช้เพื่อการให้
สินเช่ือเพื่อการให้สมาชิกกู้ยืมเป็นส่วนใหญ่ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 มียอดลูกหน้ีเงินให้กู้คงเหลือ
จํานวน 195,767.51 ล้านบาท ในจํานวนนี้เป็นลูกหนี้เงินให้กู้ยืมระยะยาว จํานวน 165,436.33 ล้านบาท
ลูกหนี้เงินให้กู้ยืมระยะยาวถือเป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนและมีสภาพคล่องตํ่า ดังนั้นสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
ตอ้ งใหค้ วามสําคัญกับการบริหารจัดการลกู หนี้ เพ่ือป้องกันความเส่ียงเก่ียวกับความสามารถในการชําระหน้ี
ของสมาชิกที่อาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพลูกหน้ีและการบริหารงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้ใน
อนาคต
28
หน้าที่ความรับผิดชอบกลมุ่ พฒั นาการเรียนรู้
กลุม่ พฒั นาการเรียนรู้ มหี นา้ ที่ความรับผดิ ชอบ ดงั นี้
สมั มนา นเิ ทศและเสริมสรา้ งความพร้อมของสหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกรเพอื่ รองรบั การสอบบญั ชีประจาํ ปี
ถ่ายทอดความรูด้ ้านการบญั ชีและการสอบบัญชีแก่สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร รวมทงั้ บคุ ลากรของกรมฯ
ถา่ ยทอดความรดู้ ้านการเงินการบญั ชแี ก่บุคลากรของสถาบนั เกษตรกร กลมุ่ อาชพี วสิ าหกจิ ชุมชน
กลมุ่ เปา้ หมายในโครงการพระราชดําริ รวมทัง้ เกษตรกรท่วั ไป
เป็นศูนย์ประสานงานโครงการเสริมสร้างภูมิปัญญาทางบัญชีแก่เกษตรกรในพ้ืนที่รับผิดชอบ รวมทั้ง
บุคลากรเครอื ขา่ ย
ผลผลติ : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รบั การพฒั นาและเสริมสร้างความเขม้ แข็ง
โครงการเสริมสร้างความรู้ความเขา้ ใจเศรษฐกิจการเงนิ ข้ันพืน้ ฐานแกส่ มาชิกสหกรณ์
- อบรมให้ความร้แู ก่สมาชกิ สหกรณ์ ทงั้ สิน้ 210 สหกรณ์ 2,100 คน
- ติดตามประเมินผล ท้ังส้นิ 210 สหกรณ์ 2,100 คน
โครงการเพมิ่ ศกั ยภาพการจดั ทํางบการเงนิ แกส่ หกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
- อบรมผรู้ บั ผดิ ชอบจดั ทาํ บัญชี ท้ังส้นิ 50 สหกรณ์ 50 คน
- กาํ กบั แนะนาํ สหกรณ์ สหกรณล์ ะ 2 คร้งั ทง้ั สิ้น 50 สหกรณ์ 50 คน
- ติดตามประเมินผล ทั้งส้ิน 50 สหกรณ์ 50 คน
โครงการสร้างความเข้มแขง็ ในการจดั ทําบัญชแี ละงบการเงินแกส่ หกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกร
- อบรมผรู้ บั ผดิ ชอบจดั ทําบัญชี ทงั้ สิ้น 120 สหกรณ์ 120 คน
- กํากับแนะนาํ สหกรณ์ สหกรณล์ ะ 2 ครง้ั ทงั้ สน้ิ 120 สหกรณ์ 120 คน
- ติดตามประเมินผล ท้งั สน้ิ 120 สหกรณ์ 120 คน
โครงการพฒั นานกั บรหิ ารสหกรณ์ใหใ้ ชข้ อ้ มลู ทางการเงนิ การบัญชอี ย่างมืออาชพี
- อบรมคณะกรรมการดําเนนิ การสหกรณ์ ทั้งสน้ิ 80 สหกรณ์ 400 คน
- กาํ กบั แนะนาํ สหกรณ์ สหกรณล์ ะ 2 ครัง้ ทง้ั สิน้ 80 สหกรณ์ 400 คน
- ตดิ ตามประเมนิ ผล ทัง้ ส้นิ 80 สหกรณ์ 400 คน
29
แผนงานยทุ ธศาสตร์ปฏริ ปู โครงสร้างการผลติ ภาคเกษตร
โครงการพฒั นานกั บริหารสหกรณ์ จํานวนสหกรณ์
ใหใ้ ชข้ ้อมลู ทางการเงินการบัญชี
โครงการเสริมสร้างความรคู้ วาม
อย่างมืออาชีพ เขา้ ใจเศรษฐกจิ การเงนิ ข้ัน
พื้นฐานแกส่ มาชิกสหกรณ์
80 สก.
17% 210 สก.
46%
โครงการสร้างความเขม้ แขง็ ใน
การจัดทําบญั ชีและงบการเงนิ แก่
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
120 สก.
26%
โครงการเพ่มิ ศักยภาพการจัดทาํ
งบการเงนิ แก่สหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกร
50 สก.
11%
แผนภูมแิ สดงสหกรณ์ได้รับการพฒั นาและเสริมสร้างความเข้มแข็ง
โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนาอาชพี เพื่อแกไ้ ขปญั หาทีด่ นิ ทาํ กนิ ของเกษตรกรไดร้ ับการพัฒนาและ
เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็ง
- อบรมอาสาสมัครเกษตรดา้ นบัญชี (ครูบญั ช)ี ทัง้ ส้ิน 19 คน
1. ครูบญั ชี กลุม่ A จาํ นวน 3 คน
2. ครูบญั ชี กลมุ่ B จาํ นวน 16 คน
กลุม่ A คดิ เป็น กลุม่ B คดิ เปน็
16% 84%
แผนภมู ิแสดงการอบรมอาสาสมคั รเกษตรดา้ นบญั ชี (ครูบญั ชี)
30
กลุม่ พัฒนาการเรียนรู้ จดั อบรมโครงการพัฒนานกั บริหารสหกรณใ์ ห้ใชข้ ้อมลู ทางการเงนิ การบัญชี
อย่างมืออาชีพ หลักสูตร การใช้สารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจสาํ หรบั ผบู้ รหิ ารสหกรณ์ ณ หอ้ งใบแกว้ โรงแรม
ใบบญุ แกรนด์ อาํ เภอเมอื ง จังหวดั เลย
กลมุ่ พฒั นา การเรยี นรู้ จดั อบรมโครงการเพ่มิ ศกั ยภาพการจัดทํางบการเงินแก่สหกรณ์ หลักสูตร
การจดั ทํางบการเงนิ สหกรณ์ ณ โรงแรมบเี ค เพลส อําเภอเมือง จังหวดั บึงกาฬ
31
กล่มุ พฒั นาการเรยี นรู้ จดั อบรมโครงการพฒั นานกั บริหารสหกรณใ์ ห้ใชข้ ้อมลู ทางการเงินการบัญชี
อย่างมืออาชีพ หลักสตู ร การใช้สารสนเทศเพื่อการตดั สินผบู้ ริหารสหกรณ์ รุน่ ท่ี 1 ณ โรงแรมบุษราคมั
อาํ เภอเมอื ง จังหวัดขอนแก่น
กลมุ่ พฒั นาการเรยี นรอู้ อกกาํ กบั แนะนาํ สหกรณ์ในพ้ืนทจี่ ังหวัดนครพนม ตามโครงการเสริมสรา้ ง
ความเข้มแข็งการจดั ทําบญั ชีและงบการเงินแก่สหกรณ์ (RM10) หลกั สตู ร การจดั ทําบัญชขี องสหกรณ์
ณ ห้องประชมุ สาํ นกั งานตรวจบัญชสี หกรณน์ ครพนม อําเภอเมือง จังหวัดนครพนม
32
หน้าทคี่ วามรบั ผดิ ชอบกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มเทคโนโลยสี ารสนเทศ มีหนา้ ทคี่ วามรบั ผิดชอบ ดังน้ี
ถา่ ยทอดเทคโนโลยีด้านโปรแกรมระบบบัญชแี กส่ หกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกร
ถา่ ยทอดโปรแกรมระบบการตรวจสอบบญั ชใี ห้กบั ผู้สอบบัญชี
ถ่ายทอดระบบสารสนเทศสํานักงาน (Back Office) และ ระบบเครือข่ายแก่บุคลากรของสํานักงานตรวจ
บัญชีสหกรณใ์ นเขตพนื้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ
ตดิ ตาม ดแู ลและให้คาํ แนะนํา ปรึกษา ปัญหาเกยี่ วกบั ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ
ควบคุมดแู ลในการรวบรวมข้อมลู และจดั ทํารายงานประจาํ ปีของ สตท.5
การติดตาม กํากับ ดูแล และวิเคราะห์ข้อมูลการใช้งาน Appication Smart4M ในพ้ืนท่ีความรับผิดชอบ
สตท.5
การดูแลและพัฒนา Web Site ของ สตท.5 การบันทึกภาพถ่ายและวีดิโอทุกกิจกรรม และการดูแลและ
จัดเตรียมการถา่ ยทอด VDO Conference ของกรมฯ และ สตท.5
ดูแล รักษาเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน และการจัดทําทะเบียนครุภัณฑ์
คอมพวิ เตอร์ สตท.5
ผลการปฏิบัตงิ านของกลมุ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปีงบประมาณ 2561
ลําดบั กจิ กรรม ผลการ
ที่ ดําเนนิ งาน
งานส่งเสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีการบญั ชสี หกรณ์ (Accounting Software) 193 ครั้ง
3 ครง้ั
1 การกาํ กับ/ใหค้ าํ แนะนาํ และการแก้ไขปัญหาการใช้โปรแกรมระบบบญั ชที ่พี ัฒนาโดย 18 คร้ัง
5 ครงั้
กรมตรวจบญั ชีสหกรณข์ องสหกรณ์ในพื้นที่
2 สอนแนะการใชโ้ ปรแกรมระบบบญั ชที ีพ่ ัฒนาโดยกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ของสหกรณ์
ในพ้นื ท่ี
3 การกาํ กบั /ใหค้ ําแนะนําและการแก้ไขปญั หาการใชน้ วตั กรรม Smart4M ของสหกรณ์
ในพืน้ ท่ี
4 พัฒนาคําส่งั คอมพวิ เตอร์ช่วยตรวจสอบบัญชสี ําหรบั โปรแกรมบญั ชีเอกชน
33
ลาํ ดบั กจิ กรรม ผลการ
ที่ ดาํ เนนิ งาน
10 คร้งั
ประชมุ ซักซอ้ มผู้ปฏบิ ตั งิ านด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศในพน้ื ท่ี สตท.5
1 คร้งั
1 การจัดการเรียนรกู้ ารสอนภายในกลุ่มงานเทคโนโลยสี ารสนเทศ สตท.5
26 ครง้ั
(Unit School) 10 ครั้ง
7 คร้งั
2 IT MOBILE สตท.5 ร่วมกบั IT PROVIDER สตส.อดุ รธานี และ สตส.ขอนแก่น ซกั ซ้อม 138 คร้ัง
23 คร้ัง
ทําความเข้าใจและรว่ มกันพฒั นาคําสง่ั คอมพวิ เตอร์ช่วยตรวจสอบโดยการเขียนคริปต์ 1 คร้งั
5 ครั้ง
คาํ ส่ังสําหรบั ระบบบัญชที ี่มีฐานข้อมลู Oracle (Isocare)
16 ครงั้
งานสํานักงาน (Back Office)
11 คร้งั
1 ดูแลอุปกรณ์ Computer ระบบเครอื ข่าย 33 คร้ัง
2 ดแู ลระบบ VDO Conference 16 ครงั้
3 ออกแบบสอ่ื เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
งานดา้ นประชาสมั พนั ธ์
1 จัดทาํ /ปรบั ปรุง/เผยแพรข่ า่ วประชาสัมพันธ์ website สํานกั งาน
2 ผลติ คลปิ วีดโี อ Info graphic ข่าวและกจิ กรรม
3 จดั ทาํ รายงานประจาํ ปี
งานอน่ื ทไี่ ด้รับมอบหมาย
1 วทิ ยากรในการจดั อบรมโครงการพัฒนานักบริหารสหกรณใ์ ห้ใชข้ อ้ มลู ทางการเงินอย่าง
มืออาชีพ หลักสตู ร การใชส้ ารสนเทศเพ่ือการตัดสนิ ใจสําหรับผู้บริการสหกรณ(์ แนะนํา
การใช้ Smart4M)
2 ออกกํากบั แนะนาํ สหกรณ์เพือ่ ทบทวนการใชข้ อ้ มลู ทางการเงนิ การบัญชอี ย่างมอื อาชพี
โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื นวตั กรรม Smart 4M และ MISตามโครงการพัฒนานกั บรหิ าร
สหกรณใ์ หใ้ ชข้ ้อมลู ทางการเงินการบัญชีอย่างมืออาชพี
3 ผชู้ ่วยในการดําเนินการจัดอบรม (รว่ มกบั กลมุ่ พัฒนาการเรียนร)ู้
4 แจ้งให้ศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารดําเนนิ การจัดทําฐานขอ้ มลู
Smart4MOnline ใหก้ บั สหกรณ์ทย่ี น่ื ความจํานงขอใช้บริการ ผ่าน
CAD_WORKFLOW
5 แจ้งใหศ้ ูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารดาํ เนนิ การยกเลิกการใชโ้ ปรแกรม
ระบบบญั ชีของสหกรณ์ในพน้ื ที่
34
ประชมุ ซักซอ้ มผปู้ ฏบิ ตั งิ าน งานสํานักงาน (Back Office)
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศใน
43 ครง้ั
พน้ื ท่ี สตท. 5
งานด้านประชาสัมพันธ์
11 ครง้ั
162 ครง้ั
งานสง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยี งานอ่ืนท่ีไดร้ บั มอบหมาย
การบญั ชีสหกรณ์
81 ครง้ั
(Accounting Software)
219 ครั้ง
แผนภูมิแสดงผลการปฏบิ ตั งิ าน กลมุ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ประจาํ ปีงบประมาณ 2561
35
กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ ออกกาํ กบั แนะนาํ สหกรณส์ หกรณ์โคนมขอนแก่น จาํ กัด เพอ่ื ติดต้ัง
โปรแกรมทางบญั ชใี หก้ ับสหกรณ์และแนะนาํ การใชง้ านให้กบั สหกรณ์ รวมทงั้ รับทราบปัญหาอปุ สรรคในการ
ใชโ้ ปรแกรมเพอื่ การบริหารงานของสหกรณ์ ณ สหกรณโ์ คนมขอนแกน่ จาํ กดั จงั หวดั ขอนแกน่
ทมี IT Mobile สตท.5 รว่ มกับ IT Provider สตส.หนองบวั ลําภู ลงพนื้ ทีส่ อนแนะการใช้งาน
โปรแกรมระบบออมทรัพย์ v.2 ณ สอ.ตํารวจภธู รจงั หวัดหนองบวั ลาํ ภู จังหวัดหนองบัวลําภู
36
หัวหน้ากลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 5 ร่วมกับ IT PROVIDER
สตส.อุดรธานี และ สตส.ขอนแก่น พัฒนาคําส่ังคอมพิวเตอร์ช่วยตรวจสอบบัญชีของระบบบัญชีท่ีมีระบบ
ฐานข้อมูล Oracle โดยวิเคราะห์โครงสร้างฐานข้อมูลและเขียนคําส่ัง ตรวจสอบเปรียบเทียบหน้ารายงาน
เพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถนําไปใช้งานการตรวจสอบบัญชีต่อไป ณ ห้องประชุม สํานักงานตรวจบัญชี
สหกรณ์ท่ี 5 อาํ เภอเมอื ง จงั หวัดอุดรธานี
กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ ออกกํากับแนะนําสหกรณ์ในพ้ืนท่ีจังหวัดนครพนม ตามโครงการ
พัฒนานักบริหารสหกรณ์ให้ใช้ข้อมูลทางการเงินการบัญชีอย่างมืออาชีพ (RM11) เพื่อทบทวนการใช้ข้อมูล
ทางการเงินการบัญชีอย่างมืออาชีพ โดยใช้เคร่ืองมือนวัตกรรม Smart 4M และ MIS ณ ห้องประชุม
สํานักงานตรวจบญั ชีสหกรณน์ ครพนม อําเภอเมอื ง จงั หวัดนครพนม
37
กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ ออกกาํ กับแนะนําสหกรณใ์ นพนื้ ทจ่ี งั หวัดขอนแกน่ เพอ่ื ทบทวนการใช้
ข้อมูลทางการเงินการบัญชีอย่างมืออาชีพ โดยใช้เครื่องมือนวัตกรรม Smart 4M และ MIS ณ หอ้ งประชุม
สาํ นกั งานตรวจบัญชีสหกรณ์ขอนแก่น อําเภอเมือง จงั หวดั ขอนแก่น
กลมุ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ กาํ กบั แนะนําสหกรณใ์ นพนื้ ทีจ่ ังหวดั อุดรธานี เพ่อื ทบทวนการใช้
ข้อมลู ทางการเงนิ การบญั ชีอยา่ งมอื อาชพี โดยใช้เครือ่ งมอื นวตั กรรม Smart 4M และ MIS ณ หอ้ งประชุม
สํานักงานตรวจบญั ชีสหกรณท์ ่ี 5 อําเภอเมือง จังหวัดอดุ รธานี
38
หนา้ ทคี่ วามรับผดิ ชอบกลุ่มแผนงานและตดิ ตามประเมนิ ผล
กลุ่มแผนงานและตดิ ตามประเมนิ ผล มหี น้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ ดังนี้
มหี นา้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบเกีย่ วกบั การจดั ทาํ แผนยทุ ธศาสตร์ แผนปฏิบตั ิการประจําปี ตดิ ตาม
ประเมนิ ผล แผน/ผล ตวั ชว้ี ัด และผลการปฏิบตั งิ าน ตามท่ีกรมกาํ หนด รวมท้ังการลดความ
เสย่ี งและควบคมุ ภายในที่ดี โดย
1. จัดทาํ แผนปฏบิ ัติราชการประจาํ ปี แผนยทุ ธศาสตร์ โดยบูรณาการร่วมกบั สาํ นักงานตรวจ
บัญชีสหกรณ์จงั หวัด และกลุม่ จงั หวัดในความรบั ผิดชอบ
2. ตดิ ตามประเมนิ ผลแผน/ผลตัวชว้ี ดั งบประมาณการปฏิบัติงานม่งุ ผลสมั ฤทธ์ิ (RBM) และคาํ
รับรองการปฏิบตั งิ าน งานโครงการ การควบคุมภายใน และกิจกรรมตา่ งๆ ตามทก่ี รม
กําหนด
3. ติดตามประเมนิ การปฏบิ ตั ิงาน ด้านกลุ่มวิสาหกิจชมุ ชน กล่มุ ธรุ กจิ รายสนิ คา้ จากกลมุ่ อาชพี
ตา่ งๆ กลมุ่ เป้าหมายตามโครงการพระราชดําริ รวมท้ังโครงการพเิ ศษ
4. ตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของสํานักงานในพืน้ ทีค่ วามรับผิดชอบ ในงานท่มี ี
การบูรณาการรว่ มกับจังหวดั
5. รายงานแผน – ผลการปฏิบตั ิงานในภาพรวมของสํานกั งานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 5 เพอื่ ให้
สามารถแก้ไขปญั หาอปุ สรรคในการปฏบิ ัตงิ านได้ทนั เวลา
6. ปฏิบตั หิ นา้ ท่ตี ามทไ่ี ด้รบั มอบหมายเก่ียวกบั
การจัดทําต้นทนุ ผลติ ตอ่ หน่วยในภาพรวมของ สตท.5
การจดั ทําต้นทุนผลติ ต่อหน่วย การจดั ทํางบประมาณ การจดั ทาํ ตัวชี้วัดรายบคุ คลของ
กลุ่มแผนงานฯ
การตรวจสอบ รวบรวมตวั ช้ีวดั รายบุคคล ตัวชีว้ ัดของสาํ นักงานและตวั ชว้ี ดั ในภาพรวม
ของ สตท.5 รอบ 6 เดอื น และรอบ 12 เดอื น
39
รายงานแผน-ผลการปฏิบตั งิ านของสาํ นักงานตรวจบัญชสี หกรณ์ในพืน้ ท่รี บั ผดิ ชอบ
150 128 แหง่ สหกรณ์
กลุ่มเกษตรกร
102 แห่ง
100 78 แห่ง
46 แหง่
50
23 แหง่
6 แห่ง
0
วางระบบบัญชี สก./ก. ตรวจแนะนาํ การจดั ทําบัญชี ตดิ ตามผลการเสนอเลกิ
แผนภูมแิ สดงจาํ นวนกลุ่มพรอ้ มรับการตรวจสอบ
ภาคเอกชน
27 แหง่
ภาครฐั
122 แห่ง
แผนภมู ิแสดงจํานวนงานประเมินคุณภาพงานสอบบญั ชสี หกรณ์
40
ตรวจสอบมาตรฐาน
ณ ที่ทาํ การสหกรณ์
9 แห่ง
วเิ คราะห์โครงสร้าง
เงินทนุ และความเส่ยี ง
42 แห่ง
แผนภูมิแสดงจํานวนกจิ กรรมการตรวจสอบมาตรฐานการ
ตรวจสอบและรบั รองบญั ชี นายทะเบยี นถอนชอ่ื
ท่ีชําระ
11 แหง่
13 แห่ง
อนุมตั ิ/รบั ทราบ รับรองงบแสดงฐานะ
งบแสดงฐานะการเงนิ การเงิน ณ วนั รบั มอบ
ทผ่ี ูส้ อบบญั ชรี บั รองแลว้
ทรพั ย์สนิ
19 แหง่
102 แหง่
แผนภมู แิ สดงจาํ นวนกิจกรรมงานชาํ ระบัญชี
41
รายงานผลความก้าวหน้าการปฏบิ ัตงิ านโครงการตามนโยบายรัฐและการบรู ณาการ
ประจาํ ปีงบประมาณ 2561
งานสง่ เสริมการจัดทําบัญชรี ายบคุ คล
1. โครงการส่งเสรมิ การจดั ทาํ บัญชีต้นทุนอาชีพแก่เกษตรกร
กจิ กรรม ทง้ั สน้ิ แผนงาน ผลงาน รอ้ ยละ
อบรมครบู ัญชี 417 417 418 100.24
อบรมการจดั ทาํ บญั ชี 12,500 12,500 12,508 100.06
กาํ กบั แนะนาํ การจัดทาํ บัญชี 2,500 2,500 2,500 100.00
ตดิ ตามการจดั ทาํ บญั ชี 2,500 2,500 2,538 101.52
14,000 รอ้ ยละ 100.06
12,000
10,000 รอ้ ยละ 100. รอ้ ยละ 101.52
8,000
6,000 ร้อยละ 100.24
4,000
2,000
0
อบรมครูบัญชี อบรมการจัดทําบญั ชี กาํ กับแนะนําการจดั ทาํ บัญชี ตดิ ตามการจดั ทําบัญชี
แผนงาน ผลงาน
แผนภูมิเปรียบเทยี บกิจกรรมโครงการส่งเสรมิ การจดั ทาํ บญั ชีตน้ ทุนอาชพี แก่เกษตรกร
42
2. โครงการพฒั นาเกษตรกรทีท่ ําบญั ชไี ดใ้ ชบ้ ญั ชเี ปน็
รอ้ ยละ 100 รอ้ ยละ 100 รอ้ ยละ 100
2,000
1,500
1,000
500
0
อบรมบัญชีตน้ ทุน กํากับแนะนาํ การจดั ทาํ บัญชี ติดตามการจดั ทาํ บัญชี
1,950 ราย 1,950 ราย 1,950 ราย
แผนงาน ผลงาน
แผนภมู ิเปรียบเทียบกจิ กรรมโครงการพัฒนาเกษตรกรท่ีทําบญั ชไี ดใ้ ช้บัญชเี ปน็
3. โครงการพฒั นาเกษตรกรใหใ้ ช้ขอ้ มลู ทางบญั ชอี ยา่ งยงั่ ยืน
1,500 รอ้ ยละ 100 ร้อยละ 100 รอ้ ยละ 100
1,000
500
0 อบรมบญั ชีต้นทุน กาํ กับแนะนําการจดั ทาํ บัญชี
ตดิ ตามการจดั ทาํ บัญชี
1,200ราย 1,200ราย 1,200ราย
แผนงาน ผลงาน
แผนภูมิเปรยี บเทยี บกจิ กรรมโครงการพฒั นาเกษตรกรให้ใชข้ อ้ มูลทางบัญชอี ยา่ งยัง่ ยืน
43
4. โครงการระบบส่งเสรมิ แบบแปลงใหญ่
6,000 ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 รอ้ ยละ 100
5,000
4,000 ร้อยละ 100
3,000
2,000
1,000
0
อบรมครูบัญชปี ระจาํ แปลง อบรมเกษตรกร 5,055 ราย กาํ กับแนะนําการจดั ทาํ บัญชี ติดตามการจดั ทําบญั ชี
169 ราย 5,055 ราย
แผนงาน ผลงาน
แผนภูมิเปรยี บเทียบกิจกรรมโครงการระบบสง่ เสรมิ แบบแปลงใหญ่
5. โครงการระบบสง่ เสรมิ การเกษตรแบบทฤษฎใี หม่
15,000 ร้อยละ 100.22 รอ้ ยละ 100.22 รอ้ ยละ 100.22
10,000
5,000 12,121 สก.
0 12,148 สก.
12,121 สก.
12,148 สก.
12,121 สก.
12,148 สก.
ร้อยละ 100
อบรมครบู ัญชีประจําแปลง อบรมเกษตรกร กาํ กบั แนะนาํ การจัดทําบัญชี ติดตามการจดั ทําบัญชี
404 สก.
แผนงาน ผลงาน
แผนภมู ิเปรยี บเทยี บกิจกรรมโครงการระบบสง่ เสรมิ การเกษตรแบบทฤษฎใี หม่
44
6. โครงการบริหารจัดการพน้ื ทเี่ กษตรกรรม รอ้ ยละ 100 รอ้ ยละ 100
ร้อยละ 100
500
400
300
200
100 ร้อยละ 100
0
อบรมครูบัญชี 17 ราย อบรมเกษตรกร 500 ราย กํากับแนะนาํ การจดั ทําบัญชี 500 ราย ติดตามการจัดทาํ บญั ชี 500 ราย
แผนงาน ผลงาน
แผนภูมเิ ปรียบเทยี บกจิ กรรมโครงการบริหารจัดการพนื้ ทเี่ กษตรกรรม
7. โครงการศนู ยเ์ รียนรกู้ ารเพิ่มประสทิ ธิภาพสนิ ค้า
150 รอ้ ยละ 100 รอ้ ยละ 100
100
50
0
พฒั นาฐานเรยี นรู้ด้านบัญชปี ระจําศูนย์ 113 ราย พัฒนาศักยภาพครูบญั ชปี ระจาํ ศูนย์ 113 ราย
แผนงาน ผลงาน
แผนภมู ิเปรียบเทยี บกจิ กรรมโครงการศูนย์เรียนรู้การเพิม่ ประสทิ ธิภาพสนิ ค้า
45
โครงการพระราชดาํ ริ
1. โครงการเดก็ และเยาวชนในถ่นิ ทุรกนั ดารตามพระราชดาํ รฯิ
2,000 1532 คน
1,500 1268 คน
1,000
500 128 คน 32 ร.ร. 32 ร.ร. 152 คน 38 ร.ร. 38 ร.ร.
0
กลุ่มท่ีจัดทําบญุ ชไี มไ่ ด้ กล่มุ ที่จดั ทําบญั ชไี ด้
อบรมให้ความร้แู กน่ ักเรยี น (คน) สอนแนะการจดั ทําบญั ชีต้นกล้า (คน)
กาํ กับแนะนําการจัดทาํ บญั ชี (โรงเรียน) ตดิ ตามการจดั ทําบญั ชี (โรงเรยี น)
แผนภูมิแสดงจํานวนกจิ กรรมโครงการเดก็ และเยาวชนในถิ่นทุรกนั ดารตามพระราชดาํ รฯิ
2. โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ดา้ นบัญชีในพน้ื ท่ีศนู ย์เรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพยี งชุมชน
200 คน 150 คน
200
150
100
50
0 โครงการรกั ษน์ ้ําเพ่ือพระแมข่ องแผน่ ดนิ
โครงการพฒั นาปศุสัตว์ตามพระราชดําริ
อบรมการจดั ทําบัญชตี น้ ทนุ อาชพี กํากบั แนะนาํ การจดั ทําบัญชี ติดตามการจดั ทําบัญชี
แผนภูมแิ สดงจาํ นวนกจิ กรรมโครงการส่งเสรมิ การเรยี นรู้ดา้ นบญั ชีในพ้นื ท่ศี นู ย์เรียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพียงชุมชน จ.เลย
46
3. โครงการพฒั นากลุม่ อาชพี ประชาชนในถ่ินทุรกนั ดาร
250 208 กลมุ่
200
150
100 52 กลุ่ม
50 1 กลุ่ม
0
กลุ่มดําเนนิ ธรุ กิจ กลุ่มไมด่ ําเนินธรุ กิจ
สอนแนะการจดั ทาํ บญั ชีกลุ่มอาชพี ติดตามตรวจเยี่ยมกลมุ่ อาชีพ
แผนภูมิแสดงจํานวนกจิ กรรมโครงการพัฒนากลุ่มอาชีพประชาชนในถิน่ ทรุ กันดาร
4. โครงการศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาอนั เน่อื งมาจากพระราชดาํ รฯิ
400 คน 200 คน
400 กล่มุ จดั ทําบัญชไี ด้
300
200 กาํ กบั แนะนําการจัดทําบญั ชี ตดิ ตามการจัดทาํ บญั ชี
100
0
กลุ่มจดั ทําบัญชไี ม่ได้
อบรมการจดั ทาํ บัญชีต้นทนุ อาชพี
แผนภมู แิ สดงจํานวนกิจกรรมโครงการศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาอนั เน่ืองมาจากพระราชดําริฯ จ.สกลนคร
47