The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ธนกฤต ธนโชติชนิต, 2019-11-06 21:55:26

Region5_Annual_2017

Region5_Annual_2017

คำนำ
Foreword

รายงานประจาปี 2560 ของสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 5 จัดทาขึ้นโดยวัตถุประสงค์
เพ่ือเผยแพร่งานในหน้าที่ และผลการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ ของสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ท่ี 5 ในรอบปีที่
ผ่านมาโดยกล่าวถึงนโยบาย หน้าท่ีความรับผิดชอบ อัตรากาลัง งบประมาณ ผลการปฏิบัติงานปัญหาและ
อุปสรรคในการปฏบิ ตั งิ าน ตลอดจนข้อมลู ทีเ่ ก่ียวข้องกับการดาเนนิ งาน และฐานะทางการเงินของสหกรณ์ และ
กลุ่มเกษตรกรในพน้ื ทีส่ านักงานตรวจบญั ชสี หกรณท์ ี่ 5

สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 5 หวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานประจาปีฉบับนี้จะเป็นประโยชน์
แก่หนว่ ยงานอน่ื ที่เกี่ยวขอ้ ง และผู้สนใจตามสมควร

สานกั งานตรวจบญั ชีสหกรณท์ ่ี 5
ธนั วาคม 2560

1

สำรบัญ
Contents

คานา หน้ำ
ประวัติความเป็นมา 1
จงั หวัดในพน้ื ที่ความรบั ผิดชอบ 4
โครงสร้างการบรหิ าร 7
วสิ ยั ทัศนข์ องกรมตรวจบญั ชสี หกรณ์ 8
คา่ นิยม 9
พันธกจิ 9
ภารกิจตามกฎหมาย 9
ยทุ ธศาสตร์ 10
ผลการดาเนนิ งานตามนโยบายกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2560 10
ภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงินสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร 11
ของจงั หวดั ในพื้นท่สี านักงานตรวจบัญชสี หกรณ์ที่ 5 ปงี บประมาณ 2560
15
มุมมอง 6 มิติ ของสภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน (Camels Analysis) 17

วเิ คราะหค์ วามเสี่ยงภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงินสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร 31
จังหวดั ในพืน้ ท่ีสานักงานตรวจบญั ชสี หกรณท์ ี่ 5 35

ภาพกิจกรรมการดาเนนิ งาน

2

พระบรมรำโชวำท

3

ประวตั ิควำมเป็นมำ
History

ด้วยรัฐบาลได้เล็งเห็นว่า สถาบันเกษตรกรท่ีสาคัญของ
ประเทศ คอื สหกรณ์การเกษตร สหกรณน์ ิคม สหกรณ์ประมง ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรกร และกลุ่มเกษตรกร ทร่ี ัฐให้การอดุ หนุนมาโดย
ตลอดนั้น ยังมีความจาเป็นที่จะต้องให้ ความช่วยเหลือเพ่ือให้
สามารถควบคุมการทางานอย่างมีประสิทธิภาพ อันจะช่วยให้
สามารถดูแลทรัพย์สินและประโยชน์ของสถาบันเกษตรและของ
สมาชิกได้โดยรัดกุมนั้น รวมทั้งดาเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ได้ด้วย
ความเรียบรอ้ ยเป็นประโยชน์แกส่ มาชกิ ดว้ ยความมงุ่ หมาย

กำรพัฒนำสหกรณ์ตำมแผนพัฒนำสหกรณ์กำรเกษตรสมบรู ณแ์ บบ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ได้เสนอโครงกำรสนิ เชือ่ เพือ่ กำรเกษตรของประเทศไทย โดยมีวตั ถปุ ระสงค์สำคญั สรปุ ได้ ดงั น้ี

1. ขยายสมรรถภาพและขีดความสามารถในการให้คาแนะนา และการบริการด้านสินเชื่อแก่
เกษตรกรอยา่ งท่วั ถึง

2. เสริมสรา้ งการดาเนินงานของสถาบันเกษตรกรให้มปี ระสิทธภิ าพยิ่งขน้ึ
โครงการนี้ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีให้กู้เงินจากธนาคารโลก จานวน 19 ล้านเหรียญสหรัฐ

มาดาเนินการได้เม่ือวันที่ 8 มกราคม 2528 การดาเนินงานตามโครงการดังกล่าวประกอบด้วยโครงการย่อย 10
โครงการ ในจานวนนี้มีโครงการปรับปรุงการบริหารการเงินและการบัญชีของสถาบันเกษตรกร ซ่ึงอยู่ในความ
รับผิดชอบของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์รวมอยู่ด้วย โดยให้จัดต้ังสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ขึ้น จังหวัดละ 1
สานักงาน สาหรับระยะแรกของโครงการ (ปีงบประมาณ 2524 - 2526) กาหนดให้จัดตั้งขึ้น 50 สานักงาน
ค่าใช้จ่ายท้ังสิ้น 69.8 ล้านบาท เป็นเงินกู้จากธนาคารโลก 19.5 ล้านบาท (0.97 ล้านเหรียญสหรัฐ) และเงิน
งบประมาณสมทบ 50.3 ล้านบาท ต่อมาได้มีการจัดต้ังสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์เพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ จนถึง
ปจั จบุ ันมอี ยคู่ รบทกุ จังหวดั

เขตตรวจบัญชีที่ 6 ได้จดั ต้ังข้ึนเมื่อปี พ.ศ. 2527 โดยเช่าอาคาร 223 ถนนประชารกั ษา อาเภอเมือง
จังหวัดอดุ รธานี เป็นทท่ี าการสานกั งาน เนื่องจากสถานที่เดมิ คบั แคบ ตอ่ มาไดย้ ้ายสานักงานใหม่ โดยเชา่ อาคาร
เลขท่ี 267/1 ซอยวิจารณรงค์ 1 ถนนอุดรดุษฎี ตาบลหมากแข้ง อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ในปีงบประมาณ
2541 ได้รับจัดสรรงบประมาณก่อสร้างอาคาร ต่อเติมอาคารสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ภูมิภาคท่ี 6 จานวน
เงนิ สองล้านบาทเศษ เสร็จส้นิ ตามสัญญาวนั ที่ 1 มิถุนายน 2541 ปัจจบุ ันสานักงานตั้งอยู่เลขที่ 28/10 ถนนโพ
ศรี ตาบลหมากแขง้ อาเภอเมือง จงั หวดั อดุ รธานี

4

ประวตั ิควำมเป็นมำ
History

ต่อมาเม่ือวันท่ี 1 มีนาคม 2555 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 5 ได้เปลี่ยนแปลงท่ีต้ังสานักงานจาก
จงั หวดั อดุ รธานี มายังจงั หวดั ขอนแกน่ ตั้งอยู่เลขที่ 119/156 ถนนมิตรภาพ ซอยรตั นาภา ตาบลในเมือง อาเภอ
เมือง จังหวัดขอนแก่น ตามคาสั่งกรมตรวจบัญชสี หกรณท์ ี่ 147/2555 ลงวันที่ 24 กมุ ภาพันธ์ 2555 ที่ต้งั เดิมมี
ความคับแคบประกอบกับสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ขอนแก่น มีพ้ืนที่เพียงพอท่ีจะรองรับบุคลากรของ
สานกั งานตรวจบญั ชีสหกรณท์ ่ี 5 รวมทัง้ จังหวัดขอนแกน่ ยังเป็นที่ต้ังของ สว่ นราชการระดับภาค เป็นศนู ยก์ ลาง
ทางเศรษฐกิจ และศนู ย์กลางการคมนาคมอกี ด้วย

ต่อมากรมตรวจบัญชีสหกรณ์ได้เล็งเห็นว่าจังหวัดอุดรธานีเป็นจังหวัดศูนย์กลางในการติดต่อ
ประสานงานของสานักงานตรวจบัญชีสหกรณใ์ นพนื้ ที่ไดส้ ะดวก จึงมคี าสั่งกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ท่ี 382/2556
ณ วันท่ี 30 พฤษภาคม 2556 ใหย้ ้ายทตี่ ั้งสานักงานของสานักงานตรวจบญั ชีสหกรณท์ ี่ 5 จากจังหวัดขอนแก่น
มายังจังหวัดอุดรธานี ในวันท่ี 1 สิงหาคม 2556 โดยปัจจุบันสานักงานตั้งอยู่เลขท่ี 28/10 ถนนโพศรี ตาบล
หมากแขง้ อาเภอเมอื ง จงั หวัดอุดรธานี

5

สถำนท่ีต้ัง
Location

สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณท์ ี่ 5

ที่อยู่ : 28/10 ถนนโพศรี ตำบลหมำกแข้ง อำเภอเมือง จงั หวดั อดุ รธำนี 41000
โทรศัพท์ : 042-244829 โทรสำร : 042-221033
e-mail : [email protected]

6

พ้นื ทคี่ วำมรบั ผดิ ชอบ

Area of responsibility

จงั หวดั ในพื้นทค่ี วำมรับผดิ ชอบ

สำนกั งำนตรวจบัญชสี หกรณท์ ี่ 5 มีพืน้ ท่ีรบั ผิดชอบครอบคลุม 8 จงั หวดั ภำคอสี ำน คือ

1. ขอนแกน่ 2. นครพนม

3. สกลนคร 4. หนองบวั ลำภู

5. เลย 6. หนองคำย

7. อุดรธำนี 8. บงึ กำฬ

7

โครงสร้ำงกำรบริหำร
Strวuำcมtuรrับeผิดชอบ
responsibility

8

วิสัยทศั น์ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์

"ภายในปี 2564 สหกรณ์และเกษตรกร
มรี ะบบบริหารจดั การด้านการเงนิ การบญั ชที ่ีมีคุณภาพ นา่ เชือ่ ถือ”

"By the Year 2021, the Accounting and Financial Management
Conducts of Cooperatives and Farmers will be of good quality and reliable.

ค่ำนยิ ม

1. มจี ติ ม่งุ บริการ (service Mind)
2. งานสมั ฤทธิ์ผลและมคี ุณภาพ (Quality and Result Orientation)
3. ยดึ ม่นั ในส่งิ ทถ่ี กู ตอ้ ง (Moral Courage)

พนั ธกิจ

1. ตรวจสอบบญั ชีสหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกร
2. พัฒนาระบบบญั ชีและการสอบบญั ชีใหเ้ ป็นมาตรฐานและสอดคลอ้ งกบั การดาเนนิ ธรุ กจิ ของ

สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร
3. พฒั นาระบบการกากับดูแลผสู้ อบบญั ชีและสหกรณ์ที่สอบบัญชีโดยผ้สู อบบัญชภี าคเอกชน
4. พฒั นาระบบการตรวจสอบกิจการและสมรรถนะของผู้ตรวจสอบกิจการ
5. ให้คาปรึกษาแนะนาและพัฒนาประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การการเงนิ การบญั ชแี ก่

คณะกรรมการ และฝ่ายจดั การของสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
6. พฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศและรายงานภาวะเศรษฐกิจทางการเงนิ ของสหกรณ์และ

กลุ่มเกษตรกร
7. เสริมสร้างความรแู้ ละสง่ เสริมการจดั ทาบญั ชีแกส่ มาชิกสหกรณ์ กลุม่ เกษตรกร กล่มุ อาชพี

วิสาหกิจชมุ ชน กลุ่มเปา้ หมายตามโครงการพระราชดาริ เกษตรกร และกลมุ่ เป้าหมาย

9

ภำรกิจตำมกฎหมำย/ยทุ ธศำสตร์
Requirement Duty/
Strategies

ภำรกิจตำมกฎหมำย

1. ดาเนินการตรวจสอบบญั ชีสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรตามกฎหมายวา่ ดว้ ยสหกรณ์และกฎหมาย
อื่นที่เกีย่ วข้อง

2. กาหนดระบบบญั ชแี ละมาตรฐานการสอบบญั ชีใหเ้ หมาะสมกับธรุ กิจของสหกรณแ์ ละ
กลมุ่ เกษตรกร

3. ให้คาปรึกษาแนะนาและให้ความรดู้ า้ นการบรหิ ารการเงินและการบญั ชแี ก่คณะกรรมการและ
สมาชิกของสหกรณ์ กลมุ่ เกษตรกรและบุคลากรเครอื ข่าย

4. ถา่ ยทอดความร้แู ละส่งเสรมิ การจัดทาบัญชใี ห้แก่สหกรณ์ กล่มุ เกษตรกร กล่มุ อาชีพ
วิสาหกจิ ชุมชน กล่มุ เป้าหมายตามโครงการพระราชดาริ เกษตรกรและประชาชนทวั่ ไป

5. กากบั ดูแลการสอบบญั ชสี หกรณโ์ ดยผ้สู อบบัญชีภาคเอกชน
6. จัดทารายงาภาวะเศรษฐกจิ ของสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร เพือ่ เปน็ พืน้ ฐานในการกาหนด

นโยบายและแผนพฒั นาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
7. ปฏบิ ตั หิ น้าทต่ี ามกฎหมายกาหนดใหเ้ ปน็ อานาจหนา้ ทขี่ องกรมตรวจบัญชสี หกรณห์ รอื ตามท่ี

กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรมี อบหมาย

ยทุ ธศำสตร์

1. พฒั นาประสิทธิภาพการตรวจสอบบัญชีสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร
2. สง่ เสรมิ และพัฒนาการบรหิ ารจดั การด้านการเงินการบัญชีและการตรวจสอบกจิ การของสหกรณ์

และกลุม่ เกษตรกร
3. พฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศและการบรหิ ารจดั การองคก์ ร
4. เสรมิ สรา้ งองคค์ วามรู้ และขดี ความสามารถในการจัดทาบัญชแี ก่ วสิ าหกิจชมุ ชน เกษตรกร

เยาวชนและประชาชนกลุ่มเปา้ หมาย

10

ผลกำรดำเนนิ งำนตำมนโยบำยกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
ปีงบประมำณ 2560

ปริมำณงำนในพน้ื ทีร่ บั ผดิ ชอบ

จานวนสหกรณ์ตามทะเบียน ทงั้ สน้ิ 720 สหกรณ์ 555 กลุม่

จานวนทีไ่ มต่ ้องตรวจสอบ ท้งั สิน้ 488 สหกรณ์ 551 กลุ่ม

จานวนทตี่ ้องตรวจสอบ โดย

ภาคเอกชน ทง้ั สิ้น 40 สหกรณ์

ภาครัฐ

- พรอ้ มตรวจสอบ จานวน 232 สหกรณ์ 4 กลุ่ม

- ไม่พร้อมตรวจสอบ จานวน 396 สหกรณ์ 453 กลมุ่

- จดั ตง้ั ใหม่ จานวน 44 สหกรณ์ 36 กลุ่ม

- ไมว่ างแผนตรวจสอบ จานวน 44 สหกรณ์ 59 กลมุ่

ท้ังสน้ิ 716 สหกรณ์ 552 กลมุ่

ผลผลิตท่ี 1 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรไดร้ ับกำรตรวจสอบบัญชี

- งานสอบบญั ชีระหวา่ งปี ท้ังสิ้น 231 สหกรณ์

- งานสอบบญั ชีประจาปี ทั้งสน้ิ 223 สหกรณ์ 4 กลมุ่

- ประชุม 3 ฝ่าย ทง้ั สิ้น 363 สหกรณ์ 431 กลุ่ม

- งานสอนแนะ/อบรม ท้งั สน้ิ 364 สหกรณ์ 424 กลมุ่

- งานวางรปู บญั ชี ทงั้ สิ้น 46 สหกรณ์ 38 กลมุ่

- ติดตามความเคล่ือนไหว ทง้ั สิ้น 42 สหกรณ์ 59 กลุ่ม

- งานกากับสหกรณภ์ าคเอกชน ทั้งสนิ้ 10 สหกรณ์

- การเพมิ่ ประสิทธภิ าพการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีสหกรณ์ด้วยระบบกระดาษทาการ

อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (ELECTRONIC WORKING PAPER : EWP) ทั้งสิ้น 108 สหกรณ์

- ประเมนิ มาตรฐานสานักงาน ทั้งสิ้น 8 สานักงาน

- ประเมินคุณภาพการปฏบิ ัติงานของผ้สู อบบญั ชี ทง้ั สิน้ 122 ราย

- การพสิ ูจน์ความมีอยู่จริงของลูกหนี้ หุน้ และเงินรับฝาก ทั้งสิ้น 56,100 ราย

- การวเิ คราะห์ข้อมูลการทาธรุ กรรมเชิงลึกของสหกรณ์ ทั้งสิ้น 232 สหกรณ์

- การใช้ CATS/ACL ช่วยตรวจสอบ ท้ังสน้ิ 133 สหกรณ์

- การวางระบบบญั ชดี ว้ ยโปรแกรมระบบบญั ชี ทง้ั สน้ิ 7 สหกรณ์

ครบวงจร (FAS)

- สถานการณ์ใชโ้ ปรแกรมของระบบทสี่ อนแนะเพ่ิมเติม ทั้งสนิ้ 7 สหกรณ์

และแก้ไขปัญหาการใชง้ านขน้ั พน้ื ฐาน

- สหกรณ์ที่มสี ถานะปรับเปล่ียนอย่างน้อย 1 ระบบ ทั้งสิ้น 6 สหกรณ์

11

ผลกำรดำเนินงำนตำมนโยบำยกรมตรวจบัญชสี หกรณ์
ปีงบประมำณ 2560

ผลผลติ ที่ 2 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับกำรพัฒนำควำมรู้ด้ำนกำรบรหิ ำรจัดกำรทำงกำรเงิน
กำรบัญชี โครงกำรเสรมิ สร้ำงควำมเข้มแขง็ และเปน็ อิสระใหก้ บั สหกรณ์

โครงการส่งเสริมความรู้ความเขา้ ใจเศรษฐกจิ การเงินข้ันพนื้ ฐานแกส่ มาชกิ สหกรณ์

- อบรมให้ความรู้แกส่ มาชิกสหกรณ์ ทั้งสิ้น 64 สหกรณ์ 1,965 คน

โครงการเสริมสรา้ งความรู้พื้นฐานดา้ นการเงินการบัญชีแก่เกษตรกร

- อบรมคณะกรรมการดาเนนิ การ ทั้งสน้ิ 40 สหกรณ์ 80 คน

- อบรมผรู้ ับผิดชอบจัดทาบัญชี ทั้งสน้ิ 40 สหกรณ์ 40 คน

โครงการสรา้ งความเข้มแข็งการจัดทาบญั ชีและงบการเงนิ แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

- อบรมผู้รบั ผดิ ชอบจัดทาบัญชี ท้ังส้ิน 135 สหกรณ์

1. กล่มุ พร้อมใช้ IT ทง้ั สิ้น 11 สหกรณ์ 11 คน

2. กลุม่ ไมพ่ ร้อมใช้ IT ทง้ั สิ้น 124 สหกรณ์ 124 คน

- กากับแนะนาสหกรณ์ละ 3 คร้ัง ทั้งสิน้ 405 ครง้ั 405 สหกรณ์

โครงการยกระดับชัน้ การควบคมุ ภายในแก่สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร

- อบรมคณะกรรมการดาเนนิ การ ท้งั สิ้น 100 สหกรณ์ 100 คน

- อบรมผรู้ ับผิดชอบจัดทาบัญชี ทั้งสน้ิ 100 สหกรณ์ 100 คน

โครงการเพิ่มประสทิ ธิภาพการกากบั ดูแลฝา่ ยจัดการ

- อบรมคณะกรรมการ ทั้งสิน้ 30 สหกรณ์ 30 คน

โครงการเพ่ิมศักยภาพการใชข้ อ้ มลู ทางการเงนิ การบัญชีเพ่ือการบริหารสหกรณ์

- อบรมการใช้สารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจ สาหรับผูบ้ ริหารแก่คณะกรรมการ

ท้ังสน้ิ 30 สหกรณ์ 30 คน

โครงการพัฒนาวสิ าหกจิ ชุมชน (ใหม่)

- วางรปู แบบบญั ชีและระบบการควบคุมภายใน ทั้งสิน้ 47 แห่ง

- สอนแนะนาการจดั ทาบัญช/ี งบการเงิน ทั้งสน้ิ 47 แห่ง 188 ครั้ง

กล่มุ วิสาหกิจชุมชนกลุม่ ติดตามตอ่ เนื่อง (ปี 2548 – 2559)

- ติดตามและสอนแนะการจัดทาบัญชีและงบการเงิน ทง้ั สิน้ 21 แห่ง 84 ครั้ง

- ติดตามและสอนแนะการใช้ข้อมูลทางการเงินและการบญั ชี

ทง้ั สนิ้ 13 แหง่ 52 ครงั้

12

ผลกำรดำเนนิ งำนตำมนโยบำยกรมตรวจบัญชสี หกรณ์
ปงี บประมำณ 2560

ผลผลิต 3 เกษตรกรไดร้ บั กำรส่งเสริมและพัฒนำศักยภำพ

โครงการพฒั นาภูมิปัญญาทางบญั ชสี บู่ ัญชีต้นทุนอาชีพ

- อบรม/ซกั ซ้อมครบู ัญชี ทั้งส้นิ 755 คน

- อบรมการจัดทาบญั ชีตน้ ทุนอาชพี ทง้ั สน้ิ 28,521 คน

- กากับแนะนาการจัดทาบญั ชี ทั้งสิ้น 5,982 คน

- ติดตามการจัดทาบัญชี ทั้งสิ้น 5,190 คน

โครงการพัฒนาเกษตรกรทที่ าบญั ชไี ด้ใชบ้ ัญชีเปน็

- อบรมการใชข้ ้อมูลทางบัญชีในการประกอบอาชพี ทง้ั ส้ิน 1,930 คน

- กากบั แนะนาการจัดทาบญั ชี ทัง้ สน้ิ 1,930 คน

- ตดิ ตามการจัดทาบัญชี ทั้งสนิ้ 1,930 คน

โครงการพฒั นาเกษตรกรให้ใช้ข้อมลู ทางบญั ชอี ยา่ งยั่งยนื

- อบรมเพ่มิ ศกั ยภาพในการประกอบอาชีพแก่เกษตรกร ท้ังสิ้น 1,100 คน

- กากบั แนะนาการจดั ทาบัญชี ทงั้ ส้นิ 1,100 คน

- ติดตาม/เก็บข้อมลู การจัดทาบญั ชี ทั้งสิน้ 1,100 คน

โครงการพัฒนาเดก็ และเยาวชนในถนิ่ ทุรกนั ดารฯ

กลุม่ ที่ 1 จัดทาบัญชสี หกรณ์นกั เรียนไม่ได้

- อบรมการจัดทาบัญชสี หกรณโ์ รงเรยี น ท้งั สิ้น 70 โรงเรียน 280 คน

- กากบั แนะนาการจัดทาบญั ชี ทั้งส้ิน 70 โรงเรียน 280 คน

- ติดตามการจัดทาบัญชี ทง้ั สน้ิ 70 โรงเรียน 280 คน

โครงการพัฒนากลุ่มอาชพี ประชาชนฯ

1. กลุ่มดาเนินธรุ กจิ

- สอนแนะนาการจดั ทาบัญชีแก่คณะกรรมการ/ผู้ทาบญั ชีกลมุ่ อาชพี

ท้งั สิ้น 23 กลมุ่ 51 คน 92 ครงั้

2. กล่มุ ไม่ดาเนินธรุ กิจ : ต้องดูแล

- เขา้ ติดตามตรวจเยีย่ มกลุ่มอาชีพ ท้ังส้นิ 1 กลุม่ 1 คน

13

ผลกำรดำเนนิ งำนตำมนโยบำยกรมตรวจบัญชสี หกรณ์
ปงี บประมำณ 2560

โครงการส่งเสรมิ การเรยี นรดู้ ้านบัญชีในพ้นื ที่ศนู ยเ์ รยี นร้เู ศรษฐกิจพอเพียงชุมชน

1. พืน้ ท่ศี ูนยเ์ รยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพยี งชมุ ชน

- อบรม/สอนแนะการจดั ทาบัญชี ท้งั ส้ิน 644 คน

- กากบั แนะนาการจดั ทาบญั ชี ทั้งสน้ิ 644 คน

- ติดตามการจัดทาบัญชี ทั้งสน้ิ 644 คน

2. พ้นื ท่ีโครงการบรู ณาการตามพระราชดาริ (จังหวดั เลย)

- อบรมการจดั ทาบญั ชีตน้ ทุนอาชีพ ทง้ั สน้ิ 350 คน

- กากบั แนะนาการทาบญั ชี ทงั้ สิ้น 350 คน

- ตดิ ตามการจัดทาบัญชี ทงั้ สิ้น 350 คน

โครงการศิลปาชพี

- อบรมการจดั ทาบัญชีต้นทุนอาชพี ทัง้ สน้ิ 980 คน

- กากับแนะนาการจัดทาบญั ชี ทั้งสน้ิ 980 คน

- ติดตาม/เกบ็ ข้อมูลการจดั ทาบัญชี ทง้ั สน้ิ 980 คน

โครงการศนู ย์ศึกษาการพฒั นาฯ

- อบรมการจัดทาบัญชี ทง้ั สน้ิ 600 คน

- กากับแนะนาการจัดทาบญั ชี ทั้งสิ้น 600 คน

- ติดตามการจดั ทาบัญชี ทง้ั ส้นิ 600 คน

โครงการคลินกิ เกษตรเคลอื่ นท่ี

- จัดนทิ รรศการคลินิกเกษตรเคลอื่ นท่ี ทง้ั สน้ิ 32 ครงั้ 614 คน

- ร่วมจัดนทิ รรศการจงั หวดั เคลอื่ นที่ ท้งั ส้ิน 96 ครง้ั 2,673 คน

งำนขับเคล่อื นนโยบำยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่

- อบรมครบู ญั ชีประจาแปลง ทั้งสิ้น 98 คน

- อบรมการจัดทาบัญชีตน้ ทุนอาชีพ ทั้งสิ้น 2,918 คน

- กากบั แนะนาการจดั ทาบัญชี ทง้ั สน้ิ 2,918 คน

- ติดตามการจดั ทาบัญชี ทั้งสน้ิ 2,918 คน

โครงการศนู ยเ์ รียนรู้การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการผลติ สินค้าเกษตร

- พฒั นาฐานเรียนรดู้ า้ นบญั ชปี ระจาศนู ย์ ท้ังสิ้น 113 ศนู ย์

- พัฒนาศกั ยภาพครูบัญชปี ระจาศนู ยเ์ รยี นรู้ ทั้งสนิ้ 226 ศนู ย์

- การใหบ้ ริการความรู้การจดั ทาบญั ชแี ก่เกษตรกรเปา้ หมาย ทง้ั สิ้น 16,823 คน

14

ภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงินสหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกร
ของจังหวดั ในพน้ื ทีส่ ำนักงำนตรวจบัญชสี หกรณ์ท่ี 5

ปีงบประมำณ 2560

ในปัจจุบันสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในสานักงานตรวจบัญชีสหกรณท์ ี่ 5 ซึ่งประกอบด้วยจังหวัดต่าง

ๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน จานวน 8 จังหวัด คือ อุดรธานี ขอนแก่น เลย นครพนม สกลนคร

หนองคาย หนองบัวลาภู และบึงกาฬ ในปีงบประมาณ 2560 ได้ทาการรวบรวมข้อมูล ณ วันท่ี 30 กันยายน

2560 ของสหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกรท่ีสอบบัญชีไดจ้ านวน 1,000 แห่ง แยกเปน็ ภาคการเกษตร 809 แหง่ และ

นอกภาคการเกษตร 191 แห่ง ภายใต้การรวมตัวของสมาชิก 1,262,361 ราย แยกเป็นภาคการเกษตร

993,800 ราย และนอกภาคการเกษตร 268,561 ราย

ตารางแสดงจานวนสมาชิกสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร

ประเภทสหกรณ์ จำนวนสถำบนั / แหง่ จำนวนสมำชกิ / คน รอ้ ยละ

สหกรณ์การเกษตร 426 935,419 74.10
สหกรณ์ประมง
2 486 0.04

สหกรณ์นคิ ม 2 5,957 0.47

กลมุ่ เกษตรกร 379 51,938 4.11

รวมภำคกำรเกษตร 809 993,800 78.72

สหกรณอ์ อมทรัพย์ 84 170,941 13.54

สหกรณร์ า้ นคา้ 11 12,473 0.99

สหกรณ์บริการ 50 13,235 1.05

สหกรณ์เครดติ ยเู น่ียน 46 71,912 5.70

นอกภำคกำรเกษตร 191 268,561 21.28

รวมท้ังส้ิน 1,000 1,262,361 100.00

แผนภมู ิแสดงจานวนสมาชกิ สหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร

สหกรณร์ ำ้ นค้ำ, สหกรณ์บริกำร, สหกรณเ์ ครดติ ยูเน่ียน,
12,473 , 0.99% 13,235 , 1.05% 71,912 , 5.70%

สหกรณ์ออมทรพั ย,์ สหกรณ์กำรเกษตร,
170,941 , 13.54% 935,419 , 74.10%

กล่มุ เกษตรกร,
51,938 , 41.11%

สหกรณน์ ิคม, 5,957
, 0.47%

สหกรณ์ประมง, 486
, 0.04%

จานวนสมาชกิ (หน่วย : ราย ) สหกรณน์ คิ ม
สหกรณก์ ารเกษตร สหกรณ์ประมง สหกรณ์บรกิ าร กล่มุ เกษตรกร
สหกรณ์เครดติ ยูเนย่ี น
สหกรณอ์ อมทรพั ย์ สหกรณร์ า้ นค้า

15

ภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงินสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
ของจังหวดั ในพ้นื ทีส่ ำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณท์ ่ี 5

ปีงบประมำณ 2560

ตำรำงแสดงจำนวนสมำชกิ สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร (รำยจังหวัด)

จังหวัด จำนวนสถำบนั / แหง่ จำนวนสมำชกิ / คน ร้อยละ

อุดรธานี 123 186,255 14.75
27.30
ขอนแก่น 235 344,563 9.80
9.32
เลย 75 123,720 16.72
8.97
นครพนม 200 117,709 6.54
6.60
สกลนคร 167 211,095
100.00
หนองคาย 79 113,229

หนองบวั ลาภู 56 82,485

บงึ กาฬ 65 83,305

รวมทัง้ สิ้น 1,000 1,262,361

แผนภูมแิ สดงจานวนสมาชกิ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (รายจงั หวดั )

หนองบวั ลำภ,ู 82,485 บึงกำฬ, 83,305 , อดุ รธำนี, 186,255 ,
, 6.54% 6.60% 14.75%

หนองคำย, 113,229 ,
8.97%

สกลนคร, 211,095 ,
16.72%

นครพนม, 117,709 , เลย, 123,720 , ขอนแกน่ , 344,563 ,
9.32% 9.80% 27.30%

จานวนสมาชิก (หน่วย : ราย) หนองบัวลาภู บึงกาฬ

อุดรธานี ขอนแก่น เลย นครพนม สกลนคร หนองคาย

16

มมุ มอง 6 มติ ิ ของสภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงิน
(Camels Analysis)

มติ ทิ ่ี 1 ควำมเพียงพอของเงนิ ทนุ ตอ่ ควำมเส่ยี ง (Capital Strength)

สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจานวน 1,000 แห่ง มีทุนดาเนินงาน จานวน 197,559.75 ล้านบาท แยก
เป็นภาคการเกษตร จานวน 25,692.50 ล้านบาท และนอกภาคการเกษตร จานวน 171,867.25 ล้านบาท
ประกอบด้วยทุนภายในซึ่งเป็นทุนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 76,102.56 ล้านบาท และเงินรับฝาก ของ
สมาชิก 26,178.04 ล้านบาท รวมทุนภายใน 102,280.60 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 51.77 ของทุนดาเนินงาน
ท้ังสิ้น และได้มาจากแหล่งเงินทุนภายนอก จานวน 95,279.15 ล้านบาท ประกอบด้วย เงินกู้ยืม 85,136.60
ล้านบาท เงินรับฝากอ่ืน 7,743.80 ล้านบาท เครดิตทางการค้า 240.35 ล้านบาท และอื่นๆ 2,158.40 ล้าน
บาท รวมทุนภายนอก 95,279.15 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 48.23 ของทุนดาเนินงานท้งั ส้ิน เมื่อพิจารณา
อตั ราส่วนหนีส้ ินต่อทุน พบว่าสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน 1.60 เท่า ปีก่อน 1.43 เท่า
ประกอบกับอัตราส่วนทุนสารองต่อสินทรัพย์ 0.04 เท่า เท่ากับปีก่อน และมีผลตอบแทนต่อส่วนทุน ร้อยละ
8.72 ปีก่อนร้อยละ 7.74 แสดงให้เห็นถึงทุนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสามารถสร้างผลตอบแทนได้สูงข้ึน
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเร่ิมมีเงินทนุ เพิ่มขึน้ เพื่อรองรับกับความเสย่ี งทอ่ี าจจะเกิดข้ึน ท้งั น้ีตอ้ งพิจารณาปัจจัย
อน่ื เสรมิ ด้วย

ตารางแสดงทนุ ดาเนินงานของสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร (หน่วย : ลา้ นบาท)

ทุนภายใน ทุนภายนอก

ประเภทสหกรณ์/ เงนิ รับ ทุนของ รวมทนุ เงนิ รับ เครดิต เงินก้ยู ืม อนื่ ๆ รวมทุน รวมทนุ
กลุม่ เกษตรกร ฝาก สหกรณ์ ภายใน ฝากอนื่ ทาง ภายนอก
สมาชกิ การค้า 25,226.29
สหกรณ์การเกษตร 13,444.16 3.95
4,637.18 7,144.95 11,782.13 1,399.53 237.03 10,687.67 1,119.93 1.71
สหกรณ์ประมง 285.89
0.25 1.99 2.24 - - 1.70 0.01 198.77 176.37
สหกรณน์ คิ ม 93.90
21.37 65.75 87.12 9.51 0.08 179.26 9.92 25,692.50
กลุ่มเกษตรกร 13,738.54 167,845.03
รวมภำค 2.07 80.40 82.47 0.03 0.63 67.67 25.57 79,768.70
กำรเกษตร 39.69
4,660.87 7,293.09 11,953.96 1,409.07 237.74 10,936.30 1,155.43 9.00 981.46
สหกรณอ์ อมทรพั ย์ 20,797.34 67,278.99 88,076.33 5,619.97 - 73,239.61 909.12 805.06 3,001.07
4.89
สหกรณร์ ้านคา้ 0.09 30.60 30.69 - 0.47 3.64 57.16 957.85 171,867.25
59.54 116.86 176.40 522.12 2.14 223.64 197,559.75
สหกรณ์บริการ 81,540.61
660.20 1,383.02 2,043.22 192.64 - 733.41 31.80 95,279.15
สหกรณเ์ ครดติ ยู
เน่ียน 21,517.17 68,809.47 90,326.64 6,334.73 2.61 74,200.30 1,002.97
26,178.04 76,102.56 102,280.60 7,743.80 240.35 85,136.60 2,158.40
รวมนอกภำค
กำรเกษตร

รวมทัง้ สนิ้

17

มุมมอง 6 มิติ ของสภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงิน
(Camels Analysis)

แผนภมู แิ สดงทุนดาเนินงานของสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร

จานวนเงิน (หนว่ ย:ลา้ นบาท)
200,000.00

150,000.00 รวมท้งั สิ้น
100,000.00 รวมนอกภาคการเกษตร
50,000.00 รวมภาคการเกษตร

- ทุน รวมทนุ
ทนุ ภายใน ภายนอก
13,738.54 25,692.50
รวมภาคการเกษตร 11,953.96 171,867.25
81,540.61 197,559.75
รวมนอกภาคการเกษตร 90,326.64
95,279.15
รวมทง้ั สิน้ 102,280.60

ตารางแสดงทนุ ดาเนนิ งานของสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร (รายจงั หวดั ) (หน่วย : ล้านบาท)

ทุนภำยใน ทุนภำยนอก

จงั หวดั เงินรับฝำก ทนุ ของ รวมทุน เงินรบั เครดิต อ่ืน ๆ รวมทุน รวมทนุ
สมำชกิ สหกรณ์ ภำยใน ฝำกอื่น ทำง เงินกู้ยืม ภำยนอก
อุดรธานี กำรคำ้ 18,369.39
ขอนแก่น 3,410.03 9,086.73 12,496.76 233.56 5,872.63 53,878.98
เลย 7,064.50 22,398.36 29,462.86 1,711.27 21.33 5,366.77 250.97 24,416.13 31,781.26
นครพนม 5,420.94 8,387.87 13,808.81 1,588.27 17,972.45 14,408.56
สกลนคร 1,937.74 5,716.85 7,654.59 1,703.50 64.71 22,155.63 484.51 6,753.97 53,315.34
หนองคาย 5,433.45 20,451.81 25,885.26 1,351.43 27,430.08 13,175.30
หนองบัวลาภู 2,000.26 5,854.99 7,855.25 9.18 16,066.27 308.74 5,320.05 10,389.38
บึงกาฬ 3,570.17 4,259.86 864.31 6,129.51 2,241.54
รวมทั้งสิ้น 689.69 75.42 16.86 4,887.70 145.91 1,384.33 197,559.75
221.43 635.78 857.21 216.04 95,279.15
26,178.04 76,102.56 102,280.60 7,743.80 84.36 25,563.05 431.23

20.57 4,335.10 100.07

18.20 5,634.18 401.72

5.14 1,127.90 35.25

240.35 85,136.60 2,158.40

18

มุมมอง 6 มิติ ของสภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงิน
(Camels Analysis)

แผนภูมิแสดงทุนดาเนินงานของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร (รายจงั หวดั )

หน่วย : ลา้ นบาท

200,000.00
150,000.00
100,000.00
50,000.00
-

ทนุ ภายใน ทุนภายนอก รวมทนุ

19

มมุ มอง 6 มิติ ของสภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงิน
(Camels Analysis)

มิตทิ ่ี 2 คุณภำพสินทรพั ย์ (Asset Quality)

สินทรัพย์ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประกอบด้วย เงินสด/เงินฝากธนาคารและสหกรณ์อ่ืน
10,501.09 ล้านบาท หรอื รอ้ ยละ 5.31 ลงทุนในลูกหน้ี 182,121.75 ล้านบาท หรอื ร้อยละ 92.19 ที่ดนิ อาคาร
อปุ กรณ์และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน 2,188.82 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.11 ลงทุนในสินคา้ 566.45 ล้านบาท หรือ
ร้อยละ 0.29 ลงทุนในหลักทรัพย์ 773.05 ล้านบาท หรือรอ้ ยละ 0.39 ดอกเบี้ยคา้ งรับ 902.41 ล้านบาท หรือ
ร้อยละ 0.46 และสินทรัพย์อ่ืน 506.07 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.25 สินทรัพย์ส่วนใหญ่เป็นลูกหน้ีสูงสุด หรือ
รอ้ ยละ 92.13 ของสินทรัพย์ทงั้ สิ้น ซ่ึงมลี ูกหนี้ผิดนัดชาระหนี้ ร้อยละ 37.95 ของหนี้ถึงกาหนดชาระ แยกเป็น
ภาคการเกษตร ร้อยละ 36.95 นอกภาคการเกษตร ร้อยละ 1.00 สหกรณ์และกล่มุ เกษตรกรต้องให้ความสาคัญ
กบั การบริหารลูกหนเ้ี ป็นหลัก ในระหวา่ งปีสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรมีรายได้จากการดาเนินธุรกิจหลักจานวน
23,910.86 ลา้ นบาท มีอัตราหมุนของสินทรัพย์ 0.13 รอบ เท่ากับปีกอ่ น แมว้ ่าอัตราการหมุนของสินทรัพย์จะ
คงท่ี แต่ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์เพิ่มข้ึนจากเดิมร้อยละ 3.16 เป็นร้อยละ 3.47 แสดงให้เห็นถึงความสามารถ
ในการทากาไรจากสินทรัพย์เพิ่มข้ึน ซึ่งหมายความว่าสินทรัพย์ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทุก ๆ 100 บาท
สามารถกอ่ ให้เกดิ ผลตอบแทนในรปู ของกาไร จานวน 3.47 บาท

ตำรำงแสดงกำรใชส้ ินทรพั ย์ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (หน่วย:ลำ้ นบำท)

เงนิ สดเงนิ ทดี่ ิน

ประเภทสหกรณ/์ ฝำก เงนิ ลงทุน เงินให้ ดอกเบ้ีย อปุ กรณ์ รวม
กล่มุ เกษตรกร ธนำคำร ใน กู้ยมื ค้ำงรบั สินทรพั ย์
และฝำก หลกั ทรัพย์ ลูกหน้อี น่ื สินคำ้ และ อืน่ ๆ
สหกรณก์ ารเกษตร สินทรัพย์ 25,226.29
สหกรณ์ประมง 3.95
สหกรณ์นิคม สหกรณ์อน่ื ไม่มี
กล่มุ เกษตรกร 285.88
รวมภำคกำรเกษตร ตวั ตน 176.35
สหกรณ์ออมทรพั ย์ 25,692.47
สหกรณร์ ้านค้า 3,298.83 61.90 17,608.25 1,258.19 773.16 529.89 1,397.78 298.29 167,844.95
สหกรณบ์ ริการ 39.69
สหกรณเ์ ครดติ ยูเนยี่ น 1.12 0.01 2.77 - 0.04 - - 0.01 981.46
นอกภำคกำรเกษตร 3,001.07
44.97 0.25 193.98 10.35 4.10 4.79 23.52 3.92 171,867.17
รวมทง้ั ส้นิ 197,559.64
80.09 0.04 69.08 8.73 2.45 5.77 8.24 1.95

3,425.01 62.20 17,874.08 1,277.27 779.75 540.45 1,429.54 304.17

6,722.47 596.04 158,791.18 1,124.62 48.91 - 465.24 96.49

13.21 0.03 - 12.60 - 7.66 5.36 0.83

66.12 2.21 268.18 573.74 1.80 16.52 14.74 38.15

274.28 112.57 2,121.09 78.99 71.95 1.82 273.94 66.43

7,076.08 710.85 161,180.45 1,789.95 122.66 26.00 759.28 201.90

10,501.09 773.05 179,054.53 3,067.22 902.41 566.45 2,188.82 506.07

20

มุมมอง 6 มติ ิ ของสภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงิน
(Camels Analysis)

แผนภมู ิแสดงการใชส้ ินทรัพยข์ องสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

จานวนเงนิ (หนว่ ย:ลา้ นบาท)

200,000.00
150,000.00
100,000.00
50,000.00

-

รวมภาคการเกษตร
นอกภาคการเกษตร
รวมทัง้ ส่ิน

ตารางแสดงการใช้สนิ ทรัพย์ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรรายจงั หวัด (หน่วย : ล้านบาท)

จงั หวัด ภำคเกษตร นอกภำคเกษตร รวมท้งั สน้ิ

อุดรธานี 4,686.04 13,683.35 18,369.39
ขอนแก่น 9,884.48 43,994.50 53,878.98
เลย 2,438.84 29,342.33 31,781.17
นครพนม 1,123.59 13,284.97 14,408.56
สกลนคร 4,758.99 48,556.36 53,315.35
หนองคาย 1,116.21 12,059.06 13,175.27
หนองบัวลาภู 1,055.49 9,333.89 10,389.38
บึงกาฬ 1,612.70 2,241.54
628.84 171,867.16 197,559.64
รวมทั้งสน้ิ 25,692.48

21

มุมมอง 6 มิติ ของสภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงิน
(Camels Analysis)

แผนภูมแิ สดงกำรใช้สนิ ทรพั ยข์ องสหกรณ์และกลมุ่ เกษตร

200,000.00
150,000.00
100,000.00
50,000.00

-

ภำคเกษตร นอกภำคเกษตร รวมท้ังส้นิ

ตารางแสดงการใชส้ ินทรพั ย์ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรรายจงั หวดั (หน่วย : ลา้ นบาท)

เงนิ สดเงิน ทด่ี ิน

จังหวัด ฝำก เงินลงทนุ ใน เงินใหก้ ูย้ ืม ลกู หนอ้ี ่ืน ดอกเบ้ยี สนิ ค้ำ อุปกรณ์ อื่น ๆ รวมสนิ ทรพั ย์
ธนำคำร หลกั ทรัพย์ คำ้ ง และ
และฝำก
สนิ ทรพั ย์

สหกรณ์อื่น ไม่มีตัวตน

อดุ รธานี 1,021.41 108.42 16,543.33 195.46 183.40 64.01 206.34 47.02 18,369.39

ขอนแก่น 2,981.67 188.71 48,634.66 571.44 410.35 136.32 779.82 176.02 53,878.98

เลย 2,070.59 132.36 28,189.43 1,101.29 47.64 62.03 127.68 50.15 31,781.17

นครพนม 1,152.72 80.94 12,603.21 207.74 50.65 65.59 196.17 51.54 14,408.56

สกลนคร 1,766.21 157.95 49,616.21 771.18 99.68 164.64 612.73 126.75 53,315.35

หนองคาย 862.83 57.36 12,055.21 59.53 21.07 26.16 70.56 22.55 13,175.27

หนองบวั ลาภู 269.46 42.10 9,771.51 86.94 54.30 34.53 115.14 15.39 10,389.38

บึงกาฬ 376.20 5.21 1,640.97 73.64 35.31 13.17 80.38 16.65 2,241.54

รวมทง้ั ส้นิ 10,501.09 773.05 179,054.53 3,067.22 902.41 566.45 2,188.82 506.07 197,559.64

22

มมุ มอง 6 มติ ิ ของสภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงิน
(Camels Analysis)

แผนภมู ิแสดงการใช้สินทรพั ย์ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

60,000.00 53,878.98 , 53,315.35 ,
50,000.00 27.27% 26.99%
40,000.00
30,000.00 31,781.17 ,
20,000.00 16.09%
10,000.00
18,369.39, 14,408.56 , 13,175.27, 10,389.38,
- 9.30% 7.29% 6.67% 5.26% 2,241.54,

1.13%

มติ ิที่ 3 ควำมสำมำรถในกำรบริหำรจัดกำร (Management Ability)

สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดาเนินธุรกิจ 6 ด้าน มีมูลค่ารวม 163,675.37 ล้านบาทต่อปี หรือ
13,639.61 ล้านบาทต่อเดือน ประกอบด้วย ธุรกิจด้านการให้เงินกู้ มีมูลค่าธุรกิจสูงท่ีสุด 122,295.23 ล้าน
บาท เฉลี่ยเดือนละ 10,191.27 ล้านบาท รองลงมาคือธุรกิจการรับฝากเงิน 30,568.09 ล้านบาท เฉลี่ย
เดือนละ 2,547.34 ล้านบาท ธุรกิจจัดหาสนิ ค้ามาจาหน่าย 5,413.59 ล้านบาท เฉล่ียเดือนละ 451.13 ล้าน
บาท ธุรกิจรวบรวมผลิตผล 3,799.17 ล้านบาท เฉล่ียเดือนละ 316.60 ล้านบาท ธุรกิจแปรรูปผลิตผล
การเกษตร 1,532.10 ล้านบาท เฉลี่ยเดือนละ 127.68 ล้านบาท และธุรกิจการให้บริการ 67.19 ล้านบาท
เฉลยี่ เดอื นละ 5.60 ลา้ นบาท ตามลาดับ

23

มมุ มอง 6 มติ ิ ของสภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงิน
(Camels Analysis)

ตำรำงแสดงปริมำณธรุ กจิ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (หน่วย : ลำ้ นบำท)

ประเภท กำรรบั กำรใหเ้ งินกู้ กำร กำร กำรแปรรูป กำร ปรมิ ำณ รอ้ ยละ
สหกรณ/์ กลมุ่ ฝำกเงนิ จดั หำ รวบรวม ผลิตผล ให้บรกิ ำร ธรุ กจิ รวม
สินค้ำมำ ผลิตผล กำรเกษตร 17.13
เกษตรกร จำหน่ำย 0.22
0.00
สหกรณก์ ารเกษตร 7,065.39 11,005.33 5,220.78 3,190.14 1,526.18 35.47 28,043.29 0.36
สหกรณน์ ิคม 41.70 190.60 20.54 105.73 - 0.14 358.71 17.71
สหกรณป์ ระมง 0.07 3.03 - - - 0.06
กลุม่ เกษตรกร 0.36 97.65 21.58 466.49 - 3.10 0.16
0.22 0.00 586.30 80.82
รวมภำคเกษตร 7,107.52 11,296.61 5,262.90 3,762.36 1,526.40 35.61 28,991.40 1.25
สหกรณร์ ้านคา้ 0.02 - 84.85 - 82.29
สหกรณ์บริการ 57.49 58.31 - 4.18 - 89.05 100.00
สหกรณอ์ อมทรัพย์ 118.91 - - - 30.03 264.74
22,392.32 109,885.16 7.53 -
สหกรณเ์ ครดติ ยูเนีย่ น 1,010.74 36.81 - 132,277.48
994.55 1.52 1.55 2,052.70

รวมนอกภำคเกษตร 23,460.57 110,998.62 150.69 36.81 5.70 31.58 134,683.97
1,532.10 67.19 163,675.37
รวมทง้ั สนิ้ 30,568.09 122,295.23 5,413.59 3,799.17

แผนภูมแิ สดงปรมิ าณธุรกจิ ของสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร

หน่วย : ล้าน
บาท

200,000.00

150,000.00

100,000.00

50,000.00

-

รวมภาคเกษตร รวมนอกภาคเกษตร รวมทัง้ สน้ิ

24

มมุ มอง 6 มิติ ของสภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงิน
(Camels Analysis)

ตารางแสดงปริมาณธรุ กิจของสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรรายจงั หวดั (หน่วย : ล้านบาท)

จงั หวัด ปริมำณธรุ กิจภำคเกษตร ปริมำณธุรกิจนอกภำคเกษตร รวมท้งั ส้ิน

อดุ รธานี 5,567.00 12,089.28 17,656.28
ขอนแกน่ 9,860.45 33,312.46 43,172.91
เลย 2,303.38 15,121.19 17,424.57
นครพนม 1,966.08 5,389.36 7,355.44
สกลนคร 5,673.31 56,876.05 62,549.36
หนองคาย 1,485.45 7,939.64 9,425.09
หนองบัวลาภู 1,165.72 2,767.20 3,932.92
บงึ กาฬ 1,188.80 2,158.80
970.00
รวมทั้งสน้ิ 134,683.97 163,675.37
28,991.40

แผนภูมิแสดงปรมิ าณธุรกิจของสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรรายจังหวัด

180,000.00
160,000.00
140,000.00
120,000.00
100,000.00
80,000.00
60,000.00
40,000.00
20,000.00

-

ปรมิ าณธรุ กจิ ภาคเกษตร ปรมิ าณธรุ กิจนอกภาคเกษตร รวมทง้ั สิน้
25

มุมมอง 6 มิติ ของสภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงิน
(Camels Analysis)

ตารางแสดงปริมาณธุรกจิ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (รายจังหวดั ) (หนว่ ย : ล้านบาท)

จงั หวดั กำรรับฝำก กำรให้เงินกู้ กำรจดั หำ กำร กำรแปร กำร ปรมิ ำณ รอ้ ยละ
เงิน สินค้ำมำ รวบรวม รูปผลติ ผล ใหบ้ รกิ ำร ธรุ กจิ รวม
จำหน่ำย ผลติ ผล กำรเกษตร

อุดรธานี 3,964.96 12,445.14 930.70 261.69 40.08 13.71 17,656.28 10.79
ขอนแกน่ 9,286.63 31,034.73 1,945.84 734.43 123.71 47.57 43,172.91 26.38
เลย 3,897.10 12,871.43 182.13 0.72 17,424.57 10.65
นครพนม 2,950.64 2,896.33 473.19 1,152.19 - 0.75 7,355.44 4.49
สกลนคร 6,693.46 53,078.28 284.21 233.60 71.32 4.09 62,549.36 38.21
หนองคาย 2,802.02 6,050.31 1,268.50 402.90 1,271.43 0.08 9,425.09 5.76
หนองบัวลาภู 2,822.05 165.60 265.59 4.18 0.18 3,932.92 2.40
บึงกาฬ 548.22 1,096.96 280.51 566.64 16.37 0.09 2,158.80 1.32
425.06 65.04 5.01
รวม 122,295.23 3,799.17 67.19 163,675.37 100.00
30,568.09 5,413.59 1,532.10

แผนภมู แิ สดงปรมิ าณธรุ กจิ ของสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร (รายจังหวดั )

ปริมาณธรุ กจิ รวม (หนว่ ย : ลา้ นบาท)

70,000.00 62,549.35
60,000.00

50,000.00 43,172.91
40,000.00

30,000.00 17,656.28 17,424.56
20,000.00 7,355.44
10,000.00 9,425.09
3,932.91 2,158.81

-

26

มุมมอง 6 มิติ ของสภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงิน
(Camels Analysis)

มิติที่ 4 ควำมสำมำรถในกำรทำกำไร (Earning Sufficiency)

สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีรายได้ทั้งสิ้น 24,523.80 ล้านบาท มีค่าใช้จ่ายท้ังส้นิ 18,258.17 ล้าน
บาท กาไรสุทธิ 6,265.63 ล้านบาท แยกเป็นภาคการเกษตร 348.09 ล้านบาท และนอกภาคการเกษตร
5,917.54 ล้านบาท เฉลีย่ กาไรต่อสมาชิกคนละ 4,963.41 บาท มีเงินออมเฉลีย่ คนละ 74,272.39 บาท และ
มีหนส้ี ินเฉลี่ยคนละ 143,539.01 บาท

สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรมกี าไรสุทธิ 825 แหง่ เป็นเงิน 6,483.09 ลา้ นบาท ขาดทุนสทุ ธิ 152 แหง่
เป็นเงิน 217.46 ล้านบาท

หนว่ ย : ลา้ นบาท แผนภูมแิ สดงผลกำรดำเนินงำน ปี 2560

25,000.00 ภำคกำรเกษตร นอกภำคกำรเกษตร รวมทง้ั ส้ิน
20,000.00 12,756.70 11,767.10 24,523.80
15,000.00
10,000.00 12,408.61 5,849.56 18,258.17
5,000.00
348.09 5,917.54 6,265.63
-

รำยได้
ค่ำใช้จำ่ ย
กำไร(ขำดทนุ )

27

มุมมอง 6 มติ ิ ของสภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงิน
(Camels Analysis)

ตำรำงแสดงผลกำรดำเนนิ งำน ปี 2560 (หนว่ ย : ล้ำนบำท)

ประเภทสหกรณ์/ กลุ่ม จำนวน รำยได้ กำไร ขำดทนุ
ค่ำใช้จำ่ ย กำไร กำไร ขำดทุน ขำดทุน
เกษตรกร สหกรณ์ (สหกรณ์) (บำท)
(สหกรณ)์ (บำท)

สหกรณก์ ารเกษตร 415 12,092.88 11,751.88 343 535.06 72 194.06
สหกรณป์ ระมง 2 0.23 0.16 2 0.07 --
สหกรณ์นิคม 2 147.72 146.86 1 2.10 1 1.24
กล่มุ เกษตรกร
369 515.87 509.71 317 8.21 52 2.05
รวมภำคกำรเกษตร 788 12,756.7 12,408.6 663 545.44 125 197.36
สหกรณอ์ อมทรัพย์ 83 11,208.004 5,362.517 81 5,852.39
สหกรณร์ า้ นคา้ 11 89.52 86.41 10 3.39 2 6.92
สหกรณ์บรกิ าร 50 151.06 149.79 33 10.09 1 0.28
สหกรณ์เครดิตยูเนีย่ น 45 318.48 250.79 38 71.78 17 8.82
รวมนอกภำคกำรเกษตร 189 11,767.1 5,849.56 162 5,937.65 7 4.09
977 24,523.80 18,258.1 27 20.11
รวมท้ังสิ้น 825 6,483.09 152 217.46
07
ขำดทนุ
จังหวดั จำนวน ตำรำงแสดงผลกำรดำเนนิ งำน ปี 2560 (รำยจังหวดั ) ขำดทนุ ขำดทุน
สหกรณ์ (สหกรณ์) (บำท)
กำไร
รำยได้ คำ่ ใชจ้ ำ่ ย กำไร กำไร 11 5.65
46 21.06
(สหกรณ์) (บำท) 11 49.93
36 45.21
อดุ รธานี 118 2,566.25 1,882.12 107 689.78 25 71.76
ขอนแก่น 233 6,595.23 4,261.84 187 2,354.45 7 6.49
เลย 73 2,939.29 2,462.09 62 527.13 7 0.91
นครพนม 193 2,452.38 2,058.16 157 439.43 9 16.45
สกลนคร 165 6,398.41 4,819.30 140 1,650.87 152 217.46
หนองคาย 78 1,493.45 1,015.42 71 484.52
56 1,302.41 1,011.81 49 291.51
หนองบวั ลาภู 61 52 45.40
776.38 747.43
บึงกาฬ 977 825 6,483.09
24,523.80 18,258.17
รวมท้ังสิน้

28

มุมมอง 6 มติ ิ ของสภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงิน
(Camels Analysis)

หนว่ ย : ลา้ นบาท แผนภมู แิ สดงผลกำรดำเนนิ งำน ปี 2560 (รำยจังหวัด)

7,000.00

6,000.00

5,000.00

4,000.00

3,000.00

2,000.00

1,000.00

- ขอนแกน่ เลย นครพนม สกลนคร หนองคำย หนองบวั ลำภู บึงกำฬ
อุดรธำนี 6,595.23 2,939.29 2,452.38 6,398.41 1,493.45 1,302.41 776.38

รำยได้ 2,566.25 4,261.84 2,462.09 2,058.16 4,819.30 1,015.42 1,011.81 747.43

คำ่ ใชจ้ ่ำย 1,882.12 2,333.39 477.20 394.22 1,579.11 478.03 290.60 28.95

กำไร(ขำดทนุ ) 684.13

มิตทิ ี่ 5 สภำพคล่องทำงกำรเงนิ (Liquidity)

ความเพยี งพอของสภาพคล่องต่อความต้องการเงินสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในภาพรวมถือว่าดาเนิน
ธุรกิจประสบความสาเร็จมีกาไร แต่มีสภาพคล่องทางการเงินค่อนข้างต่า คือ มีสัดส่วนของสินทรัพย์หมุนเวียน
ต่อหน้ีสินหมุนเวียน 0.49 เท่า และสินทรัพย์หมุนเวียนส่วนใหญ่เป็นลูกหนี้ ดังน้ัน สภาพคล่องทางการเงินจึง
ข้ึนอยกู่ ับประสิทธภิ าพในการบรหิ ารลูกหนเ้ี ป็นสาคญั

มติ ิที่ 6 ผลกระทบจำกกำรเปลย่ี นแปลงภำยนอกท่เี กิดขนึ้ (Sensitivity)

ปี 2560 มีปจั จัยเสี่ยงเข้ามาอย่างต่อเน่ือง ทั้งราคาน้ามัน อัตราดอกเบย้ี ปญั หาภยั ธรรมชาติ ราคาสนิ ค้า/
พืชผลทางการเกษตรไม่แน่นอน รวมถึงนโยบายของภาครัฐ และสถานการณ์การเมือง ปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้ส่งผล
กระทบต่อการดาเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ทงั้ ด้านของการลงทนุ การออม การบริโภค และภาระ
การผ่อนชาระหน้ีของสมาชิก จึงเป็นส่ิงที่ต้องเฝ้าระวังทางการเงิน โดยพัฒนาระบบเตือนภัยทา งการเงิน
(Warning System) และพัฒนาระบบการสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value Driver) ซึ่งเป็นการเพ่ิมศักยภาพด้านการ
จัดการทางการเงิน เพ่ือนาไปสู่ความย่ังยืนของสหกรณ์

29

มมุ มอง 6 มิติ ของสภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงิน
(Camels Analysis)

กำรประเมนิ คณุ ภำพกำรดำเนินงำน ปี 2560
ผลการดาเนนิ งานของสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรถอื วา่ ประสบผลสาเร็จมีผลกาไรมากกวา่

ขาดทนุ โดยมผี ลกาไรจานวน 825 แห่ง เปน็ เงนิ 6,483.09 ลา้ นบาท ขาดทนุ จานวน 152 แหง่ เปน็ เงนิ
217.46 ล้านบาท โดยมผี ลกาไรต่อสมาชกิ เฉล่ียคนละ 4,963.41 บาท

แม้โดยรวมองคก์ รจะมีความสามารถทากาไรได้ แตห่ ากพจิ ารณาเปรียบเทยี บสัดส่วนของเงิน
ออมเฉลย่ี 74,272.39 บาทต่อคนกบั หนีส้ ินเฉล่ีย 143,539.01 บาทต่อคน มีความไม่สมดุลกนั เงนิ ออมนอ้ ยกว่า
หนี้สินซ่ึงเป็นการสะท้อนถึงกาลังความสามารถชาระหนี้ของสมาชิกในอนาคตที่อาจส่งผลกระทบต่อการ
บริหารงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร รวมถึงต้องระมัดระวังในเร่ืองของค่าใช้จ่ายให้เหมาะสมกับฐานะ
การเงนิ ของสหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกร

เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการดาเนินงาน และสามารถอานวย
ประโยชน์แก่สมาชิกอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ควรท่ีสหกรณ์จะได้พิจารณาปรับปรุงประสิทธิภาพในการ
บรหิ ารจดั การ ดังนี้

1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ควรเพ่ิมความระมัดระวังในการก่อหนี้ให้สอดคล้อง
เหมาะสมกับฐานะการเงิน และกาลังความสามารถในการชาระหน้ี รวมถึงการควบคุม ดูแลการใช้จ่ายเงินให้
เหมาะสมและรดั กุมด้วย

2. สหกรณ์ต้องขยายธุรกิจการรวบรวมผลิตผลทางการเกษตร ทาหน้าที่ตลาดให้
ครอบคลุมพ้ืนท่ีมากท่ีสุด เพื่อเป็นศูนย์กลางในการวบรวมผลิตผลทางการเกษตร และพิจารณาแปรรูปเป็น
ผลิตภณั ฑ์พร้อมใชเ้ พื่อจาหนา่ ย เปน็ การเพม่ิ มูลคา่ สินค้าและเพมิ่ อานาจต่อรองราคา

3. ให้การศึกษาอบรมแก่คณะกรรมการดาเนินการ และพนักงานของสหกรณ์ ให้มี
ความรคู้ วามสามารถ ประสบการณ์ และความชานาญในการบริหารธรุ กจิ ของสหกรณ์อย่างมอื อาชีพย่ิงขน้ึ

4. สง่ เสริมแนะนาให้สมาชิกสหกรณย์ ึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง รวมท้ังส่งเสริมใหส้ มาชิก
จัดทาบัญชรี ายรบั รายจ่ายในครวั เรือน เพ่ือใช้เป็นขอ้ มูลในการควบคมุ ค่าใชจ้ ่ายให้สมดลุ กับรายได้และวางแผน
ประกอบอาชพี ควบคกู่ ันไปอันจะสง่ ผลให้สมาชิกมคี วามกนิ ดีอย่ดู ีขนึ้

30

วิเครำะห์ควำมเสยี่ งภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงินสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
จังหวัดในพ้นื ทสี่ ำนักงำนตรวจบญั ชีสหกรณ์ที่ 5
ปงี บประมำณ 2560

ควำมเสีย่ งท่อี ำจเกิดข้นึ

1. ควำมเส่ียงด้ำนเครดิต เป็นความเสี่ยงท่ีเกี่ยวข้องกับการให้สินเชื่อท่ีเป็นธุรกรรมหลักของ
สหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร และความเสยี่ งในการกอ่ หนีข้ องสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร

ในปีงบประมาณ 2560 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของจังหวัดในพื้นที่สานักงานตรวจบัญชี
สหกรณ์ที่ 5 มีปริมาณธุรกิจการให้สินเช่ือ จานวน 122,295.22 ล้านบาท เฉลยี่ เดือนละ 10,191.27 ล้านบาท
แยกเป็นสหกรณ์ประเภทการเกษตร จานวน 11,296.61 ล้านบาท และสหกรณ์นอกภาคเกษตร จานวน
110,998.61 ล้านบาท

การบริหารธุรกิจสินเช่ือ ดา้ นการชาระหนี้ของลกู หน้ี มลี ูกหนี้ท่ผี ิดนดั ชาระหนี้ จานวน 5,882.89
ล้านบาท คดิ เป็นร้อยละ 6.06 ของหน้ีที่ถงึ กาหนดชาระท้ังส้ิน แยกเป็นภาคการเกษตร จานวน 5,048.78 ลา้ น
บาท คิดเป็นร้อยละ 36.95 ของหน้ี ที่ถึงกาหนดชาระ และนอกภาคเกษตร จานวน 834.12 ล้านบาท คิดเป็น
ร้อยละ 1.00 ของหนี้ท่ีถึงกาหนดชาระ มีลูกหนี้ท่ีไม่ก่อให้เกิดรายได้ จานวน 824.09 ล้านบาท แยกเป็นภาค
การเกษตร จานวน 78.31 ล้านบาท และนอกภาคการเกษตร จานวน 745.78 ล้านบาท จากความเส่ียง
ดังกล่าวอาจส่งผลใหส้ หกรณ์ต้องรับภาระคา่ ใช้จ่ายจากการประมาณการคา่ เผื่อหน้สี งสัยจะสูญ และหากในภาย
หน้ายังไม่สามารถตดิ ตามให้ลูกหน้ีมาชาระหน้ีได้แล้ว สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรอาจต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการ
ตดิ ตามหนี้ ค่าใช้จ่ายในการฟ้องร้องคดีความหรือการระงับรบั รู้รายไดท้ ี่เกิดจากดอกเบี้ยเงินให้กู้ของลูกหนี้ท่ีไม่
กอ่ ใหเ้ กดิ รายได้ตามเกณฑ์คงค้างหรือเปน็ หน้สี ูญได้ในอนาคต

จากการทสี่ หกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีลกู หน้ผี ิดนดั ชาระหน้ี จานวน 5,882.89 ล้านบาท และลกู หนี้
ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ จานวน 824.09 ล้านบาท สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ควรทบทวนการให้สินเช่ือ และ
ตรวจสอบการให้สนิ เชือ่ ลกู หน้ีแต่ละราย รวมถึงการให้สนิ เชอื่ แกส่ หกรณอ์ ื่นว่าเปน็ การให้สินเชื่อในจานวนเงนิ ท่ี
มากหรือเกินกว่าระเบียบที่กาหนดหรือไม่ เพื่อป้องกันความเส่ียงของการกระจุกตัวของลูกหน้ีรายใหญ่ท่ีมาก
เกนิ ไป รวมถงึ ตอ้ งพิจารณาหลกั ประกนั เงินก้ใู หค้ มุ้ กับจานวนหนี้ด้วย

สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีหน้ีถึงกาหนดชาระ จานวน 97,056.60 ล้านบาท สามารถชาระหน้ีได้
ตามกาหนด จานวน 91,173.71 ล้านบาท หรือร้อยละ 93.94 ของหนี้ที่ถึงกาหนดชาระ ถือได้ว่าสมาชิกยังมี
ความสามารถในการชาระหนี้ แต่สหกรณ์ยังคงต้องพิจารณาหลักเกณฑ์ในการจ่ายเงินกู้แก่สมาชิก และขีด
ความสามารถในการชาระหนี้ของสมาชิก ต้องไมม่ ีความเสี่ยงที่อาจจะไม่สามารถเรียกเก็บหนี้ได้ในอนาคต เช่น
การให้สินเช่ือลูกหนี้ท่ีสูงอายุ ลูกหน้ีที่มีเงินได้ไม่พอหักชาระหนี้ การให้สินเช่ือที่มีจานวนเงิน ต่องวดในการ
ชาระหน้ีเป็นจานวนมาก มีระยะเวลาการผ่อนชาระท่ียาวนาน และลูกหน้ีมีการปรับปรุงโครงสร้างหน้ีมากกว่า
3 ครงั้ ในรอบปีบญั ชี เปน็ ต้น ทง้ั นี้ เพ่อื ปอ้ งกนั ความเสยี หายทีอ่ าจเกิดขน้ึ ได้ในอนาคต

31

วิเครำะห์ควำมเสย่ี งภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงินสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร
จังหวดั ในพื้นท่ีสำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 5
ปงี บประมำณ 2560

สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ควรพิจารณาการก่อหน้ีท่ีเกินกว่าอัตราท่ีระเบียบกาหนด โดยใน
ปีงบประมาณ 2560 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของจังหวัดในพ้ืนที่สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 5 มี
อัตราสว่ นการก่อหนี้ 1.69 เท่า ซ่ึงมีสตู รในการคานวณ ดังนี้
อัตราส่วนวดั ความสามารถในการก่อหนี้ = หนีส้ นิ ทง้ั สน้ิ .

ทนุ เรอื นหุ้น + ทุนสารอง

= 121,457,094,586.71 .
63,023,228,875.50+8,802,274,568.58

= 121,457,094,586.71
71,825,503,445.08

= 1.69 เทา่
อัตราส่วนน้ีใช้วัดความเพียงพอของเงินทุนเฉพาะท่ีเป็นทุนเรือนหุ้น และทุนสารอง ว่ามีความ
เพียงพอหรอื มีขีดความสามารถในการชาระหน้ีแก่เจ้าหนี้ กล่าวคอื เจ้าหน้ีจะมีความปลอดภัยจากผลขาดทุนที่
อาจเกิดข้ึนได้ในอนาคตจากทุนเรือนหุ้นและทุนสารองได้เพียงใดนั้น อัตราส่วนความสามารถในการก่อหน้ี
สามารถบ่งช้ีได้ โดยหากสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีอัตราส่วนความสามารถในการก่อหนี้สูงแสดงว่าเงินทุนจาก
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีเพียงเล็กน้อยและมาจากหนี้สินเป็นส่วนใหญ่ ความเสี่ยงจะตกเป็นของเจ้าหนี้ รวมถึง
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเองก็ต้องแบกรับภาระในรูปของดอกเบ้ียจ่ายไว้ ในทาง ตรงกันข้าม หากสหกรณ์มี
อัตราส่วนความสามารถในการก่อหนี้ต่า แสดงว่าเจ้าหนี้มีเกราะคุ้มกันในการท่ีจะได้รับชาระหนี้จากสหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร เม่อื พจิ ารณาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของจงั หวัดในพ้ืนทสี่ านักงานตรวจบัญชสี หกรณ์ท่ี 5 ท่ีมี
อัตราส่วนการก่อหน้ี จานวน 1.69 เท่า แสดงให้เห็นว่าเงินทุนจากสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีเพียงเล็กน้อยและ
มาจากหนสี้ ินเป็นส่วนใหญ่ ความเสีย่ งจงึ ตกเปน็ ของเจา้ หนี้
จากอัตราส่วนวัดความสามารถในการก่อหนี้ 1.69 เท่า ที่แสดงให้เห็นว่าทุนของสหกรณ์/กลุ่ม
เกษตรกรยังมีจานวนน้อย ทุนส่วนใหญ่มาจากหนี้สิน สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรยังคงมีการกู้ยืมเงินจากภายนอก
ซ่ึงควรระมัดระวังและพิจารณาป้องกันการกู้ยืมเงินกู้ระยะสั้นจากภายนอกมาเพื่อมาจ่ายเงินกู้ระยะยาวให้แก่
สมาชิกหรือสหกรณ์อ่นื ด้วย

32

วิเครำะหค์ วำมเสย่ี งภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงินสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร
จังหวัดในพ้นื ท่สี ำนักงำนตรวจบัญชสี หกรณท์ ี่ 5
ปงี บประมำณ 2560

2. ควำมเส่ียงด้ำนสภำพคล่อง เป็นสถานการณ์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรอาจไม่สามารถชาระหน้ีสิน
และภาระผูกพันได้ตามกาหนด หรือไม่สามารถจัดหาเงินทุนได้อย่างเพียงพอ อัตราส่วนนใี้ ชว้ ัดความสามารถใน
การชาระหนีห้ รือสภาพคล่องของสหกรณ์ และชว่ ยชถ้ี งึ ระดับความปลอดภยั ของเจา้ หน้ี จากการได้รบั ชาระหนี้
ตามกาหนด อัตราสว่ นน้ีจะพจิ ารณาจากสินทรพั ยท์ ี่สามารถเปลย่ี นเป็นเงินสดได้เร็วเท่านั้น ถ้าอตั ราส่วนสภาพ
คล่องต่า แสดงว่าสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรอาจไม่สามารถชาระหนี้สินได้เมื่อครบกาหนด แต่ในทางตรงกันข้าม
หากอตั ราสว่ นสภาพคลอ่ งสูง แสดงถึงความสามารถในการชาระหน้ีไดต้ ามกาหนด โดยปกตแิ ลว้ ถือว่าอตั ราส่วน
นี้ย่งิ สูงความคลอ่ งตวั กจ็ ะยิ่งมมี ากขึน้

สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของจังหวัดในพ้ืนท่ีสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ท่ี 5 มีอัตราส่วน
สภาพคลอ่ ง 0.06 เท่า ซ่ึงมีสูตรในการคานวณ ดังนี้

อัตราสว่ นสภาพคลอ่ ง = เงนิ สด + เงนิ ฝากธนาคาร .
เงนิ รบั ฝาก + เงนิ กยู้ มื + ทนุ เรือนหุ้น

= 10,501,103,073.26 .
33,921,839,122.32 + 85,136,595,224.53 + 63,023,228,875.50

= 10,501,103,073.26
182,081,663,221.35

= 0.06 เท่า

เมื่อพิจารณาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของจังหวัดในพื้นที่สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 5
ที่มีอัตราส่วนสภาพคล่อง 0.06 เท่า กล่าวคือสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีความสามารถในการชาระหน้ีสินได้เมื่อ
ครบกาหนดคิดเป็น 0.06 เท่า ต่อหนี้สิน 1 เท่า แสดงว่าสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีสภาพคล่องต่า ช้ีให้เห็นว่า
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรอาจไม่สามารถชาระหน้ีสินได้เม่ือครบกาหนดชาระหน้ี แต่ท้ังน้ีหนี้สินที่สหกรณ์ต้ อง
ชาระคืนส่วนใหญ่เป็นเงินรับฝากจากสมาชิก และทุนเรือนหุ้น ซึ่งมีโอกาสน้อยที่จะถูกถอนเงินฝากออกไปใน
คราวเดียวเป็นจานวนมาก ประกอบกับสัดส่วนของจานวนลูกหน้ีที่สามารถชาระหน้ีได้ตามกาหนด (ร้อยละ
93.94) ซึ่งมีมากกว่าสัดส่วนของลูกหนี้ท่ีชาระหนี้ไม่ได้ตามกาหนด (ร้อยละ 6.06) ดังนั้น สภาพคล่องของ
สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรทั้งระบบจงึ ยังคงอยู่ในสถานะท่ีปลอดภยั แตย่ ังคงต้องระมัดระวังรอบคอบในการดาเนิน
ธุรกิจ เพราะสภาพคล่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรขึ้นอยู่กับการบริหารจัดการสินทรัพย์หมุนเวียนเป็นส่วน
ใหญ่ ซึ่งคือลูกหนี้เงินให้กู้ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจึงควรเฝ้าระวังลูกหนี้ให้สามารถมาชาระหนี้ให้เป็นไปตาม
กาหนดสัญญา เพื่อสร้างความเช่ือมั่นขององค์กรต่อสมาชิก และเพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายท่ีอาจเกิดข้ึน เช่น
คา่ ใชจ้ า่ ยจากหน้ีสูญ คา่ ใชจ้ า่ ยในการตดิ ตามหนี้ คา่ ใช้จา่ ยในการฟ้องรอ้ งดาเนนิ คดี เปน็ ตน้

33

วิเครำะห์ควำมเสย่ี งภำวะเศรษฐกิจทำงกำรเงินสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร
จังหวดั ในพ้นื ทีส่ ำนักงำนตรวจบญั ชีสหกรณท์ ี่ 5
ปงี บประมำณ 2560

3. ควำมเส่ียงด้ำนเงินลงทุนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เป็นความเส่ียงที่สหกรณ์/กลุ่ม
เกษตรกร มกี ารลงทุนต่าง ๆ เป็นไปตามกฎหมายของสหกรณ์ และลงทนุ ในหลักทรัพย์เกินอัตราท่ีนายทะเบียน
สหกรณ์กาหนดหรือไม่ รวมถึงมกี ารนาเงินไปฝากสหกรณ์อนื่ ท่มี ีปัญหาด้านสภาพคลอ่ ง/หยดุ ดาเนนิ ธุรกิจ หรือ
ฝากเงนิ ในสหกรณท์ ีอ่ าจเลกิ หรอื ตอ้ งเลิกตามกฎหมาย/มีส่วนขาดแหง่ ทุน

สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของจังหวัดในพ้ืนท่สี านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ท่ี 5 จัดหาเงินทุนเพื่อ
มาลงทุนในหลักทรัพย์ จานวน 773.05 ล้านบาท แยกเป็นสหกรณ์ภาคการเกษตร จานวน 62.20 ล้านบาท
และสหกรณ์นอกภาคเกษตร จานวน 710.85 ล้านบาท แหล่งเงินทุนส่วนใหญ่ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มา
จากทุนภายใน จานวน 102,280.60 ล้านบาท ประกอบด้วยเงินรับฝากจากสมาชิก จานวน 26,178.04 ล้าน
บาท และทุนของสหกรณ์ จานวน 76,102.56 ล้านบาท มาจากแหลง่ เงินทนุ ภายนอก จานวน 93,120.75 ลา้ น
บาท ประกอบด้วยเงินรับฝากอ่ืน จานวน 7,743.80 ล้านบาท เป็นการรับฝากเงินจากบุคคลภายนอกซ่ึงไม่
เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบว่าด้วยการรับฝากเงิน เครดิตการค้า จานวน 240.35 ล้านบาท
และเงินกู้ยืม จานวน 85,136.60 ล้านบาท จะเห็นได้ว่าแหล่งเงินทุนจากภายนอกได้มาจากการกู้ยืมเป็นส่วน
ใหญ่ และแหลง่ เงินทนุ ทไี่ ด้มาจากการกู้ยมื นั้น ถูกนาไปใช้เพ่อื การให้สนิ เชื่อเพ่อื การให้สมาชกิ กู้ยืมเป็นส่วนใหญ่
ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2560 มียอดลกู หนเี้ งินใหก้ ู้คงเหลือ จานวน 179,054.53 ลา้ นบาท ในจานวนนเี้ ป็นลูกหน้ี
เงินให้กู้ยืมระยะยาว จานวน 151,116.60 ล้านบาท ลูกหนี้เงินให้กู้ยืมระยะยาวถือเป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
และมีสภาพคล่องต่า ดังนั้นสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรต้องให้ความสาคัญกับการบริหารจดั การลูกหนี้ เพ่ือป้องกัน
ความเส่ียงเกี่ยวกับความสามารถในการชาระหน้ีของสมาชิกท่ีอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพลูกหน้ีและการ
บรหิ ารงานของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรได้ในอนาคต

34

กิจกรรมสำคัญ
ประจำปี 2560

Part IV

CAD’s Activity in 2017

35

กิจกรรมสำคัญ
ประจำปี 2560

กจิ กรรมประชมุ

1. สตท.5 ร่วมประชุมคณะกรรมกำรขับเคลือ่ นมำตรกำรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แบบเบ็ดเสรจ็
(Single command) คร้งั ท่ี 7/2559 เม่ือวันที่ 10 พฤศจิกำยน 2559 ณ ห้องประชุมพุทธบำท
บัวบก ศำลำกลำงจงั หวดั อดุ รธำนี ชนั้ 6 อำเภอเมอื ง จังหวดั อดุ รธำนี

2. สตท.5 เขำ้ รว่ มประชมุ ผำ่ นระบบประชมุ ทำงไกล (Video Conference) เพ่อื ชแ้ี จงกำรดำเนนิ งำน
โครงกำรเกษตรทฤษฎีใหม่แกค่ ณะกรรมกำรขับเคลื่อนนโยบำยกระทรวงเกษตรและสหกรณแ์ บบ
เบ็ดเสรจ็ เมอื่ วันที่ 10 พฤศจกิ ำยน 2559 ณ หอ้ งประชุม POC ศำลำกลำงจังหวดั อุดรธำนี ชั้น 4

36

กจิ กรรมสำคัญ
ประจำปี 2560

3. สตท.5 รว่ มกำรประชมุ กำรตรวจรำชกำรของผู้ตรวจรำชกำรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เขต
ตรวจรำชกำรท่ี 10 (นำยปรญิ ญำ เพง็ สมบัติ) เม่ือวนั ท่ี 8 ธันวำคม 2559 ณ ห้องประชมุ สบำยดี
อำคำร 2 ช้ัน 4 ศำลำกลำงจังหวดั (หลังเก่ำ) อำเภอเมอื ง จังหวัดอุดรธำนี

4. สตท.5 จัดกำรประชมุ พิจำรณำคดั เลอื กกำรคดั เลอื กเกษตรกรดีเดน่ สำขำบญั ชีฟำรม์ ประจำปี 2560
เมื่อวนั ท่ี 27 ธันวำคม 2559 ณ หอ้ งประชุมสำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณท์ ี่ 5 จังหวัดอดุ รธำนี

37

กจิ กรรมสำคญั
ประจำปี 2560

5. ผอ.สตท.5 ลงพน้ื ที่ตรวจเย่ียมบคุ ลำกร สำนกั งำนตรวจบัญชสี หกรณข์ อนแกน่ เพอื่ รับฟังพรอ้ มท้ัง
ใหค้ ำแนะนำปรึกษำปญั หำและอปุ สรรค เม่ือวนั ที่ 5 พฤษภำคม 2560 ณ หอ้ งประชุมสำนกั งำน
ตรวจบัญชีสหกรณข์ อนแกน่

6. สตท.5 จัดประชุมคณะกรรมกำรคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับภำค ประจำปี
งบประมำณ 2560 เมอ่ื วนั ที่ 30 พฤษภำคม 2560 ณ สำนกั งำนตรวจบญั ชีสหกรณน์ ครพนม

34 รายงานประจาปี 2560 : Annual Report 2017

38

กิจกรรมสำคัญ
ประจำปี 2560

7. ผอ.สตท.5 ลงพื้นทต่ี รวจเยี่ยมบคุ ลำกร สำนกั งำนตรวจบญั ชสี หกรณ์หนองคำย เพ่ือรบั ฟังพร้อมท้ังให้
คำแนะนำปรึกษำปัญหำและอปุ สรรค เม่ือวันท่ี 26 มถิ ุนำยน 2560 ณ หอ้ งประชุมสำนกั งำนตรวจบัญชี
สหกรณ์หนองคำย

39

กจิ กรรมสำคัญ
ประจำปี 2560

กิจกรรมตรวจเย่ยี มของผู้บรหิ ำร

1. อธบิ ดกี รมตรวจบัญชสี หกรณ์ นำงบรสิ ุทธิ์ เปรมประพันธ์ ตรวจเยี่ยมและตดิ ตำมผลกำรปฏบิ ตั ิงำน
ปัญหำอุปสรรค ของสำนกั งำนตรวจบัญชีสหกรณ์ในพื้นที่ สตท.5 เม่อื วันที่ 1 พฤศจิกำยน 2559 ณ
โรงแรมประจักษ์ตรำ อ.เมอื ง จ.อุดรธำนี

2. รองอธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ นำงสำวจิรทรัพย์ ปลอดกระโทก ตรวจเยี่ยมและตดิ ตำมผลกำร
ปฏบิ ตั งิ ำน ปญั หำอปุ สรรค ของสำนักงำนตรวจบญั ชีสหกรณใ์ นพนื้ ท่ี สตท.5 เมื่อวันท่ี 21 เมษำยน
2560 ณ โรงแรมนภำลยั อ.เมือง จ.อุดรธำนี

40

กจิ กรรมสำคัญ
ประจำปี 2560

3. รองอธิบดีกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ นำงสำวจิรทรัพย์ ปลอดกระโทก ลงพนื้ ท่ีตรวจเยี่ยมสำนักงำน
ตรวจบญั ชีสหกรณ์ขอนแก่น เม่ือวนั ที่ 21 มถิ นุ ำยน 2560

4. รองอธิบดีกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ นำงสำวจิรทรพั ย์ ปลอดกระโทก ตรวจเยี่ยมและประชมุ จัดทำ
Road Map ของสำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณใ์ นพื้นท่ี สตท.5 เมอื่ วันที่ 23 กนั ยำยน 2560 ณ
โรงแรมบ้ำนเชยี ง อ.เมอื ง จ.อุดรธำนี

41

กิจกรรมสำคญั
ประจำปี 2560

กจิ กรรมลงพนื้ ที่

1. สตท. 5 ลงพื้นที่กำกับแนะนำกำรจัดทำบัญชี แก่สหกรณ์เป้ำหมำย โครงกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งกำร
จัดทำบัญชี และงบกำรเงินสหกรณ์ คร้ังท่ี 1 ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น บึงกำฬ หนองบัวลำภู
หนองคำย อดุ รธำนี และเลย ระหว่ำงวันที่ 6 – 28 กมุ ภำพันธ์ 2560 รวมทั้งส้นิ 117 แห่ง

2. ผู้อำนวยกำรสำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ท่ี 5 ลงพนื้ ทีต่ รวจเยยี่ มเกษตรกรโครงกำรทฤษฎใี หม่
และโครงกำรสง่ เสริมกำรเกษตรแปลงใหญ่ จังหวดั หนองบวั ลำภู เมื่อวันที่ 24 พฤษภำคม 2560

42

กจิ กรรมสำคัญ
ประจำปี 2560

3. ผอ.สตท. 5 ลงพน้ื ทต่ี รวจเย่ียมเกษตรกรโครงกำรเกษตรทฤษฎีใหม่ และโครงกำรส่งเสริม
กำรเกษตรแปลงใหญ่จังหวัดหนองคำย เม่อื วนั ที่ 26 มถิ ุนำยน 2560

4. ผอ.สตท.5 ลงพ้นื ท่ตี รวจเยี่ยมเกษตรกรโครงกำรสมัยใหม่ เพื่อรว่ มประชมุ หำรอื วำงแผนกำร
ทำงำนรว่ มกัน กับนำยยงยุทธ ประวัง เกษตรกรผ้ปู ลกู สับปะรดเมื่อวนั ที่ 17 กรกฎำคม 2560
ตำบลนำ้ หมำน อำเภอเมือง จงั หวัดเลย

43

กิจกรรมสำคัญ
ประจำปี 2560

กิจกรรมสบื สำนประเพณี
1. กจิ กรรมรดนำ้ ดำหวั ผ้อู ำนวยกำรสำนักงำนตรวจบญั ชีสหกรณ์ท่ี 5 เม่ือวนั ท่ี 18 เมษำยน
2560 ณ สำนกั งำนตรวจบญั ชสี หกรณท์ ี่ 5

44

กิจกรรมสำคัญ
ประจำปี 2560

กจิ กรรมอบรม สมั มนำ
1. สตท.5 จัดอบรมโครงกำรยกระดับกำรควบคุมภำยในแก่สหกรณ์ หลักสูตร คณะกรรมกำรดำเนินกำร

สหกรณ์ เจ้ำหน้ำที่บัญชีสหกรณ์ เม่ือวันที่ 21 – 23 พฤศจิกำยน 2559 ณ ห้องฟ้ำหลวง 1 และห้อง
ฟ้ำหลวง 3 โรงแรมนภำลัย อำเภอเมอื ง จงั หวัดอุดรธำนี

2. สตท.5 จัดโครงกำรประชมุ ซักซ้อมกำรปฏิบัตงิ ำนกำรสอบบญั ชี สำหรบั ข้ำรำชกำรและพนักงำน
รำชกำรในพนื้ ที่ สตท.5

45

กจิ กรรมสำคัญ
ประจำปี 2560

3. สตท.5 จดั อบรมโครงกำรเสรมิ สร้ำงควำมรู้พื้นฐำนดำ้ นกำรเงินกำรบญั ชีแก่สหกรณ์ (ต้ังใหม่) หลกั สูตร
คณะกรรมกำรดำเนนิ กำรสหกรณ์ ขั้นพน้ื ฐำน , เจำ้ หนำ้ ท่ีบัญชีสหกรณ์ ขน้ั พ้ืนฐำน เมอื่ วันท่ี
28 – 29 พฤศจิกำยน 2559 ณ ห้องกชมน 1, ห้องกชมน 2 ศูนยป์ ระชมุ นำคำรำ คอนเวนชัน่
เซ็นเตอร์ โรงแรมรอยัล นำคำรำ อำเภอเมือง จงั หวัดหนองคำย

4. สตท.5 จดั อบรมโครงกำรเสรมิ สร้ำงควำมเข้มแข็งกำรจดั ทำบัญชีและงบกำรเงินแก่สหกรณ์ หลักสูตร
กำรจัดทำบญั ชขี องสหกรณ์, กำรใช้โปรแกรมระบบบัญชสี หกรณค์ รบวงจร (FAS) และโครงกำร
ยกระดบั ชนั้ กำรควบคมุ ภำยในแก่สหกรณ์ หลักสูตร คณะกรรมกำรดำเนนิ กำรสหกรณ์, เจ้ำหน้ำท่ีบัญชี
สหกรณ์ เม่ือวนั ที่ 14 – 16 ธันวำคม 2559 ณ โรงแรม พี.ซี. แกรนพำเลซ อำเภอเมือง จังหวดั สกลนคร

46

กจิ กรรมสำคัญ
ประจำปี 2560

5. สตท.5 จัดอบรมโครงกำรเสรมิ สรำ้ งควำมเข้มแข็งกำรจัดทำบัญชีและงบกำรเงินแกส่ หกรณ์ หลกั สตู ร
กำรจัดทำบัญชีของสหกรณ์, กำรใช้โปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์ครบวงจร (FAS) และโครงกำร

ยกระดับช้ันกำรควบคุมภำยในแก่สหกรณ์ หลักสูตร คณะกรรมกำรดำเนินกำรสหกรณ์, เจ้ำหน้ำท่ีบัญชี
สหกรณ์ เมอื่ วนั ท่ี 21 – 23 ธนั วำคม 2559 ณ เดอะ พรรณรำย โฮเตล็ อำเภอเมอื ง จังหวัดอดุ รธำนี

6. สัมมนำผูส้ อบบัญชี สตท.3 - 5 เมือ่ วนั ท่ี 22 - 25 เมษำยน 2560 ณ โรงแรมนภำลยั อ.เมอื ง จ.อุดรธำนี

47

กิจกรรมสำคัญ
ประจำปี 2560

7. สตท.5 จัดประชุมซกั ซอ้ มกำรปฏบิ ตั ิงำน “โครงกำรพฒั นำทักษะกำรสอบบัญชีและนำเสนอ งบกำรเงิน”
เมื่อวันท่ี 2 สิงหำคม 2560 ณ ห้องประชุมสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรเลือกตั้งประจำจังหวัด
หนองบัวลำภู อำเภอเมอื ง จังหวดั หนองบัวลำภู

8. สตท.5 ร่วมจัดกำรประชุมเชิงปฏิบัติกำร กำรพัฒนำผู้สอบบัญชี มุ่งสู่กำรเป็น Smart Auditor เม่ือ
วนั ท่ี 14-15 กันยำยน 2560 ณ โรงแรมแมนดำรนิ เขำใหญ่ อำเภอปำกช่อง จังหวดั นครรำชสมี ำ

48

กจิ กรรมสำคัญ
ประจำปี 2560

9. สตท.5 ร่วมโครงกำรอบรมเพม่ิ ศักยภำพ ครูผู้สอนรำยวิชำกำรจัดทำบัญชีของสหกรณ์ เมื่อวนั ที่ 23-25
กนั ยำยน 2560 ณ วทิ ยำลยั เทคนิคหนองบัวลำภู ตำบลหนองหวำ้ อำเภอเมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลำภู

49


Click to View FlipBook Version